ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
ชนั้ มัธยมศึกษาปท� ี่ ๑
คํามูล คําประสม
คําซ�า
คําซ้อน
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คํามูล
คํามลู คือ คําพืน้ ฐานทม่ี คี วามหมายสมบูรณ์
ในตัวเอง กล่าวคือ เปน� คําทส่ี รา้ งขนึ้ โดยเฉพาะ
อาจเป�นคําไทยด้ังเดิมหรอ� เป�นคําทีม่ าจากภาษาอนื่
ก็ได้ และจะเป�นคําพยางค์เดียวหรอ� หลายพยางค์ก็ได้
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คํามูล
คํามลู แบ่งออกเปน� ๒ ชนิด
คํามูล คํามูล
พยางค์ หลาย
เดียว พยางค์
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คํามลู
คํามลู พยางค์เดียว เปน� คําทอ่ี อกเสียงเพยี ง
ครง้ั เดียว และมคี วามหมายชดั เจนในตัวเอง
เชน่ พ่อ แม่ ครู ลกู ส้ม เต่า เพลง ชาม ยนื
วง่ � หวิ ยม้ิ เปน� ต้น
นก รถ ปู� รม่
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คํามูล
คํามลู หลายพยางค์ เปน� คาํ หลายพยางค์ เม่อื แยก
แต่ละพยางค์แล้ว อาจมีความหมายหรอ� ไม่มคี วามหมายก็ได้
แต่ความหมายของแต่ละพยางคไ์ ม่เก่ียวขอ้ งกับความหมาย
ของคาํ มูลนั้นเลย เชน่ จง้ิ หรด� เขมน่ กระหยม่ิ ถนน นาิกา
กระดาษ เป�นต้น
กระดาษ นาิกา วท� ยุ กระเปา�
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
ลักษณะคํามลู หลายพยางค์
ประกอบด้วยพยางค์ท่ีไม่มีความหมาย
เช่น จง้ิ หรด� จะเหน็ ว่าพยางค์ " จง้ิ " และ "
หรด� " ต่างก็ไม่มีความหมาย
จง้ิ หรด�
ไมม่ ีความหมาย ไม่มีความหมาย
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
ลักษณะคํามลู หลายพยางค์
ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายเพียง
บางพยางค์ เช่น กิรย� า จะเหน็ วา่ พยางค์
" ยา " มีความหมายเพียงพยางค์เดียว
กิ ร� ยา
ไม่มคี วามหมาย ไมม่ คี วามหมาย มคี วามหมาย
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
ลักษณะคํามูลหลายพยางค์
ประกอบด้วยพยางค์ที่มีความหมายบา้ ง
ไม่มีความหมายบา้ ง แต่ความหมายของคํา
น้ันไม่มีเค้าความหมายของแต่ละพยางค์
เหลืออยู่เลย
นา ิ กา
มีความหมาย ไม่มคี วามหมาย มีความหมาย
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คํามูล
คํามูลแยกไมไ่ ด้
แยกแล้วไรค้ วามหมาย
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ฟิ )
คําประสม
คําประสม คือ การนาํ เอาคํามูล
ต้ังแต่ ๒ คํามารวมกันเป�นคําใหม่
ทีม่ คี วามหมายใหม่ แต่ยังมีเค้า-
ความหมายเดิมอยู่
เกิดคําใหม่ ความหมายใหม่
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ฟิ )
คําประสม
หลักการสรา้ งคําประสม
สรา้ งจากคํามูลชนิดใดและภาษาใด
ประสมกันก็ได้ ไมจ่ าํ เป�นต้องเป�นคํามลู
ชนิดเดียวกัน โดยคําประสมจะวาง
คําหลักไวห้ น้า คําขยายไวห้ ลัง
ผล (น.) ผลิต (ก.)
คําขยาย
คําหลัก
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
หลักการสรา้ งคําประสม
ชนดิ ของคํา ชนิดของคํา ตัวอยา่ ง
ชนดิ ของคํา
นาม + นาม น�า + ส้ม
นาม + กรย� า เตา + รด�
นาม + บุพบท บ้าน + นอก
กรย� า + กรย� า วง่ � + เต้น
กรย� า + นาม กิน + เส้น
กรย� า + วเ� ศษณ์ ลง + แดง
วเ� ศษณ์ + นาม ดี + ใจ
วเ� ศษณ์ + วเ� ศษณ์ หวาน + เยน็
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ิ๊ฟ)
หลักการสรา้ งคําประสม
ภาษา……….. ภาษาใด ๆ ตัวอย่าง
ภาษา………..
ไทย + ไทย แม่ + บ้าน
ไทย + สันสกฤต เขม็ + ทิศ
บาลี + จนี รถ + เก๋ง
ไทย + องั กฤษ รอ้ ง + โชว์
บาลี + ไทย ราช + วงั
สันสกฤต + ไทย ปก� ษ์ + ใต้
องั กฤษ + ไทย โปรแกรม + หนงั
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ฟิ )
ขอ้ สังเกตคําประสม
การ / ความ / ที่ / ของ / ชา่ ง / นัก / ชาว / หมอ / เครอ่ � ง
*** หากมีคําเหล่าน้ีนาํ หน้า จดั วา่ เปน� คาํ ประสม เชน่
การ การเมือง, การงาน, การละเล่น, การละคร
ความ ความรกั , ความดี, ความงาม, ความเจรญ�
ท่ี ท่พี ัก, ท่นี อน, ทอ่ี ยู,่ ทดี่ ิน
ของ ของเล่น, ของวา่ ง, ของขลัง, ของกิน, ของใช้
ชา่ ง ช่างไม้, ช่างยนต์, ช่างปูน, ชา่ งแอร์
นัก นักเรย� น, นักรอ้ ง, นักกีฬา, นักเลง, นักเขยี น
ชาว ชาวนา, ชาวบ้าน, ชาวสวน, ชาววัง
หมอ หมอลาํ , หมอดู, หมองู, หมอผี
เครอ่ � ง เครอ่ � งยนต์, เครอ่ � งมือ, เครอ่ � งบิน, เครอ่ � งครวั
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ฟิ )
คําประสม
คําประสมแยกได้
ความหมายต่างกัน
ก่อเกิดคําเปน� ความหมายใหม่
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซา�
คําซา� คือ คําที่เกิดจากการออกเสียงซ�า
กัน ๒ ครงั้ ข้ึนไป เพือ่ เน้นความหมายของคํา
ทาํ ใหเ้ กิดคําใหมท่ ม่ี ีความหมายต่างไปจากเดิม
โดยคําทซี่ �านน้ั ต้องมหี น้าทแ่ี ละความหมาย
เหมอื นกันด้วย
ๆเวลาเขียนจะใช้เครอ่ � งหมาย “ไม้ยมก”
เช่น สวย ๆ, แดง ๆ, ก๊กุ ๆ, สาว ๆ
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซ�า
แบ่งตามวตั ถปุ ระสงค์ในการใช้ ดังนี้
๑. บอกความเป�นเอกพจน์
เธอควรทาํ งานเป�นอยา่ ง ๆ (ทีละอยา่ ง)
คณุ ต้องแจกขนมเป�นคน ๆ ไป (ทีละคน)
นักเรย� นควรเขียนสมุดเป�นหน้า ๆ ไป (ทีละหน้า)
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซา�
๒. บอกความเป�นพหูพจน์
เธอมีเสื้อผา้ เปน� ตู้ ๆ
เด็ก ๆ ชอบว่ง� ไล่จบั
พวกพี่ ๆ ท่ีมากับเธอน่ารกั ดีนะ
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซา�
๓. บอกความไม่ช้ีเฉพาะ
พบกันสาย ๆ พรุง่ นี้
บ้านของเขาอยูใ่ กล้ ๆ ตลาด
ฉันเห็นเขาแถว ๆ สะพาน
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ�า
๔. บอกลักษณะของส่ิงต่าง ๆ
เขาชอบใส่เส้ือผา้ หรู ๆ
แม่บอกให้ฉันห่มผ้าหนา ๆ
พี่บอกวา่ ให้เลือกปลาตาใส ๆ
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซ�า
๕. บอกลักษณะแยกเป�นส่วน
เธอช่วยจดั ของเป�นกอง ๆ ไว้ให้หน่อยนะ
ลกู เสือทั้งหมดเข้าแถวเป�นหมู่ ๆ อยา่ งเปน� ระเบียบ
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซา�
๖. ใช้กับภาษาพูดซึ่งมีความหมายเปล่ียนไป
ข้อสอบข้อนบ้ี อกเลยวา่ หมู ๆ แน่นอน
เพิ่งเตือนไปหยก ๆ ก็ลืมเสียแล้ว
เขาชอบทาํ งานแบบลวก ๆ มาส่ง
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ�า
“นานา” และ “จะจะ”
ไม่ใช่คําซ�า
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซ้อน
คําซ้อน คือ คําทเ่ี กิดจากการนําคํามูล
ทีม่ คี วามหมายเหมือนกัน คล้ายกัน หรอ� ตรง
ข้ามกัน มาซ้อนกันเพื่อให้มีความหมายชดั เจน
ย่ิงขึน้ เชน่
ใหญโ่ ต ลกู หลาน เท็จจรง�
เหมือนกัน คล้ายกัน ตรงข้าม
กัน
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ้อน
คําซ้อน แบ่งออกเปน� ๒ ชนิด
คําซอ้ น คําซอ้ น
เพื่อความหมาย เพ่อื เสียง
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซ้อน
๑. ความหมายเหมือนกัน
หมายถึง คําทีน่ าํ มาซ้อนกันนั้นหมายถึง
สิ่งเดียวกันหรอ� เป�นอยา่ งเดียวกัน เชน่
กู้ยืม นุ่มนิ่ม เรว็ ไว
ดูแล สูญหาย ทรพั ยส์ ิน
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซ้อน
๒. ความหมายคล้ายกัน
หมายถึง คําทีน่ ํามาซอ้ นกันนั้นมีความหมายใกล้เคียงกันหรอ�
เปน� ไปในทาํ นองเดียวกัน พอท่จี ะจดั เขา้ กล่มุ เดียวกันได้ เชน่
ยักษ์มาร พ่ีน้อง ช้อนส้อม
แข้งขา ไรน่ า เขตแดน
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ้อน
๓. ความหมายตรงข้ามกัน
หมายถึง คําที่นํามาซ้อนกันนัน้ มคี วามหมายเปน�
คนละลักษณะหรอ� คนละฝา� ยกัน เชน่
ชั่วดี ผดิ ถูก เหตผุ ล
สูงตา� ดําขาว ต้ืนลึกหนาบาง
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซอ้ น
หมายถึง คําซ้อนทเ่ี กิดจาก
การนําคําทีม่ ีเสียงคล้ายกันมา
ซ้อนกัน เพอ่ื ให้ออกเสียงง่าย
ขึ้น ซง่ึ คําท่ีนาํ มาซ้อนนน้ั อาจมี
ความหมายเพยี งคําเดียว
หรอ� ไม่มีความหมายเลยก็ได้
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ้อน
คําทีม่ เี สียงพยญั ชนะต้นเหมอื นกัน
แต่มีเสียงสระต่างกันมาซอ้ นกัน
ง่เ� ง่า ท้อแท้ ตูมตาม ซุบซบิ
จอแจ งุ่มง่าม โด่งดัง จรง� จงั
ครูสิรก� ร กองทอง (ครูก๊ิฟ)
คําซอ้ น
คําที่มีเสียงพยญั ชนะต้นต่างกัน
แต่มเี สียงสระเดียวกันมาซ้อนกัน
แรน้ แค้น ราบคาบ รอมชอม อา้ งวา้ ง
ครูสิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซ้อน
คําที่ไม่มีความหมายซอ้ นกับคําที่
มีความหมาย เพ่ือสะดวกในการออกเสียง
มักใช้ในภาษาพูด
กระดกู กระเดี้ยว อดเอดิ พยายงพยายาม
ตาเตอ
ครสู ิรก� ร กองทอง (ครกู ๊ิฟ)
คําซอ้ น
คําซอ้ น ๔-๖ พยางค์
ท่ีมีเสียงสัมผัสภายในมาซ้อนกัน
ถ้วยโถโอชาม ประเจดิ ประเจอ้ ข้าเก่าเต่าเล้ียง
ข้าวยากหมากแพง