The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเสนอตามแผนปฏิบัติราชการ ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-12-19 10:16:29

โครงการเสนอตามแผนปฏิบัติราชการ ปี 2564

โครงการเสนอตามแผนปฏิบัติราชการ ปี 2564

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี

แบบเสนอโครงการ

.1.โครงการ New farmer Academy เพ่อื พฒั นา
ผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ ระบบการผลิตเทคโนโลยเี กษตรและ
อาหารปลอดภยั เพ่ือชุมชน (ต่อเน่ือง)
2.โครงการ บูรณาการพฒั นาเกษตรกรต่อยอดศาสตร์พระราชา
เกษตรทฤษฎใี หม่ : โคกหนอง นา โมเดล สู่ การพฒั นาเกษตร
อนิ ทรีย์ในพนื้ ท่ีจังหวดั สุพรรณบุรี โดยใช้พืน้ ท่เี ป็ นตวั ตงั้

ปี2564

แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พ.ศ.
จังหวัดจังหวัดสุพรรณบ

เป้าหมายการพฒั นาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด : “ เมืองเกษตรกรรมยงั่ ยืน เศรษฐกิจเข้มแขง็ ประชาชนค

บัญชรี ายการชุดโครงการ

แผนงาน/โครงการ แหล่ง งปม. ยุทธศาสตร์ชาติ ห
(7)
ด้านที่

ประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 การเพ่ิมศกั ยภาพการผลิตสินคา้ เกษตรและอตุ สาหกรรมให้ได้มาตรฐาน เพื่อการแข่งขนั ท

แผนงานที่ 2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยกี ารเกษตรเพื่อยกระดบั สู่ Smart

Farmer /Smart Farming

1. โครงการ New Farmer Academy เพื่อพฒั นาผู้ประกอบการเกษตรรนุ่ จังหวัด ดา้ นที่ 2 ดา้ น ว
ใหม่ ระบบการผลติ เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อชุมชน ความสามารถ เท
ในการแข่งขัน

กิจกรรมหลกั การพฒั นาผปู้ ระกอบการเกษตรรุ่นใหม่ New Farmer
Academy เพ่ือพฒั นาผ้ปู ระกอบการเกษตรรนุ่ ใหม่ ระบบการผลิต
เทคโนโลยีเกษตรและอหารปลอดภัยเพ่ือชุมชน

กิจกรรมย่อย 1.1 พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ (ตามแนว
ทฤษฎีใหมข่ ้ันท่ี2 )

กิจกรรมย่อย 1.2 สร้างความร่วมมอื ดา้ นการพัฒนาการตลาดและการสร้าง
เครือข่ายสินคา้ เกษตร (ตามแนวทฤษฎีใหมข่ ้ันที่ 3)

รวมทั้งส้ิน

แบบ จ.1/ กจ.1

2561 – พ.ศ. 2565 (ฉบับทบทวน)
บุรี

คณุ ภาพชีวิตที่ดี ”

งบประมาณดาเนนิ การ (11)

หน่วยดาเนนิ การ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 พ.ศ.
(10) 2561-2565

ทางการคา้ และการพัฒนาท่ีย่ังยนื

วิทยาลยั เกษตรและ
ทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี

3.4394 5.9346 6.4394 15.8134

0.3302 0.2954 0.6256
2.7750 2.7750 5.5500
3.4394 9.0398 9.5098 21.9890

แบบ จ.๑-๑ /กจ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief) ของโครงการภายใตง้ บประมาณของจังหวัด/กล่มุ จังหวัด
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)

ประเด็นการพฒั นาจังหวดั /กลุ่มจังหวัด จังหวัด สุพรรณบุรี
แผนงาน ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ การเพ่ิมศกั ยภาพการผลติ สนิ คา้ เกษตรและอตุ สาหกรรมให้ได้มาตรฐาน
เพ่อื การแข่งขนั ทางการค้าและพฒั นาทย่ี ่งั ยืน

หวั ข้อ รายละเอียด
๑.ชื่อโครงการ
New farmer Academy เพ่ือพัฒนาผูป้ ระกอบการเกษตรรนุ่ ใหม่ ระบบการ
๒.ความสาคญั ของโครงการ ผลิตเทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยเพ่ือชุมชน (ตอ่ เนอื่ ง)
หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ผลผลิตเกษตรมีสารเคมีตกคา้ ง อนั เกดิ จากระบบการผลิตของ
เกษตรกรและระบบการจาหน่ายของพ่อค้า แม่คา้ ในระบบตลาด ส่งผลกระทบ
ตอ่ ภาระภาครฐั ในการดแู ลสุขภาพผู้ป่วยอนั เนอื่ งจากผลกระทบจากสารเคมีเขา้ สู่
รา่ งกาย สขุ ภาพเกษตรกรผู้ผลติ และ การเส่อื มโทรมของสิ่งแวดล้อม อีกท้งั
ปัจจบุ ันกาลังคนภาคเกษตรมีผลติ ภาพการผลิตตา่ สง่ ผลต่อการดารงชีพของ
กาลงั คนภาคเกษตรมีรายไดจ้ ากผลตอบแทนอาชีพน้อย การเพ่มิ ปริมาณและ
คณุ ภาพกาลงั คนภาคเกษตรจึงเป็นเปา้ หมายสาคัญยิ่งในการพัฒนาประเทศไทย
และทศิ ทางการพฒั นาและการเปลยี่ นแปลงของโลก

ตามร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ มีทิศ
ทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่การเป็นประเทศไทย ๔.๐ ด้วยกรอบแนวคิด
จากปัจจัยเงื่อนไขภายในประเทศท่ีโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่าง
สมบูรณ์ วัยเด็กและวัยทางานลดลง ความเหลื่อมล้าในมิติต่างๆ ปัจจัยภายนอกท่ี
เงื่อนไขจากกระแสโลกาภิวัตน์ การเคลื่อนย้ายเสรีของคน เงินทุน ข่าวสาร
เทคโนโลยี สินค้าและบริการ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีส่งผลต่อภาคธุรกิจ
และการใช้ชีวิตของประชาชน ภาวะโลกร้อนและสภาวะภูมิอากาศท่ีผันผวน
ก่อให้เกิดภัยธรรมชาติเป็นแรงกดดันให้มีการผลิตและการบริโภคสินค้าเกษตรที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อนาคตประเทศไทยปี ๒๕๗๙ เก่ียวกับภาคเกษตรได้
กาหนดอนาคตเป็นฐานการผลิตอาหารท่ีม่ันคง ปลอดภัยและมีผลิตภาพการผลิต
สูง กาหนดภาพอนาคตให้วิสาหกิจและการดาเนินธุรกิจ SME เป็นฐานการผลิต
และบริการที่สาคญั ของประเทศ มีระบบเศรษฐกิจสีเขียว มีความม่ันคงทางอาหาร

หวั ข้อ รายละเอียด

พลังงานและน้า ประชาชนมีพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อ
สิง่ แวดล้อม

การยกระดับการพัฒนาประเทศไทย เป็น ๔.๐ ให้ความสาคัญกับ
ทกุ ภาคการผลิต การพัฒนาภาคการเกษตรไทยให้ความสาคัญการพัฒนาฐานการ
ผลิตเดิมด้วยหลักลดต้นทุนเพ่ิมมาตรฐาน และพัฒนาต่อยอดสู่เกษตร
อุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สร้างมูลค่าเพ่ิมโดยการวิจัย พัฒนา ผลิตสินค้า
เกษตรข้ันสูงแสวงหาโอกาสพัฒนาผลิตสินค้าใหม่เป็นเกษตรทางเลือกใหม่ โดย
กาหนดแนวทางการพัฒนาเกษตรและอาหารไว้ใน ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ด้วยการยกระดับการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม R&D
นวตั กรรม ทักษะข้ันสงู ความคิดสรา้ งสรรค์ สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื แบบคลัส
เตอร์ ระบบกลไกเครือข่ายตลอดห่วงโซ่มูลค่าท่ีเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ
กระจายการลงทุนไปยังภูมิภาคและอาเซียน สร้างฐานการเช่ือมโยงห่วงโซ่มูลค่า
สร้างและพัฒนาตลาดสินค้าคุณภาพ ยกระดับมาตรฐานบังคับและพัฒนาความรู้
ผู้บรโิ ภค

จากทิศทางการขับเคลอ่ื นภาคเกษตรดังกลา่ ว การสร้างและพฒั นา
องค์ความร้แู ละผปู้ ระกอบการภาคเกษตรยุคใหม่ จึงมีความจาเปน็ ต้องมีแหลง่
เรยี นร้ปู ฏบิ ตั ิจริง ศกึ ษา ทดลองและขยายผลสกู่ ารประกอบอาชพี ไดจ้ ริง
สอดคลอ้ งกับกรอบทิศทางการพฒั นาประเทศทวี่ างไวต้ ามร่างกรอบการพัฒนา
เพอื่ ให้บรรลุวสิ ัยทศั น์ “ประเทศมคี วามม่นั คง มง่ั คั่ง ยงั่ ยนื เปน็ ประเทศพัฒนา
แลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” นาไปส่กู ารพฒั นาใหค้ น
ไทยมีความสขุ และตอบสนองตอ่ การบรรลุซง่ึ ผลประโยชนแ์ ห่งชาติ ในการที่จะ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สร้างรายไดร้ ะดับสูงเป็นประเทศพฒั นาและสร้างความสุข
ของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศสามารถแข่งขนั
ได้ในระบบเศรษฐกิจ

ในปีงบประมาณ 2563 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี
ได้รบั งบประมาณ ในการดาเนนิ การ จานวน 3.4394 ในการดาเนินกิจกรรมใน
การดาเนนิ การ ผลที่ได้ สถานศึกษาสามารถจดั ต้ังสถาบนั พัฒนาเกษตรกรรุ่น
ใหม่ (New farmer Academy) ๑ แห่ง สรา้ งองค์ความรเู้ ทคโนโลยีการผลติ
เกษตรและอาหารปลอดภัย ๔ ชุด สรา้ ง องค์ความรู้เทคโนโลยีการเพม่ิ มลู ค่า
พัฒนาผลิตภัณฑต์ น้ แบบ ๔ ผลิตภัณฑ์ สามารถฝึกอบรมถ่ายทอดชุดองค์ความรู้
แก่เกษตรกร เยาวชน ๑๒๐ คน สามารถสรา้ งผู้ประกอบการเกษตรยุคใหม่

หวั ข้อ รายละเอยี ด

เกษตรกร และเยาวชน ๓๐ คน

ในปีงบประมาณ 2564 วทิ ยาลยั เกษตรฯดาเนินโครงการต่อเน่ือง และ

เนน้ การขยายผล การสรา้ งเครอื ข่ายของกล่มุ แกนนาทีด่ าเนินการแลว้ ในปี 2563

ใหเ้ ข้มแขง็ โดยใช้หลักของทฤษฎีใหมข่ น้ั ท่ี 2 และการแสวงหาความร่วมมือกับ

ภาคธุรกิจที่เข้มแข็ง เพอ่ื บริหารจดั การตลาดสนิ คา้ ตามหลกั ทฤษฏใี หมข่ น้ั ที่ 3

ซึง่ จะทาให้เกิดกลุ่มของเกษตรกรทีเ่ ขม้ แขง็ ช่วยเหลือตนเองได้ เปน็ ตน้ แบบท่ี

สาคญั ทส่ี ามารถนาไปพฒั นาและขยายผลไดใ้ นพื้นท่ีของจังหวัดสพุ รรณบุรี

๓.วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๑. เพอ่ื พฒั นาสถาบนั พฒั นาเกษตรกรรุ่นใหม่ (New farmer Academy) ฝึก

ทกั ษะอาชพี เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั สู่เกษตรกร เยาวชน

๒. เพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยกี ารผลิตเกษตรปลอดภัยทเี่ หมาะสมในบริบท

ภมู สิ ังคมอาชีพของจงั หวดั สุพรรณบุรี และภาคกลาง

๓. เพื่อพัฒนาองค์ความรเู้ ทคโนโลยกี ารเพมิ่ มูลคา่ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์เกษตรและ

อาหารปลอดภัยทีเ่ หมาะสมกับผลติ ผลทม่ี ีศกั ยภาพการพัฒนาในท้องถิ่น

๔. เพอ่ื ถ่ายทอดฝกึ อบรมสรา้ งผปู้ ระกอบการเกษตรยุคใหม่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี

การผลติ เพิ่มมลู ค่า พัฒนาผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑต์ ราสนิ ค้าและการรับรอง

คุณภาพ

5.เพอ่ื สร้างเครือขา่ ยและระบบการตลาดทเี่ ขม้ แข็ง

๔.เปา้ หมายและตัวช้วี ัด เป้าหมาย

ความสาเร็จของโครงการ ๑. จดั ตง้ั สถาบนั พัฒนาเกษตรกรรุน่ ใหม่ (New farmer Academy) ๑ แห่ง

๒. องค์ความรู้เทคโนโลยีการผลิตเกษตรและอาหารปลอดภัย ๔ ชดุ

๓. องคค์ วามรูเ้ ทคโนโลยีการเพ่ิมมลู คา่ พฒั นาผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบ ๔ ผลิตภัณฑ์

๔. ฝกึ อบรมถ่ายทอดชุดองคค์ วามรูแ้ ก่เกษตรกร เยาวชน ๑๒๐ คน

๕. สรา้ งผปู้ ระกอบการเกษตรยุคใหม่ เกษตรกร และเยาวชน ๓๐ คน

ตวั ชว้ี ดั

๑. สรา้ งเครอื ข่ายพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (New Farmer) เกษตรปลอดภยั

๒. องค์ความร้กู ารผลิต และเพมิ่ มลู คา่ สินค้าเกษตรปลอดภัยต้นแบบถ่ายทอด

สู่เกษตรกรและเยาวชน

๓. บ่มเพาะเยาวชน เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัย ๓๐ คน/ปี

๔. เครือข่ายกล่มุ เกษตรกรผู้ผลติ สินคา้ เกษตรปลอดภัยเพิ่มขึน้ 10 กลมุ่

๕. มรี ะบบการรบั รองคณุ ภาพ ตราสัญลกั ษณ์และการตลาด

๖. มคี วามรว่ มมือ และสามารถสร้างตลาดสนิ คา้ เกษตรไมต่ า่ กวา่ 5 แห่ง

หวั ข้อ รายละเอยี ด

๕.ความเชอ่ื มโยงกบั ทิศ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ไดจ้ ัดทา
ทางการพัฒนาจงั หวัด และ แผนพัฒนาภาคโดยเชอื่ มโยงกบั ยทุ ธศาสตร์ที่ ๙ ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
ภาค สงั คมแห่งชาตฉิ บับท่ี ๑๒ แผนพัฒนาภาคกลางและพนื้ ที่กรงุ เทพมหานคร
ดาเนนิ การด้วยวิสยั ทัศน์ “พัฒนากรงุ เทพฯ สูม่ หานครทนั สมยั และภาคกลางเปน็
ฐานการผลิตสนิ ค้าและบริการที่มมี ูลคา่ สูง” และวิสยั ทศั น์ จังหวดั สุพรรณบรุ ี
“สพุ รรณบุรเี ป็นแหลง่ ผลิตสนิ ค้าเกษตรและอาหารปลอดภยั ช้นั นา ท่องเทย่ี วเชิง
สร้างสรรค์ บา้ นเมืองสะอาด ธรรมชาตสิ มบูรณ์ ศูนย์การศึกษาและการกฬี า
ประชาชนคณุ ภาพชีวติ ดี” ในประเดน็ ยุทธศาสตร์ ท่ี ๑ การเพมิ่ ขีดความสามารถ
ดา้ นเกษตรปลอดภยั สเู่ กษตรอตุ สาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อการบรโิ ภคและ
การสง่ ออก

จากวิสยั ทัศน์ดงั กลา่ ว วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี สถาบนั
การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง มีทตี่ ั้งอยอู่ าเภอด่านช้าง จังหวัดสพุ รรณบุรี มี
ภาระสาคัญในการผลิตแรงงานภาคเกษตรท่มี มี าตรฐานทางวิชาชพี พรอ้ มกา้ วสู่
โลกของการเปลย่ี นแปลงของโลกดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยี จงึ จัดทาโครงการภายใต้
ยุทธศาสตรข์ องจังหวัดสพุ รรณบุรี และแผนพฒั นาภาคกลางในด้านการยกระดบั
การผลติ สนิ ค้าเกษตรและอุตสาหกรรมโดยใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยี และความคิด
สร้างสรรค์ เพือ่ ให้สามารถแข่งขนั ได้อย่างยัง่ ยืน โดยกาหนดแนวทางในการ
พฒั นา ครอบคลุม ห่วงโซ่คุณค่า (value-chain) ทั้งต้นน้า กลางน้า และปลาย
นา้ อนั ไดแ้ ก่

๑.) การพัฒนามาตรฐานของฟาร์มเพ่อื ผลติ อาหารปลอดภัย (Food safety)
จากสินค้าหลกั ของประเทศในภมู ิภาคภาคกลาง

๒.) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีการเกษตรเพือ่ ยกระดับสู่ Smart Farmer และ
Smart Farming รวมท้งั ปรับปรงุ ระบบการบริหารจดั การตลาดให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
สง่ เสรมิ และสนบั สนุนธรุ กจิ SMEs และ Start Up อนั เปน็ บทบาทอันสาคัญของ
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี สังกัดสถาบนั การอาชวี เกษตรภาคกลางในการบ่ม
เพาะเกษตรกร นกั ศึกษาเกษตรให้สามารถดาเนินธรุ กจิ เกษตรได้ด้วยตนเอง และ
สร้างเครอื ข่ายร่วมกบั องค์กรตา่ ง ๆ ให้เป็น cluster ท่แี ขง็ แรง อนั เป็นเปา้ หมาย
ของการพัฒนาการเกษตรอยา่ งย่งั ยืน สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์จังหวัด ประเด็น
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การเพ่ิมขีดความสามารถด้านเกษตรปลอดภยั สู่เกษตร
อตุ สาหกรรมและพาณิชยกรรม เพ่อื การบริโภคและการส่งออก และยุทธศาสตร์
ภาคกลาง ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ ในการยกระดบั การผลติ สินคา้ เกษตรและ

หัวข้อ รายละเอยี ด

๖.กิจกรรมทีส่ าคญั ของ อุตสาหกรรมโดยใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยี และความคดิ สร้างสรรค์ เพื่อให้
โครงการ สามารถแข่งขนั ไดอ้ ย่างยัง่ ยืน ในยุทธศาสตร์ท่ี ๓.๒ แผนงานพฒั นามาตรฐาน
ฟาร์มเพ่อื ผลิตอาหารปลอดภัย (Food safety) จากสินค้าเกษตรหลกั ของภาค
กลาง โดยการพัฒนาตามห่วงโซ่คุณคา่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓.๓ แผนงานส่งเสริมการ
ใชเ้ ทคโนโลยกี ารเกษตรเพื่อยกระดบั สู่ Smart Farmer และ Smart Farming
โดยการพัฒนาตามห่วงโซ่คุณค่า โดยมีกรอบการพฒั นาตาม Vale chain ดังน้ี

ต้นนา้ ไดแ้ ก่ การสร้างพฒั นาองค์ความรู้ เทคโนโลยีการเกษตรปลอดภัย
เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของเกษตรกร และบ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่
จากกล่มุ เกษตรกร นกั ศึกษาอาชีวเกษตร อาทิ เทคโนโลยีการผลิตและการบรหิ าร
จัด การตลาด รวมถงึ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีการผลิตทท่ี ันสมยั ที่
เหมาะสมสามารถจัดทา Farm model เพอ่ื เปน็ ต้นแบบได้

กลางนา้ คือการสง่ เสรมิ และสนับสนุนการนาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมา
เพ่ิมมูลค่า พฒั นาผลิตภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ ตราสนิ ค้าและการรับรองคณุ ภาพ
ยกระดบั คณุ ภาพผลผลติ ภายใต้ระบบควบคุมคุณภาพตรวจสอบ ยอ้ นกลับ
มาตรฐานคุณภาพ สู่ระดบั ของสากล

ปลายนา้ คอื การส่งเสริมและพัฒนาด้านการตลาด ด้วยเทคโนโลยีทท่ี ันสมัย
รวดเร็ว ระบบโลจสี ตกิ ส์ตอบสนองตอ่ ผู้บรโิ ภค รับบริการ จนเกิดความต่อเนื่อง
ของธรุ กจิ การเกษตรทต่ี ่อเนื่อง เชือ่ มโยงและเปน็ เครือขา่ ย (cluster)

กจิ กรรมหลกั พฒั นาจดั ตัง้ สถาบนั พฒั นาเกษตรกรรนุ่ ใหม่ (New farmer
Academy) เพือ่ พฒั นาองค์ความรเู้ ทคโนโลยีเกษตรและอาหาร มาตรฐาน
ปลอดภัยภายใต้บริบทศักยภาพภูมสิ ังคมอาชพี ของท้องถ่ินจังหวัดสพุ รรณบุรี
ถา่ ยทอดฝกึ อบรมอาชีพ บ่มเพาะสร้างผูป้ ระกอบการเกษตรรุน่ ใหม่
กจิ กรรมย่อย

๑. พฒั นาองค์ความรเู้ ทคโนโลยกี ารผลติ เกษตรปลอดภยั ทเี่ หมาะสมในบรบิ ท
ภูมสิ งั คมอาชีพของจงั หวดั สุพรรณบรุ ี และภาคกลาง

๒. พัฒนาองค์ความรเู้ ทคโนโลยกี ารเพม่ิ มูลค่า พัฒนาผลติ ภัณฑ์เกษตรและ
อาหารปลอดภยั ทเี่ หมาะสมกับผลิตผลท่มี ีศักยภาพการพัฒนาในท้องถ่นิ

๓. ฝกึ อบรมบม่ เพาะ สร้างผู้ประกอบการเกษตรยุคใหม่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลติ เพมิ่ มูลค่า พัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภณั ฑต์ ราสินคา้ และการรบั รอง
คณุ ภาพ

หวั ข้อ รายละเอยี ด

๗.หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบ ๔. เผยแพรแ่ ละแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เครือขา่ ยผู้ประกอบการเกษตรและอาหาร
๘.ระยะเวลาในการ ปลอดภยั รุ่นใหม่ New farmer
ดาเนินงาน
๙.งบประมาณ 5. การสร้างเครือขา่ ยและระบบการตลาดท่ีเขม้ แขง็
๑๐.ผลผลติ (output) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี
ปงี บประมาณ ๒๕๖4
๑๑.ผลที่คาดว่าจะได้รบั ระหวา่ งเดอื น ตุลาคม ๒๕๖๓ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔
(outcome) จานวน ๙,๐๓๙,๘๐๐ บาท( เกา้ ล้าน สามหมื่นเกา้ พันแปดร้อยบาท)

๑. New Farmer Academy ๑ แหง่
๒. องค์ความรเู้ ทคโนโลยีการผลิตเกษตรและอาหารปลอดภัย ๔ ชุดองค์

ความรู้
๓. องค์ความร้เู ทคโนโลยกี ารเพ่ิมมูลค่า พฒั นาผลติ ภัณฑ์ฯ ๔ ชดุ องค์

ความรู้
๔. อบรมถา่ ยทอดเทคโนโลยีฯ แกเ่ ยาวชน เกษตรกร จานวน ๑๒๐ คน
๕. บม่ เพาะผู้ประกอบการเกษตรปลอดภยั จานวน ๓๐ คน
๖. เครอื ข่ายกลมุ่ เกษตรกรผู้ผลติ สินคา้ เกษตรปลอดภยั เพ่ิมขึน้ ๑๐ กลุ่ม
๗. มีความร่วมมือ และสามารถสรา้ งตลาดสินคา้ เกษตรไมต่ า่ กว่า ๕ แหง่
๑. เกษตรกรร่นุ ใหม่ประกอบอาชพี เกษตร เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพ่ิมมากขน้ึ
๒. ผลผลิตทางการเกษตรมคี วามปลอดภยั ต่อผู้บรโิ ภค
๓. เกษตรกรมคี วามรู้และความตระหนักต่อการลด ละ เลิกการใช้เคมี
๔. มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร เพ่ิมมูลคา่ ผลผลติ เกษตร
๕. สร้างรายได้แกเ่ กษตรกร
๖. เครือข่ายและระบบการพัฒนาเกษตรกรผปู้ ระกอบการเกษตรปลอดภยั รุน่
ใหม่เช่อื มโยงพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
๗. ระบบการตลาดนาการผลิต และมีเครือขา่ ยของสถานประกอบการท่เี ข้มแข็ง

แบบ จ.๑-๑ /กจ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief) ของโครงการภายใต้งบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
แบบสรปุ โครงการแบบย่อ (Project Brief)

ประเด็นการพัฒนาจังหวัด/กลมุ่ จังหวัด จังหวดั สุพรรณบุรี
แผนงาน บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติอย่างบูรณาการภายใต้การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ในการ
อนุรกั ษ์ ฟน้ื ฟู ป้องกนั และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติให้เหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของพนื้ ที่ เพื่อคง
ความสมดลุ ของธรรมชาติและการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยั่งยนื
ประเด็นการพฒั นาที่ 3 การส่งเสรมิ คุณภาพสิ่งแวดล้อมควบคกู่ ารอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตสิ คู่ วามยง่ั ยืน
เปา้ ประสงค์ : ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบรู ณ์และดารงอย่อู ยา่ งยงั่ ยนื

หัวข้อ รายละเอยี ด
๑.ชือ่ โครงการ
บรู ณาการพฒั นาเกษตรกรต่อยอดศาสตร์พระราชาเกษตรทฤษฎใี หม่ :
๒.ความสาคัญของโครงการ โคกหนอง นา โมเดล สู่ การพัฒนาเกษตรอินทรยี ใ์ นพนื้ ทีจ่ ังหวัด
หลกั การและเหตผุ ล สพุ รรณบรุ ี โดยใช้พืน้ ที่เปน็ ตัวตงั้

ปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Climate Change) อันมี
สาเหตหุ ลักมาจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอย่างไร้ขอบเขตของมนษุ ย์ ได้
สง่ ผลกระทบในวงกว้างตอ่ สมดลุ ระบบนิเวศและสง่ิ แวดลอ้ ม การเกดิ
ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นภัยคุกคามต่อแหล่งผลติ อาหาร เชน่ ความแห้
แล้ง นา้ ท่วม โรคระบาดศัตรูพชื และอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ภาวะวิกฤต
ท่สี ง่ ผลกระทบต่อภาคการเกษตรอย่างมาก คอื การเกดิ ภัยแลง้ ทนี่ บั วนั จะมี
ความรนุ แรงเพ่ิมขึ้นทกุ ปี

ศนู ย์วิจยั กสกิ รไทย ประเมนิ วา่ ผลกระทบในเบ้ืองตน้ ของสถานการณ์
ภยั แล้งในปี 2562 ท่ีสง่ ผลกระทบต่อความเสยี หายของขา้ วนาปรงั และอ้อย
เป็นหลกั อาจทาใหเ้ กิดมูลคา่ ความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ราว 15,300 ล้าน
บาท หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 0.1 ของ GDP แต่ท้งั นี้ เปน็ การประเมินในเบื้องต้น
ซงึ่ หากรวมผลเสยี หายของพชื เกษตรอน่ื อาจทาให้มมี ูลคา่ ความสูญเสยี ทาง
เศรษฐกิจมากกว่าทปี่ ระเมินไว้ ทง้ั น้ี แมว้ ่าตวั เลขผลกระทบดงั กลา่ วอาจมี
ผลไม่มากนักต่อภาพรวมเศรษฐกจิ ในระดับประเทศ รวมทั้งไม่กระทบต่อ
ประมาณการเศรษฐกิจไทยของศูนยว์ จิ ัยกสกิ รไทยในปจั จุบัน ที่คาดว่าจะ
ขยายตวั ร้อยละ 3.5-4.2 ในปี 2562 อย่างไรก็ตาม ในระดับภูมภิ าค จาก

หวั ข้อ รายละเอยี ด

เหตกุ ารณ์ภยั แลง้ ท่เี กิดขนึ้ ย่อมส่งผลกระทบคอ่ นข้างมากต่อคนในพ้นื ที่ ซึง่ จะ
ยิ่งเป็นการฉดุ กาลังซ้ือครัวเรอื นภาคเกษตร การมงี านทา รวมทงั้ ปัญหาใน
ภาคธุรกิจ SMEs

จากข้อมลู พ้นื ทเ่ี สี่ยงภัยแล้งของจังหวัดสุพรรณบรุ ี โดยกรมพฒั นาที่
ดิน พ.ศ. 2556 พบวา่ พน้ื ทีส่ ว่ นใหญ่ประมาณ ร้อยละ 60 มีปัญหาภัยแล้งใน
ระดับตา่ บรเิ วณอาเภอเมือง อาเภอสองพ่นี ้อง อาเภอบางปลาม้า อาเภอศรี
ประจันต์ อาเภอด่านชา้ ง และอาเภอเดิมบางนางบวช มพี น้ื ท่เี สย่ี งภัยแล้ง
ปานกลางประมาณร้อยละ 35 บรเิ วณอาเภออู่ทอง อาเภอดอนเจดยี ์
อาเภอสามชุก อาเภอหนองหญ้าไซ มบี างสว่ นโดยเฉพาะพนื้ ท่ที หี่ ่างไกล
แหลง่ นา้ เป็นพนื้ ที่เสี่ยงภัยแล้งระดบั สงู ในเขต อาเภอหนองหญา้ ไซ อาเภอ
ดอนเจดยี ์ และอาเภอเดิมบางนางบวช

“โคก หนอง นา โมเดล” เป็นรูปแบบของการแก้ไขปัญหาเร่ืองการ
จัดการน้า ท่ีสถาบันเศรษฐกิจพอเพียงและมลู นิธิกสิกรรมธรรมชาติ ได้น้อม
นาพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลท่ี 9 ด้านการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน
การบริหารจดั การน้า และพ้ืนท่ีการเกษตร โดยมีการผสมผสานกับภูมิปัญญา
พ้ืนบ้านให้สอดคล้องกัน โดยแบ่งพ้ืนที่เป็นสัดส่วน 30:30:30 :10 ดังนี้ 30
% สาหรับแหล่งน้า โดยการขุดบ่อทาหนองและคลองไส้ไก่ 30 % สาหรับ
ทานา ปลูกขา้ ว 30% สาหรบั ทาโคกหรือปา่ ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4
อย่าง คือ ปลูกไม้ใช้สอย ไม้กินได้ และไม้เศรษฐกิจ เพื่อให้ได้ประโยชน์
คือ มีกิน มอี ยู่ มีใช้ มีความสมบูรณ์และความร่มเยน็ และ 10% สาหรับที่
อยูอ่ าศัยและเล้ียงสตั ว์ เชน่ ไก่ ปลา วัว และควาย เป็นตน้

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ
การดาเนินการเพื่อจดั สร้างรูปแบบของพนื้ ท่ตี ัวอยา่ งเพ่ือลดปญั หาความเส่ยี ง
จากภยั แลง้ เนื่องจากสถานศึกษาต้ังอยู่ในพ้นื ท่ี ท่ีมคี วามเสี่ยงสูงในการ
ประสบภัยแลง้ และมนี กั เรยี น นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่มาจากพื้นท่ี บริเวณ
อาเภอหนองหญ้าไซ และ อาเภอด่านช้าง ซงึ่ เป็นพนื้ ที่ท่ีมีความเสีย่ งสูงด้วย
เช่นกัน ประกอบกบั นักเรยี นนักศกึ ษาสว่ นใหญ่มาจากครอบครวั ของ
เกษตรกรทอ่ี ยู่ในพนื้ ที่ดังกล่าว และประสบปญั หา พ้ืนท่ขี าดน้าในชว่ งฤดูแล้ง
และบางครั้งในฤดฝู นมีน้าไม่เพยี งพอ แม้ว่าจะมีปรมิ าณนา้ ฝนมาก แต่ไม่
สามารถกักเก็บไวใ้ ชป้ ระโยชนไ์ ด้ ครวั เรอื นมรี ายได้ ตา่ กวา่ 50,000 บาท

หวั ข้อ รายละเอียด

๓.วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ ต่อปี ทาใหผ้ นู้ าครอบครัวต้องออกไปรับจ้างนอกพื้นที่ ทั้งไปชว่ งฤดแู ล้ง
๔.เป้าหมายและตวั ชี้วัด และตลอดปี ทาใหเ้ กิดปัญหาครอบครวั นักเรียนนักศึกษา มีปัญหาสภาพ
ความสาเรจ็ ของโครงการ สงั คมครอบครวั ขาดความอบอนุ่ และเกิดปัญหาการละทิง้ พ้ืนที่ตามมา

๕.ความเชอื่ มโยงกบั ทิศ ดว้ ยเหตผุ ลดังกล่าว วิทยาลัยเป็นสถาบนั การศึกษา ดา้ นอาชีวศึกษา
ทางการพฒั นาจังหวดั และ เกษตร ทมี่ ีนักเรียนนักศกึ ษาทีเ่ ป็นเยาวชนจากครอบครัวเกษตรกรเปน็ สว่ น
ภาค ใหญ่ จงึ มีแนวทาง ที่จะใช้ เครือข่าย นักศกึ ษาและผู้ปกครอง สืบสาน
แนวทางพระราชดาริ “โคก หนอง นา โมเดล” ในพ้ืนทขี่ องผู้ปกครอง
นักศึกษา โดยมีนักศึกษาเป็นแกนนาในการนาความรสู้ ู่การปฏิบตั ิในพ้นื ท่ี
ของตนเอง เพื่อพฒั นาพื้นท่ีทรัพยากรธรรมชาตใิ หเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั
ศักยภาพของพน้ื ที่ และคงความสมดลุ ของธรรมชาติและการใช้ประโยชน์
อยา่ งยั่งยืน โดยใช้ “ภมู ิสงั คม”เป็นหลกั ในการพฒั นา และใหต้ ระหนักถงึ
คณุ ค่าของการประกอบอาชีพการเกษตร โดยใช้หลกั การจัดการฟาร์มตาม
แนวเกษตรทฤษฎใี หม่ ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนว
พระราชดาริ
1. เพือ่ สร้างตน้ แบบของ “โคก หนอง นา” โมเดลต่อยอดทฤษฎีใหม่ ในพื้นที่
ประสบภยั แล้งของจงั หวดั สุพรรณบุรี
2. เพ่ือสร้างกลุ่มเกษตรกรอนิ ทรยี ์ ท่ีเปน็ ต้นแบบ โดยเชื่อมโยงเครอื ขา่ ย
นกั ศึกษาและผปู้ กครองที่มีอาชพี เกษตรกรรม
3. เพอ่ื สรา้ งตลาดสนิ ค้าเกษตรอินทรีย์ ต้นแบบทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของท้องถ่ิน
เปา้ หมาย

1.พน้ื ทีน่ าร่องตน้ แบบจานวน 10 แห่ง
2.ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาเกษตร เป็น Smart Farmer จานวน 30 ราย
2.กลุ่มผปู้ กครองนกั ศกึ ษาทเ่ี ป็นเกษตรกรอนิ ทรีย์ตน้ แบบ จานวน
30 ราย
3.ตลาดสนิ ค้าเกษตรอนิ ทรีย์ต้นแบบเฉพาะถิ่น จานวน 3 แห่ง
ตัวชีว้ ัด
ดชั นชี ีว้ ัดความยง่ั ยนื สงู ข้ึน (กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสงั คม)
ตามแนวทางของ TDRI
เปา้ หมายของการพฒั นาของจังหวดั สพุ รรณบุรี “เมืองเกษตรกรรมยั่งยนื
เศรษฐกิจเข้มแข็ง คณุ ภาพชีวติ ดีสงั คมมีความสุข” โดยการสรา้ งต้นแบบ
ของการพัฒนาดว้ ย “โคก หนองนา โมเดล” เพ่ือช่วยแก้ปัญหาภัยแลง้ และ

หวั ข้อ รายละเอียด

6.กจิ กรรมท่ีสาคญั ของ รักษาส่ิงแวดล้อม โดยใช้ปัจจยั ทางสังคมเปน็ ตัวกาหนด
โครงการ กิจกรรมหลกั วางแผนการจัดการพนื้ ทโี่ ดยการมีสว่ นรว่ มของหน่วยงานต่าง
ๆ และมีการศกึ ษาสภาพของภมู สิ งั คมของชมุ ชนเปน็ ตวั ตั้งในการบรหิ าร
จัดการ
กจิ กรรมย่อย

1. การคัดเลือกพ้ืนท่ีท่ีประสบปญั หาภัยแลง้ สูงในเขตพนื้ ท่ีอาเภอด่าน
ช้างและอาเภอหนองหญา้ ไซ

2. การศกึ ษาสภาพพืน้ ที่และการวิเคราะห์พนื้ ท่ี ทางกายภาพ ชวี ภาพ
เศรษฐกจิ และสงั คม โดยวิธี RRA (Rapid Rural Apprisal)

3. การสร้างกรอบแนวคิดในการดาเนนิ งานในการจัดการพน้ื ท่ี โดยการ
มสี ว่ นรว่ ม ของ Stake holder

4. คดั เลือกเกษตรกรต้นแบบเพ่ือดาเนินการจดั ทาต้นแบบ
5.ติดตามผลการดาเนินงานของโครงการด้วยกระบวนการ PDCA และ
ประเมินผลตามตวั ช้ีวดั ของ TDRI

7.หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี อ.ดา่ นช้าง จ.สุพรรณบรุ ี

8.ระยะเวลาในการดาเนินงาน ปงี บประมาณ 2564

ระหวา่ งเดือน ตลุ าคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564

9.งบประมาณ จานวน 3,000,000 บาท ( สามล้านบาทถว้ น)

10.ผลผลิต (output) 1. ต้นแบบของฟาร์มท่ีมีการจัดการพื้นท่ี “โคก หนองนา โมเดล”

เกษตรกรต้นแบบท่ีมกี ารทาการเกษตรอนิ ทรีย์

2.เครือขา่ ยของกลุ่มเกษตรอินทรยี ์

3.ระบบการตลาดของเกษตรอนิ ทรีย์

4. พื้นท่ีทีล่ ดความเส่ยี งจากปัญหาภยั แล้ง

5. เกิดการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ผลผลติ เพิม่ ขนึ้ และสังคมเปน็

สุข

๑๑.ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 1.มีรปู แบบของการทาการเกษตรท่ียงั่ ยนื และสามารถลดปญั หาภยั แล้งได้

(outcome) 2.บุตรหลานเกษตรกรมคี วามม่ันใจในการประกอบอาชพี การเกษตร

3.พ้ืนทก่ี ารเกษตรท่ีประสบภัยแลง้ ไดร้ บั การพฒั นา

4. ครัวเรือนเกษตรกรกลับคนื สู่ถ่นิ ฐานเดิม

หวั ข้อ รายละเอียด

5. รายไดข้ องครวั เรอื นเกษตรกรสูงขึ้น
6.สถาบนั อาชวี ศึกษาเกษตรเปน็ ที่พงึ ของชุมชนไดอ้ ย่างแท้จรงิ

แบบฟอร์มการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พ.ศ.
จังหวัดจังหวัดสุพรรณบ

เป้าหมายการพฒั นาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด : “ เมืองเกษตรกรรมยงั่ ยืน เศรษฐกิจเข้มแขง็ ประชาชนค

บัญชรี ายการชุดโครงการ

แผนงาน/โครงการ แหล่ง งปม. ยุทธศาสตร์ชาติ ห
(7)
ด้านที่

ประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 การเพ่ิมศกั ยภาพการผลิตสินคา้ เกษตรและอตุ สาหกรรมให้ได้มาตรฐาน เพื่อการแข่งขนั ท

แผนงานที่ 2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยกี ารเกษตรเพื่อยกระดบั สู่ Smart

Farmer /Smart Farming

1. โครงการ New Farmer Academy เพื่อพฒั นาผู้ประกอบการเกษตรรนุ่ จังหวัด ดา้ นที่ 2 ดา้ น ว
ใหม่ ระบบการผลติ เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อชุมชน ความสามารถ เท
ในการแข่งขัน

กิจกรรมหลกั การพฒั นาผปู้ ระกอบการเกษตรรุ่นใหม่ New Farmer
Academy เพ่ือพฒั นาผ้ปู ระกอบการเกษตรรนุ่ ใหม่ ระบบการผลิต
เทคโนโลยีเกษตรและอหารปลอดภัยเพ่ือชุมชน

กิจกรรมย่อย 1.1 พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ (ตามแนว
ทฤษฎีใหมข่ ้ันท่ี2 )

กิจกรรมย่อย 1.2 สร้างความร่วมมอื ดา้ นการพัฒนาการตลาดและการสร้าง
เครือข่ายสินคา้ เกษตร (ตามแนวทฤษฎีใหมข่ ้ันที่ 3)

รวมทั้งส้ิน

แบบ จ.1/ กจ.1

2561 – พ.ศ. 2565 (ฉบับทบทวน)
บุรี

คณุ ภาพชีวิตที่ดี ”

งบประมาณดาเนนิ การ (11)

หน่วยดาเนนิ การ พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 พ.ศ.
(10) 2561-2565

ทางการคา้ และการพัฒนาท่ีย่ังยนื

วิทยาลยั เกษตรและ
ทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี

3.4394 5.9346 6.4394 15.8134

0.3302 0.2954 0.6256
2.7750 2.7750 5.5500
3.4394 9.0398 9.5098 21.9890

แบบสรปุ งบหนา้ โครงการตามแผนปฏบิ ัตริ าชการจ

ลาดบั ท่ี ช่ือโครงการ กิจก

1 New farmer Academy เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ การพัฒนาผู้ประกอบ
New Farmer Aca
เกษตรรนุ่ ใหม่ ระบบการผลติ เทคโนโลยีเกษตรและ ผลิตเทคโนโลยเี กษต
ปลอดภัยเพอ่ื ชุมชน
อาหารปลอดภยั เพื่อชมุ ชน (ต่อเน่ือง)

2 บูรณาการพัฒนาเกษตรกรตอ่ ยอดศาสตรพ์ ระราชา วางแผนการจดั การพ

เกษตรทฤษฎใี หม่ : โคกหนอง นา โมเดล สู่ การ รว่ มของหน่วยงานต

พัฒนาเกษตรอินทรยี ์ในพ้ืนทจ่ี งั หวัดสพุ รรณบุรี โดย การศกึ ษาสภาพของ

ใชพ้ ้นื ทเ่ี ป็นตัวตั้ง ชมุ ชนเป็นตัวตั้งในก

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564

กรรม วงเงนิ หน่วยดาเนินการ หมายเหตุ

บการเกษตรรนุ่ ใหม่ 9,039,800 วิทยาลัยเกษตรและ ใช้แนวทางเกษตร
ademy ระบบการ
ตรและอาหาร เทคโนโลยี ทฤษฎีใหมข่ ั้นท่ี 2
(ต่อเน่ือง)
สุพรรณบุรี และข้ันท่ี 3 ในการ

สรา้ งเครอื ขา่ ยและ

ระบบตลาดที่

เขม้ แขง็ โดยมนี วัต

เกษตรกรเป็นผู้

ผลักดัน

พ้ืนท่ีโดยการมสี ว่ น 3,000,000 วทิ ยาลัยเกษตรและ มุ่งเน้นการเช่ือมโยง
ตา่ ง ๆ และมี เทคโนโลยี
งภมู สิ งั คมของ นักเรยี น นักศึกษา
การบรหิ ารจดั การ สุพรรณบุรี
และผู้ปกครองที่เป็น

เกษตรกร

แบบสรปุ งบหนา้ โครงการตามแผนปฏบิ ัตริ าชการจ

** ให้จดั ลาดับความสาคญั จากมากไปหาน้อย

จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564

โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบ

ประเดน็ การพัฒนา (2) / ลาดับ ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนงาน
โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลมุ่ ความสาคญั

จังหวัด

ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การเพ่ิมศักยภาพการผลติ สนิ ค้าเกษตรและอุตสาหกรรมให้ไดม้ าตรฐาน เพื่อการแ

1. โครงการ New Farmer Academy 1 ด้านท่ี 2 ดา้ น
เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรรนุ่ ความสามารถใน
ใหม่ ระบบการผลติ เทคโนโลยเี กษตร
และอาหารปลอดภยั เพื่อชมุ ชน การแข่งขนั
(ต่อเนอ่ื ง)

บประมาณ พ.ศ. 2564 ของจงั หวัดสพุ รรณบุรี

กจิ กรรมย่อย ตัวช้ีวัดโครงการ หน่วยดาเนินงาน งบประมาณ
(บาท)

แข่งขนั ทางการค้าและการพัฒนาที่ย่งั ยืน

การสรา้ งนวัตเกษตรกร / การ สถาบนั การสรา้ งนวัต วิทยาลัยเกษตร 9,039,800
สรา้ งเครอื ข่าย/การสรา้ งระบบ เกษตรกร 1 แหง่ / และเทคโนโลยี
จานวนผู้ผา่ นการอบรม สพุ รรณบรุ ี
การตลาดทีเ่ ขม้ แขง็ 150 คน/นวัตเกษตรกร
30 คน/เครือขา่ ย
เกษตรกร 10 กลุ่ม/
เครือขา่ ยการตลาด 5
แห่ง/ชมุ ชนเรยี นรู้ 1,000

คน/

รวมทัง้ สนิ้ 9,039,800

แบบฟอรม์ รายละเอยี ดจาแนกตามงบ

งบประมาณ

งบรายจา่ ย - รายการ ปี 2563 ปี
(ทะเบียนรายการ ประเภทรายการ ของสานักงบประมาณ) (ถ้ามี)
จังหวดั /กลุ่มจงั หวดั ....สุพรรณบุรี
แผนงาน :ยุทธศาสตรส์ ่งเสรมิ การพัฒนาจงั หวดั และกลุ่มจังหวัด 3,439,400
แบบบูรณาการ
ผลผลติ :............................ 3,439,400
โครงการ :.New Farmer Academy พัฒนาผู้ประกอบการเกษตร 3,439,400
รนุ่ ใหม่ ระบบการผลติ เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั เพ่ือ
ชมุ ชน 465,000
กิจกรรมหลกั : การพัฒนาผู้ประกอบการเกาตรรนุ่ ใหม่ New Farmer 180,000
Academy ระบบการผลิตเทคโนดลยเี กาตรและอาหารปลอดภยั 180,000
เพ่ือชมุ ชน
1. งบดาเนินงาน 105,000
1.1 คา่ ตอบแทน ใชส้ อยและวัสดุ 755,000
1.1.1 ค่าตอบแทน 329,000
(1) เงินตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ
(2) ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัตงิ านใหร้ าชการ 343,500
(3) คา่ เชา่ บ้าน 82,500
(4) ค่าเบ้ียประชมุ กรรมการ
(5) เงินตอบแทนตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน
(6) เงนิ พิเศษจา่ ยแก่ลกู จ้างในต่างประเทศ
(7) ค่าตอบแทนวิทยากร (สัมมนาและฝึกอบรม)
(8) ค่าตอบแทนพิเศษพนักงานราชการ
1.1.2 ค่าใชส้ อย

(1) ค่าเบี้ยเลี้ยง คา่ เชา่ ท่พี ักและค่าพาหนะ
(2) ค่าซอ่ มแซมยานพาหนะและขนส่ง
(3) ค่าซอ่ มแซมครภุ ณั ฑ์
(4) ค่าซอ่ มแซมสิ่งก่อสรา้ ง
(5) คา่ เชา่ ทรพั ย์สิน

(6) ค่าจา้ งเหมาบรกิ าร

(7) ค่าใชจ้ า่ ยในการสัมมนาและฝึกอบรม















งบประมาณ

งบรายจ่าย - รายการ ปี 2563 ปี
(ทะเบียนรายการ ประเภทรายการ ของสานักงบประมาณ) (ถา้ มี)

(ระบุรายการ)
(1.18) คา่ บารงุ รกั ษาทางและสะพาน

(ระบุรายการ)
(1.19) ค่าสารวจออกแบบ

(ระบุรายการ)
(1.20) คา่ ควบคุมงาน

(ระบุรายการ)
(1.21) ค่าจา้ งบรษิ ัทท่ีปรกึ ษา

(ระบุรายการ)
3. งบเงินอดุ หนุน
3.1 เงินอุดหนุนทว่ั ไป
1) เงนิ อดุ หนุนทว่ั ไป :……..........................…….
3.2 เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ
1) เงินอดุ หนุนเฉพาะกจิ :…..................………..
4. งบรายจ่ายอ่ืน
4.1 ........................................................................

หมายเหตุ

1. เพอ่ื ประโยชนใ์ นการประมวลผลข้อมลู ใหจ้ งั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ใช้ทะเบยี นรายการ ประเภทรายก
กรณุ าอยา่ เพมิ่ ประเภทรายการใหมโ่ ดยไมจ่ าเปน็
2. กรณปี ระสงคจ์ ะเพมิ่ ทะเบยี นประเภทรายการ ใหป้ ระสานงานกบั เจา้ หนา้ สานกั งบประมาณทร่ี บั ผดิ ช
3. ตามแบบฟอรม์ ฯ ใหเ้ ลอื กเฉพาะ (ระบ)ุ งบรายจา่ ย และรายการทมี่ งี บประมาณเทา่ นน้ั






































Click to View FlipBook Version