The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม กรอบพัฒนา EC_วษท.สุพรรณบุรี REVISED

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-12-19 10:22:33

เล่ม กรอบพัฒนา EC_วษท.สุพรรณบุรี REVISED

เล่ม กรอบพัฒนา EC_วษท.สุพรรณบุรี REVISED

๒๕๖๒

คำนำ

จากปรมิ าณความตอ้ งการกาลังคนรองรับทิศทางการพฒั นาประเทศ ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ ตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และการเปลี่ยนแปลงยุค Digital revolution สานัก
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ มอบหมายให้สถานศึกษา จัดทากรอบ
การพัฒนาให้เป็นศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence) กลุ่มอาชีพการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัยและ Smart Farmer เพ่ือเป็นการขับเคล่ือนด้วยระบบกลไกการบริหาร
จัดการสถานศึกษา ควบคุมมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาที่มีมาตรฐานระดับสากล
สร้างและพัฒนากลไกนวัตกรรม Intelligence Unit เป็นเครื่องมือบริหารสนับสนุนการพัฒนาและควบคุม
คุณภาพ ให้ส่งผลสัมฤทธ์ิถึงคุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา การเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมประเทศที่มีภาค
เกษตรมบี ทบาทอนั สาคญั

กรอบการพัฒนา ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา Excellent Center กลุ่มอาชีพเกษตรและ
เทคโนโลยีชีวภาพ สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย และ Smart Farmer วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
สุพ ร ร ณบุรี ไ ด้จัดทาก ร อบก ารพั ฒ น า ร ายละ เอียดและ ง บปร ะ มาณใน ร ะ ยะ 3 ปี ( พ .ศ.
2563-2565) กรอบงบประมาณ รายละเอียดของกิจกรรม และงบประมาณโดยรายละเอียดใน
ปีงบประมาณ 2563 ทงั้ น้ใี นการจัดทากรอบการพฒั นาน้ี มุง่ เนน้ การพัฒนาต่อเน่ืองในการท่ีวิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยสี พุ รรณบรุ ี เป็นสถานศึกษานาร่อง ดา้ นเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย นับตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้น
มา ซงึ่ ในสภาพปจั จุบนั มีความพร้อมในด้านของเทคโนโลยีความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย และ
พร้อมทจ่ี ะพฒั นาเปน็ ศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภมู ภิ าคและระดบั ประเทศ เพ่อื สนองนโยบายชาติ รัฐบาลและ
กระทรวงในการมุ่งพฒั นาคนดา้ นการเกษตรใหเ้ ข้มแขง็ (Smart Farmer) เพอื่ เป็นหลักอันสาคัญของประเทศท่ี
มพี ื้นฐานดา้ นการเกษตรเป็นสาคญั

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี

15 พฤศจกิ ายน 2562

1

การขบั เคล่ือนสถานศึกษาเปน็ เลศิ เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาให้สอดคล้องความ
ต้องการและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ ภายใต้บริบทภูมิสังคมอาชีพและความร่วมมือกับสถานประกอบการ
เพอ่ื พฒั นาคุณภาพและปรมิ าณผูเ้ รียน ใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการทงั้ ปรมิ าณและคณุ ภาพของตลาดแรงงาน
พัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะอาชีพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับของตลาดแรงงานและสังคมทั้งในประเทศ
ภมู ิภาค อาเซยี น และระดับสากล การเพมิ่ โอกาสการเรยี นและการฝึกอบรมวิชาชีพอาชีวศึกษาให้กับกลุ่มผู้อยู่
นอกระบบการศกึ ษาสร้างระบบการจงู ใจใหเ้ กดิ การตดั สนิ ใจเข้าศกึ ษาตอ่ อาชีวศกึ ษาเกษตร โดยมุ่งม่ันปรับปรุง
พฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนสูค่ วามเป็นเลิศเฉพาะทางสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ที่สอด
รับกบั ทิศทางการพัฒนาประเทศ

แผนภาพที่ ๑ แสดงกรอบการพฒั นาสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง

2

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี ไดจ้ ดั ทาแผนพฒั นาสถานศกึ ษาเป็นเลิศเฉพาะทางฯ มุง่ ม่นั
พัฒนาการจดั การอาชวี ศกึ ษาสู่ความเปน็ เลิศเฉพาะทางด้านเกษตรและเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั ใหส้ ามารถ
ผลิตและพัฒนากาลงั คนทีส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการและทศิ ทางการพฒั นาประเทศและความตอ้ งการของ
บริบทภมู อิ าชพี ท้องถ่ิน

แผนภาพท่ี ๒ แสดงกรอบการขับเคลอ่ื นสถานศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศเฉพาะทาง
กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนพัฒนาสถานศกึ ษาเปน็ เลิศเฉพาะทางเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ได้
เชื่อมโยงแผนพัฒนาและทิศทางพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษาด้านสังคม และนโยบายการ
จัดการอาชีวศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามาพัฒนาด้วยรูปแบบ SABEI Model โดย
กาหนดแนวการพฒั นาสอดคลอ้ งกับองคป์ ระกอบการพัฒนาของโครงการส่งเสริมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเป็น
เลิศเฉพาะทาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหลักในการขับเคล่ือนได้กาหนด Strategy ไว้ ๙
กลยุทธ์ มกี ลไกการขับเคลอื่ น(Action)รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาฐานสมรรถนะ( Center of Excellence
Vocational Education : CEVed.) เป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศทางวิชาชีพอาหารปลอดภัย (Center of

3

Excellence in Food Safety Technology) โดยใช้รูปแบบการจัดการศึกษาเกษตรสุพรรณบุรีสู่ความเป็น
เลิศ (Excellence Suphanburi Agricultural Model) เทียบเคียง(Benchmarks) จัดการศึกษาตาม
มาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา ของ สมศ. มาตรฐานอาชีพปฏิบัติการเกษตรที่ดี ( Good
Agricultural Practice: GAP) หรือ เกษตรอินทรีย์ประเทศไทย (Organic Thailand) มีการประเมินผลการ
ดาเนนิ งาน (Evaluation)ผลสมั ฤทธิ์ (Impacts) และมีแผนดาเนินการใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีมาพัฒนาระบบการ
บรหิ ารจัดการดา้ นประมวลข้อมลู ขนาดใหญ่เปน็ หน่วยเฝูาระวัง(Intelligence Unit) สนับสนุน

สถานศกึ ษาได้ดาเนินการขับเคลื่อนสถานศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทาง สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย
ภายใตแ้ ผนพัฒนาฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลงั คนภาคเกษตรให้สอดคล้องกับทิศทางการ
พฒั นาประเทศ และความตอ้ งการของสถานประกอบการและท้องถน่ิ

แผนภาพท่ี ๓ แสดงวิสัยทัศน์ พนั ธกิจและกลยทุ ธ์ แผนพัฒนาฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕

4

ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) คือ“จัดการศึกษาผลิตและพัฒนากาลังคนสอดคล้องความต้องการ
และทิศทางการพัฒนาประเทศ เป็นเลศิ เฉพาะทางเทคโนโลยีอาหารปลอดภัยระดับภมู ิภาคอาเซียน” โดยมี
พันธกิจนาสู่วิสัยทัศน์เป็นจริง ๕ พันธกิจ ได้แก่พันธกิจท่ี ๑ การบริหารจัดการศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทาง
เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย พันธกิจท่ี ๒ สร้างเครือข่ายความร่วมมือพัฒนาจัดการศึกษา พันธกิจที่ ๓ การ
ยกระดับคุณภาพผู้เรียนสาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย พันธกิจที่ ๔ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้คุณภาพสาขา
เทคโนโลยอี าหารปลอดภยั พันธกิจท่ี ๕ การพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษามาตรฐานสากล โดยกาหนดกลยุทธ์
๙ กลยุทธ์สู่วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ท่ี ๑ พัฒนานวัตกรรมการบริหาร กลยุทธ์ที่ ๒ สร้างความร่วมมือกับภาคี
เครือข่าย กลยทุ ธท์ ่ี ๓ พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนและผู้สาเร็จการศึกษา กลยุทธท์ ่ี ๔ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ
อาชพี กลยุทธท์ ่ี ๕ ยกระดับคุณภาพการเรยี นรูส้ ู่การปฏบิ ตั ิ กลยุทธ์ที่ ๖ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้เทคโนโลยีเป็น
เลิศเฉพาะทาง กลยุทธ์ที่ ๗ พัฒนาสมรรถนะครูผู้สอน กลยุทธ์ท่ี ๘ ยกระดับสถานศึกษาเป็นศูนย์ทดสอบ
มาตรฐานอาชพี เฉพาะทาง กลยุทธ์ที่ ๙ พฒั นาสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล

แผนภาพท่ี ๔ แสดง Road map การขับเคลอื่ น SMART Farm แหล่งเรียนรแู้ ละฝึกอาชพี จรงิ

5

ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ การพัฒนาสถานศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทางดาเนินการขับเคลื่อน
ตอ่ เนอ่ื งจากปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ ถึง ๒๕๖๒ เริ่มจากวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มการจัดการศึกษา วิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยีสุพรรณบรี ชี้แจงสร้างความเข้าใจต่อคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ การประชุมครู
เจ้าหนา้ ที่ จดั ทาแผนพฒั นาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย สร้างและ
พัฒนา SMART Farm แหลง่ เรียนรู้ ฝึกอาชีพต้นแบบ “ด่านช้างกรีนฟาร์ม” สรา้ งและพัฒนาเครือข่ายความ
ร่วมมือ ระดมทรัพยากรทางการศึกษา สร้างและพัฒนาฟาร์มเกษตรต้นแบบอาชีพเกษตรยุคใหม่ พัฒนา
หลักสูตรระยะส้ันฐานสมรรถนะ พัฒนาจัดทาระเบียบฯ ข้อตกลงหลักเกณฑ์การฝึกอบรมฯ จัดเตรียมส่ือ
อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้และแผนฝึกทักษะอาชีพ จัดเตรียมเอกสารแบบฝึก ใบงาน แบบประเมินสมรรถนะ
ตามแผนการฝึกอบรมฯ ฝึกอาชีพ ทดสอบ ประเมินผลการเรียนรู้ ทดสอบสมรรถนะอาชีพท่ีกาหนด
รายงานผลการฝึกอบรมฯ สนับสนุนการประกอบอาชีพเกษตรยุคใหม่ สร้างเครือข่ายพัฒนากลุ่มอาชีพฯ
เช่ือมโยงการตลาด และขยายช่องทางการตลาด

นวัตกรรมการบริหารจัดการขับเคลื่อนสถานศกึ ษา เป็นเลิศเฉพาะทางเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย
การขบั เคลื่อนสถานศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศเฉพาะทาง สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ใช้รูปแบบการ
พัฒนาการจัดการศึกษา รูปแบบ ESAM : Excellence Suphanburi Agricultural Model เป็นรูปแบบท่ี
พัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง โดยมีกรอบแนวคิด จัดการศึ กษาภายใต้ปรัชญา
Constructionism จัดสถานที่ฝึกประสบการณ์จริงเป็นแปลงปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการ เพ่ือให้ครูผู้สอนและ
นักเรียน นักศึกษาได้ร่วมกันเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ ทดลอง วิจัยให้เกิดทักษะและองค์ความรู้พัฒนาอาชีพให้เป็น
ความรู้ฝังลึกในพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงเจริญงอกงาม ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Learning By Doing) ด้วย
รูปแบบการสอนของครูผู้สอนท่ีหลากหลาย Project based learning:PjBL , STEM education ,Work
Integrate learning :WIL โดยจัดแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการด้วยรูปแบบ SMART Farm : Danchang Green
Farm ให้ผู้เรียนไดป้ ฏิบตั ิจรงิ นาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะอาชีพของผู้เรยี น

แผนภาพท่ี ๕ แสดงกรอบแนวคิดรูปแบบESAM นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศ

6

รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนและฝึกอาชีพเกษตรยุคใหม่ ESAM SMART Farm Model มีหลักการ
พฒั นาให้เป็นแหล่งปฏิบัติการเรียนรู้ท่ีพัฒนาโครงสร้างมีความเป็นเฉพาะทางและมีความเป็นจริงเสมือนจริง
(Specific and Simulate) ในการประกอบอาชีพให้มากที่สุด มีความทันสมัยและการจัดการท่ีทันสมัย
(Modern) มีการบูรณาการความร่วมมือ ความเป็นพันธมิตร (Alliance) ทางวิชาการและธุรกิจ โดยแสวงหา
ความรว่ มมือทางวิชาการและธุรกิจกับหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน สถานประกอบการ กลุ่มเกษตรกร ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์มืออาชีพร่วมพัฒนาและจัดการศึกษาฝึกอบรม และบูรณาการแผนการเรียนรู้วิชา
โครงการ ปัญหาพิเศษงานศึกษา วิจัย(Research)ของนักเรียน นักศึกษา ครูและหน่วยงานราชการเครือข่าย
นักวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ตลอดจนฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนเพื่อเสริมสร้าง
สมรรถนะกระบวนการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมพัฒนาอาชีพ เกิดเป็นเทคโนโลยี(Technology) นามาพัฒนา
แก้ปัญหาพฒั นาอาชีพเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย และนาเทคโนโลยีใหม่ที่ทันสมัยมายกระดับพัฒนาอาชีพใน
แหล่งเรียนรู้นั้นๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ให้มีความรู้ความสามารถสมรรถนะที่สอดคล้องความต้องการสถาน
ประกอบการและทอ้ งถ่ิน

แผนภาพที่ ๖ แสดงกรอบแนวคิดการพฒั นาแหล่งเรียนรแู้ ละฝกึ อาชีพ รปู แบบ SMART Farm

รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนและฝึกอาชีพเกษตรยุคใหม่ ESAM SMART Farm Model มีหลักการ
พัฒนาให้เป็นแหล่งปฏิบัติการเรียนรู้ท่ีพัฒนาโครงสร้างมีความเป็นเฉพาะทางและมีความเป็นจริงเสมือนจริง
(Specific and Simulate) ในการประกอบอาชีพให้มากท่ีสุด มีความทันสมัยและการจัดการท่ีทันสมัย
(Modern) มีการบูรณาการความร่วมมือ ความเป็นพันธมิตร (Alliance) ทางวิชาการและธุรกิจ โดยแสวงหา

7

ความรว่ มมอื ทางวิชาการและธุรกิจกับหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน สถานประกอบการ กลุ่มเกษตรกร ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์มืออาชีพร่วมพัฒนาและจัดการศึกษาฝึกอบรม และบูรณาการแผนการเรียนรู้วิชา
โครงการ ปัญหาพิเศษงานศึกษา วิจัย(Research)ของนักเรียน นักศึกษา ครูและหน่วยงานราชการเครือข่าย
นักวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ตลอดจนฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนเพื่อเสริมสร้าง
สมรรถนะกระบวนการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมพัฒนาอาชีพ เกิดเป็นเทคโนโลยี(Technology) นามาพัฒนา
แกป้ ัญหาพฒั นาอาชีพเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั และนาเทคโนโลยีใหม่ท่ีทันสมัยมายกระดับพัฒนาอาชีพใน
แหล่งเรียนรู้นั้นๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ให้มีความรู้ความสามารถสมรรถนะท่ีสอดคล้องความต้องการสถาน
ประกอบการและท้องถ่นิ

ESAM SMART FARM MODEL

S : Specific and Simulate M : Modern /Management

A : Alliance R : Research T : Technology

8

แบบฟอร์มที่ 1 กรอบมาตรฐานการพัฒนาศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา
Excellent Center

9

แบบฟอร์มที่ 1 กรอบมาตรฐานการพฒั นาศนู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา

Excellent Center

กลุ่มเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ : สาขาเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย และ Smart Farmer

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี

กรอบการ รายละเอียด งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
พฒั นา พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2563

1. เปา้ หมาย/ เชิงปรมิ าณ

ทิศทางในการ 1. เพม่ิ ปรมิ าณผ้เู รียนในสาขาวิชาชพี เฉพาะทาง
ผลติ และพัฒนา การเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย
ระดับ ปวช. 30 คนตอ่ ปี
กาลงั คน ระดับ ปวส. 30 คนต่อปี
อาชีวศกึ ษา 2. ผลิตนวตั เกษตรกรท่ีมีสมรรถนะเป็นเกษตร

อัจฉริยะ (Smart Farmer) ดา้ นเกษตรและ

เทคโนโลยอี าหารปลอดภัยสมยั ใหม่

เชงิ คณุ ภาพ

1. ผเู้ รยี นท่เี ขา้ ศึกษาตามหลกั สตู รการเรียนระดับ

ปวช. และระดบั ปวส. สาขาเกษตรและเทคโนโลยี

อาหารปลอดภยั มีสมรรถนะอาชีพในการเปน็

เกษตรกรอจั ฉริยะทท่ี าการเกษตรแบบสมัยใหม่

และสามารถเป็นผ้ปู ระกอบการเกษตร (Smart

Farmer)

2. ผู้สาเร็จการศึกษารอ้ ยละ 50 เปน็ กาลังคนใน

สถานประกอบการ และร้อยละ 50 เปน็

ผ้ปู ระกอบการเกษตร (Smart Famer)

2. มาตรฐาน 1. มาตรฐานอาชพี และคุณภาพคุณวฒุ วิ ชิ าชีพ

กากับหนว่ ย 2. มาตรฐานทางด้านการผลติ และความปลอดภยั
ผลิตกาลังคน ทางการเกษตร ได้แก่ GAP/GMP เกษตรอนิ ทรยี ์
มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน

3. มาตรฐาน 1. ผา่ นการรับรองมาตรฐานอาชีพของสถาบัน
กากบั ผสู้ าเร็จ คณุ วุฒวิ ชิ าชพี (องค์การมหาชน)
การศึกษา 2. มคี วาม
(เฉพาะส่วนเพ่ิม
จากมาตรฐาน ร้แู ละทักษะการบรกิ ารจัดการผลติ เกษตรในรปู แบบ
ตามท่ีหลักสูตร สมัยใหมแ่ ละปลอดภัย และสามารถทาการเกษตรที่

กรอบการ รายละเอยี ด งบประมาณ งบประมาณ 10
พฒั นา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ

พ.ศ. 2565

กาหนด) ได้รบั มาตรฐาน GAP/GMP เกษตรอินทรีย์ หรอื
มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน

๔.การปรับปรุง 1. หลักสูตรการศึกษาสาขางานการเกษตรและ 0.0736 0.8832
หลักสตู ร เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ที่พร้อมใช้ในปี 1.5588
การศึกษา 2563
5.รปู แบบ/ (1) หลักสตู รระดบั ปวช. ปรบั ปรงุ 2562
วธิ ีการจัดการ (2) หลกั สูตร ปวส. ปรับปรงุ 2562
เรียนการสอน 2. การพัฒนาหลักสูตรระดับ ปวส. สาขางาน
การเกษตรและเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั
1. จดั การเรยี นการสอนในรูปแบบผู้เรียนอยู่ประจา 1.2990
ทางานฟาร์ม (โรงงานในโรงเรียน) โดยใช้โครงการ
อาชีพ เป็น ฐาน ก าร เ รี ยน รู้ และ ฝึก อ าชีพ ใ น
สถานศึกษา
2. เน้นการจัดอาชีวศึกษาทวิภาคีร่วมกับสถาน
ประกอบการที่ไดม้ าตรฐาน ระยะเวลาข้ันต่าไมน้อย
กวา่ ครง่ึ หลกั สูตร
3.เพ่มิ ประสบการณ์การใชเ้ ครอ่ื งมืออุปกรณ์ในศูนย์
เครอื ขา่ ย
4 . น วั ต ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ น้ น ก า ร พั ฒ น า
สมรรถนะผู้เรียน ความรู้ ทักษะ เจตคติ โดยใช้
Project Base Learning / Active leaning /
Learning experience( LE) แ ล ะ Work
integrated leaning (WIL)
5. สรา้ งเครือข่ายการเรียนรู้กับหน่วยงานภายนอก
และสถานประกอบการ

กรอบการ รายละเอยี ด งบประมาณ งบประมาณ 11
พัฒนา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ

พ.ศ. 2565

6.การวัดผล/ 1. การวัดและประเมินผลเชิงประจกั ษ์อา้ งองิ 0.7708 0.9250 0.9250
0.6972 0.6972
ประเมินผล มาตรฐาน อาชีพทีก่ าหนดแต่ระดับ
(Performance Evaluation)

2. แฟูมสะสมผลงาน (Portfolio)

3. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้และปฏิบัติงานอาชพี

ของผู้เรียนตามสภาพจรงิ

4. การทดสอบมาตรฐานอาชีพของสถาบันคณุ วุฒิ

วิชาชพี (องค์การมหาชน)

๗.การพัฒนาครู 1. จัดหาครเู รง่ ด่วนโดยเชิญผ้เู ชี่ยวชาญเฉพราะทาง 0.5810

และบคุ ลากร จากสถานประกอบการ มาเปน็ ครพู ิเศษ
2. เร่งพฒั นาครใู นระบบ

(1) ดาเนนิ การร่วมกับ อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชวี

เกษตร

(2) พัฒนาครูในสถานประกอบการ ดา้ น Smart

Farming 48 คน ตอ่ ปี

(3) การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ 48

คน ต่อปี

3. ยกระดบั สมรรถนะครสู ่งเสริมใหเ้ ขา้ รับการ

ทดสอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชพี

4. สนับสนุนครูศกึ ษาตอ่ ในสายเทคโนโลยที ่ี

เกย่ี วข้องระดับทสี่ งู ขน้ึ เชน่ จดั หาทนุ การศึกษา

ให้กบั ครแู ละผู้เรียนในกลุ่มผู้เรยี นเกษตรสมัยใหม่

๕. สนบั สนุนครศู ึกษา วิจยั และพัฒนานวัตกรรม

ร่วมกบั ภาคเอกชน 8 เรือ่ งต่อปี

8.เครอื ข่าย ทาบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU) กับ
ความรว่ มมือ/ 1. การเรยี นการสอนร่วมมือกบั ตา่ งประเทศ ได้แก่
ทวิภาคี 1.1 ประเทศอสิ ราเอล สาขาพืชศาสตร์
1.2 ประเทศญป่ี ุน สาขาอาหารปลอดภยั
1.3 ประเทศเดนมารค์ สาขาสัตวศาสตร์
1.4 ประเทศไตห้ วนั สาขาพืชผัก

กรอบการ รายละเอียด งบประมาณ งบประมาณ 12
พัฒนา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ

พ.ศ. 2565

2. สถานประกอบการทเ่ี กีย่ วข้องกบั เกษตรสมยั ใหม่

ในการผลติ และพฒั นากาลังคน ได้แก่

- บริษทั สมาพันธเ์ กษตรกรรมยัง่ ยืน
สุพรรณบุรี

- บรษิ ทั ประชารัฐ สุพรรณบรุ ี
- ห้างหนุ้ ส่วนจากดั เสรภี าพการเกษตร

- บรรจงฟารม์
- SILINUT BETA FARM
๓. ความรว่ มมอื กบั องคก์ รต่างประเทศ ทพี่ ัฒนา

ทางด้านการเกษตร เช่น FAO, UN, IRRI,

CYMMIT, ICRISART

๙. สอ่ื 1. การพฒั นาหอ้ งเรียนรอู้ ัจฉรยิ ะและขอ้ มูล 1.6500 1.9800 1.9800
นวตั กรรม
สง่ เสรมิ การ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร
เรียนรู้
2. การสนับสนุนการวิจัยและสร้างนวัตกรรมเกษตร

และเทคโนโลยีอาหารปลอดภัยของผู้เรยี น

อาชวี ศึกษาเกษตรและครวู ชิ าชพี เกษตร

๑๐. ชุดปฏบิ ัติการเทคโนโลยีเพิ่มมลู ค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4.500
ห้องปฏิบัติการ เกษตรและอาหารปลอดภยั * 2.500
2.3793
ชุดเครือข่ายเพมิ่ ประสิทธภิ าพบริหารจัดการศึกษา
เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั * 6.0000

ชดุ ระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน Local Information 3.0000
networking System ในสถานศกึ ษา* 0.9800
6.6340
ชดุ ปฏบิ ัติการตรวจสอบคณุ ภาพอาหารปลอดภยั
6.50000
ชุด Smart Classroom

ชุด พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพือ่ กา้ วสูอ่ าชีพ

ชุด ปฏบิ ัตกิ ารผสมเทยี ม

ชุดปฏบิ ัตกิ ารเพาะเลย้ี งปลาปลอดภยั อัจฉรยิ ะแบบ
ครบวงจร

กรอบการ รายละเอยี ด งบประมาณ งบประมาณ 13
พฒั นา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ
ชุดปฏบิ ตั ิการเล้ยี งสัตวป์ ลอดภัยอัจฉรยิ ะครบวงจร 12.0000 พ.ศ. 2565
1.5000 6.5000
ชุดปฏิบัตกิ ารพลังงานทดแทนเพือ่ การเกษตร 0.8889 5.0000
ปลอดภยั 12.0000
3.0000
ชดุ ปฏิบัติการวเิ คราะหส์ ารพษิ ตกค้างในระบบการ 4.5000
ผลติ เกษตร
0.8889
ชดุ ปฏิบัตกิ ารเพาะปลกู พชื สวน/พืชไรป่ ลอดภยั
อจั ฉริยะแบบครบวงจร

๑๑. สิง่ อานวย ๑.โรงปฏบิ ัติการจัดการผลผลิตและบรรจุภณั ฑ์ 6.5000
5.9927
ความสะดวก พืชผกั 6.2280

อ่นื ๆ ๒.อาคารอเนกประสงค์ ช้ันเดยี ว แบบ สอศ. 0.7406

58201 (สานกั งานEC.)

๓.อาคารอเนกประสงค์ 2 ชั้น แบบ สอศ.

58203 (Central Lab ประมง)

๔.อาคารปฏบิ ัตกิ ารถา่ ยทอดเทคโนโลยีอาหาร

ปลอดภยั

๕.โรงปฏิบัติการเพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ ปลอดภัย

๖.โรงปฏิบตั ิการจัดการผลผลิตและบรรจภุ ณั ฑ์สตั ว

ศาสตร์

ปรับปรงุ โรงเรอื นเล้ียงสตั วป์ ลอดภัย

1๒. การบรหิ าร 1. สรา้ งความรู้ความเข้าใจ การรบั รใู้ ห้แก่ผู้มี

จดั การ ส่วนเก่ียวข้อง จดั ทาโครงสร้างการบรหิ ารจัดการ

Excellent และตง้ั เปน็ คณะกรรมการร่วม และมอบหมาย

Center หน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบให้ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง ซงึ่

ประกอบดว้ ย ผู้บริหารวิทยาลัย ครปู ระจาสาขาวิชา

เจ้าหน้าท่ีสนับสนุน ผแู้ ทนนักเรียน ผ้แู ทนสถาน

ประกอบการ ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชยี วชาญ ผแู้ ทน

ผู้ปกครอง

2. สรา้ งนวตั เกษตรกรท่ีมีความรแู้ ละทกั ษะการทา
เกษตรสมัยใหมแ่ ละปลอดภยั

กรอบการ รายละเอียด งบประมาณ งบประมาณ 14
พฒั นา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ

พ.ศ. 2565

3. พัฒนาระเบียบ หลกั เกณฑ์ วิธีการ บริหาร
จดั การ Excellent Center โดยเฉพาะ อาทิ การ
บริหารจัดการความรว่ มมอื การบริหารจดั การ
บคุ ลากร ฯลฯ

4. จดั ระบบการให้บริการแกส่ ถานศึกษาอ่ืนในการ
เข้าถึงทรัพยากรจากศนู ยค์ วามเป็นเลิศเฉพาะทาง

5. สรา้ งระบบการจัดการฟาร์มรปู แบบสมัยใหม่
และปลอดภัยตลอดหว่ งโซ่อปุ ทานด้วยแนวคดิ
ทฤษฎใี หมแ่ ละหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. พัฒนาเป็นตน้ แบบการทาฟาร์มรปู แบบสมัยใหม่
และปลอดภยั

7. การจัดหาผ้ปู ฏบิ ัติงานเพ่อื ขบั เคลอื่ นกิจการใน
ศูนยค์ วามเปน็ เลิศเฉพาะทาง (Excellent Center)
สาขาเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

๑๓. บทบาท 1. งานฟาร์มเดน่ เฉพาะทางสมยั ใหม่ สาขาเกษตร
ของความเปน็
HUB และเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ทีเ่ ปน็ แหล่งเรียนรู้

และฝึกประสบการณอ์ าชีพของผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษา

เกษตร ท้ังในและตา่ งประเทศ

2. เปน็ ศนู ย์ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้าน

วชิ าชพี เกษตรสมยั ใหมแ่ ละเทคโนโลยีเกษตรอาหาร

ปลอดภยั ที่ได้มาตรฐาน ท่ีเปน็ แหล่งศกึ ษาเรยี นณุ้

ของเกษตรกรและประชาชนทสี่ นใจประกอบอาชีพ

การเกษตร 3.เปน็ ศนู ย์ทดสอบ

มาตรฐานอาชพี

๑๔. การสร้าง ๑. เกษตรกรุ่นใหม่ทีม่ ีความรู้ ทกั ษะและเจตคตทิ ่ีดี
อตั ลักษณ์ นสิ ยั ในการทาเกษตรสมัยใหม่และปลอดภัย ภายใต้การ
อุตสาหกรรม/ บ่มเพาะของศูนยค์ วามเป็นเลิศการอาชีวศึกษาด้าน
นสิ ยั บริการ

กรอบการ รายละเอียด งบประมาณ งบประมาณ 15
พัฒนา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ
และ Human
Skill พ.ศ. 2565

การเกษตร

15. การจัดการ ๑. สร้างนวตั กรรมที่โดดเดน่ ในสาขาวชิ าชีพเฉพาะ
ความรวู้ ิชาชีพ ทาง เชน่ การใช้ AI ในระบบการจดั การฟารม์ ที่
เฉพาะทาง และ ทันสมัย,การปรบั ปรุงพันธ์ุพืชพนั ธุส์ ัตว์ท่ีตอบสนอง
การทดลองวจิ ัย ต่อความตอ้ งการของตลาด,ผู้บริโภคและการ
พัฒนา เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก (Climate
นวตั กรรม Change)

๒. วิจัยรปู แบบการผลิตพืช,สตั ว์ และการเพ่มิ มลู ค่า
ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน ที่เปน็ ต้นแบบและได้
ผลตอบแทนทีค่ ุม้ คา่ ตอ่ การลงทนุ และมคี วามยัง่ ยืน
๓. ร่วมมอื กับสถานประกอบการจัดทาโครงการใน
สถานประกอบการ รว่ มพฒั นานวัตกรรมร่วมกบั
สถานประกอบการ เพมิ่ ประสิทธิภาพการทางาน
หาวธิ พี ฒั นางานเพือ่ คณุ ภาพ มาตรฐาน และนา
นวัตกรรม 4.0 มาใช้ในการทางาน
๔. พฒั นาการจัดการเรียนการสอนรว่ มมือกบั
ต่างประเทศ เชน่ อิสราเอล , จีน , ญีป่ ุน , เดน
มารค์ , เกาหลี , ไตห้ วนั
๕. ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นนักศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ ดา้ น
เกษตรสมัยใหม่
๖. สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนนักศึกษาทาการวจิ ัยด้าน
เกษตรสมยั ใหม่
๗. จดั การเรยี นการสอนโดยมอบหมายโครงการ/
โครงงาน (Project Based Learning)
๘. ลงทุนทรัพยากรในการวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม
ร่วมกับเครือข่ายความรว่ มมอื ท้งั ในและตา่ งประเทศ
๙. เชญิ ผ้เู ชีย่ วชาญร่วมศึกษาวจิ ยั และพัฒนา

กรอบการ รายละเอียด งบประมาณ งบประมาณ 16
พัฒนา นวตั กรรมรว่ มกนั พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564
งบประมาณ

พ.ศ. 2565

๑๖. โอกาสการ 1. บริหารจดั การความรู้ ทกั ษะ เจตคติ อย่างเป็น

เข้าถงึ การ ระบบอย่างตอ่ เน่ือง และเพมิ่ ประสิทธิภาพผเู้ รียน
พฒั นาของ จาก ปวช. ตอ่ ปวส. และปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยี
หรอื สายปฏบิ ตั กิ าร อยา่ งต่อเน่ือง เป็นขนั้ ตอน วัด
ผู้เรยี น และการ และประเมินผล เทียบเคียงมาตรฐานคณุ วฒุ ิวิชาชีพ
เพม่ิ กาลงั การ
สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชพี กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
ผลติ สถาบนั ไทย-เยอรมัน เป็นตน้

2. แสวงหาเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ในการสนบั สนนุ

ทุนการศึกษาและการเข้าสอู่ าชีพใหก้ ับนักเรียน
นักศึกษา

3. ประชาสัมพันธก์ ารจดั การเรยี นการสอนระบบ

ทวภิ าคีเพ่อื เพ่มิ ปริมาณผเู้ รยี น
4. สร้างเครือขา่ ยพันธมิตรทางการศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ

ปรมิ าณผูเ้ รียนในระดบั ปริญญาตรี
5. เพิม่ โอกาสและช่องทางการศกึ ษาให้กบั บุคคล
ท่ัวไปโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอ่ื ออนไลน์

6. ทุนการศึกษาจากภาครฐั และเอกชน

7. การยกเว้นคา่ เล่าเรยี น

8. โครงการอาชวี ศกึ ษาเพื่อพัฒนาชนบท (อศ.กช.)

และหลักสูตรระยะสนั้

กรอบการลงทนุ รวมงบประมาณท้งั สิน้ 112,134,350 บาท 33,214,950 30,281,400 48,638,000

หมายเหตุ * งบลงทนุ ที่ไดอ้ นมุ ตั ใิ นปี 2563

17

แบบฟอรม์ ท่ี 2 กรอบงบประมาณการจดั ทาข้อเสนอเพื่อการพัฒนาศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ
(Excellent Center) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบุรี

แบบฟอร์มที่ 2 กรอบงบประมาณการจัดทาข้อเสนอเพอ่ื การพัฒนาศูนย์ความเป

งบดาเนินง

ปรบั ปรงุ การจัด การวดั ผล/
สภาพ หลกั สตู ร การเรยี น ประเมินผล บคุ
กรอบการ ปจั จบุ นั ที่
การสอน พ
ท่ี กลมุ่ อาชีพ สถานศกึ ษา ลงทนุ ใน มีการ
/
สาขาวชิ า พฒั นามา

ก่อนแลว้

5 เกษตรและ 1. วทิ ยาลัย 175.6415 32.1398 0.0736 1.2990 0.7708 0

เทคโนโลยชี ีวภาพ เกษตรและ

เทคโนโลยี

สุพรรณบรุ ี

18

ปน็ เลิศ (Excellent Center) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี

หนว่ ย: ล้านบาท

งาน งบลงทนุ

จัดหา ส่ือ/ การบรหิ าร ครภุ ณั ฑ/์ สิง่ ก่อสร้าง รวม งบประมาณ รวม
คลากร/ นวัตกรรม จดั การ หอ้ ง (สงิ่ อานวย งบประมาณ 2564 -
พัฒนาครู ส่งเสริม 2565
/ศกึ ษา Excellent ปฏิบตั กิ าร ความ 2563
ตอ่ / ทนุ การ Center สะดวก)
เรยี นรู้

0.5810 1.6500 0.7406 9.3793 18.7207 33.2150 110.2868 143.5018

19

แบบฟอรม์ ท่ี 3 กรอบรายละเอียดกิจกรรม/รายการ งบดาเนนิ งานและงบลงทุน
สาหรบั ประกอบคาของบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565

ในการพัฒนาศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center)

แบบฟอร์มท่ี 3 กรอบรายละเอยี ดกิจกรรม/รายการ งบดาเนนิ งานและงบลงทุน 20
สาหรบั ประกอบคาของบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2565

ในการพัฒนาศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)

กล่มุ อาชีพ.เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ. : สาขาวิชา .เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี

...............................................

1. งบดาเนนิ งาน หน่วย : ลา้ นบาท

งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ.

ท่ี กจิ กรรม 2563 2564 2565

1. การพฒั นาหลักสตู รระดับ ปวส. สาขางานการเกษตรและเทคโนโลยี 0.0736 0.0883 0.0883
อาหารปลอดภยั

2. การพฒั นาผู้เรยี นเพอื่ สร้างสมรรถนะเกษตรกรอจั ฉริยะรนุ่ ใหม่ 1.2990 1.5588 1.5588
(Young Smart Farmer) และความเปน็ ผ้ปู ระกอบการแบบครบ
วงจร

3. การพัฒนาเพื่อจัดตงั้ ศนู ย์ทดสอบมาตรฐานอาชพี ร่วมกับสถาบัน 0.5106 0.6127 0.6127
คณุ วุฒวิ ชิ าชพี (องค์การมหาชน) 0.2602 0.3122 0.3122
0.1810 0.2172 0.2172
4. การทดสอบมาตรฐานอาชพี ของผเู้ รียนอาชวี ศึกษาเกษตร สาขางาน
การเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย

5. การสรา้ งครเู กษตรมอื อาชพี ด้านสาขาการเกษตรและเทคโนโลยี
อาหารปลอดภยั รุน่ ใหม่ ระดบั ปวส. และปรญิ ญาตรี

6. การสนบั สนุนสนบั สนุนการเพม่ิ พูนคุณวุฒิการศกึ ษาของครเู กษตร 0.4000 0.4800 0.4800

7 การสนับสนุนการวจิ ัยและสร้างนวตั กรรมดา้ นการเกษตรและ 0.5000 0.6000 0.6000
เทคโนโลยีอาหารปลอดภัยของผู้เรยี นอาชีวศกึ ษาเกษตร 1.0000 1.2000 1.2000

8 การสนบั สนนุ การวจิ ัยและสรา้ งนวตั กรรมดา้ นการเกษตรและ
เทคโนโลยีอาหารปลอดภัยของครเู กษตร

9 การพัฒนาหอ้ งเรียนรู้อจั ฉริยะและขอ้ มลู เทคโนโลยสี ารสนเทศทาง 0.1500 0.1800 0.1800
การเกษตร 0.7406 0.8887 0.8887

10 การจัดหาผูป้ ฏบิ ตั งิ านเพ่อื ขบั เคลอ่ื นศูนยค์ วามเป็นเลิศทาง
อาชวี ศึกษา (Excellent Center) สาขาการเกษตรแลละเทคโนโลยี
อาหารปลอดภัย

2. งบลงทนุ (ครภุ ัณฑ์ สิง่ ก่อสร้าง) 21

หน่วย : ลา้ นบาท

ท่ี งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ.

กิจกรรม 2563 2564 2565

2.1 ครภุ ัณฑ์

1. ชดุ ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีเพ่มิ มูลค่าพฒั นาผลิตภัณฑ์ 4.5000
เกษตรและอาหารปลอดภยั

2. ชดุ เครือข่ายเพม่ิ ประสิทธภิ าพบริหารจัดการศกึ ษา 2.5000
เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย

3 ชดุ ระบบโครงสรา้ งพืน้ ฐาน Local Information 2.3793
networking System ในสถานศกึ ษา

4 ชดุ ปฏบิ ตั ิการตรวจสอบคณุ ภาพอาหารปลอดภยั 6.0000

5 ชุด Smart Classroom 3.0000

6 ชดุ พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษเพ่อื ก้าวสู่อาชพี 0.9800

ชุด ปฏบิ ัตกิ ารผสมเทยี ม 0.6634

ชดุ ปฏบิ ัติการเพาะเลี้ยงปลาปลอดภยั อัจฉริยะแบบ 6.5000
ครบวงจร

ชุดปฏิบตั กิ ารเล้ยี งสตั ว์ปลอดภยั อัจฉรยิ ะครบวงจร 6.5000

ชุดปฏิบัติการพลงั งานทดแทนเพื่อการเกษตรปลอดภัย 5.0000

ชดุ ปฏิบัติการวิเคราะห์สารพิษตกค้างในระบบการผลติ 12.0000
เกษตร

ชดุ ปฏิบัตกิ ารเพาะปลูกพชื สวน/พชื ไร่ปลอดภัย 3.0000
อัจฉริยะแบบครบวงจร

2.2 สง่ิ กอ่ สร้าง

1. โรงปฏิบตั กิ ารจัดการผลผลิตและบรรจุภัณฑพ์ ชื ผัก 6.5000

22

ท่ี งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ. งบประมาณ พ.ศ.

กิจกรรม 2563 2564 2565

2. อาคารอเนกประสงค์ ชน้ั เดียว แบบ สอศ. 58201 5.9927
(สานกั งานEC.) 6.2280

3. อาคารอเนกประสงค์ 2 ชั้น แบบ สอศ. 58203

(Central Lab ประมง)

2. อาคารปฏบิ ตั ิการถา่ ยทอดเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั 12.0000

3 โรงปฏิบัติการเพาะเลีย้ งสัตว์นา้ ปลอดภัย 1.5000

4 โรงปฏบิ ัตกิ ารจัดการผลผลิตและบรรจุภัณฑ์สัตว 5.0000
ศาสตร์

5 ปรับปรงุ โรงเรอื นเลยี้ งสตั ว์ปลอดภัย 4.5000

** สิ่งก่อสรา้ ง สาหรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จะตอ้ งเปน็ ส่ิงก่อสรา้ งท่ดี าเนินการเสรจ็ ภายใน ปี พ.ศ. 2563

23

แบบฟอรม์ ที่ 4 การจัดทาคาของบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2565
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบรุ ี

แบบแสดงรายละเอยี ดตามงบรายจา่

หนว่ ยงาน /โครงการ /กจิ กรรม งบดาเนนิ งาน จ
ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวสั ดุ ค่า รวม รา
หนว่ ยงาน :.วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี
โครงการ: .จดั ต้ังศูนยค์ วามเปน็ เลิศการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขาวชิ า สาธารณูปโภค
เกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั Smart Farmer
(1) กจิ กรรม ( 16 เปา้ หมาย) 1.3752 1.1064 2.1764 0.4570 5.1150
กจิ กรรมที่ 2.1 การพฒั นาหลักสูตรระดับ ปวช. ปวส. สาขางานการเกษตรและ 0.0576 0.0144 0.0008 0.0008 0.0736
เทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

กจิ กรรมท่ี 2.2 การพฒั นาผู้เรยี นและผู้ประกอบการเพือ่ สรา้ งสมรรถนะเกษตรกร 0.8640 0.2700 0.1500 0.0150 1.2990
อจั ฉรยิ ะร่นุ ใหม่ (Young Smart Farmer) และความเปน็ ผู้ประกอบการแบบครบวงจร 0.0288 0.2096 0.0120 0.2602 0.5106

กจิ กรรมท่ี 2.3 การพฒั นาเพ่อื จดั ต้ังศูนยท์ ดสอบมาตรฐานอาชพี รว่ มกบั สถาบนั คุณวฒุ ิ
วชิ าชพี (องค์การมหาชน)

กจิ กรรมที่ 2.4 การทดสอบมาตรฐานอาชพี ของผู้เรยี นอาชีวศึกษาเกษตร สาขางาน 0.0288 0.0324 0.0180 0.1810 0.2602
การเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั - 0.1800 0.0010 - 0.1810
กจิ กรรมที่ 2.5 การสรา้ งครเู กษตรมอื อาชีพ ด้านสาขาการเกษตรและเทคโนโลยอี าหาร - 0.4000
ปลอดภยั รุน่ ใหม่ ระดับ ปวส. และปรญิ ญาตรี - 0.0000 - - 0.4000
กจิ กรรมท่ี 2.6 การสนบั สนนุ สนบั สนนุ การเพม่ิ พนู คุณวฒุ กิ ารศึกษาของครเู กษตร 0.5000 0.0000 0.5000
กจิ กรรมที่ 2.7 การสนบั สนนุ การวจิ ยั และสรา้ งนวตั กรรมด้านการเกษตรและเทคโนโลยี 0.0000 0.0000 1.0000 0.0000 1.0000
อาหารปลอดภยั ของผู้เรยี นอาชีวศึกษาเกษตร 0.0000 0.0000 0.1500 0.0000 0.1500
กจิ กรรมที่ 2.8 การสนบั สนนุ การวจิ ยั และสรา้ งนวตั กรรมด้านการเกษตรและ 0.3960 0.0000 0.3446 0.0000 0.7406
เทคโนโลยอี าหารปลอดภยั ของครเู กษตร
กจิ กรรมท่ี 2.9 การพฒั นาหอ้ งเรยี นรู้อจั ฉรยิ ะและขอ้ มูลเทคโนโลยสี ารสนเทศทาง
การเกษตร
กจิ กรรมท่ี 2.10 การจดั หาผู้ปฏบิ ตั ิงานเพ่ือขบั เคลื่อนศูนยค์ วามเปน็ เลิศทาง
อาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขาการเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

กจิ กรรมท่ี 2.11 การจดั หาครภุ ณั ฑแ์ ละสิ่งกอ่ สรา้ งเพื่อพฒั นาศูนยค์ วามเปน็ เลิศการ
อาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขาวชิ าเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

24

ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

หน่วย : ลา้ นบาท (ทศนิยม 4 ตาแหนง่ )

งบลงทนุ งบเงนิ อดุ หนนุ งบรายจา่ ยอน่ื

จานวน ค่าครภุ ณั ฑ์ จานวน ค่าสิ่งกอ่ สรา้ ง รวม ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวสั ดุ ค่า รวม รวมทง้ั ส้ิน

ายการ รายการ รายการ วงเงิน สาธารณูปโภค

3 9.3793 3 18.7207 6 28.1000 33.2150

11. ขอ้ มลู พน้ื ฐานของโครงการ 25

(1 ชดุ : 1 โครงการ)

ชอ่ื โครงการ : โครงการจัดตง้ั ศนู ย์ความเป็นเลิศการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) สาขาวิชาเกษตรและ
เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั Smart Farmer วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี

(1) ขอ้ มลู ทัว่ ไปของโครงการ

(1.1) วตั ถุประสงค์ของโครงการ :

1. ผลิตนวตั เกษตรกรอจั ฉริยะทม่ี คี วามสามารถในการทาเกษตรสมัยใหม่ท่ีเปน็ เกษตรครบวงจร

2. จดั ต้ังศูนยค์ วามเปน็ เลิศการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) สาขาวิชาเกษตรและเทคโนโลยี
อาหารปลอดภยั Smart Farmer

(1.2) ลักษณะโครงการ ดา้ นสังคม ด้านส่งิ แวดล้อม
ดา้ นเศรษฐกิจ

ดา้ นความมั่นคง ดา้ นคณุ ภาพชีวิต

(1.3) ลกั ษณะการดาเนินการ

ทาครงั้ เดยี ว ทาซ้าทกุ ปใี นกลุ่มเปูาหมายเดมิ

ทาซา้ ทุกปีโดยขยายกลมุ่ เปาู หมายใหม่

(1.4) ประสบการณ์และความเชยี่ วชาญในการดาเนินการ

เปน็ โครงการริเริ่มใหม่ไมเ่ คยมีมากอ่ น

เปน็ โครงการเดมิ ที่นามาต่อยอดขยายผล
เปน็ โครงการเดิมท่ีดาเนนิ การตอ่ เน่อื ง

(1.5) สถานภาพปัจจุบนั (ณ วนั ทจ่ี ัดทาคาของบประมาณ)
ยงั มิไดด้ าเนนิ การ
อยรู่ ะหวา่ งศกึ ษาขอ้ มูลและวางแผนดาเนนิ การ
พร้อมดาเนนิ โครงการได้ทันทเี มื่อได้รับจัดสรรงบประมาณ
ไดร้ ับจดั สรรงบประมาณแล้วอยู่ในระหว่างดาเนินการ
อนื่ ๆ : …………………………………………………………………………………………….

26

(1.6) ประเภทของโครงการ

พัฒนา ดาเนินการปกติ

(1.7) ระยะเวลาดาเนินโครงการ 5 ปี เรมิ่ ต้น (วัน เดอื น ป)ี

1 ตุลาคม 2562 สิน้ สุด (วัน เดอื น ปี) 30 กันยายน 2567

(1.8) สถานที่ดาเนนิ โครงการ : วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีในโครงการ จานวน 8 แหง่

(2) ทม่ี าและความตอ้ งการ
"(2.1) ทีม่ า : ภาคเกษตรของไทยต้องเผชิญกับปัญหาและความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงของโลก

เทคโนโลยี การแข่งขันของโลก การกีดกันทางการค้าที่รุนแรงของตลาดโลก การขาดความรู้ของเกษตรกร
ผลผลิตล้นตลาด ตน้ ทุนการผลิตสูง การขาดแคลนน้าสลับกบั ปัญหาอทุ กภยั ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อม
โทรมเนื่องจากการใช้สารเคมีในภาคเกษตร ความท้าทายจากการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิ อากาศ ส่งผล
กระทบต่อความสามารถในการผลิตของภาคเกษตร ผลิตภาพการผลิตภาคเกษตรต่า การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
ของภาคเกษตรและความยากจนของเกษตรกรนาไปสู่ปัญหาความเหล่ือมล้าของรายได้ของประเทศ
ผลตอบแทนดา้ นอาชพี ภาคเกษตรและความเสย่ี งสงู ทาใหป้ ริมาณและคุณภาพกาลังคนภาคเกษตรเข้าสู่อาชีพ
นอ้ ยลง จงึ จาเปน็ ต้องพัฒนากาลงั คนภาคเกษตรทง้ั ดา้ นปริมาณและคุณภาพ ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากเพ่ือ
ลดความเหล่อื มลา้ ทางเศรษฐกิจของประเทศ

ตามกรอบยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และแผนพัฒนา ฉบับท่ี 12 มีทิศทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สู่
การเป็นประเทศไทย 4.0 ดว้ ยกรอบแนวคิดจากปจั จยั เงอ่ื นไขภายในประเทศท่โี ครงสร้างประชากรเขา้ สู่สังคม
ผู้สูงอายอุ ยา่ งสมบรู ณ์ วัยเดก็ และวัยทางานลดลง ความเหล่ือมล้าในมิติต่างๆ ส่งผลต่อการสร้างความสามัคคี
ในสังคม และปัจจัยเงื่อนไขภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน์ การเคลื่อนย้ายเสรีของคน เงิ นทุน ข่าวสาร
เทคโนโลยี สินค้าและบริการ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีส่งผลต่อภาคธุรกิจ และการใช้ชีวิตของ
ประชาชน ภาวะโลกร้อนและสภาวะ ภูมิอากาศที่ผันผวนก่อให้เกิดภัยธรรมชาติที่ ทวีความรุนแรงมากขึ้น
เป็นแรงกดดันให้มีการผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การกาหนดอนาคตประเทศไทยปี
2579 ให้ภาคเกษตรเป็นฐานการผลิตอาหารท่ีมั่นคงปลอดภัย มีผลิตภาพการผลิตสูง มีระบบเศรษฐกิจสี
เขียว ระดับการปล่อยก๊าซ CO2 ต่า มีพ้ืนที่สีเขียวใหญ่ข้ึน ประชาชนมีพฤติกรรมการผลิตและการบริโภคที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนาประเทศไทย เป็น 4.0 พัฒนาภาคการเกษตรไทยจากฐานการผลิตเดิม
ดว้ ยหลักลดต้นทนุ เพิ่มมาตรฐานและพฒั นาต่อยอดสู่เกษตรอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สร้างมูลค่าเพิ่ม
โดยการวิจยั พฒั นาผลติ สินคา้ เกษตรขน้ั สงู พัฒนาผลติ สินค้าใหมเ่ ปน็ เกษตรทางเลอื กใหม่ กาหนดแนวทางการ
พัฒนาเกษตรและอาหารไว้ในอุตสาหกรรมเปูาหมาย ยกระดับการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม R&D นวัตกรรม ทักษะข้ันสูง ความคิด สร้างสรรค์ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ แบบคลัสเตอร์

27

ระบบกลไกเครือข่ายตลอดห่วงโซ่มูลค่าที่เข้มแข็ง กระจายการลงทุนไปยังภูมิภาคและอาเซียน สร้าง และ
พฒั นาตลาดสนิ ค้าคณุ ภาพยกระดับมาตรฐาน พฒั นาความร้ผู ู้บริโภค

การพฒั นาการอาชีวศกึ ษาไทยจึงควรใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยียกระดับการเรียนการสอน พัฒนา
หลักสูตรตอบโจทย์การผลิตกาลังคนให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ส่งเสริมเอกชนให้มีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษาเชื่อมโยงสถานศกึ ษา สถานประกอบการ ธนาคาร บูรณาการการทางานระหว่างหน่วยงาน
รวมถึงเช่ือมโยงผสู้ าเรจ็ การศกึ ษากับผูป้ ระกอบการเพื่อการจ้างงาน เช่ือมโยงกับหน่วยงานที่ส่งเสริมการสร้าง
อาชีพ สร้างผู้ประกอบการหน้าใหม่ท่ีหลากหลาย การจัดการอาชีวศึกษาต้องสอดคล้องบริบทของพ้ื นท่ี
และสามารถพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และภูมิปัญญาของพ้ืนท่ี รวมทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้ วิจัยและพัฒนาของ
ชมุ ชนท้องถิ่น

จากทศิ ทางการขับเคลื่อนภาคเกษตรดังกล่าว จึงมคี วามจาเปน็ ตอ้ งสร้างและพัฒนากาลงั คนภาคเกษตรที่
ต้องอาศัยองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสร้างผู้ประกอบการภาคเกษตรยุคใหม่ การมีส่วนร่วมของ
ภาคประชารัฐและเอกชนบูรณาการพัฒนากาลังคนของประเทศให้มีเอกภาพภาพทิศทางเดียวกัน ขับเคลื่อน
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 ให้กาลังคนภาคเกษตรมขี ดี ความสามารถในการแข่งขัน และสามารถอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีศักดิ์ศรี ตาม พ.ร.บ.อาชีวศึกษา 2551 มาตรา 6 จากสภาพปัญหาของสถานศึกษาเกษตรและ
ประมง พบว่า การดาเนินการพัฒนาการสอนอาชีพเกษตรในสถานศึกษา ยังไม่สามารถปรับเปล่ียน
กระบวนการเรียนรู้ให้ทันการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงไป ปัญหาบุคลากรท่ีสูงวัยสู่การ
เกษยี ณราชการต่อเนอื่ งส่งผลกระทบต่อการพฒั นาการจดั การเรียนรู้อาชีพ แหล่งเรียนรู้อาชีพมีสภาพเก่าแก่
มีสภาพเสือ่ มโทรมสง่ ผลให้ผ้เู รยี นขาดความเชอ่ื ม่ันในการประกอบอาชีพ ซึ่งจากการสารวจผู้สาเร็จการศึกษา
ของสถานศึกษาเกษตรและประมง ผสู้ าเรจ็ การศึกษาเข้าสูอ่ าชพี ในปี 2559 พบว่ามีอัตราร้อยละ 55 ศึกษา
ต่อและมงี านทา ร้อยละ 42.28 และรองาน ร้อยละ 2.72 เข้าสู่แรงงานท่ีตรงกับการเรียนรู้ ร้อยละ 26 ใช้
ความร้ทู ีเ่ รียนมาในงานทป่ี ฏบิ ตั ิ ร้อยละ 30

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบุรี ตระหนักถึงสถานการณ์และการเปล่ียนแปลงดังกล่าวจึง
ได้จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และแผนพัฒนาสถานศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทางสาขาเทคโนโลยีอาหาร
ปลอดภัย เพอื่ ผลติ และพฒั นากาลังคนภาคเกษตร สร้างและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีผลิตภาคเกษตรท่ีมี
คุณภาพมาตรฐานปลอดภัย สร้างและพัฒนาชุดความรู้อาชีพจากการวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี สนับสนุน
การเรียนรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกอาชีพ “โรงงาน(ฟาร์ม)ในโรงเรียน” จัดการศึกษาและฝึกอบรม แก่เยาวชน
และเกษตรกร พัฒนากาลังคนเป็นผู้ประกอบการเกษตรยุคใหม่(Smart farmer) ให้ครบวงจรตลอดห่วงโซ่
มูลค่า สรา้ งภาพลกั ษณ์ความเชือ่ มนั่ ในการประกอบอาชีพเกษตรยุคใหม่ เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสถานศึกษา
อาชีวศึกษาให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทางของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระยะที่ ๒ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในคลสั เตอร์เกษตรเชิงประสทิ ธิภาพและเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาเทคโนโลยีอาหาร
ปลอดภัย"

28

(2.2) สภาพปัญหา / ความต้องการ : ภาคการเกษตรของประเทศไทยขาดกาลังคนรุน่ ใหม่ท่มี ีประสทิ ธภิ าพท่ี
สอดรบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงรูปแบบการผลิตเกษตรทเี่ นน้ การใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมสมยั ใหมเ่ ข้ามาบรหิ าร
จดั การทดแทนเกษตรกรรุ่นเก่าทีท่ าเกษตรแบบดั้งเดมิ และสภาพปจั จุบันกาลงั แรงงานในภาคการเกษตรลด
น้อยลง เนอื่ งจากคนรุ่นใหมไ่ ม่สนใจการทาการเกษตรและในภาคการเกษตรมกี ลุ่มผู้สงู อายเุ ป็นสว่ นมาก ทาให้
ภาคการเกษตรเกดิ วกิ ฤตการขาดแคลนแรงงานและภาวะดอ้ ยการพฒั นาอยา่ งมาก

"(2.3) ความเร่งดว่ น : จากสภาพปัญหาและความตอ้ งการดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
และสถาบันการอาชวี ศกึ ษาเกษตร เห็นความสาคัญในการพัฒนาบุตรหลานของเกษตรกรและกลุ่มคนรุ่นใหม่
ให้มีทักษะในการประกอบอาชีพเกษตรรูปแบบใหม่ (Smart Farming) ด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แบบมสี ว่ นร่วมและสร้างนวัตเกษตรกร (Smart Farmer) เพื่อเป็นเกษตรกรอัจฉริยะที่สามารถทาการเกษตร
ด้วยความแม่นยาและใช้แรงงานน้อย ซึ่งจะเหมาะสมกับประเทศไทยยุคไทยแลนด์ 4.0 พร้อมกับการจัดต้ัง
ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ การอาชวี ศึกษา (Excellent Center) กลุม่ อาชีพนาร่อง เกษตรและเทคโนโลยีอาหารเกษตร
ปลอดภัย Smart Farmer เพือ่ เป็นต้นแบบในการผลิตกาลงั คนและพัฒนาภาคการเกษตรให้ได้ผลผลิต เป็นไป
ตามมาตรฐานสากลด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือให้เกิดความยั่งยืนของภาคเกษตรอย่างเป็นระบบ
ต่อไป

(3) กล่มุ เป้าหมาย และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี

(3.1) กลมุ่ เปูาหมาย : นักเรียน นกั ศกึ ษาทเ่ี ปน็ นวัตเกษตรกร จานวน 30 คน จากวิทยาลยั เกษตรและ
เทคโนโลยี ทัง้ หมด 8 แห่ง

(3.2) ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย : ผ้เู รียน เกษตรกรและผ้สู นใจในพ้ืนที่ สถานศึกษา

อทิ ธิพลที่มตี อ่ โครงการ : งบประมาณ ศักยภาพของสถานศกึ ษา ความรว่ มมือของภาครัฐและเอกชน
การบรหิ ารจัดการผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี : วางแผน ดาเนนิ งาน ติดตามและประเมนิ ผลโครงการ

(4) เปา้ หมาย ผลลพั ธ์ และผลกระทบโครงการ
(4.1) เปูาหมายโครงการ

ปเี ริ่มต้น - ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 29
แผน แผน แผน แผน ปี 2566-
ตัวช้ีวดั หนว่ ยนบั ถงึ ปี 2561 (ผล)**
แผน 80 100 120 จบ
30 60 90 แผน
(ผล)*
300
ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปรมิ าณ :- 180

- เพมิ่ ปริมาณผู้เรียน สาขาเฉพาะทาง ทั้งระดบั ปวช. ปวส. และ ป.ตรี

- จานวนนวตั เกษตรกร คน

ตวั ชว้ี ดั เชงิ คณุ ภาพ :-

- นวตั เกษตรกรอจั ฉรยิ ะทม่ี ีความสามารถในการ

ทาเกษตรสมัยใหม่ทีเ่ ปน็ เกษตรครบวงจรมี

มาตรฐานรองรับ

ตวั ช้ีวดั เชงิ ระยะเวลา :- ปี 33 3 2
- ปงี บประมาณ
ตวั ช้ีวดั คา่ ใชจ้ า่ ย/ตน้ ทนุ :-
- Benefit-Cost Ratio
- Cost-effectiveness

หมายเหตุ (ผล)* เป็นผลการดาเนินงานตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ โครงการถึงปีงบประมาณ 2561
(ผล)** เป็นผลการดาเนนิ งานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (ตุลาคม - ธันวาคม 2561)

(4.2) ผลลัพธ์

การเกษตรสมยั ใหม่ (Smart Farming) จะเป็นทีต่ ้องการ และสามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ สามารถชว่ ย
ภาคเกษตรให้พน้ จากภาวะวกิ ฤติได้ เกษตรกรจะมฐี านะทางเศรษฐกจิ ดีขน้ึ ทายาทของเกษตรกรจะกลบั คนื ถน่ิ
พัฒนาเป็นผปู้ ระกอบการ (Smart Farmer) ด้านการเกษตรที่มนั่ คงและย่ังยนื

การประเมนิ ผลลัพธ์ (ถ้ามี)
- Benefit-Cost Ratio :

สตู รการคานวน คา่ ทไี่ ด้

(4.3) ผลกระทบ :
เชงิ บวก : มีนวัตเกษตรกรเป็นผปู้ ระกอบการหรอื ทางานในภาคการผลติ เกษตรในรปู แบบสมัยใหม่

และปลอดภยั
ศูนยท์ ดสอบและฝึกอาชพี เกษตรรปู แบบสมยั ใหม่และปลอดภยั

เชงิ ลบ : ต้องใช้ระยะเวลาในการประเมนิ ผล เนอื่ งจากมผี ลกระทบในหลายๆด้าน

(4.4) ความก้าวหน้าในการดาเนนิ โครงการ ตามเปูาหมาย 30
ตา่ กวา่ เปูาหมาย ตามแผน
ตามแผน สงู กวา่ เปาู หมาย
(4.5) การใช้จ่ายงบประมาณ
ต่ากวา่ แผน เกินกวา่ แผน
เรว็ กว่าแผน
(4.6) สรุปแผนการดาเนินงาน
ลา่ ช้ากว่าแผน

(5) วงเงนิ ของโครงการ ต้ังแตเ่ ริ่มต้น - สิน้ สุดโครงการ

หน่วย : ลา้ นบาท (ทศนิยม 4
ตาแหน่ง)

ปงี บประมาณ เงินงบประมาณ เงนิ นอกงบประมาณ รวม
2563 33.2150 33.2150
2564 30.2814 30.2814
2565 48.6380 48.6380

รวมท้งั ส้ิน 112.1344 112.1344

31

(6) กรอบงบประมาณรายจา่ ยล่วงหนา้ ระยะปานกลางของโครงการ

หนว่ ย : ลา้ นบาท (ทศนยิ ม 4 ตาแหนง่ )

แหล่งเงนิ จา่ ยจรงิ * งบประมาณ งบประมาณ ประมาณการรายจา่ ยล่วงหนา้
ปี 2561
53.9872 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566

รวมทงั้ สิ้น 65.8264 57.6139 56.6804 77.0370 -

เงินงบประมาณ 53.9872 65.8264 57.6139 56.6804 77.0370 -

- งบบคุ ลากร 28.3255 25.1789 6.1380 -
- งบดาเนินงาน - 6.3346 5.1150 6.1380

*คา่ ตอบแทน 0.3002 1.3752 1.6502 1.6502

*คา่ ใชส้ อย 6.5395 2.0052 1.1064 1.3277 1.3277

*คา่ วสั ดุ 4.0292 2.1764 2.6117 2.6117

*คา่ สาธารณปู โภค 2.0000 2.1488 0.4570 0.5484 0.5484
- งบลงทนุ 16.9322 11.9140 28.1000 24.1434 42.5000

- งบเงินอดุ หนนุ 6.5513 9.4661 10.4661 11.4661 12.4661

- งบรายจ่ายอน่ื 2.1782 12.9329 13.9329 14.9329 15.9329

เงินนอกงบประมาณ ตวั เลขสแี ดงเปน็ ตวั เลขการประมาณการ
- เงินกใู้ นประเทศ
- เงินกตู้ า่ งประเทศ
- เงินรายได้
- เงินชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ

- เงินและทรัพยส์ นิ ชว่ ยราชการ

- นวตั กรรมทางการเงิน

- เงินนอกงบประมาณอนื่ ๆ

* งบประมาณปี 2561 ตง้ั ไว้ 66.07 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.62
เบกิ จา่ ย ณ 30 กนั ยายน 2561 63.17 ลา้ นบาท
กนั ไวเ้ บกิ จา่ ยเหลอื่ มปี 0.10 ลา้ นบาท

(7) ความเหมาะสมของโครงการ 32

(7.1) ความพร้อมของพน้ื ท่ีดาเนนิ การ สงู มาก
มีความพรอ้ มดาเนนิ การไดท้ ันที สงู มาก
สงู มาก
อยใู่ นระหว่างเตรยี มการ

อยใู่ นระหว่างศกึ ษาความเหมาะสม

(7.2) ความพร้อมของบุคลากร/ทมี งาน

ต่ามาก ต่า  ปานกลาง  สงู
ปานกลาง สูง
(7.3) ความพร้อมของการบริหารจดั การ

ต่ามาก ต่า

(7.4) ความพรอ้ มของวัตถดุ ิบ/เครอ่ื งมือ/อุปกรณ์

ต่ามาก ต่า ปานกลาง สูง

(7.5) ความเสี่ยงทีอ่ าจเกิดขึน้ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)

ด้านการเมืองและสงั คม
:……….....................................................………………………………………………………………………………………

แนวทางการบรหิ ารความเสยี่ ง

:……….....................................................………………………………………………………………………………………

ด้านกฎหมาย

:……….....................................................………………………………………………………………………………………

แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง
:...............................................………………………………………………………………………………………….

ด้านการดาเนินการ : ความเข้าใจในแนวทางการดาเนนิ โครงการของแต่ละสถานศกึ ษามคี วามแตกต่าง
กนั

แนวทางการบริหารความเสี่ยง : ประชุมและช้ีแจงทาความเขา้ ใจ และตดิ ตามผลการดาเนินงานเป็น
ระยะอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

33

ด้านการเงนิ และเศรษฐกิจ : งบประมาณล่าช้าและไมเ่ ป็นไปตามแผนการดาเนินโครงการ

แนวทางการบริหารความเสี่ยง : วางแผนสารองเพือ่ รองรบั ความเส่ยี งดา้ นการเงินที่อาจจะเกิดขนึ้

ดา้ นเทคโนโลยี : ขาดองค์ความรู้และทักษะดา้ นเทคโนโลยที ี่ใช้ดาเนินโครงการ

แนวทางการบรหิ ารความเส่ียง : อาศัยความร่วมมือจากผ้เู ชยี่ วชาญและสถานประกอบการ

ดา้ นส่งิ แวดล้อม : การดาเนินโครงการอาจสง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม เช่น สง่ิ เหลือทางการผลิต

เกษตร

แนวทางการบรหิ ารความเสย่ี ง : จดั โครงการรองรบั ทเ่ี ก่ียวกับการจัดการของเสียทางการเกษตร

(7.6) แนวทางการประเมนิ ผล

- ประเมนิ โดย : (เลือกได้มากกว่า 1 ขอ้ )

ประเมนิ ตนเอง

ผูป้ ระเมินอสิ ระ

- แนวทางฯ : (เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ )

ประเมนิ ผลกระบวนการ (Process Evaluation)

 ประเมินผลเมอ่ื สน้ิ สุดการดาเนนิ งาน (Post Evaluation)
ประเมนิ ผลกระทบของการดาเนนิ งาน (Impact Evaluation)

(8) ปัญหา อปุ สรรคและขอ้ จากดั :
1. คา่ นยิ มการเรียนเกษตรยังไมเ่ ปน็ ที่ยอมรบั จงึ ผลให้จานวน น้กเรยี น นักศกึ ษามีจากัด

.... 2. ในระดับนโยบายให้ความสาคญั ต่อการพัฒนาภาคการเกษตรน้อยและไม่เชอ่ื มโยงสว่ นต่างๆ ท่ี
เก่ียวข้องอย่างเปน็ ระบบ

.... 3. ครุภณั ฑแ์ ละสงิ่ กอ่ สร้างในปจั จุบันชารุดและไมเ่ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการ และไมต่ รงตามความ
ตอ้ งการของสถานศกึ ษา

(9) แนวทางแกไ้ ข :

1. ประชาสัมพันธแ์ นะนาโครงการเพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจในการเขา้ รว่ มและรายงานผลการดาเนิน
โครงการสู่ภายนอก

.... 2. สร้างผลผลิตจากภาคเกษตรใหเ้ ปน็ รูปธรรมทช่ี ัดเจน เพือ่ สรา้ งภาพลักษณ์ท่มี ีความสาคัญทม่ี าก
3. จดั ทาโครงการเพอ่ื จดั หาครภุ ณั ฑ์และสิง่ กอ่ สรา้ งตามแผนการพฒั นาของวิทยาลยั และมีแผนการ

ใช้งาน ดูแลรกั ษาอย่างตอ่ เน่อื งเพือ่ ให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ

34

คาช้ีแจงโครงการเพ่ิมเตมิ

โครงการ.จดั ตั้งศูนยค์ วามเปน็ เลิศการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center ) สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร
ปลอดภัย Smart Farmer วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี

ประกอบคาขอจัดต้งั งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

1. สาระสาคญั ของโครงการ

ภาคเกษตรของไทยต้องเผชญิ กบั ปญั หาและความท้าทายจากการเปล่ียนแปลงของโลก
เทคโนโลยี การแข่งขันของโลก การกดี กนั ทางการค้าทร่ี ุนแรงของตลาดโลก การขาดความรู้ของเกษตรกร
ผลผลติ ลน้ ตลาด ต้นทนุ การผลิตสงู การขาดแคลนน้าสลบั กับปัญหาอทุ กภัย ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติเสอ่ื ม
โทรมเนอ่ื งจากการใช้สารเคมีในภาคเกษตร ความท้าทาย จากการเปลย่ี นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ สง่ ผล
กระทบต่อความสามารถในการผลิตของภาคเกษตร ผลติ ภาพการผลติ ภาคเกษตรต่า การเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู วัย
ของภาคเกษตรและความยากจนของเกษตรกรนาไปส่ปู ญั หาความเหล่ือมล้าของรายไดข้ องประเท
ผลตอบแทนดา้ นอาชพี ภาคเกษตรและความเสย่ี งสูง ทาให้ปรมิ าณและคณุ ภาพกาลงั คนภาคเกษตรเข้าสูอ่ าชพี
นอ้ ยลง และปญั หาอนั สาคญั ยิง่ คอื ผลผลติ ทางการเกษตรเกดิ การปนเปอื้ น การตกค้างของสารเคมี ทาให้เกิด
ความไม่ ปลอดภยั แก่ผูบ้ รโิ ภค ทาให้ผลผลติ มขี อ้ จากัดในการจาหนา่ ย จงึ จาเป็นต้องพฒั นากาลังคนภาค
เกษตรทั้งด้านปริมาณและ คุณภาพ ยกระดบั เศรษฐกิจฐานรากเพ่อื ลดความเหลอื่ มทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

2. เหตุผลและความจาเป็น

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ตระหนกั ถงึ สถานการณแ์ ละการเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วจงึ ได้
จดั ทา โครงการ จดั ต้ังศูนยค์ วามเปน็ เลิศการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) สาขาวชิ าเกษตรและเทคโนโลยี
อาหารปลอดภยั Smart Farmer เพือ่ ผลิตและพฒั นากาลงั คนภาคเกษตร สร้างและพัฒนานวัตกรรม
เทคโนโลยีผลติ ภาคเกษตรท่ีมีคุณภาพมาตรฐานปลอดภัย สร้างและพัฒนาชดุ ความรู้อาชีพจากการวจิ ัย
นวตั กรรม สนับสนนุ การเรียนรู้ เป็นแหลง่ เรยี นรูฝ้ กึ อาชพี “โรงงาน(ฟารม์ )ในโรงเรยี น” จดั การศกึ ษาและ
ฝกึ อบรม แก่เยาวชนและเกษตรกร พัฒนากาลงั คนเปน็ ผูป้ ระกอบการเกษตรยุคใหม่(Smart farmer) ใหค้ รบ
วงจรตลอดห่วงโซม่ ลู คา่ สรา้ งภาพลกั ษณ์ความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพเกษตรยุคใหม่

3. วัตถปุ ระสงค์

3.1. เพ่ือจดั ตัง้ ศูนยค์ วามเปน็ เลิศ ดา้ นเทคโนโลยอี าหารปลอดภัยตลอดหว่ งโซ่มลู ค่า

3.2.เพ่อื ผลติ Smart Farmer ใหเ้ ปน็ ผู้ประกอบการและพนักงานท่มี ีสมรรถนะสูงในดา้ นเทคโนโลยี
อาหารปลอดภยั

35

3.3.เพื่อพฒั นา งานฟาร์มตน้ แบบ ดว้ ย Smart Farming ดว้ ยแนวทฤษฎีใหมแ่ ละหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.4. เพ่อื สรา้ งเครือขา่ ย ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผบู้ รโิ ภค ด้าน เทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

4. เป้าหมายโครงการ

4.1 สรา้ งนกั จัดการเกษตรยุคใหม่ (Agro Economist) ผูช้ าญฉลาด (Smart Farmer) และมีความ
เป็นเลิศในสาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั

4.2 . ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ในการสรา้ งอาชีพ สรา้ งคน และต้นแบบการจดั การฟารม์ ท่ีทันสมัย ด้าน
เทคโนโลยอี าหารปลอดภยั

4.3 เครือขา่ ยความร่วมมือในการสร้างความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่
อุปทาน

5. กลมุ่ เปา้ หมายโครงการ
5.1.นกั เรยี น นกั ศึกษาทงั้ ในระบบและนอกระบบ

5.2 เครอื ข่ายผู้ปกครองนกั ศึกษาทมี่ อี าชีพเกษตรกรรม
5.3 เครอื ข่ายกลมุ่ เกษตรกรทมี่ ีความพร้อมในการพัฒนาสู่ Smart Farmer

5.4 เยาวชนคนรนุ่ ใหม่ท่เี ห็นคุณคา่ ของระบบการเกษตรท่ีย่ังยืน
5.5 ผูส้ งู อายุ หรือผู้เกษยี ณอายุ ทตี่ ้องการเป็น Smart Farmer

5.6 กลุม่ ผ้ปู ระกอบการดา้ นการเกษตร ธุรกิจเกษตร หรือทเี่ ก่ยี วเน่อื งในการสร้างเครอื ข่ายร่วมกัน

. 6.ตัวชี้วดั ของโครงการ

6.1.จานวนนกั เรียน นกั ศึกษา ที่เขา้ รับการฝกึ อบรมใหเ้ ป็น Smart Farmer

6.2 จานวนผู้ปกครองนกั ศกึ ษาท่ีมีอาชพี เกษตรกรรมทีเ่ ข้ารับการอบรมและพัฒนาสู่ Smart Farmer

6.3 จานวนเครอื ขา่ ยกลุ่มเกษตรกรทมี่ ีความพรอ้ มในการพัฒนาสู่ Smart Farmer

6.4 จานวนเยาวชนคนรนุ่ ใหม่ท่ีเห็นคุณคา่ ของระบบการเกษตรท่ียง่ั ยืนและสมัครเข้ารับการอบรม
(Start Up)

6.5 จานวน ผูส้ ูงอายุ หรือผูเ้ กษียณอายุ ทต่ี อ้ งการเปน็ Smart Farmer ได้รับการฝกึ อบรม

36

6.6 จานวนกลุม่ ผู้ประกอบการดา้ นการเกษตร ธุรกิจเกษตร หรอื ทีเ่ ก่ียวเนื่องในการสรา้ งเครอื ข่าย

ร่วมกัน

6.7 ระดบั ความพึงพอใจของกลมุ่ เปาู หมายมากกวา่ ร้อยละ 80

7. กจิ กรรม - วธิ กี ารดาเนินการ

ใช้รูปแบบการบริหารจดั การ แหลง่ เรียนรู้ พัฒนาสมรรถนะอาชพี เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั ESAM
SMART FARM MODEL ประกอบด้วย S: Specific and Simulate สรา้ งความเปน็ เลิศเฉพาะทางด้าน
เทคโนโลยีอาหารปลอดภยั และมคี วามเปน็ จรงิ เสมือนจริง M: Modern2Management ความทันสมยั และ
การจดั การทีท่ นั สมัย A:Alliance พนั ธมติ รความรว่ มมือทางวิชาการธุรกจิ R: Research ศึกษา วจิ ยั
ของนักเรยี น นกั ศึกษา ครูเครอื ขา่ ยนกั วจิ ยั T:Technology เทคโนโลยนี ามาพัฒนา แกป้ ญั หาพฒั นาอาชพี

8. ระยะเวลาดาเนินโครงการ 1

มกราคม 2563 ถงึ 30 กันยายน 2563 9.

สถานท/่ี พืน้ ทดี่ าเนนิ การ วิทยาลัย

เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี 10.

ผลประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

10.1.ในภมู ิภาคมี ศนู ย์ความเป็นเลิศ ดา้ นเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั ตลอดหว่ งโซ่มูลคา่ ท่สี ามารถ

เปน็ ที่พง่ึ ของชมุ ชนได้

10.2.เกิด Smart Farmer ท่เี ป็นผู้ประกอบการและพนกั งานทมี่ สี มรรถนะสูงในด้านเทคโนโลยี
อาหารปลอดภยั

10.3.ฟารม์ ต้นแบบ ที่พัฒนาด้วย Smart Farming ดว้ ยแนวทฤษฎใี หม่และหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง

10.4.เกิดการสร้างเครือขา่ ย ผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ และผู้บรโิ ภค ด้าน เทคโนโลยอี าหารปลอดภัย

10.5 เกดิ ผลตอบแทนแก่ กลุ่มเปาู หมายสามารถเพ่ิมรายได้มากกว่าร้อยละ 30
10.6 เกดิ ความตระหนกั ในการประกอบอาชีพการเกษตรแบบสมัยใหม่ (Smart Farming) และมี
ค่านิยมทีด่ ีในการประกอบอาชพี เกษตร

10.7 ทายาทของเกษตรกร กลับภมู ลิ าเนา เพือ่ พัฒนาทอ้ งถนิ่ ของตนเองด้วย Smart Farming

37

11. งบประมาณ
งบดาเนนิ งาน 5.1150 ล้านบาท
งบลงทนุ จาแนกเป็น ค่าครภุ ณั ฑ์ จานวน 3 รายการ เปน็ เงนิ 9.3793 ลา้ นบาท และ ค่า

ส่งิ กอ่ สร้างจานวน 3 รายการ เป็นเงิน 18.7207 ล้านบาท

12. แผนการใช้จา่ ยเงนิ และค่าเปา้ หมายตัวชี้วดั รายไตรมาส

หนว่ ย

ตัวชี้วดั และกจิ กรรมของโครงการ นบั
เปา้

1. ตัวช้ีวดั ของโครงการ

6.1.จานวนนกั เรยี น นกั ศึกษา ทเ่ี ขา้ รบั การฝึกอบรมใหเ้ ปน็ Smart ราย 1
Farmer

6.2 จานวนผู้ปกครองนกั ศึกษาทมี่ อี าชพี เกษตรกรรมทเี่ ขา้ รบั การอบรม ราย 1
และพฒั นาสู่ Smart Farmer

6.3 นวตั เกษตรกร ทเ่ี ปน็ ต้นแบบ ราย 3

6.3 จานวนเครอื ขา่ ยกลุ่มเกษตรกรทมี่ ีความพรอ้ มในการพฒั นาสู่ เครอื ขา่ ย
Smart Farmer

6.4 จานวนเยาวชนคนรนุ่ ใหม่ทเ่ี หน็ คุณค่าของระบบการเกษตรทย่ี ง่ั ยนื ราย 1
และสมคั รเข้ารบั การอบรม (Start Up)

6.5 จานวน ผู้สูงอายุ หรอื ผู้เกษียณอายุ ทต่ี ้องการเปน็ Smart Farmer ราย 3
ได้รบั การฝึกอบรม

6.6 จานวนกลุ่มผู้ประกอบการด้านการเกษตร ธุรกจิ เกษตร หรอื ท่ี กลุ่ม
เกย่ี วเนื่องในการสรา้ งเครอื ขา่ ยรว่ มกนั

6.7 ระดับความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมายมากกวา่ รอ้ ยละ 80 รอ้ ยละ 8

2. กจิ กรรมของโครงการ รวม

กจิ กรรมท่ี 2.1 การพฒั นาหลักสูตรระดับ ปวช. ปวส. สาขางานการเกษตรและเทคโนโลยี หลักสูตร

กจิ กรรมที่ 2.2 การพฒั นาผู้เรยี นและผู้ประกอบการเพื่อสรา้ งสมรรถนะเกษตรกรอจั ฉรยิ ะรุ่นใหม่ คน 1

กจิ กรรมที่ 2.3 การพฒั นาเพอ่ื จดั ต้ังศูนยท์ ดสอบมาตรฐานอาชีพรว่ มกบั สถาบนั คุณวฒุ วิ ชิ าชพี แหง่

กจิ กรรมท่ี 2.4 การทดสอบมาตรฐานอาชีพของผู้เรยี นอาชีวศึกษาเกษตร สาขางานการเกษตร คน 3

กจิ กรรมท่ี 2.5 การสรา้ งครเู กษตรมืออาชพี ด้านสาขาการเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั คน 1

รกนุ่จิ กใหรรมม่ รทะ่ีด2ับ.6ปกวาสร.สแนลบั ะสปนรญินุ สญนาบั ตสรนี นุ การเพ่มิ พนู คุณวฒุ กิ ารศึกษาของครเู กษตร คน

กจิ กรรมที่ 2.7 การสนบั สนนุ การวจิ ยั และสรา้ งนวตั กรรมด้านการเกษตรและเทคโนโลยอี าหาร เรือ่ ง 1

กปจิลกอรดรภมยั ทขี่ 2อง.8ผู้เรกยี านรอสานชบั ีวสศนึกนุ ษกาาเรกวษจิ ตยั รและสรา้ งนวตั กรรมด้านการเกษตรและเทคโนโลยอี าหาร เร่ือง 1

กปจิลกอรดรภมยั ทขี่ 2อง.9ครกเู ากรษพตฒั รนาหอ้ งเรยี นรอู้ จั ฉรยิ ะและขอ้ มูลเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการเกษตร หอ้ ง

กจิ กรรมที่ 2.10 การจดั หาผู้ปฏบิ ตั ิงานเพ่ือขบั เคลื่อนศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางอาชีวศึกษา คน

(กEจิ xกcรeรlมleทn่ี 2t.C1e1nกteาrร)จดัสหาขาคากราภุ รณั เกฑษแ์ ตลระแสลิ่งะกเอ่ทสครโา้นงโเลพยอ่ื อี พาฒัหานราปศลูนอยดค์ ภวยั ามเปน็ เลิศการอาชีวศึกษา รายการ

(Excellent Center) สาขาวชิ าเกษตรและเทคโนโลยอี าหารปลอดภยั
















Click to View FlipBook Version