The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฎิบัติการ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนปฎิบัติการ 2564

แผนปฎิบัติการ 2564

Keywords: แผน ศรช.บ้านเกาะจำ

แผนปฎิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ 2564

ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ ตำบลเกาะศรีบอยา

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดกระบ่ี



แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 ( ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ )

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ศูนย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ ตำบลเกาะศรบี อยา อำเภอเหนือคลอง จังหวดั กระบ่ี
****************************

เพ่ือให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน
สำนักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง จึงได้จัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ ตำบลเกาะศรีบอยา
อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ทิศทางการดำเนินงาน และรายละเอียดแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ ซึ่งทางคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ
ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ และให้นำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังกล่าว
ใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานของ ศนู ย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ กศน.ตำบลเกาะศรีบอยา ต่อไป

ทั้งน้ี ตงั้ แต่ วันที่ ๙ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๓

ลงชือ่ ..........................................ผู้เสนอ
( นาสาวสุนดิ า มานพ )

ครู ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ

ลงชื่อ...........................................ผู้เหน็ ชอบ
( นายดนหมาด วงศาชล )

ประธานคณะกรรมการ ศรช.บา้ นเกาะจำ

ลงชื่อ...........................................ผู้อนมุ ัติ
( นายธีรพงษ์ ดวงแก้ว )

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเหนือคลอง

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 ( ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ )

คำนำ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ จัดทำขึ้นเพ่ือ
เป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2564
โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกระบี่ และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี
เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินงานศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ ให้เป็นไปตาม
เปา้ หมายทต่ี ั้งไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ
ประจำปีงบประมาณ 2564 เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้อง
ร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ เพื่อสนองตอบ
ความต้องการของประชาชนในพน้ื ทอ่ี ย่างแท้จริง

คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์การเรียน
ชุมชนบ้านเกาะจำ เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย
ตลอดจนเปน็ ประโยชนต์ ่อผูม้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ ง ประชาชน ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติต่อไป

นางสวสุนิดา มานพ
ครู ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ

9 ตลุ าคม 2563

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 ( ศนู ย์การเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ )

สารบญั

เร่ือง หนา้

คำรบั รองแผนปฎบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ 2564 ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของ ศรช.บา้ นเกาะจำ
1
ประวตั ิความเป็นมาของ ศรช.บ้านเกาะจำ 2
โครงสรา้ ง ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ 5
บทบาทหนา้ ที่ภารกจิ ศรช.บ้านเกาะจำ 6
ทำเนียบบคุ ลากรประจำศนู ย์การเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ (อดีต-ปัจจุบนั ) 6
จำนวนบคุ ลากร(ปปี จั จบุ ัน) 6
บคุ ลากรศูนย์การเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ 7
คณะกรรมการ ศูนยก์ าเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ 8
คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการดำเนินงาน 4 ศนู ย์การเรียนรู้ 10
คณะกรรมการองค์กรนักศึกษา 11
คณะกรรมการชมรม 4 ชมรมของศนู ย์การเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ 13
รางวลั เกียรติบตั ร/ผลงานดีเด่น 14
การวิเคราะห์ SWOT ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำบา้ นเกาะจำ 15
แหล่งเรยี นรู้และภาคเี ครือข่าย
ส่วนที่ ๒ ข้อมูลพน้ื ฐานเพ่ือการวางแผน 17
ขอ้ มลู พื้นฐานตำบลเกาะศรบี อยา 19
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ตำบลเกาะศรีบอยา 22
ขอ้ มูลกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ (ชาวเลฮรู ักลาโวย้ ) 27
ปัญหาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชนฯ
ส่วนที่ ๓ ทิศทางการดำเนินงาน 29
จดุ เนน้ การดำเนนิ งาน ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ ปีงบประมาณ 2564 30
นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2564 25
นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ 2564 28
เปา้ หมาย/แผนการพัฒนาจังหวดั กระบ่ี พ.ศ. 2561-2564
สว่ นท่ี ๔ รายละเอียดแผนงาน/โครงการ 48
แผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ประจำปีงบประมาณ 2564 50
แผนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ 2564 52
แผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง ประจำปีงบประมาณ 2564 41
ภาคผนวก 40
คณะผูจ้ ัดทำ

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบัติงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ)

สว่ นที่ 1

ข้อมูลพื้นฐานของศนู ย์การเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ

1.ประวตั ิความเปน็ มาของ ศรช.บ้านเกาะจำ

1.1 ช่ือสถานศกึ ษา : ศูนย์การเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ (Ban Koh Jum Community Learning Cente)
1.2 ทีต่ ัง้ : บ้านเกาะจำ หมู่ที่ 2 ตำบลเกาะศรีบอยา อำเภอเหนอื คลอง จังหวัดกระบ่ี 81130
1.3 พิกัดทีต่ งั้ : ละติจูด 7.905933 ลองตจิ ดู 98.985282
1.4 การติดตอ่ สอ่ื สาร

หมายเลขโทรศพั ท์ : 098-5644927
E – mail : [email protected]
Facebook : ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ
Website : http://krabi.nfe.go.th:800/73/

1.5 สังกดั : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

ศูนย์การเรียนบ้านเกาะจำ ตำบลเกาะศรีบอยา ตั้งอยู่ใน หมู่ท่ี 3 ตำบลเกาะศรีบอยา
อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ อาคารใกล้กับโรงเรียนบ้านเกาะจำ โดยเป็นอาคารเอกเทศชั้นเดียวเป็น
สำนักงานในส่วน ของอาคาร สำนักงานแบ่งออกเป็นสำนักงาน และพื้นที่ทำกิจกรรมของศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเหนือคลอง และเป็นสถานที่พบกลุ่มนักศึกษาหลักสูตร
ขั้นพื้นฐาน เลขที่ตั้งสำนักงาน หมู่ที่ 3 บ้านเกาะจำ ตำบลเกาะศรีบอยา อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
รหัสไปรษณีย์ ๘๑๑๓๐ โทรศัพท์ 098-5644927

ในปี ๒๕๕3 ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ ได้รบั ความอนเุ คราะห์อาคารจากองค์การบริหาร
ส่วนตำบลเกาะศรีบอยา มอบอาคารเอนกประสงค์บ้านเกาะปู ให้จัดกระบวนการเรียนรู้ชั่วคราว และ
ในปี พ.ศ. 2560 ได้รบั ความอนุเคราะหใ์ หใ้ ชอ้ าคารแหล่งเรยี นรู้การทำผ้าบาติก จากผู้นำชุมชนบ้านเกาะจำ
และไดม้ กี ารปรบั ปรงุ อาคารจากท่านผูใ้ หญ่บ้าน นำชมุ ชนและเครือขา่ ยต่างๆท้งั รฐั และเอกชน จนถงึ ปจั จุบัน

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบัติงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

มกี ารพัฒนา กศน.ตำบลเกาะศรบี อยา ทั้งบรเิ วณภายนอก และภายใน ซง่ึ เปน็ สถานศึกษาย่อยระดับหน่ึงท่ีมี
ความพร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนในพื้นที่
ตำบลเกาะศรบี อยา และละแวกใกล้เคยี ง มาใชบ้ ริการไดอ้ ย่างสะดวกมากขึ้น ตามนโยบาย กศน.ตำบล

โครงสรา้ ง ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ

นางสาวสนุ ดิ า มานพ นายสำราญ ระเดน่
ครปู ระจำกลุ่ม ศรช.บ้านเกาะจำ ประธานคณะกรรมการ

กศน.ตำบล

กลุ่มงานอำนวยการ กลุ่มงานการศกึ ษานอก กล่มุ ประสานภาคี
ระบบและการศกึ ษาตาม เครอื ขา่ ยและกิจการ
*งานธรุ การ,สารบรรณ
* งานวิเคราะหน์ โยบาย และแผน อัธยาศัย พเิ ศษ
* งานประชาสัมพันธ์
* งานข้อมลู สารสนเทศ *งานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานนอกระบบ * งานประสานงานเครอื ข่าย
* งานอาคารสถานท่ี * งานการจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง * งานรณรงคแ์ ก้ไขปญั หายาเสพตดิ
* งานแนะแนว * งานกิจกรรมยวุ กาชานอกโรงเรียน
*งานพฒั นาส่อื ,หลกั สตู ร * งานสรา้ งเสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
*กิจการนกั ศึกษา *งานสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
*งานการศึกษาตามอัธยาศยั

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง



แผนปฎบิ ตั งิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

2. บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ ศรช.บา้ นเกาะจำ

แนวทางการดำเนนิ งานของศนู ย์การเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ
ศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ ตำบลเกาะศรีบอยา มกี ารปรับบทบาทภารกิจให้สอดคล้องกับ

นโยบายรฐั บาลและบริบทของพน้ื ที่ ตลอดจนรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากขึน้ ภายใตก้ ารขบั เคลื่อน
การดำเนินงาน 4 ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

1) ศูนย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎใี หม่
เป็นศูนยก์ ลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการเรยี นรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรูห้ ลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน โดยดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้
หน่วนงานของรัฐ และเอกชน
2) ศนู ย์ส่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยตำบล (ศส.ปชต.)
เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความ
ร่วมมอื กับคณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.)
3) ศูนยด์ ิจิทลั ชุมชน
ซึ่งบริหารจดั การฐานขอ้ มูลที่จำเป็นสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อให้มีความรู้และรบั รู้ท่ีเท่าทนั
ปรับตัวใหส้ อดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลงของสังคมโลกยุคดิจิทัล
4) ศนู ย์การศกึ ษาตลอดชวี ติ ชุมชน
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และ
การศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการ
ดำเนนิ งาน โดย กศน.ตำบลมบี ทบาทเป็นผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวก

ทบาทหนา้ ที่ของศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ
1) การวางแผนจดั การเรียนรู้ตลอดชวี ิต โดยมีกระบวนการทำงาน ดงั น้ี
1.1 ศึกษาสำรวจชุมชนโดยละเอียดเพื่อจัดทำฐานข้อมูลชุมชน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล

ประชากรจำแนกตามตามอายเุ พศ อาชีพ ฯลฯ ข้อมลู เกีย่ วกบั สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัตชิ มุ ชน ขอ้ มูลด้าน
อาชีพ รายได้ ข้อมูลทางสงั คม ประเพณีวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ

1.2 จัดทำเวทีประชาคมร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานต่างๆ เพื่อร่วมกัน
จัดทำแผนชุมชน ที่ระบุความต้องการในการพัฒนาชุมชนความต้องการการเรียนรู้ หรือการศึกษาต่อของ
ประชาชนในชุมชน

1.3 จัดทำโครงการด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มาจากแผน
ชุมชนเนอต่อศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเพื่อขอรับการสนับสนุนและ
ประสานของความรว่ มมือจากภาคเี ครอื ขา่ ย

1.4 ประสานงานแสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตลอดจนอาสาสมคั รตา่ งๆ เพือ่ ร่วมจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอธั ยาศัยของชมุ ชนท่ีรบั ผิดชอบ

2) การจัดกิจกรรมการเรียนรูข้ อง ศูนย์การเรียนชุมชน โดยจำแนกกิจกรรมการเรียนการสอน
เพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ และจัดการศึกษาในหลักสูตรการศึกษานอกระบบรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จัดการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง หลกั สตู รระยะสน้ั เพอื่ การพฒั นาอาชีพ การพฒั นาทกั ษะชีวิตและการพฒั นาสงั คมและ

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

ชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงหรอื การสง่ เสริมวสิ าหกจิ ชุมชน

3) การสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งสนับสนุนการ
ใช้บริการของประชาชนในชมุ ชน เพื่อเป็นที่พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการ
จดั กจิ กรรมขององคก์ รหรือหน่วยงานภาครัฐ และสง่ เสริมการจัดตงั้ กลมุ่ หรือชมรมในชุมชน เชน่ กลมุ่ แม่บา้ น
กลมุ่ เยาวชน ชมรมผู้สงู อายุ ชมรมคมุ้ ครองผุ้บริโภค สภาเด็กและเยาวชน และองค์กรนกั ศึกษา กศน.

4) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย
องค์กรชุมชนผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อร่วมเป็นอาสาสมัคร กศน. และอาสาสมัคร
ส่งเสริมการอ่าน

กิจกรรมหลักของศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ
1) ศูนย์ข้อมูลขา่ วสารของชมุ ชน (Informationcenter)
1.1 พฒั นาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศระดับชุมชน ใหค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั โดยใช้

แบบเก็บข้อมูลของสำนักงาน กศน. จัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ประมวลผลเป็นรายตำบล จัดทำ
ระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศ และนำมาใชใ้ นการบรหิ ารจดั กิจกรรม

1.1 จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ และแผนปฏิบัติการ
ประจำปี นำเสนอแผน ต่อคณะกรรมการ กศน. ตำบล และภาคีเครือข่าย และเสนอแผนให้ศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ พจิ ารณาอนุมตั ิ

1.3 เสนอความรขู้ อ้ มลู ข่าวสารสารสนเทศของชุมชนใหถ้ ูกต้องและทันสมยั โดยเสนอข้อมูล
สารสนเทศที่มีความจำเป็นตอ่ การดำรงชีวิตประจำวัน เชน่ ข้อมลู เกี่ยวกับ แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน

2) ศนู ย์สรา้ งโอกาสการเรยี นรู้ (Opportunity Center)
2.1 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย โดยประสานงานและวางแผนร่วมกับ

ภาคีเครือข่าย ในชุมชน เช่นคณะกรรมการชมุ ชน อบต. พัฒนาที่ดิน สถานีอนามัย พัฒนากรตำบล สหกรณ์
ปศุสตั วป์ ระมง ตำรวจกำนัน ผใู้ หญบ่ า้ น อสม. อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน วัด มัสยิด โรงเรยี น ฯลฯ เพ่ือจัด
กจิ กรรมบริการชมุ ชน รวบรวมและเผยแพร่องค์ความรูข้ องภาคเี ครือข่าย ในการจัดการเรยี นรู้

2.2 เชื่อมโยงรูปแบบการให้บริการของหน่วยงานภาคีเครือข่าย กับ กศน. ตำบลโดย
ส่งเสริมและหรือจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)(สอศ.)
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (กระทรวงไอซีที) มุมวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต
(สสวท.) บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ธนาคารเคลื่อนที่ การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย อำเภอเคลื่อนท่ี
ฯลฯ พัฒนารูปแบบกิจกรรมให้หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในชุมชนเพ่ือ
สร้างโอกาส การเรียนรใู้ ห้กบั ประชาชน

2.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารโดยจดั ทำเว็บไซด์ กศน.ตำบล
3) ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน (Learning Center)

3.1 ออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมการศึกษาที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายโดย ศูนย์การ
เรียนชุมชน และกศน. อำเภอ ร่วมกับกลุ่มเป้าหมายในการออกแบบกิจกรรม/โปรแกรมหรือโครงการ
ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน. กิจกรรม/โปรแกรมหรือ
โครงการควรมลี กั ษณะท่บี รู ณาการระหว่างวิถชี ีวิต การทำงานและการเรียนรู้

3.2 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้แก่ประชาชน
กลุม่ เป้าหมายในชุมชน ดงั นี้

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบตั งิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ)

3.2.1 ส่งเสริมการรูห้ นงั สอื โดยจดั ทำแผนการแกป้ ญั หาผู้ไมร่ หู้ นงั สือสำหรบั กลมุ่ เป้าหมาย
ในตำบลอย่างชัดเจน จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การรู้หนังสือ ในกลุม่ เปา้ หมายอายุ ๑๕ - ๕๙ ปี เป็นลำดบั แรก

3.2.2 การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำแผนยกระดับการจัด
การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจำแนกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน เช่น ผู้เรียนที่ออก
กลางคัน เด็กเร่ร่อนผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ กลุ่มผู้ย้ายถิ่น ผู้นำท้องถิ่น กลุ่มอาชีพประชากรวัย
แรงงาน และวางแผนการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับภาคีเครือข่ายจัด
กจิ กรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และรายงานผลการดำเนนิ งาน

3.2.3 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จะต้องให้ความสำคัญและดำเนินการ จัดการศึกษาต่อเนื่อง
ประเภทการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเป็นลำดับแรกโดย จัดทำแผนจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/หลักสูตร
อาชีพระยะส้ัน ท่สี อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรียนและชุมชนโดยเน้นการเพ่มิ ทักษะทางด้านเทคโนโลยี
สมยั ใหมแ่ ละอาชพี ใหม่ที่สอดคลอ้ งกับสภาวการณป์ จั จบุ ัน
การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต จดั ทำแผนการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับปญั หา ความตอ้ งการ

ความจำเป็นของผู้เรียนและชุมชน เช่น การป้องกันสาธารณภัย สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและ

ทรพั ยส์ ิน คุณธรรมจรยิ ธรรม การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน จัดทำแผนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนใช้
รูปแบบ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย โดยการฝึกอบรม การประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสม เช่น จัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย จัดกระบวนการเรียนรู้ในการเป็น
พลเมืองดีของชุมชน สังคม ของประเทศ เพื่อนำไปสู่ความปรองดองสมานฉันท์ เศรษฐกิจชุมชน และการ
อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ จัดการศึกษาต่อเนื่องโดยใช้หลักสูตรบูรณาการ เพื่อการพัฒนาท่ี
ยงั่ ยืนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.2.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย
การส่งเสริมการอ่านโดย จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ในรูปแบบต่างๆ เช่น
ครอบครวั รักการอา่ น มุมสง่ เสริมการอ่านในชมุ ชน กศน.ตำบลเคลือ่ นท่ี อาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น กระเป๋า
ความรู้สู่ชุมชน หีบหนังสือสู่หมู่บ้าน จุดบริการการอ่านชุมชน มุมอ่านหนังสือที่ท่ารถ ร้านเสริมสวย
รา้ นตดั ผม สถานอี นามัย เปน็ ต้น

3. ทำเนียบบุคลากรประจำศูนย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ

ลำดบั ที่ ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลา
ทด่ี ำรงตำแหนง่
๑. นายอนนั เขียวสด ครกู ศน.ตำบล 2556-2557
2. นางพรศรี คงแกว้ ครูกศน.ตำบล 2557-2559
3. นางเบญจภรณ์ ชว่ ยคำ้ ครกู ศน.ตำบล 2559-2563
4. นางสาวสุนิดา มานพ ครกู ศน.ตำบล 2563-ปจั จบุ ัน

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

4. จำนวนบุคลากร(ปปี ัจจุบัน) ตำ่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี จำนวน ป.เอก รวมจำนวน
บ้านเกาะจำ - ๒ ป.โท -๒
- --
ประเภท/ตำแหนง่ ๒ -
- - -๒
พนักงานราชการ
ครศู ูนยก์ ารเรยี นชุมชน -

รวมจำนวน

5. บุคลากรศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ
บา้ นเกาะจำ

นายธีรพงษ์ ดวงแกว้
ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเหนอื คลอง

นางสาวจิราวรรณ ทองมณี นายเฉลมิ พล เอ่งฉ้วน
ครผู ชู้ ว่ ย ครูอาสาสมัครฯ

นายอดิ รสิ กลุ พอ่ นางสาวสุนิดา มานพ
หวั หน้า ครู กศน.ตำบล ครู ศรช.บา้ นเกาะจำ

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง



แผนปฎบิ ตั งิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

6. คณะกรรมการ ศนู ยก์ าเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ

ที่ ช่อื -สกลุ รูปภาพ

1 นายหมาดดน วงศาชล

ประธาน

2 น.ส.กนกพรรณ ดำรงออ่ งตระกูล

รองประธาน

3 นายธนยศ หลานหลงสา

กรรมการ

4 นายสมเดช เศรษฐวิศษิ ฎ์กุล

5 นายอาหมีด ดำดี กรรมการ
6 นางรงุ่ อรณุ ตะกมิ จิ 0

กรรมการ

กรรมการ
นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง



แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

ที่ ชอ่ื -สกุล รูปภาพ

7 นายสรุ ินทร์ สายราม

ประธาน

8 น.ส.สมุ าลนิ โตะไม

กรรมการ

9 นางสาวสนุ ิดา มานพ

กรรมการและเลขานกุ าร

7. คณะกรรมการศูนย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่

บ้านเกาะจนำายสำราญ ระเด่น ประธานกรรมการ

นายธนยศ หลานหลงสา รองประธานกรรมการ

นายสมพงษ์ ชลธี กรรมการ

นายสมเดช เศรษฐวิศิษฎ์กลุ กรรมการ

นางสาวกนกพรรณ ดำรงอ่องตระกูล กรรมการ

นายสรุ นิ ทร์ สายราม กรรมการ

นางสาวสมุ าลนิ โตะไม กรรมการ

นางสาวรุ่งอรุณ ตะกมิ จิ กรรมการ

นางสาวสุนดิ า มานพ กรรมการและเลขานกุ าร

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง



แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

8. คณะกรรมการศนู ยส์ ่งเสริมประชาธิปไตยตำบล

บา้ นเกาะนจาำยสำราญ ระเดน่ ประธานกรรมการ

นายหมาดดน วงศาชล รองประธานกรรมการ

นายสมเดช เศรษฐวิศิษฎ์กลุ กรรมการ

นายสมพงษ์ คลองยวน กรรมการ

นางสาวกนกพรรณ ดำรงอ่องตระกูล กรรมการ

นายอาหมีด ดำดี กรรมการ

นายสุรนิ ทร์ สายราม กรรมการ

น.ส.สุมาลนิ โตะไม กรรมการ

นางสาวสนุ ิดา มานพ กรรมการและเลขานุการ

9. คณะกรรมการศูนย์ดิจทิ ัลชุมชน ประธานกรรมการ
บา้ นเกาะจนำายธนยศ หลานหลงสา รองประธานกรรมการ
กรรมการ
นางสาวสมุ าลิน โตะไม กรรมการ
นายธนากร ส่งชพี กรรมการ
นายสมพงษ์ คลองยวน กรรมการ
นายธนากร สง่ ชพี กรรมการ
นายสุรนิ ทร์ สายราม กรรมการและเลขานุการ
นางสาวสดุ า สามารถ
นางสาวสุนดิ า มานพ

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๑๐

แผนปฎิบตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

10. คณะกรรมการศนู ย์เรยี นรูต้ ลอดชวี ิต

บ้านเกาะจำนายสำราญ ระเดน่ ประธานกรรมการ

นายหมาดดน วงสาชล รองประธานกรรมการ

นางสาวรุ่งอรณุ ตะกมิ จิ กรรมการ

นายสมเดช เศรษฐวศิ ษิ ฎ์กลุ กรรมการ

นายสรุ นิ ทร์ สายราม กรรมการ

นายยธุ นา คลองยวน กรรมการ

นายธนยศ หลานหลงสา กรรมการ

นางสาวสุนดิ า มานพ กรรมการและเลขานุการ

11. คณะกรรมการองค์กรนักศึกษาศูนย์การเรยี นชมุ ชนบ้าน

เกาะจำ คณะกรรมการองคก์ รนกั ศกึ ษา

3

บา้ นเกาะจำ

คณะกรรมการท่ีปรึกษา ประธาน

รองประธาน กิจกรรมนักศึกษา การเงินบัญชี ประชาสัมพันธ์

ปฎคิ ม เลขานกุ าร ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๑๑

แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

12. คณะกรรมการชมรม TO BE NUMBER ONE ประธานกรรมการ
บ้านเกาะจำ นางสาวสุนดิ า มานพ ครทู ปี่ รกึ ษา รองประธานกรรมการ
เลขานุการ
นางสาวสิราวรรณ ทิพยส์ วุ รรณสิริ การเงิน/บัญชี
นางสาววรี ะวรรณ กลักดวงจิตร์ ประชาสัมพันธ์
นางสาวกัญญาภรณ์ สาระภี กิจกรรม
นางสาวกญั ญาดา สาระภี รบั ร้องเรือ่ งทุกข์
นางสาวจุรพี ร เสดสนั ประสานงาน
นางสาวอรปรยี า หา้ หวา้ จัดหาทนุ
นางสาววันนิด ชา้ งนำ้
นางสาวธัญวรตั น์ วงศาชล
นางสาวสุมาลิน โตะโม

“ เป็นหนง่ึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด ”

• กรรมการ
• กองทุน
• กิจกรรม

“เน้นการช่วยเหลือดูแลสมาชิกและพัฒนาให้มีคุณภาพ มีความสุข ภายใต้แนวคิด“ปรับทุกข์
สร้างสุข แกป้ ญั หาพัฒนา EQ ทัง้ จากการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม”

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๑๒

แผนปฎบิ ัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

13. คณะกรรมการชมรมอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม

บา้ นเกาะจำ นางสาวสนุ ิดา มานพ ครูท่ีปรกึ ษา

นางสาวจรุ ีพร เสดสนั ประธานกรรมการ

นางสาวสุมาลิน โตะโม รองประธานกรรมการ

นางสาวรณุ ฑกิ า วารกี ลุ เลขานกุ าร

นางสาวกชกร อ่อนแก้ว การเงิน/บญั ชี

นายธีรวฒุ ิ ลี้เดน็ ประชาสัมพันธ์

นางสาวรญั ชนา อุษาวลิ าวัลย์ ประสานงาน

นางสาวจุรีภรณ์ วันชว่ ย กิจกรรม

14. คณะกรรมการชมรมยวุ กาชาด
บ้านเกาะจำ นางสาวสนุ ิดา มานพ ครทู ปี่ รึกษา

นางสาวอรปรยี า หา้ หวา ประธานกรรมการ
นางสาวกชกร อ่อนแกว้ รองประธานกรรมการ
นางสาวอนิ ทุกานต์ ออ่ นแก้ว เลขานกุ าร
นางสาวกชกร อ่อนแก้ว การเงนิ /บญั ชี
นางสาวจรุ ีภรณ์ วนั ชว่ ย ประชาสมั พนั ธ์
นางสาวอริสรา เจรญิ ไพบลู ยพ์ งษ์ ประสานงาน
นางสาวจันตมิ า เหร่เดน็ กิจกรรม
นางสาวสายพณิ เชอื้ ทะเล กิจกรรม

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๑๓

แผนปฎบิ ตั งิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

15. คณะกรรมการชมรมจติ อาสา

บ้านเกาะจำ นางสาวสนุ ดิ า มานพ ครทู ่ีปรึกษา

นางสาวอภิรดี พาราวงศต์ ระกลู ประธานกรรมการ

นางสาวจรุ ีพร เสดสัน รองประธานกรรมการ

นางสาวสกุ ารณ์ทพิ ย์ เชื้อสง่า เลขานุการ

นางสาวธัญวรตั น์ วงศาชล การเงิน/บัญชี

นายอานนท์ เรอื งมี ประชาสมั พนั ธ์

นาย สุทธิพงษ์ ยะระ ประสานงาน

นายกิตตพิ งศ์ หวงั สบู กิจกรรม

นายปฐนวัฒน์ มาศโอสถ กจิ กรรม

16. รางวัลเกยี รติบัตร/ผลงานดีเดน่
บา้ นเก1า.ะ)จำปี 2562 ได้รับรางวัลที่ 1 การปฎบิ ัตงิ าน กศน.ดเี ด่นระดบั จงั หวัด ประจำปี 2562 ประเภท
ครูประจำศนู ย์การเรียนชุมชนดเี ด่น ณ สำนักงาน กศน.จังหวัดกระบ่ี

2.) ปี 2562 ได้รับรางวัล ดีเด่น ห้องเรียนสีข่าว ตามโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด
และอบายมขุ ณ กศน.อำเภอเหนอื คลอง

3.) ปี 2562 ได้รับรางวัลที่ 3 การปฎิบัติงาน กศน.ดีเด่นระดับกลุ่มอันดามัน ประจำปี 2562
ประเภท ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชุมชนดเี ดน่

4.) ปี 2562 ได้รับรางวัลที่ 3 การประกวดพานดอกไม้ พิธีไหว้ครู ประเภทความคิดสร้างสรรค์
ประจำปกี ารศกึ ษา 2562 ภาคเรยี นที่ 1 ณ กศน.อำเภอเหนอื คลอง

5.) ปี 2562 ได้รับรางวัลที่ 2 การประกวดพานดอกไม้ พิธีไหว้ครู ประเภทความคิดสร้างสรรค์
ประจำปีการศึกษา 2562 ภาคเรยี นที่ 2 ณ กศน.อำเภอเหนอื คลอง

6.) ปี 2563 ได้รับรางวัล การเข้าสอบของนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน ประจำภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 มากกว่าร้อยละ 90

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๑๔

แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

17. การวิเคราะห์ SWOT ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำบ้าน
เกาะจำ

จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย แนวทางการพฒั นา
ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ ได้จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชนและ

จดั ทำเวทปี ระชาคมหมู่บา้ น เพือ่ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงคใ์ นการจัดทำแผนปฎิบัติการของ
กศน.ตำบล โดยร่วมกันวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ
อปุ สรรค (Threat) การดำเนนิ งานของศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนท่ผี า่ นมา สรุปไดด้ งั นี้

1.ปจั จยั ภายใน
จุดแข็ง (Strength)
- บุคลากรมีโอกาสในการเข้ารบั การอบรมทกั ษะต่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการทำงาน
- มรี ะเบยี บวนิ ัยตั้งใจในการทำงาน
- ใช้วิธีการสอนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ทักษะความรู้ระหว่างบุคคลที่มีความถนัด/
ประสบการณ์
- บคุ ลากรมีความซอ่ื ตรง โปรง่ ใส
- บคุ ลากรมคี วามพรอ้ มในการฝึกทักษะการจัดการเรียนรู้
- มกี ารจดั กระบวนการเรียนรูค้ รอบคลมุ ทุกพ้ืนท่ี
- มแี หล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย
- นักศกึ ษาจบหลกั สูตรไปแลว้ สามารถไปเรยี นต่อและประกอบอาชีพได้
- มขี อ้ มลู สารสนเทศเก่ยี วกับผ้เู รียนทเี่ ป็นปัจจุบันสามารถนำมาปรบั ปรุงแก้ไขให้ดีขนึ้

จดุ ออ่ น (Weakness)
- บุคลากรมคี วามรูไ้ ม่ตรงกบั สายงาน
- บุคลากรมหี น้าทรี่ ับผิดชอบหลายด้าน และเน่อื งจากมีบุคลากรไมเ่ พยี งพอทำให้ต้องรับผิดชอบ

งานหลาย ๆ อย่างและทำให้ผลงานออกมาไมด่ ีเทา่ ที่ควร
- นกั ศกึ ษาไม่มเี วลามาพบกลุม่
- ขาดส่ือการเรยี นการสอน
- กศน.ตำบลไมเ่ ปน็ เอกเทศ
- ขาดงบประมาณสนับสนุนในการจดั กระบวนการเรียนรู้
- การจัดเอกสารตา่ ง ๆ ไมเ่ ปน็ ระบบเท่าทค่ี วร เน่อื งจากยังไมม่ ขี น้ั ตอนในการดำเนินงาน
- วัสดุ ครุภัณฑ์มีไม่เพียงพอสำหรับการใชง้ าน
- ไม่มียานพาหนะในการปฏบิ ัติงาน
- นักศึกษาขาดความสนใจในการเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับทักษะต่าง ๆ และกระบวนการจัด

กิจกรรมไม่หลากหลาย ทำให้เกิดความเบื่อหน่ายแกผ่ ู้เข้ารับการอบรม
- การนิเทศกำกับตดิ ตามงานไม่เปน็ ไปอย่างต่อเน่ือง
- เนกั ศกึ ษาการศึกษานอกระบบเปน็ ผใู้ หญ่ ทำให้ จะไมก่ ล้าแสดงออก
- ขาดสอ่ื เทคโนโลยีทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนร้ใู น กศน.ตำบล

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๑๕

แผนปฎิบตั งิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

2. ปัจจยั ภายนอก
- เครือข่ายในการประสานงานในการจัดการศึกษา
- เครือข่ายสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ท่ี

หลากหลาย สามารถจดั กระบวนการเรียนรู้เพ่อื ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
- เครือข่ายองคก์ รชุมชน มสี ่วนรว่ มในการจดั กระบวนการเรยี นรู้
- บคุ ลากรมกี ารพัฒนาตนเองเพอ่ื นำมาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้
- มีการสนบั สนนุ สอื่ และเทคโนโลยีที่เออ้ื ต่อการจัดกระบวนการเรยี นร้จู ากเครือข่าย
- มีชมุ ชนทส่ี ามารถแก้ปญั หา พ่ึงพาตนเอง เปน็ ชุมชนตน้ แบบในการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
- รปู แบบการจดั การศกึ ษาทเี่ อ้ือประโยชน์ และตรงกับความตอ้ งการของประชาชน
- เครอื ขา่ ยใหค้ วามร่วมมือในการจดั กจิ กรรม

3. ปัญหาอปุ สรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก (Threat)
- ขาดการประสานงานและพจิ ารณาอยา่ งต่อเนื่องของชุมชนในการจดั กระบวนการเรียนรู้
- ระยะเวลาทีจ่ ดั กจิ กรรมไมเ่ หมาะสม เช่น การประกอบอาชีพ
- การประกอบอาชีพประจำ ทำให้นกั ศกึ ษาไมส่ ามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้
- ในการจดั กจิ กรรม กศน.ในบางพื้นท่ี ทมี่ ีความห่างไกลทำให้ไม่มผี เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม
- นักศึกษาลาออกกลางคันเนื่องจากปัญหาครอบครัว ปัญหาส่วนตัว เช่น ย้ายงานกะทันหัน

เกิดความทอ้ แท้ มีปญั หาครอบครัว หยุดงานไม่ได้
- ขาดงบประมาณสนับสนุนในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายอย่างเพยี งพอ
- ศรช. ยงั ไม่เปน็ ศนู ยก์ ารการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตของชมุ ชน

18. แหล่งเรียนรแู้ ละภาคเี ครอื ข่าย

บา้ นเกาะจำ
แหลง่ เรียนร้ปู ระเภทบุคคล

ท่ี ช่อื แหลง่ เรียนรู้ ความร้คู วามสามารถ สถานท่ี
- ศาลาแปดเหลีย่ มบ้านเกาะปู
1 นางปราณี ชาญน้ำ - การแปรรปู อาหารทะเล - ม.2 บ้านเกาะปู
- ม.2 บา้ นเกาะปู
2 นายสำราญ ระเดน่ - การเพาะพนั ธุ์ ปูมา้ สาหร่ายทะเล - ม.3 บ้านเกาะจำ

3 นายอาหลี ชาญนำ้ - การเพาะพันธุ์หญา้ ทะเล สถานที่
- ม.3 บา้ นเกาะจำ
4 นายมาม้า ช้างน้ำ - การทำประมงเชงิ วถิ ชี าวเล - ม.2 บ้านเกาะปู
- ม.2 บา้ นเกาะปู
แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล เศรษฐกิจพอเพียง/สังคม/ชุมชน - ม.2 บา้ นเกาะปู
- ม.2 บา้ นเกาะปู
ท่ี ชอื่ แหล่งเรยี นรู้ ความรู้ในดา้ น - ม.2 บา้ นเกาะปู
- ม.2 บ้านเกาะปู
๑ ศรช.บา้ นเกาะจำ - การศกึ ษาพื้นฐานและอธั ยาศยั - ม.2 บ้านเกาะปู
- ม.2 บ้านเกาะปู
๒ ธนาคารปมู า้ - การเพาะพนั ธป์ ูม้า

๓ ศนู ยเ์ รยี นร้กู ารเลี้ยงหอนชกั ตนี - แปรงสาธติ การเลย้ี งหอยชกั ตีน

๔ ศนู ย์สาธิตการเล้ียงสาหร่ายพวงองุน่ - การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มการเลี้ยงสาหรา่ ยพวงองุน่

๕ ธนาคารธนาคารปลิง - เพาะพนั ธุป์ ลิง

6 ธนาคารปลา - การเลี้ยงปลา

7 ธนาคารหอย - การเลยี้ งหอย

8 ธนาคารหญา้ ทะเล - การเพาะพนั ธห์ ญา้ ทะเล การเจรญิ เติบโต

9 ธนาคารปลาหมึก - การเลี้ยงปลาหมึก

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๑๖

แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

19. ภาคเี ครือข่าย ความรู้ในดา้ น สถานท่ี
บ้านเกาะจำ
- การศกึ ษาตามอัธยาศยั - ม.3 บ้านเกาะจำ
ภาคเี ครือขา่ ย
ช่ือแหล่งเรยี นรู้ - การศึกษาตามอธั ยาศยั - ม.2 บ้านเกาะปู
ศพด.บา้ นเกาะจำ
ศพด.บา้ นเกาะปู - การศกึ ษาตลอดชวี ิต - ม.9 บ้านแหลมกรวด
อบต ตำบลเกาะศรบี อยา
โรงเรยี นบ้านเกาะปู - การศึกษาตามอัธยาศยั และการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน - ม.2 บา้ นเกาะปู
โรงเรียนบ้านติงไหร
โรงเรยี นบ้านเกาะจำ - การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน - ม.5 บา้ นตงิ ไหร
รพ.สต บา้ นเกาะจำ
ชมรมคนรกั บา้ นเกาะปู - การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน - ม.3 บา้ นเกาะจำ
ชมรมผา้ บาตกิ
ชมรมผ้ามดั ยอ้ ม - การสง่ เสริมสุขภาพจิตและสุขกาย - ม.3 บ้านเกาะจำ
มสั ยดิ บา้ นบา้ นเกาะปู
มสั ยดิ บ้านตงิ ไหร - การศกึ ษาตลอดชวี ิต - ม.2 บ้านเกาะปู
มัสยดิ บา้ นเกาะจำ
โรงเรยี นธรรมธีปบ้านเกาะปู - การศกึ ษาการฝกึ ประประสบการณ์ดา้ นผ้าบาติก - ม.2 บา้ นเกาะปู
โงเรียนมศิ บาห้ลุ ญันนะฮ์
แหลง่ เรียนรู้ธนาคารปมู า้ บา้ นเกาะปู - การศกึ ษาการฝึกประประสบการณ์ดา้ นผ้ามัดยอ้ ม - ม.2 บ้านเกาะปู
แหลง่ เรยี นรธู้ นาคารปูมา้ บ้านเกาะจำ
แหล่งเรยี นรธู้ นาคารปลิงทะเล - การศึกษาตลอดชีวิต - ม.2 บา้ นเกาะปู
แหลง่ เรียนรธู้ นาคารปลา
แหล่งเรียนรู้การเพาะพนั ธห์ ญา้ ทะเล - การศึกษาตลอดชวี ิต - ม.5 บา้ นตงิ ไหร
แหลง่ รัยนรู้การพนั ธ์สาหรา่ ยทะเล
กลุ่มอาชีพเครอื่ งแกงตำมอื - การศึกษาตลอดชวี ติ - ม.3 บา้ นเกาะจำ
กลมุ่ อาชพี การตดั เย็บเสือ้ ผ้า
กลมุ่ อาชีพทอผา้ ชุมชนบา้ นเกาะปู - การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน - ม.2 บา้ นเกาะปู
ชมรมอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อม
ชมรมส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วบา้ นเกาะปู - การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน - ม.3 บ้านเกาะจำ

- การศกึ ษาตลอดชวี ิต - ม.2 บา้ นเกาะปู

- การศึกษาตลอดชวี ิต - ม.3 บ้านเกาะปู

- การศกึ ษาตลอดชวี ิต - ม.2 บา้ นเกาะปู

- การศกึ ษาตลอดชวี ิต - ม.2 บ้านเกาะปู

- การศึกษาตลอดชีวติ - ม.2 บา้ นเกาะปู

- การศึกษาตลอดชีวิต - ม.2 บา้ นเกาะปู

- การศกึ ษาตลอดชีวิต - ม.2 บ้านเกาะปู

- การศกึ ษาตลอดชวี ติ - ม.2 บ้านเกาะปู

- การศึกษาการฝกึ ประประสบการณ์ดา้ นการทอ่ ผา้ - ม.2 บ้านเกาะปู

- การศึกษาตลอดชีวิต - ม.2 บ้านเกาะปู

- การศึกษาตลอดชวี ติ - ม.2 บา้ นเกาะปู

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๑๗

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

สว่ นท่ี 2
ขอ้ มูลพ้นื ฐานเพ่ือการวางแผน

1. ขอ้ มูลพน้ื ฐานตำบลเกาะศรีบอยา

เกาะศรบี อยาชมุ ชนเกาะศรีบอยา ประกอบไปดว้ ยชุมชนยอ่ ยบนเกาะขนาดใหญ่ ๓ แห่ง ไดแ้ ก่
๑. เกาะศรบี อยา ประกอบด้วยชุมชนย่อย ๓ แหง่ คือ
- หมู่ ๑ บ้านคลองเตาะ
- หมู่ ๖ บ้านเกาะศรีบอยา
- หมู่ ๗ บ้านหลงั เกาะ
๒. เกาะปู – เกาะจำ ประกอบด้วยชุมชนยอ่ ย ๓ แห่ง คอื
- หมู่ ๒ บา้ นเกาะปู
- หมู่ ๓ บ้านเกาะจำ
- หมู่ ๕ บา้ นติงไหร
๓. เกาะฮัง่ ประกอบดว้ ยชุมชนยอ่ ย ๑ แหง่ คือ
- หมู่ ๔ บ้านเกาะฮั่ง

จากคำบอกเล่าของชาวบ้านในชุมชนบ้านคลองเตาะ และชุมชนบ้านเกาะศรีบอยา ได้ข้อมูล
ตรงกนั ว่า ประชากรบนเกาะศรีบอยาอพยพยา้ ยถิ่นมาจากเกาะนกคอม ซ่งึ อยหู่ ่างไปทางทศิ ตะวนั ออกในราว
ปี พ.ศ.๒๔๙๐ เปน็ ต้นมา คำวา่ “ศรีบอยา” มผี ูใ้ หค้ วามหมายไวเ้ ป็น ๒ นยั คอื ศรบี อยาคำเดิมน่าจะมาจาก
ภาษาของชาวเล ทเ่ี รยี กเกาะนว้ี า่ “ปเู ลา บฮี าย่า” คำว่า “ปเู ลา” แปลวา่ เกาะ ส่วนคำว่า “บีฮาย่า” แปลว่า
จระเข้ ซึ่งกล่าวกันว่าสมัยก่อนเกาะนี้มีจระเข้น้ำเค็มชุกชุมมาก อีกนัยหนึ่งกล่าวว่าศรีบอยาเดิมชื่อว่า “ปา
แซะบอยา่ ” ซ่ึงเป็นคำในภาษามลายู โดย “ปาแซะ” หมายถึง หาดทราย สว่ น “บอยา”

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๑๘

แผนปฎบิ ัตงิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

จากเอกสารรายงานข้อมูลระดับหมู่บ้าน โครงการจัดการและคุ้มครองพื้นที่ชุ่มน้ำ ปากแม่น้ำ
กระบ่ี (๒๕๔๖) กลา่ วถงึ ประวัติชุมชนบนเกาะศรีบอยาวา่ สมยั กอ่ นมีการอพยพของผู้คนจำนวนหน่ึงจากรัฐก
ลันตันและเกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย โดยเดินทางมาทางทะเลเข้ามาอาศัยอยู่บนเกาะนกคอม ผู้คน
ตระกูลแรกๆ ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐาน เช่น ตระกูลกะลันตัน (มาจากรัฐกลันตัน) ตระกูลแหลมเกาะ (มาจากเกาะ
ลังกาวี) และตระกูลตะกิมจิ (เป็นภาษามลายู แปลว่า วงศ์ตระกูล) ในยุคนั้นเกาะนกคอมมีความเจริญมาก
เป็นพื้นที่ที่มีการค้าขายและเปลี่ยนสินค้าทางทะเล ครั้นเมื่อมีคนมาอยู่มากขึ้นประชากรส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพทำนา ขณะท่เี กาะนกคอมซึ่งเปน็ เกาะขนาดเล็ก เริ่มมพี ้ืนทไ่ี ม่เพียงพอในการรองรับประชากรที่เพ่ิมขึ้น
เรื่อยๆ ซึ่งขณะนั้นเนื้อที่บริเวณเกาะศรีบอยาเป็นป่าสงวน แต่ต่อมาได้เปิดให้ประชาชนเข้ามาจับจอง
ประชาชนบนเกาะนกคอมและพื้นที่ใกล้เคียงจึงได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานบนเกาะศรีบอยานับแต่นั้นเป็นต้นมา
ซึ่งในอดีตเกาะศรีบอยาเป็นที่รู้จักในฐานะเป็นที่กักขังนักโทษก่อน จะส่งต่อไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช
เนอ่ื งจากพนื้ ที่โดยรอบเกาะในยุคน้ันมจี ระเข้อยู่มากชุมชนแหง่ แรกบนเกาะศรีบอยา ได้แก่ ชุมชนหมู่

๑. บ้านคลองเตะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือของเกาะ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีระยะทาง
ใกลก้ ับเกาะนกคอมมากท่สี ุด โดยในพน้ื ทหี่ มู่บ้านมีคลองเล็กๆ อยู่สายหน่ึงมตี ้นลิบง หรือตะลิบง (เป็นภาษา
ยาวี หมายถึง ต้นหลาวชะโอนหรือหลาวโอน ซึ่งเป็นต้นไม้ชนิดหนึ่งในตระกูลปาล์ม) ขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก
“เตาะ” เปน็ คำในภาษามลายูหมายถงึ “กาบข้องต้นลบิ ง” ซง่ึ ชาวบ้านจะใช้ใบและกาบ (เตาะ) ของต้นหลาว
โอนมาทำเป็นทตี่ กั น้ำเรยี กว่า “หมา” (เมื่อทำจากใบหลาวโอนจึงเรียกวา่ หมาหลาวโอน) ผ้คู นท่ีอาศัยอยู่บน
เกาะนกคอมได้เข้ามาเก็บเอาเตาะหรือ กาบของต้นลิบงในบริเวณนี้ไปทำเป็นภาชนะตักน้ำ จึงเรียกพื้นท่ี
บรเิ วณนี้วา่ “คลองเตาะ” มาจนถงึ ปจั จบุ นั

๒. เกาะปู – เกาะจำ เดิมเกาะปูและเกาะจำเป็นคนละเกาะกัน โดยเกาะปูคือเกาะขนาด
ใหญ่ ที่อยู่ทางทิศตะวันตก ขณะที่เกาะจำคือเกาะเล็กๆ ที่อยู่ถัดออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะปู
ซึ่งปัจจุบันคือเกาะจำนุ้ย เกาะจำนุ้ยนั้นเคยเป็นที่อยู่ของชาวเลมาก่อน ต่อมาเกิดโรคระบาด ชาวเลจึงได้
อพยพออกมาอยู่ทางตอนใต้ของเกาะปู และเรียกบริเวณใหม่ทีย่ ้ายไปอยูว่ า่ “เกาะจำ” อีกทำให้เกาะปูมีชื่อ
เรียกตอ่ ทา้ ยว่าเกาะจำพ่วงไปด้วย กลายเปน็ “เกาะปู - เกาะจำ”

คำว่า “เกาะจำ” ภาษาชาวเลเรียกวา่ “ปูเลากระจั๊บ” ปูเลา หมายถึง เกาะ ส่วนกะจั๊บ คือต้น
จาก เนื่องจากเดิมเกาะนี้มีต้นจากขึ้นอยู่มาก สามารถตัดมาผูกด้วยเชือกหรือเส้นด้ายกลายเป็น “ตับจาก”
ใช้มุงหลังคาได้ คำว่าเกาะจำจึงน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า “กะจั๊บ” นั้นเอง อย่างไรก็ดีบางท่านก็ให้ความเห็น
ว่า บริเวณบ้านเกาะจำแห่งใหม่ที่ชาวเลอพยพไปอยู่นั้น มีชื่อเรียกว่า “ปูเลาลักอะค้อย” แปลว่า เกาะนก
ออก ซึ่งนกออกในที่นี้เป็นชื่อนกชนิดหนึ่ง มีขนสีค่อนข้างขาวหรือสีครีม เป็นนกทะเล ที่มาพักอาศัยอยู่บน
เกาะนเี้ ปน็ ประจำ “จำ” ในทน่ี จ้ี ึงหมายถึง “จำท”ี่ คอื นกมาเกาะในที่เดมิ เป็นประจำทุกครั้ง ชาวเลจึงเรียก
บริเวณนี้ว่า “เกาะจำ”

จากคำบอกเล่าของชาวบ้านหมู่ ๓ บ้านเกาะจำ โดยนายสุวรรณ สุขทอง กล่าวว่าใน
พ.ศ.๒๔๙๘ มีการตั้งถิ่นฐานบริเวณบ้านเกาะจำอยู่ประมาณ ๗๐ - ๘๐ ครัวเรือน สภาพสังคมประกอบไป
ด้วยชาวเล ซึ่งเป็นกลุ่มชนดั้งเดมิ ในบริเวณนี้ มีชาวจนี อาศยั อยู่นานมากกว่าหนึ่งร้อยปี โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่
บริเวณต้นไทรใหญ่ ซึ่งชาวจีนกลุ่มแรกที่อพยพเข้ามาในบริเวณนี้ได้เจอชาวเลอาศัยอยู่ก่อนหน้าแล้ว
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมุสลิมท่ีอพยพมาจากพื้นที่ใกล้เคยี งได้เข้ามาอาศัยกระจัดกระจายอยู่ในหมู่บ้านด้วย
ทำให้ปัจจุบันบ้านเกาะจำมีกลุ่มประชากรอาศัยอยู่อย่างหลากหลายมากที่สุด คือ ประกอบไปด้วยชาวพุทธ
มุสลิมเชื้อสายจีน ประมาณร้อยละ ๒๐ ชาวไทยมุสลิมพื้นถิ่นใต้ ประมาณ ร้อยละ ๔๐ และชาวไทยใหม่
อีกประมาณ ร้อยละ ๔๐

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๑๙

แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

สว่ นประวัติการตั้งชมุ ชนหมู่ ๒ บ้านเกาะปู เกิดจากการอพยพผู้คนโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงชาวมุสลิม
พื้นถิ่นใต้จากบริเวณใกล้เคียงมาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณนี้ จากคำบอกเล่าของชาวบ้านพบว่าชุมชนบา้ นเกาะปู
เร่ิมกอ่ ต้ังมายาวนานมากกว่า ๒๐๐ ปี ตอ่ มาเมื่อมกี ารตั้งถิ่นฐานมากขน้ึ ทง้ั ทางตอนใต้ของเกาะ (บรเิ วณบ้าน
เกาะจำ) และทางตอนบนของเกาะ (บ้านเกาะปู) ผู้คนที่อพยพมาใหม่ จึงจับจองพื้นที่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน
มากขึ้น และได้แยกเขตการปกครองออกเป็น หมู่ ๕ บ้านติงไหร คำว่า “ติงไหร” เป็นภาษามลายู แปลว่า
“ทงิ้ ไว”้ ซึง่ มที มี่ าจากคำบอกเล่าของชาวบ้านท่ีกลา่ ววา่ มีกลมุ่ เกิดมีคนหลงป่าไปหน่ึงคน พวกทร่ี ออยู่เห็นว่า
มืดแลว้ จงึ ท้ิงคนท่ีหลงป่านนั้ ไว้

๓. เกาะฮั่ง ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชุมชนบริเวณเกาะฮั่ง จากคำบอกเล่าของผู้ใหญ่บ้านหมู่
๔ (นายหมาดสา หลานตา) กล่าวว่า ตวั ชุมชนเกดิ ขนึ้ จากการอยู่ระหวา่ งเส้นทางขนส่งสนิ คา้ ทางเรือจากเกาะ
ภูเก็ตไปยังจังหวัดตรัง โดยมีเรือสำเภาเข้ามาพักใช้น้ำจืดบนเกาะ ต่อมาเมื่อประมาณ ๘๐ ปีที่แล้ว ได้มี
นายทุนจากจังหวัดภูเก็ตมาสร้างโรงเลื่อยบริเวณทางทิศเหนือของเกาะ และได้เลิกกิจการไปในช่วงหลัง
สงครามโลกครั้งทสี่ อง ปจั จุบันทีด่ ินบรเิ วณโรงเลื่อยได้ตกทอดเป็นทายาท แต่ยงั มิไดม้ กี ารใช้ประโยชนใ์ ดๆ และ
ยังไม่ได้ทุบโรงเลื่อยทง้ิ จงึ ยังหลงเหลือปล่องเตาไฟ และโกดังเกบ็ ไมไ้ ว้ในทีเ่ ดิมสว่ นชื่อ “เกาะฮง่ั ” ตามประวัติใน
หนงั สอื ท่ีระลึกในพิธีเปิดปา้ ยท่ีว่าการอำเภอเหนอื คลอง จงั หวดั กระบี่ กลา่ วว่า สืบเนอ่ื งมาจากบนเกาะนี้มีหินสี
ดำ เรียกกนั วา่ “แรฮ่ ั่ง”อยู่ (ชาวบ้านเลา่ วา่ ได้เคยส่งแร่นี้ไปพสิ ูจน์ท่ีจังหวัดภเู ก็ตแลว้ ) อกี กระแสหน่ึงก็ว่า “ฮั่ง”
หรอื บางทกี ็ออกเสียงวา่ “งงั่ ” หมายถงึ โลหะผสมชนดิ หน่งึ มคี วามแขง็ เหนียวแตเ่ บากว่าเหล็กมสี ีเหลอื งอมดำ

2. ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์

2.1 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ
ลักษณะพ้นื ทสี่ ว่ นใหญ่เป็นเกาะ จำนวน ๑๙ เกาะ แบง่ เป็นหม่เู กาะขนาดใหญ่ ๓ เกาะคือ

เกาะศรบี อยา เกาะปู-เกาะจำ เกาะฮ่ัง
ทศิ เหนอื : ติดตอ่ กบั ตำบลตล่งิ ชันและตำบลคลองขนาน
ทศิ ใต้ : ตดิ ตอ่ กับ ทะเลอันดามัน
ทิศตะวนั ออก : ตดิ ตอ่ กบั ตำบลคลองยางและตำบลเกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา
ทศิ ตะวนั ตก : ทะเลอันดามัน

2.2 ลักษณะภมู ิอากาศ
จงั หวดั กระบี่ มีภูมอิ ากาศแบบมรสุมในเขตร้อน และไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้

และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนอื ทำให้ฝนตกชกุ ตลอดปี และมีเพียง ๒ ฤดู
1. ฤดูรอ้ น เร่มิ ต้ังแตเ่ ดือนมกราคม ไปจนถึงเดอื นเมษายน
2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ไปจนถึงเดือนธันวาคม และจากการที่มีลักษณะภูมิอากาศ

แบบมรสุมในเขตร้อน อุณหภูมิในแต่ละฤดูกาลจึงไม่แตกต่างกันมากนัก คือ อยู่ระหว่าง ๑๗.๙ – ๓๙.๑ องศา
เซลเซียส

2.3 สภาพพน้ื ท่โี ดยทว่ั ไป
ที่ตั้ง ตำบลเกาะศรีบอยา อยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเหนือคลอง ห่างจากอำเภอเหนือคลอง

ประมาณ ๒๓ กิโลเมตรเนื้อที่ ตำบลเกาะศรีบอยา มีพื้นที่ (พื้นดิน) ประมาณ ๕๕.๔๗ ตารางกิโลเมตร
หรอื ๓๔,๖๖๕.๖๙ ไร่

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๒๐

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

2.4 แหลง่ นำ้ จำนวน 1 แห่ง
ฝาย จำนวน 10 แหง่
บอ่ นำ้ ตนื้ จำนวน 6 แห่ง
ประปาหมู่บา้ น จำนวน 2 แห่ง
สระนำ้ จำนวน 4 แหง่
ลำห้วย

2.5 สภาพสงั คม
ข้อมลู หมบู่ า้ นในตำบลเกาะศรีบอยา ประกอบไปด้วยชุมชนยอ่ ยบนเกาะขนาดใหญ่ ๓ แห่ง ได้แก่

๑. เกาะศรีบอยา ประกอบดว้ ยชุมชนยอ่ ย ๓ แห่ง คอื
* หมู่ ๑ บ้านคลองเตาะ
* หมู่ ๖ บ้านเกาะศรีบอยา
* หมู่ ๗ บา้ นหลงั เกาะ

๒. เกาะปู - เกาะจำ ประกอบดว้ ยชมุ ชนยอ่ ย ๓ แห่ง คือ
* หมู่ ๒ บา้ นเกาะปู
* หมู่ ๓ บ้านเกาะจำ
* หมู่ ๕ บ้านตงิ ไหร

2.6 เกาะฮ่ัง ประกอบด้วยชุมชนย่อย ๑ แห่ง คือ * หมู่ ๔ บ้านเกาะฮ่ัง

หม่ทู ่ี ช่อื หม่บู ้าน พืน้ ท่ี (ตร.กม.) พน้ื ท่ี (ไร่) คิดเปน็ ร้อยละ
๑ บ้านคลองเตาะ ๔.๙๒๖๑ ๓,๑๐๑.๓๑ ๘.๙๕
๒ บ้านเกาะปู ๑๔.๑๐๔๑ ๘,๘๑๕.๐๖ ๒๕.๔๓
๓ บ้านเกาะจำ ๔.๒๗๖๔ ๒,๖๗๒.๗๖ ๗.๗๑
๔ บา้ นเกาะฮ่งั ๑๕.๔๓๕๕ ๙,๖๔๗.๑๙ ๒๗.๘๓
๕ บา้ นติงไหร ๔.๐๗๑๑ ๒,๕๔๔.๔๔ ๗.๓๔
๖ บ้านเกาะศรีบอยา ๖.๔๕๐๒ ๔,๐๓๑.๓๒ ๑๑.๖๓
๗ บ้านหลังเกาะ ๖.๑๗๐๗ ๓,๘๕๖.๓๔๔ ๑๑.๑๒
๕๕.๔๖๙๕ ๓๔,๖๖๘.๕๒ ๑๐๐.๐๐
รวม

2.7 สถาบันและองค์กรทางศาสนา

1. วัด จำนวน - แหง่

2. สำนกั สงฆ์ จำนวน ๒ แห่ง

3. มัสยิด จำนวน ๗ แหง่

2.8 การศึกษา
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ จำนวน ๓ แห่ง

2.9 สาธารณสขุ สถานอี นามยั ประจำตำบล/หมู่บา้ น จำนวน ๒ แหง่
1. สถานอี นามยั บ้านเกาะจำ ม.๒ บ้านเกาะจำ
2. สถานอนามัยเกาะศรบี อยา ตำบลเกาะศรบี อยา

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๒๑

แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

2.10 จำนวนประชากรแยกตามหมู่บา้ น และเพศ และจำนวนครวั เรอื น
ตำบลเกาะศรบี อยามีจำนวนครวั เรือนทั้งหมด ๑,๕๓๐ ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉล่ียประมาณ

๙๖ คน/ตร.กม. จำนวนประชากรท้งั หมด ๕,๐๕๖ คน แยกเปน็ ชาย ๒,๖๓๐ คน หญงิ ๒,๔๒๖ คน

หมูท่ ่ี/บ้าน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
หมทู่ ่ี ๑ บ้านคลองเตาะ ๑๖๐ ๓๐๙ ๒๘๒ ๕๙๑
หมู่ท่ี ๒ บา้ นเกาะปู ๓๓๐ ๖๕๘ ๖๑๔ ๑,๒๗๒
หมทู่ ี่ ๓ บ้านเกาะจำ ๓๗๔ ๕๒๙ ๔๘๐ ๑,๐๐๙
หมทู่ ี่ ๔ บา้ นเกาะฮั่ง ๑๕๙ ๒๖๗ ๒๓๐ ๔๙๗
หมทู่ ่ี ๕ บา้ นติงไหร ๒๗๙ ๔๔๔ ๔๑๙ ๘๖๓
หมูท่ ่ี ๖ บ้านเกาะศรบี อยา ๑๓๔ ๒๔๐ ๒๔๓ ๔๘๓
หมทู่ ี่ ๗ บา้ นหลงั เกาะ ๙๔ ๑๘๓ ๑๕๘ ๓๔๑
๑,๕๓๐ ๒,๖๓๐ ๒,๔๒๖ ๕,๐๕๖
รวม

2.11 จำนวนโรงเรียนในพื้นทีต่ ำบลเกาะศรบี อยา
ตำบลเกาะศรีบอยามโี รงเรียนระดบั ประถม จำนวน 5 แหง่ และโรงเรยี นระดับมัธยม จำนวน

1 แหง่ รวมท้ังหมด 6 แหง่

ที่ โรงเรียน ท่อี ยู่ ครู นักเรยี น
ระดับประถม จำนวน 5 แหง่
ม.1 บ้านคลองเตาะ 5 คน 80 คน
1 โรงเรียนบ้านคลองเตาะ ม.2 บ้านเกาะปู 10 คน 189 คน
2 โรงเรยี นบา้ นเกาะปู ม.4 บา้ นเกาะฮ่งั 5 คน 89 คน
3 โรงเรยี นบ้านเกาะฮ่ัง ม.5 บ้านตงิ ไหร 8 คน 121 คน
4 โรงเรียนบา้ นตงิ ไหร ม.6 บา้ นเกาะศรีบอยา 5 คน 94 คน
5 โรงเรียนบ้านเกาะศรบี อยา
โรงเรยี นมธั ยม จำนวน 1 แหง่ ม.3 บา้ นเกาะจำ 12 คน 226 คน
1 โรงเรียนบ้านเกาะจำ

2.12 ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สนิ
ป้อม อปพร. จำนวน ๑ แหง่

2.13 เศรษฐกิจอาชีพ ประชาชนในตำบลเกาะศรบี อยา สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี

1. อาชพี เกษตรกรรม (ทำสวนยางพารา) ร้อยละ ๔๖.๔๙

2. อาชพี ทำการประมง ร้อยละ ๔๑.๔๓

3. อาชพี ค้าขาย ร้อยละ ๖.๓๗

4. อาชีพรับจา้ งทั่วไป ร้อยละ ๕.๗๑

2.14 หนว่ ยธรุ กิจในเขต อบต.

1. ธนาคารหมูบ่ า้ น จำนวน ๒ แห่ง

2. บังกะโล จำนวน ๒๕ แห่ง

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๒๒

แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

2.15 การคมนาคม
ใช้ทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๔๐๓๖ เริ่มต้นจากอำเภอเหนือคลอง ผ่านตำบลเหนือคลอง

ตำบลคลองเขม้า ตำบลคลองขนาน ไปสิน้ สดุ ทที่ ่าเรือบ้านแหลมกรวด จากนั้นกต็ ่อเรือหางยาวเดินทางไปยัง
เกาะตา่ งๆในตำบลเกาะศรีบอยา ซง่ึ เป็นเรอื โดยสารระหวา่ งเกาะ

2.16 การโทรคมนาคม
ท่ที ำการไปรษณยี โ์ ทรเลข จำนวน ๑ แห่ง

2.17 การไฟฟา้
เน่อื งจากตำบลเกาะศรีบอยา มพี ื้นที่อยใู่ นทะเลจึงทำใหไ้ ฟฟา้ ไมส่ ามารถเข้าถึงได้ทุกหมู่บ้าน

แต่มีบางพื้นที่ใช้ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ส่วนโครงการขยายเขตไฟฟ้าของการไฟฟ้าภูมิภาค
จังหวดั กระบ่ี อยใู่ นช่วงศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและงบประมาณ

3. ขอ้ มูลกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ (อรู ักลาโวย้ )

เดิมคำวา่ “เกาะจำ” ภาษาชาวเลเรยี กว่า “ปูเลากระจบั๊ ” ปูเลา หมายถงึ เกาะ ส่วนกะจ๊ับ คือ
ต้นจาก เนื่องจากเดิมเกาะนี้มีต้นจากขึ้นอยู่มาก สามารถตัดมาผูกด้วยเชือกหรือเส้นด้ายกลายเป็น “ตับ
จาก” ใช้มุงหลังคาได้ คำว่าเกาะจำจึงน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า“กะจั๊บ” และบริเวณบ้านเกาะจำแห่งใหม่ที่
ชาวเลอพยพไปอยู่นน้ั มชี ่ือเรยี กวา่ “ปูเลาลักอะคอ้ ย” แปลวา่ เกาะนกออก ซึง่ นกออกในทีน่ ีเ้ ป็นชื่อนกชนิด
หนึ่ง มีขนสีค่อนข้างขาวหรือสีครีม เป็นนกทะเล ที่มาพักอาศัยอยู่บนเกาะนี้เป็นประจำ “จำ” ในที่นี้จึง
หมายถงึ “จำท่”ี คอื นกมาเกาะในท่ีเดมิ เป็นประจำทกุ ครง้ั ชาวเลจงึ เรยี กบรเิ วณน้ีว่า “เกาะจำ”

จากคำบอกเล่าของชาวบ้านหมู่ 3 บ้านเกาะจำ โดยนายสุวรรณ สุขทอง (อายุ 75 ปี)
กล่าวว่าใน พ.ศ.2498 มีการตั้งถิ่นฐานบริเวณบ้านเกาะจำอยู่ประมาณ 70 - 80 ครัวเรือน สภาพสังคม
ประกอบไปด้วยชาวเล ซึ่งเป็นกลุ่มชนดั้งเดิมในบริเวณนี้ มีชาวจีนอาศัยอยู่นานมากกว่าหนึ่งร้อยปี โดยมี
ศูนย์กลางอยู่ท่ีบริเวณต้นไทรใหญ่กลางหมู่บา้ นหน้าชายหาดบ้านเกาะจำ ซึ่งชาวจีนกลุ่มแรกที่อพยพเข้ามา
ในบริเวณนีไ้ ดเ้ จอชาวเล (อูรกั ลาโว้ย) อาศยั อยกู่ ่อนหนา้ แล้ว นอกจากนย้ี งั มีกลุ่มชาวมสุ ลิมท่ีอพยพมาจาก
พื้นที่ใกล้เคียงได้เข้ามาอาศัยกระจัดกระจายอยู่ในหมู่บ้านด้วยทำให้ปัจจุบันบ้ านเกาะจำมีกลุ่มประชากร
อาศัยอยู่อย่างหลากหลายมากทีส่ ุด คือ ประกอบไปด้วยชาวพุทธ – มุสลิมเชื้อสายจีน ประมาณร้อยละ 20
ชาวไทยมุสลิมพื้นถิ่นใต้ ประมาณ ร้อยละ 40 และชาวไทยใหม่ ชาวเล/ชาวน้ำ หรือ (อูรัก ลาโว้ย)
อกี ประมาณ รอ้ ยละ 40

เดิมชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) เกาะจำ อพยพมาอาศัยอยู่ในบ้านเกาะจำในยุคโบราณมีร่องรอยคน
พื้นเมือง “ชาวเลโอรังลอนตา” ชนเผ่าเร่ร่อนทางทะเลแถบชายฝั่งอันดามัน เป็นกลุ่มแรกที่เข้ามาพักพิงใน
หมู่เกาะลันตาและเกาะจำมานานแล้ว ประมาณ 600-500ปี ซึ่งอาศัยอยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะจำใน
ปัจจุบันเฉียงใต้ ซึ่งปัจจุบันคือเกาะจำนุ้ย และได้เกิดโรคระบาด ชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) จึงได้อพยพออกมาอยู่
ทางตอนใตข้ องเกาะปูในปจั จุบนั และเรยี กบรเิ วณใหมท่ ยี่ า้ ยไปอย่วู า่ “เกาะจำ”

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๒๓

แผนปฎิบตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

ประชากร

จำนวนประชากร ชาวเล (อรู กั ลาโวย้ ) ที่อาศัยอยู่ในเกาะจำ มจี ำนวนครวั เรือนทง้ั หมด 208
ครัวเรอื น มีประชากรทัง้ หมด 262 คน แยกเป็นเพศชาย 159 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.68 และเพศหญิง
105 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 39.32 ดงั น้ี

กลุม่ ชาติพนั ธุ์ ครวั เรือน ประชากร (คน) รวม (คน) หมายเหตุ
ชาย หญิง

ชาวเล (อูรกั ลาโวย้ ) 208 159 105 265

ร้อยละ 60.68 39.32 100.00

จำนวนประชากรชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) มีทั้งหมด จำนวน 265 คน มีช่วงอายุ 15 – 39 ปี
จำนวน 128 คน คดิ เป็นร้อยละ 48.30 ซง่ึ เปน็ กลุ่มวัยแรงงานทใ่ี ห้ความสำคัญในการจัดบริการการเรียนรู้
เป็นกลุ่มแรก และช่วงอายุ 40 – 59 ปี จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 35.84 เป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้
ความสำคญั ในการจัดบริการการเรียนรรู้ องลงมา สำหรับกลมุ่ ผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 60 ปี ขน้ึ ไป จำนวน 42 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 15.86 เป็นกลุ่มท่ีให้ความสำคัญในการจัดบรกิ ารการเรยี นรู้ตามช่วงอายุจากมากไปหานอ้ ย
ตามลำดบั ดงั นี้

ที่ ชว่ งอายุ (ป)ี จำนวน (คน) ร้อยละของประชากรทั้งหมด
1 0 - 39 128 48.30
2 40 - 59 95 35.84
3 60 ปีข้นึ ไป 42 15.86
265 100
รวม

จำนวนประชากรชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) ที่เป็นผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับ
บรกิ ารทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติท่ัวไป อันเนอ่ื งมาจากขอ้ จำกัดทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบล
จำแนกตามความพิการ ส่วนใหญม่ คี วามพิการทางดา้ นรา่ งกายมากทสี่ ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.66

ท่ี ประเภทผูพ้ ิการ จำนวนผพู้ ิการ(คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ
ชาย หญงิ รวม
1 - ทางสมอง 3-3 33.33
2 - ทางสายตา --- -
3 - ทางร่างกาย 426
4 - พกิ ารทางหู --- 66.6
5 - พกิ ารทางจติ ใจ --- -
6 - พกิ ารซ้ำซ้อน --- -
729 -
รวม
100.00

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๒๔

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

วิถีชวี ติ

การทำมาหากินแบบดั้งเดิมตามฤดูกาล ถ้าไม่ใช้หน้ามรสุม ชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) จะออกเรือ
ตกเบด็ หรอื ตกปลา ดำนำ้ แทงปลา หาหอย และลา่ สตั ว์ทะเลเป็นอาหาร และถา้ เป็นชว่ งฤดมู รสุม จะออกเรือ
หาปูและปลาใกล้กับบริเวณชายฝั่งบ้านเกาะจำ ตามสภาพช่วงมรสุม และบ้างครอบครัวเก็บมะพร้าว
เก็บยอดผัก ล่าสัตว์เล็ก ตามชายฝั่งสำหรับปรุงอาหาร และขายเพื่อหารายได้มาใช้สอยในชีวิตประจำวัน
และ มีการติดต่อกับผู้คนต่างวัฒนธรรม นำของทะเลที่เป็นส่วนเกินไปแลกเปลี่ยนของใช้จำเป็น บางกลุ่ม
รับจา้ งแรงงานกบั ชาวจนี ได้ค่าตอบแทนเปน็ เสื้อผ้าเกา่ ขา้ วสาร ในช่วงหลังอรู ักลาโว้ยบางกลุ่มตกอยู่ภายใต้
ระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพา ด้วยการเช่าซื้ออวน เรือหางยาวพร้อมเครื่องเรือจากนายทุน โดยมีเงือนไขว่า
จะต้องจับกุ้ง หรือปลาส่งขายให้กับนายทุนเท่านั้นเพื่อหักหนี้สิน หลังเหตุการณ์ สึนามิ จึงได้รับเรือและ
เครื่องมือหากินเป็นของตนเอง ประกอบกับธุรกิจการท่องเที่ยวเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้น ชาวเล (อูรัก ลาโว้ย)
ที่อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว สามารถปรับตัวให้สามารถอยู่รอดในสังคมได้ด้วยการออกทะเลหาปลาไปขาย
ร้านอาหารบ้าง รับจ้างแรงงานบ้าง

ครอบครัวและระบบเครือญาติ : ผู้ชายชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) พร้อมที่จะมีครอบครัวได้
เมื่อสามารถออกทะเลเพื่อทำมาหากินเลี้ยงครอบครัวได้ โดยเฉลี่ยอายุประมาณ 19-20 ปี ส่วนผู้หญิง
สามารถหุงหาอาหารเลีย้ งดูทารกได้ โดยเฉล่ียอายุประมาณ 14-18 ปี แตป่ ัจจบุ ันเมอื่ หนุ่มสาวตกลงปลงใจ
กันฝ่ายชายจะรอจนกว่าผู้หญิงอายุครบ 15 ปี และทำบัตรประชาชนก่อนจึงได้รับอนุญาตให้แต่งงานได้
ลักษณะครอบครัวเป็นแบบครอบครัวเดี่ยว โดยเริ่มจากฝ่ายชายไปอยู่บา้ นฝ่ายหญิงก่อน จนกระทั่งมีลูกคน
แรกหรอื พร้อมจะสร้างบ้านใหม่จึงแยกไปต้งั ครอบครัวเดีย่ ว แตห่ ากฝา่ ยหญิงหรือฝ่ายชายเป็นลูกคนสุดท้อง
จำเป็นต้องเลี้ยงดูพ่อแม่ ก็จะต้องอยู่กับพ่อแม่ของฝ่ายหญิงหรือฝ่ายชาย จนกระทั่งพ่อแม่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่
อาศัยอยู่ด้วยเสียชีวิต ปัจจุบันชาวเลอูรักลาโว้ยกลุ่มเครือญาติที่อาศัยอยู่ในชุมชนเดียวกัน จะใช้นามสกุล
ทะเลลกึ ชา้ งน้ำ

การนับญาติ การเรียกชื่อ : จะยึดระบบการต้ังถิ่นฐานโดยฝ่ายชายไปอาศัยอยู่กับพ่อแม่ฝ่าย
หญิง และมีการสืบทอดอำนาจทางฝ่ายแม่ แต่จะมีการนับญาติทั้งสองฝ่าย คือแต่ละคนจะมีความสัมพันธ์
ทางเครือญาติ ทั้งฝ่ายพ่อและฝ่ายแม่เท่าเทียมกัน ทั้งนี้สังเกตได้จากคำเรียกญาติทั้งสองฝ่ายที่มีสถานภาพ
เดียวกัน ด้วยคำเรียกญาติคำเดียวกัน อาจจะเป็นเพราะชุมชนชาวเลอูรักลาโว้ย เป็นชุมชนเล็กๆ แม้จะ
แต่งงานแยกบ้านไปแลว้ ยังไปมาหาสู่กนั ไดส้ ะดวก จงึ มีความสมั พันธ์ใกล้ชิดกนั ทัง้ สองฝ่าย สังคมชาวเล อูรัก
ลาโว้ย มีศัพท์ที่ซับซ้อน แสดงถึงความเป็นสังคมเครือญาติ คือทุกคนในชุมชนเดียวกันจะเป็นญาติกันหมด
มีทั้งญาติที่สืบทอดทางสายโลหิต ญาติทางการแต่งงาน และยังมีการสร้างความสัมพันธ์โดยการสมมุติ เชน่
ศัพท์คำว่า “อะนะพีโด๊ะ” แปลว่า ลูกบุญธรรม และ“ซาบั๊ย” แปลว่า เกลอ เป็นการผูกญาติผูกมิตรเพ่ือ
ขยายวงญาตใิ หก้ วา้ งขวางขึ้น โดย “ลูกบุญธรรม” และ “เกลอ”

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๒๕

แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

การแต่งกาย : ผู้ชายนุ่งผ้าขาวม้าแบบชาวไทยพุทธ หรือนุ่งกางเกงแบบชาวจีน (กางเกงเล)
ผ้าขาวม้าคาดเอว เปลือยทอ่ นบน ผหู้ ญิงนุ่งผา้ ปาเตะ๊ กระโจมอก ตอ่ มา เมื่อติดตอ่ สัมพนั ธ์และทำงานกับชาว
จนี จะได้รบั เสอ้ื ผา้ ตอบแทนเปน็ สนิ นำ้ ใจบ้าง และหาซ้ือจากรา้ นค้าในตลาด หรอื ออกนอกชมุ ชน ผหู้ ญิงนิยม
สวมเสื้อและนุ่งผ้าปาเต๊ะแบบชาวจีนและชาวไทย ชอบสีสด ๆ แต่ไม่ให้ความสำคัญกับคุณภาพของเนื้อผ้า
และความกลมกลืนของสี ผู้ชายยังคงนิยมนุ่งกางเกงจีนหรือกางเกงเลผ้าขาวม้าคาดเอว สวมเสื้อบ้างบาง
โอกาสแต่ไม่นิยมติดกระดุมเสื้อ (อาภรณ์ อุกฤษณ์. 2554 : 203) ปัจจุบันการแต่งกายในชีวิตประจำวัน
ของชาวเล (อรู กั ลาโวย้ ) กลุ่มผใู้ หญใ่ นชุมชนจะไม่เปลย่ี นไปมากนกั แตเ่ มื่อออกไปติดต่อสมั พนั ธก์ ับภายนอก
จะพิถีพิถันขึ้น ส่วนเด็กรุ่นใหม่โดยเฉพาะสมาชกิ กลุ่มวัยรุน่ จะรับวัฒนธรรมการแต่งกายท่ีทันสมยั จากสงั คม
ภายนอกไดอ้ ย่างรวดเรว็

บ้าน : สำหรับวิถีชีวิตชาวเลในอดีต เรือเป็นทั้งยานพาหนะสำหรับเดินทาง เป็นเครื่องมือทำมา
หากนิ เปน็ บา้ นพักเรอื นนอน และเป็นศูนยร์ วมเครือญาติ เนือ่ งจากขบวนเรือของกลุ่มเดยี วกันจะเคลื่อนย้าย
ไปพร้อม ๆ กัน ไปไหนไปด้วยกัน จะแวะขึ้นฝั่งในช่วงฤดูฝน หรือมีพายุคลื่นลมแรง หรือต้องการน้ำจืด
เท่านั้น เรือจึงเปรียบเสมือนเรือนตาย มี 2 แบบ แบบแรก เป็นเรือไม้ระกำ และต่อมาเปลี่ยนไปใช้เรือปูเลา
หรือเรือเหลา ทำด้วยไม้กระดาน และแจวคู่ ปัจจุบันเปลี่ยนมาใช้เรือปูเลา ซึ่งเปลี่ยนรูปแบบเป็นเรือหัวโทง
และใช้เครื่องเรือหางยาวแทนกรรเชียงและแจวคู่ เมอ่ื ชาวเลขน้ึ มาสร้างเพิงพักชวั่ คราวริมทะเล จะสร้างเป็น
กลมุ่ ใกล้ ๆ กัน ด้วยเหตปุ จั จัยหลายประการ เช่นวัฒนธรรมดง้ั เดิมท่ีผูกพันเป็นญาติพนี่ ้องกนั หมด ต่อมาเมื่อ
เปลี่ยนไปสรา้ งบ้านคอ่ นขา้ งถาวร เลยี นแบบบ้านของชาวมสุ ลิม เปน็ บ้านช้ันเดยี วยกพนื้ เตยี้ ๆ หลังเล็ก ๆ ใช้
วสั ดทุ ่ีหาได้ในทอ้ งถนิ่

อาหาร : อาหารหลักของชาวเล (อูรกั ลาโว้ย) คือ อาหารทะเล กนิ และปรงุ อาหารด้วยวธิ ีงา่ ย ๆ
นอกจากอาหารทะเลแลว้ ขา้ วได้กลายเป็นอาหารหลักของชาวอูลักลาโว้ยมาช้านานหลังจากทีต่ ิดต่อกับกลุม่
ชาตพิ ันธ์ุอื่น ๆ อูรกั ลาโว้ยบนเกาะจำ เคยเรยี นรูว้ ธิ กี ารปลูกขา้ วไร่

ประเพณี/เทศกาล
จากการทช่ี าวเล (อูรกั ลาโว้ย) อาศยั อยู่ท่ามกลางกลุ่มชาติพันธ์ุท่ีมีวัฒนธรรมเหนียวแน่นเพราะ

มีผู้นำชุมชนช่วยส่งเสริม ช่วยเหลือ สนับสนุน จึงมีทั้งอัตลักษณ์ในรูปแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอง
แตกต่างจากกลุ่มชาติพนั ธ์ุอื่นอยา่ งชดั เจน และยงั มีอัตลกั ษณ์ใหมท่ ี่เกดิ จากการรบั เอาวัฒนธรรมของกลุ่มอื่น
เข้ามาผสมผสาน

ประเพณีแต่งเปรว : ประเพณีแต่งเปรว (เปอตัดเยลัย) ชาวเล (อูรัก ลาโว้ย) บนเกาะจำจะมี
ประเพณีตกแต่งหลุมฝังศพและเซ่นไหว้บรรพบุรุษซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเพณี “เช็งเม้ง” ของชาวจีน พิธี
แตง่ เปรวหรอื หลมุ ฝงั ศพหินทรายจะทำในเดือน 4 ส่วนเปรวบา้ นเก่าจะทำในเดอื น 5 ของทกุ ปี ผู้ชายจะดาย
หญ้าตกแต่งหลุมฝังศพ ผู้หญิงเตรียมทำขนมไปเซ่นไหว้ ไปร่วมพิธีในตอนบ่าย สำหรับเปรวบ้านเก่า ในช่วง
บ่ายมีการรอ้ งรำทำเพลงและเลย้ี งขา้ วปลาอาหาร ดม่ื เหล้ากันด้วย (อาภรณ์ อกุ ฤษณ.์ 2554 : 194)

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๒๖

แผนปฎบิ ตั งิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

ประเพณีลอยเรอื ลาจัง : เปน็ ประเพณีความเชอื่ ท่ชี าวเลอรู ักลาโว้ยให้ความสำคญั มากท่สี ดุ และ
ถือปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ จัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง คือวันขึ้น 13 ค่ำ-แรม 1 ค่ำ เดือน 6 เมื่อเริ่ม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ หรือ“ลมพลัด”และวันขึ้น 13 ค่ำ-แรม 1 ค่ำ เดือน 11 เมื่อเริ่มมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ “ลมออก” โดยมีจุดประสงค์ท่ีจะสะเดาะเคราะห์ ส่งวิญญาณบรรพบุรุษกลับไป
“ฆูนุงฌึรัย” ซึ่งเชื่อว่าเปน็ บ้านเมืองเดิมของบรรพบุรุษ และส่งสัตว์ทีฆ่ ่ากินเป็นอาหารกลบั ไปให้เจา้ ของเดมิ
เพือ่ ไถบ่ าป

ประเพณีการเกิด : เมื่อสาวชาวอูรักลาโว้ยตั้งครรภ์ถึงกำหนดจะคลอด “โต๊ะบิดัด” หรือหมอ
ตำแยจะทำคลอดให้โดยใช้ไม้ไผ่เหลาบางตัดสายสะดือ และอาบน้ำเย็นก่อนอาบน้ำอุ่นให้เด็กดื่มน้ำผ้ึง
จนกระทั่งครบ 3 วัน เพื่อให้เด็กถ่ายของเสียออก แล้วให้ดื่มนมแมจ่ นกระทั่งหย่านมหลงั คลอดได้ 3 วัน จะ
ทำพิธีเซ่นไหว้ตายายและเลี้ยงฉลอง หรือ “ทำนู้หรี” โต๊ะบิดัดจะช่วยดูแลแม่และลกู ในช่วงที่แม่อยูไ่ ฟ 7-9
หรือ 15 วัน ในช่วงนี้ผูเ้ ป็นแม่จะต้องปฏบิ ัติตัวตามกฎข้อห้ามอีกหลายประการ เมื่อครบ 44 วัน พ่อแม่จะ
ทำพธิ เี ซ่นไหว้ตายายอีกคร้ัง

ประเพณีการแต่งงาน : ประเพณีการแต่งงานของอูรักลาโว้ยผู้ชายจะเข้าไปอยู่บ้านฝ่ายหญิง
หนุ่มสาวชาวอูรักลาโว้ยจะแต่งงานประมาณอายุ 14-18 ปี บางคู่จะมีการสู่ขอหมั้นและแต่งงานตาม
ประเพณี แต่บางคู่อยู่กินกันก่อนจึงจัดพิธีแต่งงาน หรือพาหนีแล้วค่อยกลับมาขอขมา ก่อนพิธีหมั้น ผู้ใหญ่
ฝ่ายชายจะไปขอถึง 3 ครั้ง หากได้รับการตอบรับจะไปขอหม้ัน หรือ “ปากัยตูนงั ” และนัดแนะวันแตง่ งาน
กอ่ นแตง่ งาน 3 วนั ฝา่ ยชายจะต้องมาอาสางานบ้านผู้หญิง ในวันแต่งขบวนแหจ่ ะให้เจ้าบา่ วข่ีคอเดินวนซ้าย
รอบบ้านเจ้าสาว 3 รอบ ก่อนย่างเข้าประตูผู้ใหญ่ฝ่ายเจ้าสาวจะถามว่า “มีเรือไหม มีแหไหม มีซัมปัง
(ฉมวก) ไหม” หากเจ้าบ่าวตอบว่า “มี” ก็อนุญาตให้เข้าบ้านได้ เช้าวันรุ่งขึ้นแขกที่เหลือและพ่อแม่ญาติพ่ี
น้องจะส่งตัวเจ้าบ่าวและเจ้าสาวลงเรือไปผจญภัยตามหมู่เกาะต่าง ๆ กลางทะเล พร้อมกับข้าวสาร น้ำจืด
และเครื่องมือจับปลา เพื่อให้ฝ่ายชายพิสูจน์ตัวเองว่าสามารถทำมาหาเลี้ยงภรรยาได้ ขาไปผู้ชายเป็นฝ่าย
กรรเชียงเรือให้ผู้หญิงนั่งหัวเรือ ตอนขากลับหากผู้หญิงกรรเชียงเรือให้ผู้ชายเป็นฝ่ายนั่งหัวเรือ เป็นที่เข้าใจ
กนั ว่าทั้งคู่ไดเ้ สยี กนั แล้ว (อาภรณ์ อกุ ฤษณ์. 2532 : 100)

ประเพณเี ซ่นไหวบ้ รรพชน : เดมิ อูรักลาโว้ยอาศัยอยู่ในชุมชนเดยี วกันจะทำพิธเี ซน่ ไหว้วิญญาณ
บรรพบุรุษร่วมกันปีละครั้ง นอกจากนั้น ในอดีตเคยมีพิธีเซ่นไหว้วิญญาณบรรพบุรุษที่สิงสถิตอยู่ตาม
ธรรมชาติ เชน่ เจ้าทะเล เจา้ ถ้ำ เจา้ เกาะ เจ้าแหลม ฯลฯ กอ่ นหรือหลงั พธิ ีลอยเรอื ในเดอื น 6 และเดือน11
เพื่อร้องขอว่าเมื่อลมพลัด (ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้) หรือลมออก (ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ) พัดมา
ขอให้ลูกหลานหาปลาได้มาก ๆ อยา่ เจบ็ อย่าไข้ และขอให้ปลอดภยั ในการออกทะเล แตป่ จั จุบันพิธีนี้เลิกไป
แล้ว (อาภรณ์ อุกฤษณ์. 2532 : 108) ชาวเลอูรักลาโว้ยกลุ่มอื่น ๆ ก็ต่างมีบรรพบุรุษประจำกลุ่มเช่นกัน
แตเ่ ม่อื มพี ิธีสำคญั เช่น พธิ ลี อยเรือนอกจาก แตล่ ะกลุม่ จะเชิญบรรพบุรุษประจำกลุ่มของตวั เองมาร่วมในพิธี
แลว้ ยงั เชญิ บรรพบุรษุ ของกล่มุ อน่ื มาร่วมพธิ ดี ้วย

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๒๗

แผนปฎิบตั งิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ)

ประเพณี การตายและการทำศพ : ชาวเล (อูรักลาโว้ย) หากบ้านใดมีสมาชิกในครอบครัว
เสียชีวิตจะก่อกองไฟไว้หน้าบ้าน และนำข้าวปลาอาหารวางไว้หน้ากองไฟตลอด 3 วัน 3 คืน ผู้ชายจะ
ช่วยกันทำโลงศพ ซึ่งเดิมใช้ไม้ไผ่สานเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปัจจุบันใช้ไม้กระดานแบบโลงศพทั่วไป พิธีอาบน้ำ
ศพ วางศพพาดลงบนตักลูก ๆ ที่นั่งเหยียดเท้าเรียงกันตามลำดับจากทิศใตไ้ ปยังทศิ เหนือ โต๊ะหมอจะทำพิธี
อาบน้ำศพเป็นคนแรก ต่อด้วยญาติ พี่น้อง เพื่อนบ้าน เมื่อเสร็จพิธีลูก ๆ หรือญาติที่ประคองศพจะต้องล้าง
ตัวดว้ ยนำ้ มะนาวผสมใบสะบา้ เพื่อไมใ่ ห้วิญญาณผู้ตายติดตัว ศพจะถูกทาแปง้ แต่งตวั และทาน้ำมันหอมก่อน
บรรจุในโลงศพที่ปูด้วยเสื่อ และใช้ผ้าขาวคลุมบนศพ นำข้าวของเครื่องใช้ของผู้ตายบรรจุลงไปในโลงด้วย
ขบวนแหศ่ พไปฝังท่ชี ายทะเล เมอื่ หย่อนโลงศพลงในหลุม ผา่ มะพรา้ วท่ีเตรียมไว้ เปน็ 2 ซกี ราดน้ำมะพร้าว
ลงบนศพมะพร้าวซีกที่มีตา คว่ำลงบนตำแหน่งสะดือของศพ อีกซีกให้ลูกหลานไปกิน ที่บ้าน เมื่อโต๊ะหมอ
ทำพธิ แี ละญาติพี่น้องชว่ ยกันกลบหลุมแลว้ จะปลูกมะพรา้ ว อีกลกู ท่ีมีหน่อไว้ปลายเท้าศพและให้ผู้ที่หามศพ
จับคู่กันทีละ 2 คน ยืนหันหลังให้กันคนละฟากของปากหลุมทำพิธีเวียนผ้าขาวม้า เป็นอันเสร็จพิธี
ระหว่างทางกลับบ้านล้างมือล้างเท้า ดว้ ยน้ำผสมมะนาวและใบสะบา้ ท่วี างไว้ริมทางตอนขาไป และเด็ดใบไม้
หรือดอกไม้ทัดหู เพื่อไม่ให้วิญญาณผู้ตายจำได้และติดตามกลับไปบ้าน หลัง จากนั้น อีก 3 วัน จะเลี้ยง
อาหาร ดับกองไฟ และทำบุญผู้ตายอีกครั้งในพิธีแต่งเปรวในเดือน 4 หรือเดือน 5 (อาภรณ์ อุกฤษณ์.
2532 : 107)

4. ปญั หาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลกั ษณะของกลุ่มเป้าหมาย

ด้านการรูห้ นงั สือ ด้านการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ด้านอาชีพ ด้านการพฒั นา
ทักษะชวี ิต ด้านการพฒั นาสังคมและชมุ ชน ดา้ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการศึกษาตามอัธยาศยั

กลุ่มเปา้ หมาย ปญั หาและความต้องการ แนวทางแก้ไข
กลมุ่ คนท่ีไมร่ ู้หนงั สอื /
กลุ่มภาวะการลมื - ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผ้สู งู อายจุ ะประสบใน - สนับสนุน ส่งเสริมการรู้หนังสือในรูปแบบ
หนังสือ
กล่มุ วยั เดก็ เรอื่ งปญั หาเรื่องความจำ สายตา ฯลฯ กิจกรรม เสริมความจำ บริการการอา่ นที่เอ้อื ต่อ

กลมุ่ เด็กและเยาวชน การเรยี นรู้
(วยั เรียน)
กลุ่มอายุ ๑-๑๔ ปี ส่วนใหญ่ยังอยู่ในความ - จัดทำกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต

ดูแลของพ่อแม่ ปัญหาที่พบคือ เด็กในวัยนี้ และการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คม เช่น ในเร่ืองของ

กำลังเป็นวันที่กำลงั เรยี นรู้ บางคนครอบครัว ครอบครัวอบอุ่น ความรู้เรื่องยาเสพติด ความรู้

ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ก็ทำให้เด็ก เรื่องการแก้ไขปัญหาและแนวทางการดำเนิน

เหล่านั้นหลงผิดไปได้ง่ายเพราะวัยนี้เป็นวัย ชีวิต เป็นตน้

อยากรู้อยากลอง กำลังติดเพื่อน ทำให้เรียน

ไม่รู้เรื่องและเรียนไม่จบต้องเป็นปัญหา

ต่อเน่อื งไปจนถึงการเรียนระดับมัธยมศกึ ษา

- เยาวชนกลมุ่ อายุ ๑๕-๒๕ ปี ประสบปญั หา - ส่งเสริมสนับสนุน แนะแนว จัดการศึกษานอก

การเรียนไม่จบการศึกษาในระบบโรงเรียน ระบบขน้ั พืน้ ฐาน ตามความพร้อมและคณุ สมบัติ

ด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น ปัญหาครอบครัว ของผูเ้ รียนในแต่ละระดบั

แตกแยก ปัญหาท้องในวัยเรียน ปัญหาติด - จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในเรื่องต่างๆ

เพื่อน ติดเกมส์ออนไลน์ เป็นจำนวนมาก ตามคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องหลกั สูตร

กลุ่มเปา้ หมายเหล่านีเ้ มือ่ เข้ามาเรยี น

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๒๘

แผนปฎบิ ัตงิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

กล่มุ เป้าหมาย ปญั หาและความตอ้ งการ แนวทางแกไ้ ข
กลมุ่ ประชากรวยั แรงงาน
ระหว่างอายุ ๒๕-๕๙ ปี การศึกษานอกระบบไม่มคี วามรบั ผดิ ชอบ - จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.)

กลมุ่ ผู้สงู อายุ ๖๐ ปีขึน้ ไป ในหนา้ ท่ีของตนเองจึงทำให้การเรียนไม่ ซึ่งเปน็ กิจกรรมท่เี สรมิ ให้กับผูเ้ รียนมีทักษะ,

ประสบผลสำเรจ็ เท่าทคี่ วร ประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต มีจิตอาสา

ช่วยเหลือสังคม เช่น การปลูกป่าเป็น

กิจกรรมเสริมจากการเรยี นการสอน

- กลุ่มนี้จะเปน็ กล่มุ วยั ทำงานส่วนใหญ่จะ - ส่งเสริมสนับสนุน แนะแนว จัดการศึกษา

ประสบปญั หาในเรือ่ งการไม่มีเวลาพัฒนา นอกระบบขัน้ พืน้ ฐาน ตามความพร้อมและ

ตนเองในดา้ นการศกึ ษาเพราะต้องทำงาน คุณสมบัติของผ้เู รยี นในแตล่ ะระดบั

หาเลี้ยงครอบครวั

- ส่งเสริมสนับสนุนจัดกิจกรรมการศึกษา

ต่อเนื่อง ได้แก่ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ

ชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

และการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อไป

ส่งเสริมอาชีพ ให้กลุ่มเป้าหมายมีอาชีพ

เพิ่มรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว และ

กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะต่างๆ ในการ

ดำเนินชีวิต โดยนำหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติ ให้เกิด

การพัฒนาตนเอง ชุมชน เพื่อสร้างสังคม

แห่งการเรียนรู้และการมีคุณภาพชีวิตที่

ดีขึน้

- บริการการศึกษาตามอัธยาศัย จัด

กิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการ

เรียนรู้ด้วยตนเอง คือ การมอบหมาย กรต.

คือกจิ กรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง ใหผ้ ู้เรียนไป

ศึกษาด้วยตนเองจากอินเตอร์เน็ต การอ่าน

หนงั สอื การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น

- ผู้สูงอายุขาดความรู้ ความเข้าใจการ - จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ

ดแู ลสขุ ภาพตนเอง ชีวิตด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การออก

- ผสู้ ูงอายุขาดการดแู ลเอาใจใส่จาก กำลังกาย

ครอบครวั - จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพท่ี

- การส่งเสริมกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุมี

ขาดความตอ่ เน่ือง รายได้ และมกี ิจกรรมทำอาจจะทำเปน็ กลมุ่

หรือบุคคลก็ได้ เช่น การจักสาน การ

ทำอาหารขนม อาหารเพ่ือสุขภาพ

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๒๙

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

ส่วนท่ี 3
ทิศทางการดำเนนิ งาน

1. จดุ เน้นการดำเนินงาน ศนู ย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ ประจำปงี บประมาณ 2564

ปรชั ญา
“ มจี ติ สาธารณะ ”

อตั ลักษณ์
“ มคี วามรู้ คจู่ ิตอาสา อยู่อย่างพอเพียง ”

เอกลกั ษณ์
“ รกั การเรียนรู้ มคี ณุ ธรรม ดำเนินชวี ิตอยา่ งพอเพยี ง ”

วิสยั ทศั น์
“ ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ มุง่ จดั การศึกษาและสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย

และมีทักษะที่จําเปนในโลกศตวรรษที่ ๒๑ ให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมกับช่วงวัยให้ประชาชน
มีความรู้ คู่คุณธรรมมีจิตสาธารณะ เพื่อสร้างสังคมฐานความรู้มีคุณภาพชีวิตที่ดีบนพื้นฐานความพอเพียง
อยา่ งยั่งยืน ”

พันธกิจ
1. จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้มคี ุณภาพ
2. จดั การศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมงี านทําสามารถสรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้
3. จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ประชาชนมที กั ษะในการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง
4. สง่ เสรมิ และจดั กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มทดี่ งี าม จิตสาธาราณะ

ดาํ รงชีวิตอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. สง่ เสริมสนับสนนุ ภาคีเครอื ข่ายและมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา
6. พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ สอ่ื เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อสร้างโอกาสการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ

เป้าประสงค์
1. ประชาชนไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถงึ ต่อเนื่อง และมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน
2. ประชาชนมอี าชีพที่สามารถเสรมิ สร้างรายได้ที่มั่นคงสอดคล้องกับตนเอง ชุมชนสงั คม และ

สงิ่ แวดล้อม
3. ประชาชนใฝร่ ู้ : สามารถเรยี นรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง รกั การอ่าน และแสวงหาความรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
4. ประชาชนใฝ่ดี : มีคุณธรรม ดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง

วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน สามารถปรับตัวรู้เท่าทนั กับการเปล่ยี นแปลง
5. ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาตลอดชวี ิต
6. องค์กรสามารถบรหิ ารจดั การความร้ไู ด้อย่างมีประสิทธิภาพ

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๓๐

แผนปฎิบัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

กลยทุ ธ์การดำเนนิ งาน
กลยุทธ์ท่ี 1 การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน/ผู้รบั บรกิ าร
กลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสริมและพฒั นาอาชีพให้ประชาชนในการสรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมในการ

จดั กระบวนการเรียนรู้
กลยทุ ธท์ ่ี 5 สง่ เสรมิ การจดั การความรู้ในสถานศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ี่ 6 การขยายพัฒนาแหล่งเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานสถานศกึ ษา

2. นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2564

วสิ ัยทศั น์
คนไทยทุกชว่ งวัยได้รบั โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ มีทักษะ

ที่จำเป็นและสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
บนรากฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พนั ธกิจ
1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา
และพฒั นาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั ให้พร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวติ อยา่ งยั่งยนื

2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทาง
การศึกษาการวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการ
เรียนรูแ้ ละบรบิ ทในปจั จบุ นั

3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนำเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทาง
และโอกาสการเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายอย่างทั่วถงึ

4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ในรปู แบบต่าง ๆให้กบั ประชาชน

5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี
บนหลักของธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคลอ่ งตัวมากยิ่งขึน้

6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ
คุณธรรมและจริยธรรมทด่ี ี เพ่อื เพม่ิ ประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ
มากยิง่ ขน้ึ

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๓๑

แผนปฎิบตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

เปาประสงค
1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส

ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา
ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของ
แตล่ ะกลมุ่ เป้าหมาย

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม หน้าท่ี
ความเป็นพลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ท่ี
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความ
เข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
และส่ิงแวดลอ้ ม

3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่าน
แหล่งเรียนรู้ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนำไปประยุกตใ์ ช้
ในชวี ิตประจำวันรวมถงึ การแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์

4. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้และ
กระบวนการเรียนรู้ ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่างๆ
เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชน รวมทั้งตอบสนองกับการ
เปลีย่ นแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี
ดิจิทัลมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนำมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และ
โอกาสการเรยี นรใู้ หก้ ับประชาชน

6. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทัง้ การขบั เคล่อื นกิจกรรมการเรยี นรูข้ องชุมชน

7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ
และเป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล

8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททกุ ระดบั ไดร้ ับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการ
ปฏบิ ตั งิ านและการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมถงึ การปฏิบัติงานตาม
สายงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ตวั ชว้ี ดั
ตัวช้วี ัดเชิงปรมิ าณ
๑. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขนั้ พ้ืนฐานตามสทิ ธทิ กี่ ำหนดไว้ (เทยี บกับเป้าหมายตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี)
2. จำนวนของผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา

ตอ่ เนื่อง ที่สอดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ
3. จำนวนของผูร้ ับบริการ/เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย
4. จำนวนบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคีเครือข่าย ไม่น้อยกว่า
5. จำนวนแหล่งเรียนรูใ้ นระดับตำบลทีม่ คี วามพรอ้ มในการใหบ้ ริการ/ การจดั กิจกรรม

การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๓๒

แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบา้ นเกาะจำ)

6. จำนวนประชาชนท่ีเข้ารับการพฒั นาทกั ษะอาชพี เพอื่ สรา้ งรายได้และการมงี านทำ
7. จำนวน ครู กศน. ตำบล ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
8. จำนวนประชาชนท่ไี ด้รับการฝึกอบรมภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสอ่ื สารดา้ นอาชีพ
9. จำนวนผูผ้ า่ นการอบรมหลกั สูตรการดแู ลผสู้ ูงอายุ
10. จำนวนประชาชนที่ผา่ นการอบรมจากศูนย์ดจิ ทิ ัลชมุ ชน
11. จำนวนสอื่ การเรยี นออนไลน์ หลกั สตู รการพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พื่องานอาชีพ
12. จำนวนบุคลากรสงั กดั สำนกั งาน กศน. ทไี่ ดร้ บั การพัฒนาศักยภาพและความก้าวหน้า
ตามสายงานในอาชพี
13. จำนวนบุคลากรสังกัดสำนักงาน กศน. ที่เข้ารับการอบรมด้านการปกป้องและเชิดชู
สถาบันหลักของชาติ ด้านความปรองดองสมานฉันท์ ด้านการมีจิตสาธารณะและด้านทักษะในการปฐม
พยาบาลเบอ้ื งตน้
14. จำนวนบทความเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระดับตำบล ในหัวข้อต่างๆ อาทิ อาชีพ
ชมุ ชน วฒั นธรรมท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญา
15. จำนวนศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co-Learning Space)

ตวั ชีว้ ดั เชงิ คุณภาพ
1. รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทีค่ าดว่าจะจบในทกุ ระดับ ท่ีสำเรจ็ การศึกษาในแตล่ ะภาคเรียน
2. รอ้ ยละของผจู้ บหลักสตู ร/ กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ทีส่ ามารถนำความรคู้ วามเข้าใจ

ไปใช้พฒั นาตนเองไดต้ ามจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร/กจิ กรรม
3. ร้อยละของผผู้ ่านการพฒั นาทกั ษะอาชพี สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือ

พฒั นาตนเองได้
4. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพ้นื ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพหรือทักษะ

ด้านอาชีพ สามารถมีงานทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้
5. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการ/ เข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยมีความรู้

ความเขา้ ใจ/ เจตคติ/ ทกั ษะ ตามจดุ มงุ่ หมายของกจิ กรรมที่กำหนด
6. ร้อยละของผู้สูงอายทุ ี่เป็นกลมุ่ เปา้ หมาย มีโอกาสมาเขา้ ร่วมกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ิต
7. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ที่มีการพัฒนาตนเองในด้านพฤติกรรมบุคลิกภาพ

ทศั นคติ ค่านิยมท่พี ึงประสงค์ ภาวะผู้นำ และมีจรรยาบรรณวชิ าชีพที่เหมาะสมยง่ิ ขึ้น

จดุ เนน้ การดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. นอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาส่กู ารปฏบิ ตั ิ

1.1 สืบสานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธติ และเรียนรู้ “โคก หนอง นา
โมเดล”เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธ์ุ
ต่าง ๆ และสง่ เสริมการใช้พลังงานทดแทนอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

1.2 จัดใหม้ ี “หนึง่ ชุมชน หนงึ่ นวตั กรรม การพัฒนาชุมชน” เพ่อื ความกินดี อยู่ดี มงี านทำ
1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้าน
คุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมอื ง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่าน
กจิ กรรมการพัฒนาผเู้ รียนโดยการใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๓๓

แผนปฎิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

2. ส่งสริมการจัดการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ สำหรบั ประชาชนทเ่ี หมาะสมกบั ทุกชว่ งวัย
2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และ

การสร้างนวัตกรรมและผลิตภณั ฑ์ทมี่ ีคณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย ทันสมยั และตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนผูร้ ับบรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรูค้ วามสามารถเพ่อื นำไปใช้ในการพัฒนาอาชพี ได้

2.2 สง่ เสรมิ และยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษให้กับประชาชน (English for All)
2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรม
อาชีพที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และ
หลักสูตรการดูแลผูส้ ูงวัย โดยเน้นการมีส่วนรว่ มกบั ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการเตรยี มความพร้อมเข้าสู่
สงั คมสงู วัย
3. พัฒนาหลกั สูตร สือ่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหล่งเรียนรู้ และรปู แบบ
การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทุกประเภท เพ่อื ประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา
ที่เหมาะสมกับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน
ความต้องการของผเู้ รยี น และสภาวะการเรยี นรใู้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ ในอนาคต
3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ที่รองรับ DEEP ของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและชอ่ งทางเรียนรรู้ ูปแบบอ่ืน ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air
3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science
Center/Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning
Space) เพื่อให้สามารถ “เรียนรไู้ ด้อย่างท่ัวถึง ทกุ ที่ ทุกเวลา”
3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอน
ความรู้ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ
อเิ ล็กทรอนิกส(์ E-exam)
4. บูรณาการความร่วมมือในการสง่ เสรมิ สนับสนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ รวมทัง้ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝกึ อาชพี ทเ่ี ป็นอัตลักษณ์
และบริบทของชมุ ชนสง่ เสริมการตลาดและขยายช่องทางการจำหน่ายเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ/์ สนิ คา้ กศน.
4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งใน
สว่ นกลางและภูมภิ าค
5. พัฒนาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทำงานของบคุ ลากร กศน.
5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy &
Digital Skills)ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งพัฒนาครูให้มีทักษะความรู้ และความชำนาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรู้และการ
จัดการเรยี นการสอนเพอ่ื ฝกึ ทักษะ การคิดวเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบและมีเหตผุ ล เปน็ ขั้นตอน
5.2 จดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งความสมั พันธ์ของบุคลากร กศน.และกจิ กรรมเพ่ิมประสิทธิภาพใน
การทำงานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพใน
การทำงาน

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๓๔

แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศนู ย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองค์กร ปัจจัยพื้นฐานในการจัด
การศึกษา และการประชาสมั พันธ์ สรา้ งการรับร้ตู อ่ สาธารณะชน

6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ ให้สำเร็จ และปรับโครงสร้างการ
บรหิ ารและอตั รากำลงั ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทการเปลย่ี นแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แต่งตงั้ ท่ีมปี ระสิทธิภาพ

6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทำงาน
และข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง
กศน. เพอ่ื จัดทำข้อมลู กศน. ทัง้ ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของ
หนว่ ยงานสถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้ทกุ แห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ ริการ

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/
กิจกรรมด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน
วิชาการของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัด
นทิ รรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน.

การจดั การศึกษาและการเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID – 19) ของสำนกั งาน กศน.

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือน
ธันวาคม 2562ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและ
กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
ดังกล่าว อาทิ กำหนดให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของ
โรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท เพ่ือจัดการเรยี นการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรอื การทำกิจกรรม
ใด ๆ ทม่ี ีผ้เู ข้ารว่ มเปน็ จำนวนมากการปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพเิ ศษ การกำหนดใหใ้ ช้วิธีการจดั การเรียนการ
สอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทาง
โทรทัศน์ วทิ ยุ และโซเซยี ลมเี ดีย ตา่ ง ๆ รวมถึงการส่ือสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธอี เิ ล็กทรอนิกส์

ในสว่ นของสำนกั งาน กศน. ไดม้ ีการพัฒนา ปรบั รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน
ในภารกจิ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจำวนั และการจดั การเรียนรเู้ พ่ือรองรับการชีวิตแบบ
ปกตวิ ิถีใหม่ (New Normal) ซึง่ กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานตามมาตรการ
การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก
ประเภทหากมีความจำเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันที่
เข้มงวด มเี จลแอลกอฮอลล้างมือ ผู้รบั บรกิ ารตอ้ งใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผา้ ตอ้ งมกี ารเวน้ ระยะห่าง
ระหวา่ งบุคคลเน้นการใช้สือ่ ดจิ ิทลั และเทคโนโลยอี อนไลน์ในการจดั การเรียนการสอน

1. ภาระกจิ ตอ่ เน่อื ง
1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย

ดำเนินการให้ผู้เรยี นได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน และค่า
จัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถงึ และเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่าย

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๓๕

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด
และขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบช้ันเรยี น และ
การจดั การศึกษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัด
และประเมินผลการเรียน และระบบการให้บริการนกั ศึกษาในรปู แบบอนื่ ๆ

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณท์ ีม่ คี วามโปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามทก่ี ำหนด และสามารถตอบสนองความ
ต้องการของกลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

5) จดั ใหม้ กี จิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นท่มี ีคุณภาพท่ผี เู้ รียนต้องเรยี นรู้และเขา้ รว่ มปฏิบัติ
กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการแขง่ ขันกฬี า การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างตอ่ เนือ่ ง การส่งเสรมิ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ
ยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการ
บำเพ็ญประโยชนอ์ ื่น ๆ นอกหลักสตู รมาใช้เพ่มิ ช่วั โมงกิจกรรมให้ผเู้ รยี นจบตามหลกั สตู รได้

1.2 การส่งเสริมการรหู้ นังสอื
1) พฒั นาระบบฐานข้อมูลผู้ไมร่ ู้หนงั สือ ใหม้ คี วามครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบ

เดยี วกันทง้ั ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค
2) พัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สูตร ส่ือ แบบเรียนเครอื่ งมือวดั ผลและเครอ่ื งมือการดำเนินงาน

การส่งเสรมิ การรูห้ นังสือท่สี อดคลอ้ งกับสภาพและบรบิ ทของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย
3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และ

ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริม
การรหู้ นังสอื ในพ้ืนทีท่ ่ีมคี วามตอ้ งการจำเป็นเปน็ พิเศษ

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้
หนงั สอื การพฒั นาทกั ษะการร้หู นงั สือใหก้ ับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง
ตลอดชีวิตของประชาชน

1.3 การศึกษาตอ่ เน่ือง
1) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยา่ งยั่งยืน โดยใหค้ วามสำคญั กับการจัดการศึกษา

อาชพี เพื่อการมีงานทำในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง
หรือการบริการรวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ
ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการ
รวมกลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน การพฒั นาหนึ่งตำบลหนึ่งอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์
ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกำกับ
ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทำอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง

2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กบั ทุกกลมุ่ เป้าหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผ้สู งู อายุ
ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดำรงชีวิ ต
ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง
ให้อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสขุ สามารถเผชญิ สถานการณต์ า่ งๆ ทเ่ี กดิ ในชวี ิตประจำวนั อย่างมีประสทิ ธิภาพ

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๓๖

แผนปฎิบตั งิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

และเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยสี มัยใหม่ใน
อนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสำคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้องการการ
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การอบรมคณุ ธรรม และจรยิ ธรรม การปอ้ งกนั ภัยยาเสพตดิ เพศศกึ ษา การปลกู ฝ่งั และการสร้างค่านิยมที่พึง
ประสงค์ ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ิน ผ่านการอบรมเรยี นร้ใู นรปู แบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ
ชวี ติ การจัดต้ังชมรม/ชุมนมุ การอบรมส่งเสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เป็นต้น

3) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใชห้ ลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรียนรู้
แบบบูรณาการในรปู แบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ ารจดั กิจกรรม
จิตอาสา การสร้างชุมชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่
ละพื้นท่ี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรบั ความแตกตา่ งและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ัง
สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการ
จิตสาธารณะการสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การ
สง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม การเปน็ จติ อาสา การบำเพญ็ ประโยชน์ในชมุ ชนการ บริหารจดั การน้ำ การรบั มือ
กับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการ
พฒั นาสงั คมและชมุ ชนอย่างยงั่ ยืน

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ให้กบั ประชาชน เพอ่ื เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยนื หยัดอยไู่ ด้อยา่ งม่ันคง และ
มกี ารบรหิ ารจัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ และยัง่ ยืน

1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย
1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ทีม่ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนา

ศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึน้ ในสังคมไทย ใหเ้ กิดขึน้ อย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น การพฒั นา กศน. ตำบล
ห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน
การสร้างเครอื ข่ายส่งเสริมการอ่าน จดั หนว่ ยบรกิ ารหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี หอ้ งสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและ
อุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ
อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน
และการจัดกจิ กรรมเพือ่ สง่ เสริมการอ่านอยา่ งหลากหลายรปู แบบ

2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตลอดชีวิตของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะ
วิทยาการประจำท้องถิ่นโดยจัดทำและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้าง
ความรแู้ ละสร้างแรงบนั ดาลใจดา้ นวิทยาศาสตร์สอดแทรกวธิ ีการคิดเชงิ วิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และ
ปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับ
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บริบท
ของชมุ ชน และประเทศ รวมทง้ั ระดบั ภูมิภาคและระดับโลกเพ่ือให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนำความรู้
และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชวี ิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกนั
ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ รวมทง้ั มคี วามสามารถในการปรับตวั รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่
เปน็ ไปอย่างรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๓๗

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชุมชนบ้านเกาะจำ)

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาตามอัธยาศัยใหม้ ีรูปแบบทีห่ ลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพธิ ภัณฑ์
ศูนย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมดุ รวมถึงภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เป็นต้น

2. ด้านหลักสูตรรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลงานบริการทาง
วชิ าการ และการประกันคุณภาพทางการศึกษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ และหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของพื้นที่และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
และชุมชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียนกลุม่ เปา้ หมายทวั่ ไปและกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นสามารถเรยี นร้ไู ดท้ กุ ที ทกุ เวลา

2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้
ด้วยระบบหอ้ งเรยี นและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณ์เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ รวมทง้ั มีการประชาสัมพันธใ์ หส้ าธารณชนได้รบั รู้และสามารถเข้าถึงระบบการประเมนิ ได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลักสตู ร โดยเฉพาะหลักสูตรใน
ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานให้ได้มาตรฐานโดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนิกส์
(e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.6 ส่งเสรมิ และสนับสนุนการศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ
บรบิ ทอย่างต่อเนื่อง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมิน
คุณภาพภายนอกโดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกัน
คุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่องโดยใช้การประเมนิ
ภายในดว้ ยตนเอง และจดั ใหม้ ีระบบสถานศกึ ษาพีเ่ ล้ียงเข้าไปสนบั สนนุ อย่างใกล้ชิด สำหรบั สถานศึกษาท่ียัง
ไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่
กำหนด

3. ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและ

ตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจาย
โอกาสทางการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ
สามารถพฒั นาตนเองใหร้ เู้ ท่าทันส่ือและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อ
การมีงานทำ รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้รายการ รายการทำกินก็ได้ ทำขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานี
วทิ ยุศึกษา สถานีวิทยโุ ทรทศั น์เพ่อื การศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอร์เน็ต

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๓๘

แผนปฎบิ ัตงิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook Application อื่นๆ เพื่อส่งเสรมิ ให้
ครู กศน. นำเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พฒั นาสถานีวทิ ยุศึกษาและสถานโี ทรทัศนเ์ พ่ือการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและ
การออกอากาศให้กล่มุ เป้าหมายสามารถใชเ้ ป็นช่องทางการเรียนรูท้ ี่มคี ุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตโดย
ขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทางให้
สามารถรบั ชมรายการโทรทัศนไ์ ด้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ี
จะรองรบั การพฒั นาเป็นสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนเ์ พ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง
อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline
ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลอื กใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้
ได้ตามความตอ้ งการ

3.5 สำรวจ วจิ ยั ติดตามประเมินผลด้านการใชส้ ื่อเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอย่างต่อเนื่องเพื่อนำ
ผลมาใชใ้ นการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทนั สมยั และสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ของประชาชนได้อย่างแทจ้ ริง
ชาชนได้อย่างแทจ้ ริง

4. ดา้ นโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอนั เกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหรือโครงการอนั

เกีย่ วเนื่องจากราชวงศ์
4.2 จัดทำฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดำริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์เพื่อนำไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ
การพฒั นางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

4.3 สง่ เสรมิ การสร้างเครอื ข่ายการดำเนนิ งานเพอื่ สนับสนุนโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ
เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา้ ท่ที ่ีกำหนดไว้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูงถ่ิน
ทุรกันดาร และพนื้ ที่ชายขอบ

5. ดา้ นบคุ ลากรบริหารจัดการ และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น
5.1 การพฒั นาบุคลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและ

ระหว่างการดำรงตำแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง
ให้ตรงกับสายงานความชำนาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ
ดำเนินงานของหนว่ ยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพรวมทัง้ ส่งเสริมให้ขา้ ราชการในสังกัดพัฒนา
ตนเองเพอื่ เล่อื นตำแหนง่ หรอื เล่อื นวิทยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์

2) พฒั นาศกึ ษานเิ ทศก์ กศน. ให้มสี มรรถนะที่จำเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชพี สามารถ
ปฏิบัติการนเิ ทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อรว่ มยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัยในสถานศึกษา

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๓๙

แผนปฎบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

3) พฒั นาหวั หน้า กศน.ตำบล/แขวงให้มสี มรรถนะสงู ขึน้ เพอ่ื การบริหารจัดการ กศน.ตำบล/
แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้
อำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นร้ทู ม่ี ีประสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการ
เรียนรไู้ ดอ้ ย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มคี วามรู้ความสามารถในการจดั ทำแผนการสอน การจดั กระบวนการ
เรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล และการวิจยั เบื้องตน้

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถและมีความเปน็ มอื อาชพี ในการจัดบรกิ ารส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวิตของประชาชน

6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมใน
การบรหิ ารการดำเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน
และต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำงานร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน

3. นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ 2564

1. การพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1.1 การจัดการศึกษาเพือ่ คุณวุฒิ

• จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการ
เรยี นรูเ้ ชงิ รกุ และการวัดประเมนิ ผลเพื่อพฒั นาผเู้ รยี น ทสี่ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแห่งชาติ

• ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา ตามความต้องการ
จำเป็นของกลุ่มเปา้ หมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบริบทของพนื้ ท่ี

• พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) จากประสบการณจ์ รงิ หรอื จากสถานการณ์จำลอง
ผ่านการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปิดโลกทัศน์มมุ มองร่วมกัน
ของผู้เรียนและครูใหม้ ากขึ้น

• พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตและสร้างอาชีพ
อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สขุ ภาวะและทศั นคติท่ีดตี ่อการดูแลสขุ ภาพ

1.2 การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต
• จัดการเรียนร้ตู ลอดชีวติ สำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษ
• ส่งเสริมการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมสำหรับผ้ทู ี่เข้าสสู่ ังคมสงู วัย อาทิ อาชพี ทีเ่ หมาะสมรองรับ
สังคมสงู วัย หลกั สูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวยั หลักสูตร BUDDY โดยเน้นการมี
สว่ นรว่ มในการพฒั นาชมุ ชน โรงเรียน และผเู้ รียน หลักสูตรการเรียนรอู้ อนไลน์ เพอื่ สง่ เสริมประชาสัมพันธ์
สินคา้ ออนไลนร์ ะดับตำบล

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศูนย์การเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๔๐

แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนย์การเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

• สง่ เสรมิ โอกาสการเข้าถึงการศกึ ษาเพื่อทักษะอาชีพและการมงี านทำ ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะ
กจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และเขตพืน้ ที่พเิ ศษ (พน้ื ทีส่ งู พื้นที่ตามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพน้ื ที่เกาะแก่ง
ชายฝัง่ ทะเล ท้งั กลุ่มชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว)

• พัฒนาครูให้มที กั ษะ ความรู้ และความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ปัญญาประดิษฐ์ และ
ภาษาองั กฤษ รวมทั้งการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือฝึกทักษะการคิดวเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบและมเี หตุผล
เปน็ ขนั้ ตอน

• พฒั นาครอู าชวี ศึกษาทีม่ คี วามร้แู ละความสามารถในทางปฏบิ ตั ิ (Hands Experience) เพื่อให้
มที กั ษะและความเชยี่ วชาญทางวชิ าการ โดยรว่ มมือกบั สถาบันอดุ มศึกษาช้ันนำของประเทศจดั หลักสตู รการ
พฒั นาแบบเขม้ ข้นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี

• พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศกึ ษาธิการ ให้มคี วามพร้อมใน
การปฏบิ ตั ิงานรองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจิทลั อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยจัดให้มศี นู ย์พัฒนาสมรรถนะบุคลากร
ระดบั จังหวัดท่วั ประเทศ

2. การพัฒนาการศกึ ษาเพอื่ ความมั่นคง
• พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนำยุทธศาสตร์พระราชทาน
“เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา” เปน็ หลักในการดำเนินการ
• เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพติด
อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์
• ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถิน่ ร่วมกับภาษาไทย เป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพืน้ ที่ที่ใช้ภาษาอยา่ ง
หลากหลาย เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะการสื่อสารและใช้
ภาษาท่สี ามในการตอ่ ยอดการเรียนรูไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
• ปลูกฝงั ผูเ้ รยี นให้มีหลกั คิดที่ถูกต้องด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และเปน็ ผู้มคี วามพอเพียง วินัย
สจุ ริต จติ อาสา โดยใช้กระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด
3. การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
• สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาอาชีวศกึ ษาผลิตกำลังแรงงานท่ีมีคณุ ภาพ ตามความเปน็ เลิศของแต่ละ
สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นท่ี รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบัน
และอนาคต
• สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอน
ด้วยเครื่องมือปฏิบัติที่ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล
(Data Analysis) และทักษะการส่ือสารภาษาต่างประเทศ
4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
• พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เพื่อการเรยี นรู้ และใช้ดจิ ทิ ัลเป็นเครอ่ื งมอื การเรยี นรู้
• ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้อง
กับสภาพเศรษฐกิจและบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู
• ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อลดความ
เหล่ือมลำ้ ทางการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งพระราชบญั ญัติพื้นทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562
5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างการรับรู้ ความ
เข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรม ที่พึงประสงค์ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๔๑

แผนปฎบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ 2564 (ศูนย์การเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

• ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ
และสร้างรายได้
6. การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ

• ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงานที่มี
ภารกจิ ใกลเ้ คียงกนั เชน่ ดา้ นประชาสมั พันธ์ ด้านตา่ งประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เปน็ ตน้

• ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอุปสรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงาน โดยคำนึงถึง
ประโยชนข์ องผู้เรยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยรวม

• สนับสนนุ กจิ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
• พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data)
• พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับ
การปฏิรปู องคก์ าร
• สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่าง
อสิ ระและมปี ระสิทธิภาพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธิการ
• จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ
• ส่งเสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ
ภายนอกบรเิ วณโรงเรียนใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ

4. เปา้ หมาย/แผนการพฒั นาจงั หวัดกระบี่ พ.ศ. ๒๕๖1-๒๕๖๔

เปา้ หมายการพัฒนา
“เมืองท่องเที่ยวคุณภาพระดบั นานาชาติ เกษตรอตุ สาหกรรมย่ังยืน สังคมน่าอยมู่ ีการปรับตัวเท่า

ทันตอ่ บริบทการเปลีย่ นแปลง”

วตั ถปุ ระสงค์
๑. พัฒนาจังหวัดกระบี่ให้เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีคุณภาพระดับนานาชาติเชื่อมโยงกับ

ศลิ ปวฒั นธรรม วิถีชมุ ชน อัตลักษณ์
2. เสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจ (ภาคการท่องเที่ยว,ภาคเกษตรอุตสาหกรรม,ประมง ,ปศุสัตว์

,พชื อาหารและอาหาร) ของจงั หวดั ใหม้ คี ุณภาพ แขง่ ขันได้ มีคณุ ธรรม รบั ผิดชอบต่อสงั คมและเป็นเศรษฐกิจ
บนฐานความรู้ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. พฒั นาคนใหม้ ีคุณภาพระดบั นานาชาติ คุณธรรม สามารถนำความรไู้ ปใช้ในการดำรงชีวิตและ
ประกอบอาชีพไดอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ พร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น

4. ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
คณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม

ตวั ชี้วดั
1. อัตราการขยายตัวผลติ ภัณฑม์ วลรวมของจังหวัดไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5
2. ประชากรท่ีอยู่ใตเ้ ส้นความยากจน ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๔.๗ (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๘ มคี า่ รอ้ ยละ ๔.๗)
3. อัตราการว่างงาน ต่ำกว่ารอ้ ยละ 1.5

นางสาวสุนิดา มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๔๒

แผนปฎบิ ัติงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)

ประเดน็ การพัฒนา

• ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ : พัฒนาการท่องเทย่ี วให้เป็นการท่องเทยี่ วสีเขียว (Green Tourism)

เพม่ิ ศักยภาพให้ได้มาตรฐานในระดับสากล และเชอ่ื มโยงการท่องเที่ยวระดบั ภมู ิภาคและนานาชาติ

วัตถปุ ระสงค์
๑. พัฒนาจังหวัดกระบี่เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเป็นเมืองท่องเที่ยวคุณภาพในระดับ
นานาชาติ
2. สร้างรายได้จากการทอ่ งเท่ยี วให้เพ่ิมขน้ึ อย่างมีเสถียรภาพ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
มีการจ้างงาน สร้างรายได้และกระจายรายได้ให้กบั ประชาชนในพื้นที่
๓. ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับการท่องเที่ยวที่ได้คุณภาพ
มาตรฐานสากล และเพียงพอกับปริมาณความตอ้ งการใช้
๔. เสริมสรา้ งความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สนิ ให้กับนักท่องเทย่ี วเพ่ือสรา้ งความเช่ือม่ันและ
ภาพลักษณ์ทีด่ ี
5. สรา้ งความเชอ่ื มโยงการทอ่ งเทย่ี วของจังหวดั สู่ภูมภิ าคและนานาชาติ
6. พัฒนาการทอ่ งเทีย่ วเป็นไปอย่างยงั่ ยืน สมดลุ กับทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

ตวั ชวี้ ดั

1. อัตราการขยายตัวรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๑๘ จากปีที่ผ่านมา
(คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๖-๒๕๕๘ ขยายตวั เฉล่ียร้อยละ ๑๘)

๒. จำนวนแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกหรือโครงสร้างพื้นฐาน
ไมน่ ้อยกว่า ๓ แหง่ ต่อปี (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ พัฒนา ๓ แหง่ ต่อปี)

๓. อัตราการลดลงของจำนวนคดีอาญาและอุบัติภัยที่เกิดกับนักท่องเที่ยว ลดลงไม่ต่ำกว่า
รอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ลดลงรอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี)

๔. อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) สาขาโรงแรมและภัตตาคาร
ขยายตัวไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๑๒ จากปีทผ่ี า่ นมา

๕. จำนวนกิจกรรมหรือการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับภูมิภาคและต่างประเทศ
ไมต่ ำ่ กว่า ๒ กิจกรรมหรือครั้ง ตอ่ ปี (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ดำเนนิ การไมต่ ำ่ กวา่ ๒ ครั้งตอ่ ปี)

๖. ร้อยละของจำนวนพื้นที่ตัวอย่างแหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่มีคุณภาพน้ำทะเลจากการ
ตรวจวัดอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานระดบั ดี ไมต่ ่ำรอ้ ยละ ๗๐ ของจำนวนตวั อย่างแหล่งท่องเทีย่ วทัง้ หมด (คำนวณ
จากค่าฐานปี ๒๕๕๘-๒๕๕๙ รอ้ ยละ ๖๒)

๗. จำนวนสถานประกอบการทีพ่ กั ท่ีเขา้ สู่เกณฑ์โรงแรมสเี ขยี วไม่ตำ่ กวา่ ๕ แหง่ ตอ่ ปี

แนวทางการพฒั นา
๑. ฟื้นฟู ปรับปรุง จัดระเบียบแหล่งท่องเที่ยว และสร้างความตระหนักในการรักษาทรัพยากร

ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
๒. พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานส่ิงอำนวยความสะดวกเพ่ือการท่องเที่ยว ให้มคี ณุ ภาพได้มาตรฐาน
๓. สร้างความตระหนักแก่ทุกภาคส่วนในความเป็นเจ้าบ้านที่ดี และพัฒนาบุคลากรทางการ

ทอ่ งเทย่ี วให้มกี ารบริการทเ่ี ป็นเลิศ
๔. พฒั นาการทอ่ งเทยี่ วรปู แบบใหม่ใหม้ ีความหลากหลาย

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ย์การเรียนชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

๔๓

แผนปฎิบตั ิงานประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

๕. พัฒนาระบบสร้างความปลอดภยั ทางการท่องเท่ยี ว และการจดั การภยั พบิ ัติ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน
๖. สร้างภาพลักษณ์ของการเป็นเมืองท่องเที่ยวสีเขียวให้เป็นที่รู้จัก ทำการตลาดและ
ประชาสัมพันธ์เชงิ รุก และเช่ือมโยงการท่องเทย่ี วสู่ภูมิภาคและนานาชาติ
๗. พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้าและบริการท่องเที่ยว ให้ได้คุณภาพและ
มอี ัตลักษณ์เชิงพ้ืนที่
๘. ควบคุมและจัดระเบียบผังเมืองให้เป็นไปตามกฎหมาย มีระเบียบ สวยงาม โดยคำนึงถึง
การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

• ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้านการเกษตรและแปรรูป

สนิ คา้ เกษตรอยา่ ง ครบวงจร ควบค่กู ับการพฒั นาอตุ สาหกรรมสะอาดและพลงั งานทางเลอื ก

วัตถปุ ระสงค์
1. พฒั นาพน้ื ที่ใหเ้ ปน็ แหลง่ ผลิตปาล์มนำ้ มันคณุ ภาพ
2. ส่งเสรมิ การผลติ สนิ ค้าเกษตรมคี ณุ ภาพ ไดม้ าตรฐาน มูลค่าเพิ่มจากการแปรรูป นวตั กรรม
3. พัฒนาภาคเกษตรกรรมให้หลากหลาย มีเสถียรภาพทางการเกษตร มีความมั่นคงด้าน
อาหาร
4. ส่งเสรมิ การมูลคา่ การผลิตดา้ นการเกษตรขยายตวั เกษตรกรมคี วามม่นั คงด้านรายได้
5. พฒั นาให้เปน็ แหลง่ อุตสาหกรรมสะอาด และมีการใช้พลงั งานทดแทน

ตัวชว้ี ัด
1. เปอรเ์ ซ็นตน์ ้ำมันปาล์มดิบทสี่ กัดไดโ้ ดยเฉลีย่ ทั้งจงั หวดั ไม่ต่ำกวา่ ร้อยละ ๑๘ (คำนวณจาก

คา่ ฐานปี ๒๕๕๙ เปอรเ์ ซ็นต์นำ้ มันรอ้ ยละ ๑๗.๔)
2. อัตราการขยายตัวของมูลค่าการผลิตของสินค้าเกษตรที่แปรรูปโดยใช้นวัตกรรม เพิ่มข้ึน

ไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ ๕ จากปีทีผ่ ่านมา (กำหนดคา่ ตัวช้ีวดั ใหม่ เน่อื งจากมีการเก็บข้อมลู ปแี รก)
3. อัตราการขยายตัวของจำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีอาชีพและรายได้

เสริมด้านเกษตร เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๕ จากปีที่ผ่านมา (กำหนดค่าตัวชี้วัดใหม่ เนื่องจากมีการเก็บข้อมูลปี
แรก)

4. อัตราการขยายตัวของมูลค่าผลผลติ ปศุสัตว์ทีส่ ำคัญเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ ๑๐ จากปีที่ผา่ น
มา (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๖-๒๕๕๘ ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๘)

5. อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ภาคเกษตร ขยายตัวไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ ๓ จากปีทีผ่ า่ นมา

6. จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน/ยางพาราเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสะอาด ไม่ต่ำกว่า
ร้อยละ ๘๐ ของโรงงานอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันและยางพาราท้ังหมด (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๘ มีสัดสว่ น
รอ้ ยละ ๘๐)

7. อัตราการขยายตัวของปริมาณการผลิตพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๕ จาก
ปีทผี่ ่านมา (กำหนดค่าตวั ชีว้ ัดใหม่ เนือ่ งจากมีการเกบ็ ขอ้ มูลปีแรก)

แนวทางการพฒั นา
1. เพมิ่ ผลิตภาพ และพัฒนาคุณภาพการผลติ ปาลม์ นำ้ มนั น้ำมันปาล์ม และยางพารา
2. ส่งเสรมิ การพฒั นานวัตกรรมการแปรรูปสนิ คา้ เกษตรเพ่อื สรา้ งมลู ค่าเพมิ่
3. พัฒนาศักยภาพเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรในการผลิตและการบริหารจัดการสินค้า
เกษตรใหม้ คี ุณภาพ และสรา้ งเกษตรกรรุน่ ใหม่

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

๔๔

แผนปฎิบัตงิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศนู ย์การเรยี นชุมชนบ้านเกาะจำ)

4. พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานรองรับภาคเกษตรและอตุ สาหกรรม
5. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการน้ำทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและระบบชลประทานทค่ี รอบคลุมทว่ั ถงึ
6. ขยายฐานการผลิตสนิ ค้าเกษตรทห่ี ลากหลายสรา้ งอาชีพ/รายไดเ้ สริม มน่ั คงดา้ นอาหาร
7. ส่งเสรมิ การทำเกษตรชวี ภาพ เกษตรผสมผสาน ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
8. ส่งเสริมการตลาด พัฒนาตลาดสินค้าเกษตร และท่าเทียบเรือประมง (สะพานปลา)
ทีม่ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน
9. ส่งเสริมและยกระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และพัฒนาคุณภาพสินค้าและ
ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน
10. พัฒนาพลงั งานทดแทนเพือ่ ใชเ้ ป็นแหลง่ พลังงานทางเลอื กของจังหวัด

• ประเด็นการพัฒนาท่ี ๓ : พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ประชาชนส่สู ังคมนา่ อยู่ และปรับตัวรองรับต่อ

บริบทการเปลีย่ นแปลง

วตั ถปุ ระสงค์
1. เสรมิ สรา้ งให้ประชาชนมีความสุข และมคี ณุ ภาพชีวติ ดี
2. ส่งเสริมเยาวชนให้ไดร้ บั การศึกษาท่ีมีคุณภาพ
3. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริการสาธารณสุขทม่ี ีคุณภาพให้ประชาชนได้รบั บริการอยา่ งทว่ั ถึง
4. เพิ่มศักยภาพพัฒนาทักษะประชาชนให้มีความพร้อม และสามารถตรงตรมความต้องการ
ของตลาดแรงงาน
5. เสริมสร้างความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ นิ ของประช
6. แรงงานและผู้ดอ้ ยโอกาสไดร้ บั การคมุ้ ครองจากสวสั ดิการ
7. ประชาชนไดร้ ับบริการจากสาธารณูปโภคขัน้ พนื้ ฐานและโครงสร้างพื้นฐานทเี่ พยี งพอ

ตวั ช้วี ดั
1. ประชากรที่อยูใ่ ตเ้ สน้ ความยากจน ไม่เกนิ รอ้ ยละ ๔.๗ (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๘ มคี ่ารอ้ ยละ ๔.๗)
2. ร้อยละของครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ได้รับการแก้ไขและผ่านเกณฑ์ จปฐ. ไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ ๖๐ (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๖-๒๕๕๘ มคี า่ เฉลีย่ รอ้ ยละ ๕๘)
3. นักเรียนที่ได้คะแนน ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไปในการทดสอบ O-Net ในกลุ่มวิชาสาระหลัก
มีจำนวน รอ้ ยละ ๕๐ ของนักเรยี นท้ังจงั หวดั ที่เข้าทดสอบ
4. จำนวนปกี ารศึกษาเฉล่ียของประชากรอายุ ๑๕-๕๙ ไม่ต่ำกวา่ ๙.๖ ปี (คำนวณจากค่าฐานปี
๒๕๕๖-๒๕๕๘ มคี า่ เฉลยี่ ๙.๖ ป)ี
5. ร้อยละของสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ HA ต่อสถานพยาบาลทั้งหมดมีไมต่ ำ่
กว่าร้อยละ ๕๐ (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๘ มีค่าร้อยละ ๕๐)
6. อตั ราการว่างงานไม่เกินร้อยละ ๓ (คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๗-๒๕๕๘ มีค่าเฉล่ยี ร้อยละ ๒)
7. อัตราการลดลงของคดีอาญา ลดลงไมต่ ่ำกว่าร้อยละ ๕ จากปีทผ่ี ่านมา (คำนวณจากค่าฐาน
ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ขยายตัวลดลงเฉล่ียรอ้ ยละ ๔.๓)
8. ร้อยละของหมู่บา้ นท่ีมีการแพร่ระบาดของยาเสพติดระดับรุนแรงมไี ม่เกนิ ร้อยละ ๑๐ ของ
หมูบ่ ้านทัง้ หมด (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๘ มีค่ารอ้ ยละ ๑๐)
9. ร้อยละของผู้อยใู่ นระบบประกนั สงั คมต่อกำลงั แรงงานไมต่ ่ำกว่ารอ้ ยละ ๒๕ (คำนวณจากค่า
ฐานปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ มคี ่ารอ้ ยละ ๒๓)

นางสาวสนุ ิดา มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๔๕

แผนปฎบิ ตั งิ านประจำปงี บประมาณ 2564 (ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)

10. ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับเบี้ยยังชีพไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุและ
ผ้พู ิการทั้งหมด คำนวณจากคา่ ฐานปี ๒๕๕๘ มีคา่ ร้อยละ ๘๐)

11. จำนวนโครงการโครงสรา้ งพื้นฐานหรือสาธารณูปโภคขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินได้รับ
การพัฒนาไมต่ ่ำกวา่ ๖๐ โครงการ (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ มคี ่าเฉล่ีย ๖๐ โครงการ)

แนวทางการพฒั นา
1. เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมและความร่วมมือของเครือข่ายเพื่อปรับตัวให้เท่าทันการ

เปลี่ยนแปลง
2. ปอ้ งกนั บำบัด และปราบปราม การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ และอบายมุขทุกกลุม่
3. สร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ินแก่ประชาชนทกุ พ้ืนท่ี
4. ยกระดับคุณภาพการศึกษาของเยาวชน และพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ทุกช่วงวัย ให้มี
คณุ ลกั ษณะของคนในศตวรรษท่ี ๒๑
5. พัฒนาศักยภาพของแรงงานให้มขี ีดความสามารถพร้อมรองรบั การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ควบค่กู บั การยกระดับคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ขี องแรงงาน
6. พัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีความเข้มแข็ง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกจิ
และสังคม
7. จดั สวัสดิการสงั คมให้ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เป้าหมาย และดูแลผดู้ อ้ ยโอกาส ผพู้ กิ าร คนชรา
8. สรา้ งคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ของคนกระบ่ี และสร้างเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมในการดำรงชวี ติ
9. ยกระดับคุณภาพการให้บรกิ ารสาธารณสขุ และส่งเสรมิ การป้องกนั ทุกชว่ งวยั
10. พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและสาธารณปู โภคข้ันพ้นื ฐานเพือ่ คณุ ภาพชีวิตท่ดี ีของประชาชน
11. ส่งเสริมการดำรงชีวิตตามแนวทางพระราชดำริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์
12. สนบั สนุนใหม้ กี ารจัดตง้ั สถาบันการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั บริบทของพ้นื ที่

• ประเด็นการพัฒนาที่ ๔ : อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อมให้เกิดความ

ย่งั ยนื

วัตถปุ ระสงค์
๑. พ้ืนที่ ชมุ ชน มีการบริหารจดั การ รักษา และฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
๒. ทรพั ยากรป่าไม้ได้รบั การดูแลรกั ษาและฟ้ืนฟใู หค้ งความอุดมสมบรู ณ์
๓. แหล่งน้ำไม่เกิดมลพษิ และมีคุณภาพดี
๔. เป็นเมอื งสะอาด มกี ารบริหารจัดการขยะท่ีถกู วธิ ี
๕. ประชาชนมจี ติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

ตวั ชว้ี ดั
1. จำนวนโครงการ/กิจกรรมด้านการอนรุ ักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ มีไม่ตำ่ กวา่ ๖๐ โครงการ (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ มีค่าเฉลีย่ ๖๐ โครงการ)
2. พ้ืนท่ปี า่ หรือทีส่ าธารณะทถี่ กู บุกรุกและมีการจบั กุม ไดร้ บั การฟน้ื ฟรู อ้ ยละ ๒๐ ของพื้นท่ีป่า
หรือท่สี าธารณะทถ่ี กู บุกรกุ และมกี ารจับกุม
3. รอ้ ยละขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีการบริหารจดั การขยะอย่างถูกสุขลักษณะ ไม่ต่ำ
กว่ารอ้ ยละ ๘๐ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ท้ังหมด (คำนวณจากค่าฐานปี ๒๕๕๘ มคี า่ ร้อยละ ๘๐)

นางสาวสนุ ดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นเกาะจำ)
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

๔๖

แผนปฎบิ ัตงิ านประจำปีงบประมาณ 2564 (ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนบา้ นเกาะจำ)

แนวทางการพฒั นา
1. คุ้มครอง ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูพื้นที่ป่า และป่าอนุรักษ์ ป้องกันและควบคุมการสรา้ งมลพิษ
ต่อสิ่งแวดล้อมโดยบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และพัฒนาระบบบำบัดมลพิษที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน
และเพียงพอ
2. สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการจัดการอย่างมีส่วนร่วมของ

ชุมชน
3. บรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั โดยคำนงึ ถงึ ภูมิปัญญาท้องถิน่
4. บำบัดรกั ษา ดูแลทรัพยากรแหลง่ น้ำของจังหวัด
5. สร้างจิตสำนึกของประชาชน ไม่ให้ทำลาย และมีส่วนร่วมในการรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ
ส่ิงแวดล้อม
6. ส่งเสริมกิจกรรม CSR ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการ
อนุรกั ษแ์ ละฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดกระบี่ (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ฉบบั ทบทวน พ.ศ.๒๕๖๔

หัวข้อ แผนพัฒนาจงั หวัด แผนพัฒนาจงั หวัด เหตุผลของการปรับเปลยี่ น

(พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

(เสนอในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓) ฉบบั ทบทวน

เปา้ หมายการพฒั นา เมืองท่องเที่ยวคุณภาพระดับ คงเดิม -

(วิสัยทศั นจ์ ังหวัด) นานาชาติ เกษตรอุตสาหกรรมยั่งยืน

สังคมน่าอยู่ มีการปรับตัวเท่าทันต่อ

บรบิ ทการ เปลยี่ นแปลง

ตัวชี้วัด ความสำเร็จ ตาม ๑. อัตราการขยายตัวผลิตภัณฑ์มวล คงเดิม -

เปา้ หมาย การพฒั นา รวมของจังหวัดไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5

๒. ประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจน

ไม่เกินร้อยละ ๔.๗ 3. อัตราการ

วา่ งงาน ตำ่ กวา่ ร้อยละ 1.5

ประเดน็ การพัฒนา ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ : พัฒนาการ ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ - เพื่อให้การท่องเที่ยวของ

(ประเดน็ /ยุทธศาสตรก์ าร ท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว คงเดิมโดยปรับปรุงแนวทาง จังหวัดกระบี่สอดคล้องกับ

พัฒนาจงั หวดั ) (Green Tourism) เพิ่มศักยภาพใหไ้ ด้ การพัฒนา(กลยุทธ์ภายใต้ นโยบาย Thailand ๔.๐ ของ

มาตรฐานในระดับสากล และเชื่อมโยง ประเดน็ การพัฒนา) ดังนี้ รัฐบาลมากขึ้น โดยการใช้

การท่องเที่ยวระดับภูมิภาคและ - แนวทางการพัฒนาที่ ๘ เพิ่ม ดิจทิ ลั เทคโนโลยเี พ่ือก้าวไปสู่

นานาชาติ การใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีให้เป็น การเป็น Smart Tourism -

Smart Tourism เพื่อเป็นการจัดระเบียบ

- เพ่มิ แนวทางการพัฒนา ๑ ขอ้ ผู้ประกอบการท่องเที่ยวให้

(ข้อ ๙) คือ จัดระเบียบการ ด่าเนินการเป็นไประเบียบ

ทอ่ งเท่ียวให้เป็นไปตามระเบียบ และ ขอ้ กฎหมาย

และขอ้ กฎหมาย และตรวจสอบ

และเร่งรัดให้สถานประกอบ

การ ท่องเที่ยวมีการขออนุญาต

ประกอบการที่ถูกต้องตาม

กฎหมาย

นางสาวสุนดิ า มานพ (ประจำศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบ้านเกาะจำ)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง


Click to View FlipBook Version