The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

30150_research_ลูกหยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-06-14 01:06:24

อุทัยวรรณ

30150_research_ลูกหยี

รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์

โครงการวจิ ัย

ศกึ ษาพืชตระกูลถว่ั พนั ธ์ุพืน้ เมอื งของจงั หวัดแม่ฮ่องสอน
ในปรบั ปรงุ บารุงดนิ สาหรบั การปลกู ข้าวโพด

Study on local green manure legumes of Maehongson
Province for improvement of soils and growing Maize

ดาเนนิ การโดย
นางสาววรรณพุฒิ เตียวกลุ

ทะเบียนวิจยั เลขที่
53 54 05 12 04000 020 109 01 11
สถานีพฒั นาทด่ี ินแมฮ่ ่องสอน สานกั งานพัฒนาที่ดนิ เขต 6
กรมพัฒนาท่ดี ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กนั ยายน 2557

แบบ วจ.3

รายงานผลการวิจยั ฉบบั สมบูรณ์

รหสั โครงการวิจัย 53 54 05 12 04000 020 109 01 11

ช่อื โครงการ การศึกษาพืชตระกูลถั่วพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในปรับปรุงบารุงดิน

สาหรับการปลูกข้าวโพด (Study on local green manure legumes of

Maehongson Province for improvement of soils and growing Maize)

ชอ่ื แผนงานวิจัย (กรณเี ป็นโครงการวจิ ัยภายใตแ้ ผนงานวจิ ัย) -

ช่ือผ้รู บั ผดิ ชอบ นางสาววรรณพุฒิ เตยี วกลุ

ท่ปี รึกษาโครงการ ผู้อานวยการสถานพี ฒั นาทีด่ นิ แมฮ่ ่องสอน

ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาทดี่ นิ เขต 6

ผู้ร่วมดาเนินการ -

ระยะเวลาดาเนินการ เร่ิมต้นเดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2552

ส้นิ สดุ เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2554

รวมระยะเวลาท้งั สิ้น 2 ปี

สถานทีด่ าเนินการ บา้ นนา้ กดั ม.2 ต.ห้วยผา อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน (พิกัด E 0403275 N 2157824)

กลุ่มชุดดนิ ที่ 29 ชดุ ดินบ้านจอ้ ง (Ban Chong series: Bg) ชนิดดนิ ดินเหนียว

ชนดิ พชื ข้าวโพด, ถ่วั แปยี, ถ่วั น้าหนกั

คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินการดาเนินการ ดงั น้ี

ปงี บประมาณ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ งาน รวม

2553 - 100,000 100,000
75,000
2554 - 75,000 175,000

รวม - 175,000

แหลง่ งบประมาณทีใ่ ช้ : งบปกติ กรมพฒั นาทด่ี ิน

พร้อมนีไ้ ดแ้ นบรายละเอยี ดประกอบตามแบบฟอรม์ ท่ีกาหนดมาด้วยแล้ว

ลงชื่อ
( นางสาววรรณพฒุ ิ เตยี วกุล )
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ

ลงชอื่

ประธานคณะกรรมการกล่นั กรองผลงานวชิ าการของหนว่ ยงานต้นสงั กัด

วันท่ี เดือน พ.ศ.

สารบญั ก

สารบญั หน้า
สารบัญตาราง ก
สารบัญตารางผนวก ข

บทคัดย่อ
หลกั การและเหตุผล 1
วัตถปุ ระสงค์ 3
ขอบเขตการศึกษา 3
การตรวจเอกสาร 4
งานวจิ ัยอนื่ ๆ ที่เก่ียวข้อง 4
ระยะเวลาและสถานท่ีดาเนินงาน 10
อปุ กรณ์และวิธดี าเนนิ การ 14
ผลการทดลองและวจิ ารณ์ 15
สรปุ ผลการทดลอง 17
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 30
ขอ้ เสนอแนะ 30
เอกสารอา้ งองิ 31
ภาคผนวก 31
33



สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า
1 สมบัตทิ างเคมบี างประการของดินกอ่ นการทดลอง ทรี่ ะดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร 17
2 การประเมนิ คา่ pH ของดนิ (ดนิ :นา = 1:1) 18
3 คา่ ความเป็นกรด – ด่างของดิน หลังการทดลอง ทีร่ ะดบั ความลกึ 0 – 15 เซนตเิ มตร 18
4 การประเมนิ ระดบั อนิ ทรียวตั ถุในดนิ (Walkly and Black method) 19
5 ปรมิ าณอินทรียวตั ถุ (%) ของดินหลงั การทดลอง ที่ระดบั ความลึก 0 – 15 เซนตเิ มตร 19
6 การประเมนิ ระดบั ธาตุฟอสฟอรสั ทเี่ ป็นประโยชน์ (Mehlich I method) 20

ปรมิ าณธาตุฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ (Available P) (มิลลิกรมั /กิโลกรัม ) ของดิน 20
7 หลังการทดลอง ที่ระดบั ความลึก 0 – 15 เซนตเิ มตร 21
8 การประเมนิ ระดับธาตุโพแทสเซยี มท่แี ลกเปลีย่ นได้ (Mehlich I method)
9 ปรมิ าณธาตุโพแทสเซยี มทีแ่ ลกเปลี่ยนได้ (Exchangeable K) (มลิ ลกิ รัม/กิโลกรมั ) 21
22
ของดินหลังการทดลอง ทร่ี ะดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร 23
10 ความสงู เฉลี่ยของต้นข้าวโพด เมือ่ อายุ 40 วัน (เซนติเมตร) 24
11 ความสูงเฉลี่ยของต้นขา้ วโพด เมื่ออายุ 80 วนั (เซนติเมตร) 25
12 ความสงู เฉล่ยี ของตน้ ข้าวโพด เมอ่ื อายุ 120 วัน (เซนตเิ มตร) 26
13 นาหนักฝกั สดเฉล่ยี ของขา้ วโพด (กโิ ลกรมั /ไร่) 27
14 ความสูงเฉลี่ยของตน้ ถว่ั เม่อื อายุ 40 วัน (เซนติเมตร) 28
15 ความสงู เฉลย่ี ของต้นถว่ั เมื่ออายุ 80 วัน (เซนติเมตร) 29
16 ความสูงเฉลี่ยของตน้ ถ่ัว เมอื่ อายุ 120 วนั (เซนติเมตร)
17 นาหนักฝักสดเฉล่ียของถัว่ (กโิ ลกรมั /ไร)่



สารบัญตารางภาคผนวก

ตารางภาคผนวกท่ี หน้า
1 วิเคราะหค์ วามแปรปรวนคา่ ความเปน็ กรดเป็นด่างของดิน (pH) 34
หลังเกบ็ เกี่ยวผลผลิตของข้าวโพดและถว่ั ปี 2553 34
2 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนคา่ ความเป็นกรดเป็นดา่ งของดนิ (pH) 35
หลังเกบ็ เก่ยี วผลผลิตของขา้ วโพดและถ่ัว ปี 2554 35
3 วิเคราะห์ความแปรปรวนปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุ (%) 36
หลงั เก็บเกย่ี วผลผลิตของข้าวโพดและถว่ั ปี 2553 36
4 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนปริมาณอนิ ทรียวตั ถุ (%) 37
หลังเกบ็ เกยี่ วผลผลิตของข้าวโพดและถว่ั ปี 2554 37
5 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนปริมาณธาตฟุ อสฟอรสั ที่เปน็ ประโยชน์ (mg/kg-1) 38
หลงั เกบ็ เกี่ยวผลผลิตของขา้ วโพดและถั่ว ปี 2553 38
6 วิเคราะห์ความแปรปรวนปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรสั ท่ีเปน็ ประโยชน์ (mg/kg-1) 39
หลังเกบ็ เกย่ี วผลผลิตของขา้ วโพดและถว่ั ปี 2554 39
7 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนปริมาณธาตโุ พแทสเซยี มทแ่ี ลกเปลย่ี นได้ 40
(mg/kg-1) หลังเกบ็ เกย่ี วผลผลิตของข้าวโพดและถว่ั ปี 2553 40
8 วเิ คราะห์ความแปรปรวนปรมิ าณธาตโุ พแทสเซยี มท่แี ลกเปลยี่ นได้
(mg/kg-1) หลังเก็บเกยี่ วผลผลติ ของขา้ วโพดและถ่ัว ปี 2554
9 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสูงเฉลี่ยของตน้ ข้าวโพด
เมอ่ื อายุ 40 วัน (เซนติเมตร) ปี 2553
10 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสูงเฉลี่ยของตน้ ขา้ วโพด
เม่อื อายุ 40 วัน (เซนตเิ มตร) ปี 2554
11 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสงู เฉลย่ี ของต้นขา้ วโพด
เมือ่ อายุ 80 วัน (เซนตเิ มตร) ปี 2553
12 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสงู เฉลี่ยของตน้ ข้าวโพด
เม่อื อายุ 80 วัน (เซนติเมตร) ปี 2554
13 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉล่ียของตน้ ขา้ วโพด
เมื่ออายุ 120 วัน (เซนตเิ มตร) ปี 2553
14 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสงู เฉลี่ยของตน้ ขา้ วโพด
เมือ่ อายุ 120 วัน (เซนติเมตร) ปี 2554

สารบัญตารางภาคผนวก (ต่อ) ง

ตารางภาคผนวกท่ี หน้า
15 วเิ คราะห์ความแปรปรวนนาหนักฝกั สดเฉลีย่ ของข้าวโพด 41
(กิโลกรัม/ไร)่ ปี 2553 41
16 วิเคราะห์ความแปรปรวนนาหนักฝกั สดเฉลยี่ ของข้าวโพด 42
(กโิ ลกรมั /ไร่) ปี 2554 42
17 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉลยี่ ของตน้ ถ่วั 43
เมื่ออายุ 40 วนั (เซนตเิ มตร) ปี 2553 43
18 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสูงเฉลี่ยของต้นถว่ั 44
เมอ่ื อายุ 40 วัน (เซนติเมตร) ปี 2554 44
19 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสูงเฉลย่ี ของตน้ ถ่วั 45
เม่อื อายุ 80 วนั (เซนติเมตร) ปี 2553 45
20 วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉลย่ี ของตน้ ถวั่ 46
เมื่ออายุ 80 วนั (เซนติเมตร) ปี 2554 47
21 วิเคราะห์ความแปรปรวนความสงู เฉลย่ี ของตน้ ถั่ว
เม่อื อายุ 120 วนั (เซนตเิ มตร) ปี 2553
22 วเิ คราะห์ความแปรปรวนความสงู เฉลี่ยของต้นถ่วั
เมอ่ื อายุ 120 วนั (เซนติเมตร) ปี 2554
23 วิเคราะห์ความแปรปรวนนาหนกั ฝักสดเฉลย่ี ของถั่ว
(กโิ ลกรมั /ไร่) ปี 2553
24 วเิ คราะห์ความแปรปรวนนาหนกั ฝักสดเฉลย่ี ของถ่ัว
(กโิ ลกรัม/ไร)่ ปี 2554
25 คณุ สมบตั ทิ างเคมี กล่มุ ชุดดนิ ท่ี 29
26 แสดงการกระจายของกลุ่มชุดดนิ คา่ ความอุดมสมบูรณด์ นิ คา่ ความเปน็
กรดเป็นดา่ งของดนิ ในพนื ทจี่ ังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน

ชอ่ื โครงการ ศึกษาพชื ตระกูลถั่วพันธพ์ุ ื้นเมืองของจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ในปรับปรงุ บารงุ ดิน
สาหรับการปลูกข้าวโพด
ทะเบียนวิจัยเลขที่ Study on local green manure legumes of Maehongson Province for
กลุ่มชดุ ดินที่ improvement of soils and growing Maize
ผ้ดู าเนินการ
53 54 05 12 04000 020 109 01 11

29 ชุดดินบา้ นจอ้ ง (Ban Chong series: Bg)

นางสาววรรณพุฒิ เตยี วกุล Ms. Wannaput Teowkul

บทคดั ย่อ

จากการศกึ ษาใชพ้ ชื ตระกูลถ่ัวพนั ธ์ุพ้นื เมืองของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อปรับปรุงบารุงดินสาหรับการ
ปลกู ข้าวโพดนน้ั มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื จงู ใจให้เกษตรกรในพ้นื ทจ่ี งั หวดั แม่ฮ่องสอนนาพืชตระกูลถั่วพันธ์ุพื้นเมือง
ของจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน มาใช้เป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อปรับปรุงบารุงดินสาหรับปลูกข้าวโพด เห็นประโยชน์ของการ
ใชพ้ ชื ปุ๋ยสดในการปรับปรุงบารุงดนิ และเพม่ิ รายได้จากการจาหน่ายพืชปุ๋ยสด โดยทาการทดลองในกลุ่มชุด
ดนิ ที่ 29 ชดุ ดนิ บ้านจอ้ ง แปลงเกษตรกร บา้ นนา้ กัด หมู่ 2 ต.ห้วยกดั อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ระหว่างเดือน
ตุลาคม 2552 ถึง เดือน กันยายน 2554 วางแผนการทดลองแบบ Split Plot in RCBD จานวน 3 ซ้า โดย
ให้ถั่ว 2 สายพันธ์ุ คือ ถ่ัวแปยี และ ถ่ัวน้าหนัก เป็น Main plot ส่วนวันท่ีปลูกถ่ัว 3 ระยะ คือ 1 ปลูกถั่ว
พร้อมกับปลูกข้าวโพด, 2 ปลูกถ่ัวหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน และ 3 ปลูกถั่วหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน เป็น
Sub plot

การเปลย่ี นแปลงของสมบตั ทิ างเคมีดนิ บางประการก่อนและหลังการทดลอง 2 ปี พบวา่ ค่าความเป็น
กรดเป็นด่างของดิน (pH) และปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ส่วนปริมาณธาตุ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (Exchangeable K)
มีแนวโนม้ ลดลงเล็กนอ้ ย ซง่ึ ความเปลยี่ นแปลงดังกล่าวไมม่ ีความแตกตา่ งกันทางสถิติ ซึ่งอาจเนื่องมาจากมีการ
แข่งขันการใชธ้ าตุอาหารในดินของขา้ วโพดและถ่ัว โดยเฉพาะในช่วงการเจริญเติบโตและออกดอก

ด้านข้าวโพดนัน้ พบว่าจากการทดลองทง้ั 2 ปนี ั้น พบว่าการปลกู ถั่วรว่ มกับการปลูกข้าวโพดน้ัน ไม่มี
ผลต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด แต่มีผลต่อน้าหนักฝักสดของต้นข้าวโพด โดยชนิดของถั่วที่ปลูกส่งผลให้
ผลผลติ ของข้าวโพดลดลง อย่างมนี ัยสาคัญ ในปที ี่ 1 ส่วนวนั ท่ีปลูกถั่วส่งผลให้ผลผลิตของข้าวโพดลดลง อย่าง
มนี ัยสาคัญในปที ่ี 2

ด้านพืชตระกูลถั่ว พบว่า ระเบียบวิจัยที่มีการปลูกพืชตระกูลถั่วหลังจากปลูกข้าวโพดมีการ
เจริญเติบโตในช่วงแรกต่ากว่าระเบียบวิจัยที่มีการปลูกพืชตระกูลถั่วพร้อมกับการปลูกข้าวโพด โดยท้ังชนิด
ของถว่ั และช่วงวันท่ีปลกู ถ่ัวมีผลต่อความสงู ของถั่ว อย่างมีนัยสาคัญย่ิง ส่วนด้านผลผลิตของถ่ัวน้ัน พบว่า มี
ความแตกตา่ งระหวา่ งผลผลิตของถว่ั แปยีปละถั่วน้าหนัก อย่างมีนัยสาคัญย่ิง ซึ่งถั่วน้าหนักทุกระเบียบวิจัยจะ
ใหผ้ ลผลติ มากกว่าถ่ัวแปยปี ระมาณ 1,500 กิโลกรัม/ไร่ สาเหตุท่ีถั่วท้ัง 2 ชนิดมีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่างกัน

2

มาก เนื่องจากลักษณะการเก็บเกี่ยวโดยถ่ัวน้าหนักนิยมบริโภคฝักอ่อน ซึ่งมีอายุการเก็บเก่ียวประมาณ 1
เดอื น ในขณะทีถ่ ่วั แปยีจะเกบ็ เกี่ยวเปน็ เมล็ดแหง้ และในชว่ งที่ทาการทดลองไมต่ ้องกับฤดูปลูกของถ่ัวแปยีซ่ึง
เกษตรกรนิยมเร่ิมปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคม ซ่ึงไมต่ รงชว่ งท่ีทาการทดลองทาให้ไดผ้ ลผลิตถั่วแปยีน้อย

ชอ่ื โครงการ ศึกษาพชื ตระกูลถั่วพันธพ์ุ ื้นเมืองของจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ในปรับปรงุ บารงุ ดิน
สาหรับการปลูกข้าวโพด
ทะเบียนวิจัยเลขที่ Study on local green manure legumes of Maehongson Province for
กลุ่มชดุ ดินที่ improvement of soils and growing Maize
ผ้ดู าเนินการ
53 54 05 12 04000 020 109 01 11

29 ชุดดินบา้ นจอ้ ง (Ban Chong series: Bg)

นางสาววรรณพุฒิ เตยี วกุล Ms. Wannaput Teowkul

บทคดั ย่อ

จากการศกึ ษาใชพ้ ชื ตระกูลถ่ัวพนั ธ์ุพ้นื เมืองของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อปรับปรุงบารุงดินสาหรับการ
ปลกู ข้าวโพดนน้ั มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื จงู ใจให้เกษตรกรในพ้นื ทจ่ี งั หวดั แม่ฮ่องสอนนาพืชตระกูลถั่วพันธ์ุพื้นเมือง
ของจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน มาใช้เป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อปรับปรุงบารุงดินสาหรับปลูกข้าวโพด เห็นประโยชน์ของการ
ใชพ้ ชื ปุ๋ยสดในการปรับปรุงบารุงดนิ และเพม่ิ รายได้จากการจาหน่ายพืชปุ๋ยสด โดยทาการทดลองในกลุ่มชุด
ดนิ ที่ 29 ชดุ ดนิ บ้านจอ้ ง แปลงเกษตรกร บา้ นนา้ กัด หมู่ 2 ต.ห้วยกดั อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ระหว่างเดือน
ตุลาคม 2552 ถึง เดือน กันยายน 2554 วางแผนการทดลองแบบ Split Plot in RCBD จานวน 3 ซ้า โดย
ให้ถั่ว 2 สายพันธ์ุ คือ ถ่ัวแปยี และ ถ่ัวน้าหนัก เป็น Main plot ส่วนวันท่ีปลูกถ่ัว 3 ระยะ คือ 1 ปลูกถั่ว
พร้อมกับปลูกข้าวโพด, 2 ปลูกถ่ัวหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน และ 3 ปลูกถั่วหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน เป็น
Sub plot

การเปลย่ี นแปลงของสมบตั ทิ างเคมีดนิ บางประการก่อนและหลังการทดลอง 2 ปี พบวา่ ค่าความเป็น
กรดเป็นด่างของดิน (pH) และปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ส่วนปริมาณธาตุ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (Exchangeable K)
มีแนวโนม้ ลดลงเล็กนอ้ ย ซง่ึ ความเปลยี่ นแปลงดังกล่าวไมม่ ีความแตกตา่ งกันทางสถิติ ซึ่งอาจเนื่องมาจากมีการ
แข่งขันการใชธ้ าตุอาหารในดินของขา้ วโพดและถ่ัว โดยเฉพาะในช่วงการเจริญเติบโตและออกดอก

ด้านข้าวโพดนัน้ พบว่าจากการทดลองทง้ั 2 ปนี ั้น พบว่าการปลกู ถั่วรว่ มกับการปลูกข้าวโพดน้ัน ไม่มี
ผลต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด แต่มีผลต่อน้าหนักฝักสดของต้นข้าวโพด โดยชนิดของถั่วที่ปลูกส่งผลให้
ผลผลติ ของข้าวโพดลดลง อย่างมนี ัยสาคัญ ในปที ี่ 1 ส่วนวนั ท่ีปลูกถั่วส่งผลให้ผลผลิตของข้าวโพดลดลง อย่าง
มนี ัยสาคัญในปที ่ี 2

ด้านพืชตระกูลถั่ว พบว่า ระเบียบวิจัยที่มีการปลูกพืชตระกูลถั่วหลังจากปลูกข้าวโพดมีการ
เจริญเติบโตในช่วงแรกต่ากว่าระเบียบวิจัยที่มีการปลูกพืชตระกูลถั่วพร้อมกับการปลูกข้าวโพด โดยท้ังชนิด
ของถว่ั และช่วงวันท่ีปลกู ถ่ัวมีผลต่อความสงู ของถั่ว อย่างมีนัยสาคัญย่ิง ส่วนด้านผลผลิตของถ่ัวน้ัน พบว่า มี
ความแตกตา่ งระหวา่ งผลผลิตของถว่ั แปยีปละถั่วน้าหนัก อย่างมีนัยสาคัญย่ิง ซึ่งถั่วน้าหนักทุกระเบียบวิจัยจะ
ใหผ้ ลผลติ มากกว่าถ่ัวแปยปี ระมาณ 1,500 กิโลกรัม/ไร่ สาเหตุท่ีถั่วท้ัง 2 ชนิดมีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่างกัน

2

มาก เนื่องจากลักษณะการเก็บเกี่ยวโดยถ่ัวน้าหนักนิยมบริโภคฝักอ่อน ซึ่งมีอายุการเก็บเก่ียวประมาณ 1
เดอื น ในขณะทีถ่ ่วั แปยีจะเกบ็ เกี่ยวเปน็ เมล็ดแหง้ และในชว่ งที่ทาการทดลองไมต่ ้องกับฤดูปลูกของถ่ัวแปยีซ่ึง
เกษตรกรนิยมเร่ิมปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคม ซ่ึงไมต่ รงชว่ งท่ีทาการทดลองทาให้ไดผ้ ลผลิตถั่วแปยีน้อย

3

หลักการและเหตผุ ล

สบื เนอ่ื งจากกิจกรรมหลักทีส่ าคัญอยา่ งหนงึ่ ของกรมพัฒนาทดี่ นิ คอื การสง่ เสริมการใช้ปุ๋ยพืชสดเพ่ือเป็น
การส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และลดการใช้ปุ๋ยเคมีนั้น โดยพืชปุ๋ยสดที่กรมพัฒนาท่ีดินส่งเสริมให้มีการปลูกใน
จังหวดั แม่ฮ่องสอน คือ ถวั่ พร้า และปอเทอื ง ในแต่ละปงี บประมาณทางกรมพัฒนาที่ดินมีกิจกรรมส่งเสริมการ
ผลิตเมล็ดพันธ์ุพืชปุ๋ยสด แล้วรับซ้ือคืนจากเกษตรกร เพื่อแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรผู้สนใจในปีงบประมาณ
ถัดไป แต่มีบางส่วนทเ่ี กษตรกรได้ทาการไถกลบเพื่อปรับปรุงบารุงดิน จึงทาให้เมล็ดพันธ์ุพืชปุ๋ยสดที่ซื้อคืนจาก
เกษตรกรในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีปริมาณไม่มากนกั จึงตอ้ งจัดซอื้ เพิ่มเติมจากจังหวัดอื่น ซึ่งค่าขนส่งมีราคาแพง
เนื่องจากการเดินทางลาบาก โดยปอเทืองเปน็ พืชปุย๋ สดที่นิยมปลกู มากทสี่ ุดในจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน แต่เมล็ดพันธุ์
หาได้ยากในจังหวัดแมฮ่ ่องสอน สว่ นถว่ั พรา้ เกษตรกรไมน่ ิยมปลกู เนอ่ื งจากการไถกลบลาบากและเมล็ดพันธ์ุมีพิษ
ไม่สามารถนามาบริโภค อีกทงั้ การปลูกพชื ป๋ยุ สดนั้นเกษตรกรต้องลงทนุ ทั้งเงิน แรงงาน และเวลาในการปลูกพืช
ปุ๋ยสดดังกล่าว การเพ่ิมรายได้จากการปลูกพืชปุ๋ยสด คือ การผลิตเพ่ือจาหน่ายเมล็ดพันธ์ุพืชปุ๋ยสดเท่าน้ัน
ดังน้ันเกษตรกรส่วนใหญ่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนจึงนิยมปลูกพืชชนิดอ่ืนนอกจากพืชหลักชนิดอ่ืนเพื่อเพิ่มรายได้
โดยไมม่ ปี รับปรงุ บารงุ ดิน ส่งผลให้ผลผลิตที่ได้ไม่มีคุณภาพและได้ปริมาณน้อย และมีการใช้ปุ๋ยเคมีเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากดนิ ขาดความอดุ มสมบูรณ์

แต่ในทอ้ งถิ่นจงั หวัดแม่ฮ่องสอนมีการปลูกพืชตระกูลถั่วพันธ์ุพื้นเมืองหลายชนิดเพื่อบริโภคฝักสด หรือ
เมลด็ อ่อน ดังนนั้ งานวิจัยนจี้ งึ มุ่งศึกษาการนาพืชตระกลู ถ่วั พนั ธุพ์ ้ืนเมืองในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมาใช้ประโยชน์ใน
การนามาใช้เป็นพืชปุย๋ สด เพราะเปน็ พืชทเ่ี กษตรกรรู้จักหรือคนุ้ เคยเป็นอย่างดี โดยหลังจากเก็บเก่ียวผลหรือฝัก
สดเพอื่ บรโิ ภคในครวั เรอื นหรือจาหน่ายในท้องถิ่นแล้ว เกษตรกรยังสามารถไถกลบส่วนของลาต้นท่ียังสดและมีสี
เขียวอยู่ เพ่ือใช้เป็นพืชปุ๋ยสดเพ่ือปรับปรุงบารุงดินได้ และเนื่องจากลักษณะของถั่วพันธุ์พื้นเมืองในจังหวัด
แมฮ่ อ่ งสอนเป็นลาต้นแบบเล้อื ยสามารถใชป้ ระโยชน์ในการปล่อยคลุมดินเพ่ือควบคุมวัชพืชได้ และปลูกเป็นพืช
เหลือ่ มฤดรู ว่ มกบั การปลูกข้าวโพดได้ นอกจากน้เี มล็ดพันธ์ุยังหาไดง้ ่ายท้องถิ่นและมรี าคาไม่แพง และยังสามารถ
นามาบรโิ ภคและจาหน่ายเพิม่ เป็นการเพม่ิ รายได้ได้อกี ทางหนึ่งด้วย

วตั ถุประสงค์

1 สามารถนาพืชตระกลู ถั่วพนั ธ์พุ นื้ เมอื งของจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน มาใชเ้ ป็นพชื ป๋ยุ สดเพอ่ื ปรับปรุงบารุง
ดนิ สาหรับปลูกข้าวโพด

2 เพือ่ ใหเ้ กษตรกรจงั หวดั แม่ฮอ่ งสอนเห็นประโยชน์ของการใชพ้ ืชป๋ยุ สดในการปรับปรุงบารุงดิน และ
เพ่ิมรายไดจ้ ากการจาหน่ายพชื ปุย๋ สด

4

ขอบเขตการศึกษา

เปน็ การศึกษาการปลูกพชื ตระกูลถั่วพันธุ์พ้ืนเมืองเพ่ือปรับปรุงบารุงดินสาหรับปลูกข้าวโพด ในพื้นที่
จงั หวดั แม่ฮ่องสอน โดยทยี่ งั คงรกั ษาหรือเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตข้าวโพด ระยะเวลาศึกษาวิจัย 2
ปี เริ่มต้นเดือนตุลาคม 2552 ส้ินสุดเดือนกันยายน 2554 ในพ้ืนท่ีแปลงเกษตรกร บ้านน้ากัด ม.2 ต.
หว้ ยผา อ.เมือง จ.แมฮ่ อ่ งสอน

การตรวจเอกสาร

1. ข้อมลู พืน้ ที่จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นจังหวัดชายแดนจังหวัดหน่ึง ซ่ึงมีอาณาเขตติดต่อกับสหภาพพม่า ต้ังอยู่
ทางด้านตะวันตกสุดของภาคเหนือ พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน มีพื้นท่ีท้ังหมด 12,681.259
ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย พื้นที่ปกครอง 7 อาเภอ 45 ตาบล ได้แก่ อาเภอปาย, อาเภอปางมะผ้า,
อาเภอเมือง, อาเภอขุนยวม, อาเภอแม่ลาน้อย, อาเภอแม่สะเรียง และ อาเภอสบเมย จากการสารวจ
ทรัพยากรดิน โดยส่วนสารวจจาแนกดินที่ 3 สานักสารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน (2552) พบว่า
ทรัพยากรทีด่ ิน ในพ้นื ที่จังหวดั แมฮ่ ่องสอน เม่ือพิจารณาตามสภาพพื้นที่สามารถแยกได้เป็น ดินในท่ีดอนและ
ดินในทีล่ ่มุ มีทั้งสนิ้ 12 กลมุ่ ชุดดิน ประกอบด้วย กลุ่มชุดดินท่ี 5, กลุ่มชุดดินที่ 22, กลุ่มชุดดินท่ี 29, กลุ่มชุด
ดนิ ท่ี 31, กล่มุ ชดุ ดนิ ที่ 38, กลุ่มชุดดินท่ี 44, กลุ่มชุดดินที่ 47, กลุ่มชุดดินท่ี 48, กลุ่มชุดดินที่ 55, กลุ่มชุด
ดินท่ี 56 และกลุม่ ชุดดินท่ี 62

2. กลมุ่ ชดุ ดินท่ี 29 ชดุ ดินบ้านจ้อง (Bg), ชุดดินเชยี งของ (Cg), ชดุ ดินโชคชัย (Ci), ชุดดนิ แมแ่ ตง (Mt), ชดุ ดิน
หนองมด (Nm), ชดุ ดินปากช่อง (Pc) และชดุ ดินสูงเนิน (Sn)

ลักษณะและสมบัติของดนิ เป็นกลมุ่ ดินเหนียวลกึ มากท่ีเกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อละเอียดหรือ
ตะกอนลาน้า มสี ภาพพื้นทีค่ ่อนขา้ งเรียบถึงเป็นเนินเขา มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีน้าตาล ดินล่างมีสี
น้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง การระบายน้าดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงด่าง
เลก็ นอ้ ย ปัญหาการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า ขาดแคลนน้า และในพื้นท่ีที่มีความลาด
ชันมีการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดิน แนวทางการจัดการดิน การปลูกพืชไร่หรือพืชผัก สภาพพื้นท่ี
ค่อนข้างราบเรยี บ ปรับปรงุ ดินด้วยปยุ๋ หมกั หรือปยุ๋ คอก 1-2 ตนั /ไร่ หรอื ไถกลบพืชปุ๋ยสด (หว่านเมล็ดถั่วพร้า
8-10 กโิ ลกรมั /ไร่ เมลด็ ถั่วพุ่ม 6-8 กโิ ลกรมั /ไร่ หรือปอเทือง 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อย
ไว้ 1-2 สัปดาห)์ รว่ มกับการใช้ปุย๋ เคมหี รือปยุ๋ อนิ ทรยี น์ า้ มีระบบอนรุ กั ษ์ดินและน้า เช่น ไถพรวนและปลูกพืช
ตามแนวระดับ มวี ัสดคุ ลมุ ดิน ปลกู พืชหมนุ เวียนหรือปลูกพชื สลบั เปน็ แถบ พฒั นาแหลง่ นา้ และจัดระบบการให้
นา้ ในแปลงปลูก พ้นื ท่ที เ่ี ป็นกรดจัดมาก ควรใชว้ ัสดุปูน 200-300 กิโลกรัม/ไร่ สภาพพ้ืนท่ีราบเรียบถึงเป็นลูก
คลน่ื ลอนลาดเลก็ น้อย ควรมกี ารจัดระบบการปลกู พืชใหห้ มุนเวียนตลอดปีและมีการปรับปรุงบารุงดินร่วมด้วย
ปรับปรุงบารงุ ดินด้วยปยุ๋ หมักหรอื ปยุ๋ คอก อัตรา 1-2 ตัน/ไร่ หรือหว่านเมล็ดถ่ัวพร้าอัตรา 8-10 กิโลกรัม/ไร่,
เมล็ดถ่วั พุ่ม 6-8 กิโลกรมั /ไร่, ปอเทือง 4-6 กิโลกรัม/ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ร่วมกับ

5

การใช้ปุ๋ยเคมหี รอื ปุย๋ อินทรีย์นา้ พน้ื ที่ทเี่ ป็นกรดจัดมากควรใช้วัสดุปูน 200-300 กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปลูกพืชไร่
หรือพชื ผัก มรี ะบบอนุรักษด์ ินและนา้ โดยวิธกี ล เช่น ไถพรวนและปลกู พืชตามแนวระดับ หรือโดยวิธีพืช เช่น
ปลูกพชื ปุ๋ยสด วสั ดคุ ลุมดนิ ปลกู พชื หมุนเวยี น ปลกู พืชสลับเปน็ แถบหรือโดยวิธีกลร่วมกับวิธีพืช สาหรับสภาพ
พ้ืนที่ที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นเนินเขาไม่เหมาะสาหรับการปลูกพืชผัก การปลูกพืชไร่ มีมาตรการ
อนุรักษ์ดินและน้าโดยวิธีกล เช่น การปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพืชสลับเป็นแถบ หรือโดยวิธีกลร่วมกับวิธีพืช
จัดการระบบชลประทานและระบบการให้น้าในพน้ื ท่ีปลกู

3. ข้อมลู ชนิดพชื

3.1 ถ่วั นา้ หนัก

ในท้องถน่ิ ของจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอนนิยมปลกู ถัว่ นา้ หนักหรอื ถ่วั มันหมู ซึ่งเปน็ ถัว่ พนั ธพุ์ น้ื เมืองประเภท
เล้ือยชนิดหน่ึงในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน เพ่ือไวร้ ับประทานในครวั เรอื นและจาหน่ายในท้องถิน่ จากการสอบถาม
จากเกษตรกรพบวา่ ถว่ั น้าหนกั มลี ักษณะคล้ายถ่ัวแปบ (Dolichos lablab Linn.) แตเ่ มลด็ และฝกั มขี นาด
ใหญ่กว่าถ่ัวแปบ นิยมปลูกมากในช่วงปลายฤดูฝนหรอื ในช่วงเดอื นมิถนุ ายน - กรกฎาคม และเก็บเมลด็ ออ่ น
เพอ่ื รบั ประทานในชว่ งเดอื นตุลาคม - พฤศจกิ ายน

ถว่ั แปบ (lablab bean/Dolichos bean) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ คือ Dolichos lablab Linn. มลี าต้น
เป็นไมเ้ ลื้อยลาต้นบดิ มีขนเลก็ น้อย สูงประมาณ 1.5 เมตร - 3 เมตร บางพนั ธอ์ าจสงู ไดถ้ ึงประมาณ 9 เมตร
ลกั ษณะของใบ เปน็ ใบประกอบ 3 ใบ คล้ายรูปไขป่ ลายเรียวแหลม ดอกมี 2 ชนดิ คอื ชนดิ ดอกสขี าว และชนิด
ดอกสมี ่วง เมลด็ อ่อนจะมสี เี ขยี ว เม่ือแกจ่ ะมีสนี ้าตาลเข้ม หรอื เป็นสีดาเมือ่ แก่จดั โดยท่วั ไปมี 2 ชนดิ คอื ถ่วั แปบ
เขียว (สีฝักจะมีสีเขยี วเขม้ ) และถ่ัวแปบขาว (ลักษณะฝักจะมีสีเขยี วซดี ขาว) ใชฝ้ กั อ่อน เมล็ด ใชป้ ระกอบ
อาหาร ใชเ้ ป็นสมนุ ไพรบารุงร่างกาย แก้ออ่ นเพลยี บารงุ ธาตุ แก้ไข้ แกอ้ าการแพ้ นยิ มปลกู เปน็ พืชอาหาร
สตั วพ์ ืช และใชส้ าหรับทาปุ๋ย หรือเปน็ พชื เพือ่ การอนุรกั ษ์ดินและนา้ ในสว่ นของรากถวั่ แปบมีเอนไซม์ชนิด
หนง่ึ และกรดอะมโิ นแยกอสิ ระอกี หลายชนิด จึงเหมาะแก่การปลูกถั่วแปบเพอื่ บารุงรกั ษาดิน ปลูกเพือ่ ไถกลบ
เปน็ ป๋ยุ พืชสด ใชอ้ ตั รา 5 กโิ ลกรมั /ไร่ จะไดน้ า้ หนกั สดประมาณ 5 ตัน/ไร่ การปลูกเพ่อื เก็บเมล็ดพนั ธุ์ ใช้
อตั รา 3-4 กิโลกรัม/ไร่ (กรมพฒั นาที่ดนิ ,2545) เพ่ือใช้เป็นพืชคลมุ ดนิ ปอ้ งกันการชะล้างและพังทลายได้
(กรมพฒั นาทดี่ นิ ,2539)

3.2 ถัว่ แปยี

ถวั่ แปยี (Hyacinth Bean (จีน), Lablab) ชอื่ วิทยาศาสตร์ คือ Lablab purpureus Sweet. บางที
เรยี กวา่ ถว่ั แปบ หรอื ถว่ั แลป็ แล็ป อายุ 1-2 ปี มีเถาแตไ่ ม่เล้อื ยพันแบบเถาวัลย์ ใบเปน็ แบบใบรวม มีใบยอ่ ย
3 ใบ ขนาดใหญ่ กว้างประมาณ 5 เซนตเิ มตร ยาว 7-8 เซนตเิ มตร ดอกสีขาวเปน็ ชอ่ ยาว 10-15 เซนตเิ มตร
เปน็ พืชตระกูลถัว่ ที่มีการเจรญิ เติบโตรวดเร็วมาก ข้นึ ไดด้ ใี นพน้ื ทด่ี นิ ทราย มีระบบรากลึก ถอื วา่ เป็นพืชบารุง
ดินทดี่ มี ากชนิดหน่ึง (สุขุม, 2550)

6

3.3 ขา้ วโพด

ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ (Maize, Corn) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Zea mays L. รากของข้าวโพดมีระบบท่ีเรียกว่า
ระบบรากฝอย (fibrous root system) ขา้ วโพดมลี าต้นแข็ง ไสแ้ นน่ ไมก่ ลวงเหมอื นพืชอ่นื ความสูงของลาต้น
มีต้ังแต่ 60 เซนติเมตร จนถึง 6 เมตร แล้วแต่ชนิดของพันธุ์ ลักษณะของใบข้าวโพดก็มีความแตกต่างกัน
แล้วแต่พนั ธ์ุ จานวนใบมีต้งั แต่ 8-48 ใบ ข้าวโพดมีดอกตัวผู้ และดอกตวั เมยี อยู่แยกกัน แตอ่ ย่ใู นต้นเดยี วกัน

การปลกู ข้าวโพดในสภาพไร่ ควรปลูกในฤดูฝน ซึ่งสามารถปลูกได้ทั้งต้นฤดูฝน คือ ตั้งแต่ปลายเดือน
มีนาคมถึงต้นเดือนมิถุนายน และ ปลายฤดูฝน คือ ตั้งแต่กลางเดือนกรกฎาคมถึงกลางเดือนสิงหาคม การ
เตรยี มดนิ ปลูกข้าวโพด ควรไถอยา่ งน้อย 2 คร้ัง คือ ไถดะ คือ ไถคร้งั แรกด้วยผาน 3 หรือผาน 4 ควรไถให้ลึก
ประมาณ 30 เซนติเมตรเพื่อพลิกหน้าดนิ ชว่ ยให้ระบายนา้ ไดด้ ขี น้ึ และชว่ ยในการกาจัดวัชพืชและเศษซากพืช
ตา่ งๆ ในดนิ ทาความสะอาดแปลงไปดว้ ยในตวั หลังจากไถดะเสรจ็ แล้ว ควรตากดินไว้ระยะหนง่ึ แล้วจึงไถแปร
ควรไถด้วยผาน 7 เพื่อย่อยดินก้อนใหญ่ให้แตกและร่วนซุยมากยิ่งขึ้นถ้ามีความจาเป็น อาจมีการพรวนซ้า
เพื่อใหด้ ินละเอียดเหมาะแกก่ ารปลูกขา้ วโพด

วิธกี ารปลูก ทาได้ 2 วิธี คือ
1. ปลูกดว้ ยเคร่อื งปลกู หลังจากไถแปรจนดินมีความร่วนซุยดีแล้ว ควรรอให้ฝนตกดีก่อนทาการ

ปลูก (ฝนตกอยา่ งนอ้ ย 20 มิลลเิ มตร) ปลกู ขณะดนิ ช้นื ซงึ่ จะทาใหเ้ มลด็ ขา้ วโพดงอกได้ดี ในการปลูกควรปรับ
เครอ่ื งปลกู ใหม้ ีระยะระหวา่ งแถว 75 เซนตเิ มตร ระยะระหว่างหลุมประมาณ 20 - 25 เซนติเมตร ปลูกลึก
4 - 5 เซนติเมตร

2. ใชแ้ รงคนปลกู หลังจากไถแปรแลว้ ต้องรอให้ฝนตกอย่างน้อย 20 มิลลิเมตร ดินจะมีความชื้น
ให้ทาการชักร่องซึ่งอาจใช้ วัว - ควาย รถไถก็ได้ โดยชักร่องให้มีระยะระหว่างร่อง 75 เซนติเมตร แล้วใช้คน
หยอดเมล็ดลงในรอ่ งให้มรี ะยะระหว่างหลุม 25 เซนติเมตร แลว้ กลบดินหนา 4 – 5 เซนติเมตร โดยใช้เมล็ด 1
เมลด็ / หลมุ ใช้เมล็ดพนั ธ์ุ 3 กโิ ลกรมั / ไร่

การใส่ปยุ๋
ควรมกี ารใสป่ ยุ๋ ให้ต้นข้าวโพด เพ่ือให้มีธาตุอาหารใช้ในการสร้างผลผลิตให้เพิ่มข้ึน ซ่ึงการใส่ปุ๋ยควร
แบ่งใส่ 2 ครั้ง

1. ปุ๋ยรองพื้น ควรใส่รองก้นหลุมหรือโรยเป็นแถวแล้วกลบพร้อมปลูก ถ้าใช้เคร่ืองปลูกจะมีถัง
สาหรบั ใสป่ ุ๋ยพร้อมอยูแ่ ลว้ ถา้ ปลกู ด้วยมือ ควรหยอดป๋ยุ ท่ีก้นหลุมแล้วกลบดินบาง ๆ ก่อนหยอดเมล็ด ไม่ควร
ให้ปุ๋ยสัมผัสกับเมล็ดโดยตรง เพราะอาจทาให้เมล็ดเน่าได้ ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้ อาจใช้สูตร 16-20-0, 15-15-15,
20-20-0 หรือสูตรอื่นๆ ตามความเหมาะสม ถ้าเป็นไปได้ ควรมีการวิเคราะห์ดิน เพ่ือหาสูตรปุ๋ยท่ีเหมาะกับ
พื้นที่ โดยปุ๋ยรองพื้น ควรใส่อัตราประมาณ 25 - 30 กโิ ลกรมั /ไร่

2. ปุ๋ยแต่งหน้า หลังจากปลูกประมาณ 25 - 30 วัน ควรมีการใส่ปุ๋ยอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้ปุ๋ยยูเรีย
(46-0-0) โรยขา้ งตน้ ในอัตรา 20 - 25 กโิ ลกรัม/ไร่ ใส่ขณะดินมีความช้ืนหรือใส่แล้วกลบด้วยเครื่องทารุ่น พูน
โคน

7

การปอ้ งกนั และกาจัดวชั พชื
1. หลงั จากปลูกข้าวโพด ก่อนขา้ วโพดงอก (และก่อนหญ้างอกหรือหญ้างอกต้นเล็กไม่เกิน 3 ใบ)

ใหพ้ น่ สารควบคมุ วชั พืชขณะดินชื้น โดยใชส้ ารอาทราซนิ อัตรา 500 กรัม / ไร่ หรืออะลาคลอร์ อัตรา 600
ซีซี / ไร่ หรอื ใช้ทั้งสองอย่างรวมกันโดยใชอ้ าทราซนี 350 กรมั + อะลาคลอร์ 500 กรมั / ไร่

2. ควรมีการทารนุ่ พนู โคน เม่ือข้าวโพดอายุประมาณ 25 - 30 วัน เพื่อเป็นการกาจัดวัชพืชท่ีงอก
ใหม่ โดยการใช้ผานหวั หมู หรอื ใชจ้ อบถาก

3. การกาจัดวชั พชื ถ้ามวี ัชพืชในแปลงข้าวโพดมากอาจใช้สารพาราควอท (กรัมม็อกโซน) ฉีดพ่น
เพอื่ ฆา่ หญ้า โดยใช้อตั รา 80 ซซี ี / นา้ 20 ลิตร ( 8 ช้อนแกง / น้า 1 ปี๊บ ) ทั้งน้กี ารฉีดพ่นจะต้องใช้ด้วยความ
ระมดั ระวงั ไมใ่ ห้สารโดนตน้ ขา้ วโพดเพราะจะทาให้ข้าวโพดไหมต้ ายได้

ความต้องการนา้ ของข้าวโพด
ขา้ วโพดมีความต้องการใชน้ า้ ตลอดฤดปู ลูก ประมาณ 500-600 มิลลิเมตร หรือ ประมาณ 800– 900
ลูกบาศก์เมตร / ไร่ แต่ไม่ชอบน้าท่วมขัง การปลูกข้าวโพดในสภาพไร่ โดยท่ัวไปจะปลูกในช่วงฤดูฝน แต่
บางคร้ังใหน้ ้าไดถ้ า้ ฝนท้งิ ชว่ ง หรอื กรณปี ลูกขา้ วโพดในช่วงหนา้ แลง้ ซึ่งจาเป็นตอ้ งให้น้า มวี ิธปี ฏบิ ัติดังนี้

1. การใหน้ า้ คร้ังแรกเมอื่ ปลูก ในการปลูกข้าวโพด หลงั จากไถพรวนเตรยี มแปลงเสร็จแล้ว ควรให้
นา้ ก่อนปลูกข้าวโพดโดยให้น้า 50 - 65 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ แล้วจึงหยอดข้าวโพดขณะดินมีความช้ืนพอเหมาะ
ถ้าจาเป็นต้องหยอดข้าวโพดก่อนให้น้า ควรให้น้าประมาณ 35 - 50 ลูกบาศก์เมตร/ไร่ ถ้าให้น้ามากกว่าน้ี
จะตอ้ งรีบระบายนา้ ออกจากแปลงทนั ที

2. การให้นา้ ในช่วงระยะการเจริญเติบโตของข้าวโพด หลังจากข้าวโพดงอกแล้วควรให้น้า 65 –
80 ลูกบาศก์เมตร / ไร่ / สัปดาห์ โดยให้อีก 11-12 ครั้ง (สัปดาห์) การให้น้าแต่ละคร้ังไม่ควรให้น้าท่วมขัง
หรือดนิ ช้ืนแฉะเป็นเวลานาน ถา้ ใหน้ ้ามากเกนิ ไป ควรรีบระบายนา้ ออกจากแปลงทนั ที

การเกบ็ เก่ียวขา้ วโพด
ขา้ วโพดพันธ์ุต่างๆ ในประเทศไทย มีอายุเก็บเก่ียวระหว่าง 100 - 120 วัน ซึ่งการเก็บเก่ียว ควรเก็บ
เมือ่ ข้าวโพดแกเ่ ตม็ ที่ กาบหมุ้ ฝักแหง้ ใบแห้ง ( เมล็ดควรมคี วามชื้นไม่เกิน 30% เมือ่ เก็บเก่ียว ) ทาไดท้ ั้ง
ใช้แรงงานคน หรอื ใชเ้ คร่ืองเกบ็ เกีย่ ว (กรมสง่ เสริมการเกษตร,2553)

4. ความสัมพนั ธ์ของระยะเวลาปลกู พืชท่ปี ลกู รว่ มกนั

ในการปลูกพืชร่วมกันไม่ว่าจะปลูกในรูปของพืชสลับ (intercropping) หรือพืชเหล่ือม (relay
cropping) มักจะมีการแข่งขันการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ปลูกร่วมกันเสมอ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการ
ปรับปรุงเทคนิคการปลูกพืชให้เหมาะสม ซ่ึงอาจทาได้หลายทาง แต่แนวทางหนึ่งที่น่าสนใจคือ การทาวิจัย
เพอ่ื หาวันปลกู ทเี่ หมาะสม เพราะพืชท่สี องที่จะตอ้ งปลูกเหล่อื มนน้ั จะต้องเจรญิ เตบิ โตภายใตต้ น้ พืชชนิดแรกอยู่
ในระยหนึ่งก่อนทีพ่ ืชชนดิ แรกจะถกู เกบ็ เกีย่ ว ซึ่งอภิพรรณ (2528) ได้รายงานว่า การปลูกพืชเหลื่อมน้ัน พืช
ชนิดแรกควรจะถึงจุดการสุกแก่ทางสรีระ (physiological maturity) เสียก่อนจึงจะปลูกพืชชนิดที่สองได้
เพ่อื เปน็ การลดการแขง่ ขนั กันในด้านปัจจัยการเจรญิ เตบิ โตระหวา่ งพชื ที่ปลกู ร่วมกนั

8

Francis et al (1978) รายงานวา่ ผลผลิตของถว่ั แดงแบบเล้ือยท่ปี ลูกหลงั ปลูกข้าวโพดแล้ว 15 วัน
น้ันพบวา่ ผลผลิตถั่วแดงลดลง 77% เม่ือเทียบกับการปลูกถ่ัวแดงโดยลาพัง ส่วนผลผลิตถั่วแดงท่ีปลูกพร้อม
ข้าวโพด พบว่าผลผลิตลดลง 64-70% ในขณะท่ีผลผลิตถั่วแบบพุ่มนั้น ผลผลิตลดลง 38-58% ส่วนผลผลิต
ข้าวโพดน้ันไม่พบความแตกต่างทางสถิติ เม่ือเทียบระหว่างการปลูกถ่ัวแดงร่วมกับข้าวโพดและการปลูก
ข้าวโพดโดยลาพงั

Davis et al (1987) รายงานว่าถั่วแดงที่ปลูกเหล่ือมข้าวโพดในช่วงที่ข้าวโพดสุกแก่ทางสรีระ มีผล
ทาให้ผลผลติ ของถัว่ แดงเพ่มิ ข้นึ เป็น 2 เท่า เมื่อเทียบกับการปลกู ถ่ัวพร้อมข้าวโพด

5. การแขง่ ขนั ด้านปจั จัยการเจรญิ เตบิ โตระหว่างพชื ท่ีปลกู ร่วมกนั
โดยทั่วไปแลว้ พชื ท่ปี ลูกร่วมกนั จะมีการแข่งขันกันด้านการใช้ปัจจัยการผลิต เน่ืองจากความแตกต่าง

ของพืช ทั้งในด้านรูปทรง และสรีระวิทยา ตลอดจนความแตกต่างของสัดส่วนประชากรพืช, ช่วงวันปลูก
และการจดั การ (Trenbath, 1981)

6. การแขง่ ขันดา้ นปจั จัยของแสง

การปลูกพชื เหลื่อมฤดูนน้ั พชื ที่สองจะถูกปลูกในระหว่างต้นหรือแถวของพืชแรก จะต้องถูกบังแสง
โดยพืชแรกอยู่ชวงเวลาหน่งึ ซง่ึ ระยะเวลาการบังแสงจะนานเพียงใดข้ึนอยู่กับวันปลูกพืชที่สองน้ันเอง โดยการ
เจริญเติบโตของพืชท่ีสองจะดีหรอื ไม่ข้ึนอยู่กับความแข็งแรงและความทนทานต่อสภาพท่ีมีการบดบังแสงเป็น
สาคญั (อรรณพ, 2534)

เฉลิมพล และคณะ (2532) พบว่า เม่ือระยะการปลูกลดลงจะทาให้การบังแสงมากขึ้น จากการวัด
แสงทสี่ อ่ งผา่ นถึงต้นถัว่ ลิสงท่ปี ลกู ร่วมกับขา้ วโพด ทีร่ ะยะระหว่างแถวข้าวโพด 40 ซม. มีแสงผ่านไดเ้ พียง 29%
ในขณะทีร่ ะยะระหว่างแถวข้าวโพด 80 ซม. มีแสงผ่านได้ถึง 41% และการท่ีผลผลิตถ่ัวลิสงลดลงนั้นเป็นผล
มาจากการบังแสงของต้นข้าวโพด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะที่ต้นถั่วกาลังมีการเจริญทางฝักหรือสะสม
น้าหนักเมล็ด การบังแสงมีผลทาให้ขนาดหรือน้าหนักของเมล็ดถ่ัวลิสงลดลง ส่วนผลผลิตข้าวโพดท่ีปลูก
รว่ มกบั ถ่ัวลสิ งนัน้ เม่อื ลดระยะระหวา่ งแถวลง ให้ผลผลิตสูงสุด ซ่ึงสาเหตุนอกจากการเพ่ิมข้ึนของจานวนต้น
ข้าวโพดแล้ว น่าจะมาจากความแตกตา่ งของพ้ืนทีใ่ บในการรับแสง โดยพบว่าจะมีพื้นทใี่ บในการรับแสง 71%

7. การแข่งขนั ดา้ นปัจจัยความชนื้

ความแตกต่างกันของระบบรากของพืชที่ปลูกร่วมกันเป็นสาเหตุสาคัญก่อให้เกิดการแข่งขันในด้าน
ความชื้น และพืชที่มีระบบรากท่ีหย่ังลึกได้ในระดับแตกต่างกันก็จะช่วยลดการแข่งขันกัน ระบบรากของ
ธญั พชื จะมอี ตั ราการเจรญิ สูงกวา่ จงึ ได้เปรียบในแง่ของการแข่งขันในการใช้น้าได้ดีกว่าพืชตระกูลถั่ว (อรรณพ,
2534)

9

8. การแขง่ ขนั ด้านปัจจัยธาตุอาหาร

ในการนาพชื ตระกูลถ่ัวมาปลูกร่วมกับธัญพชื นอกจากจะมกี ารแข่งขนั ในด้านของปัจจยั อ่ืนๆ แลว้ ยัง
มีการแข่งขนั ในด้านธาตอุ าหารด้วย โดยเริ่มแขง่ ขันตง้ั แต่ระยะแรกของการเจริญเติบโตของพืชในระบบ และ
ในสภาพที่ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมจากัดแล้วธัญพืชซ่ึงมีอัตราการเจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็ว ท้ังลาต้นและราก จะมกี ารแขง่ ขนั ในลกั ษณะทีไ่ ดเ้ ปรียบกวา่ พืชตระกูลถั่วท่ีปลูกร่วมด้วย (Trenbath,
1976)

8.1 การแข่งขนั การใชธ้ าตุไนโตรเจน

Ofori and Stern (1986) สรปุ ไวว้ ่า ถงึ แม้ว่าพืชตระกูลถั่วจะสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศและ
เป็นประโยชน์ต่อธัญพืชที่ปลูกร่วมได้ แต่ในระบบการปลูกท่ีไม่มีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนแล้ว ท้ัง
ธัญพืชและพืชตระกูลถั่วที่ปลูกร่วมกันจะมีการแข่งขันในการใช้ไนโตรเจน โดยในสภาพที่ไม่มีการใส่ปุ๋ย
ไนโตรเจนแล้วการแข่งขันการใชไ้ นโตรเจนจากดินในระบบการปลูกถั่วพุ่มรว่ มกับขา้ วโพดจะรุนแรงมาก ในช่วง
49 – 63 วันหลังปลกู ซ่ึงเป็นชว่ งที่พืชทั้ง 2 ชนดิ อยู่ในชว่ งระยะออกดอก และตอ้ งการไนโตรเจนในระดับที่สูง
และยังพบว่าข้าวโพดมีการแข่งขันที่ได้เปรียบถั่วพุ่ม จึงมีผลให้การเจริญเติบโต และผลผลิตของข้าวโพดเพ่ิม
สูงข้ึนเป็นลาดับตามอัตราปุ๋ยไนโตรเจนที่เพ่ิมขึ้น แต่ผลผลิตของทั้งข้าวโพดและถั่วพุ่มที่ปลูกร่วมกันมีค่าต่า
กว่าการปลกู โดยลาพงั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ

8.2 การแข่งขนั การใช้ธาตุฟอสฟอรสั

พืชตระกลู ถ่วั มีสมรรถนะในการแข่งขนั เพอ่ื ใชฟ้ อสฟอรสั ค่อนขา้ งตา่ โดยเฉพาะเม่ือนาไปปลูกร่วมกับ
พืชตระกูลหญ้าหรือแม้แต่ธัญพืช ซ่ึงพืชตระกูลถั่วเสียเปรียบในด้านระบบราก (Evans, 1978) นอกจากนี้
Chang and Shibles (1983) รายงานว่า การเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดท่ีปลูกร่วมกับถ่ัวพุ่มมีค่า
เพิ่มขึ้นตามอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสที่เพ่ิมขึ้น (43 กิโลกรัม/เฮกตาร์) ในขณะที่ผลผลิตของถั่วพุ่มกลับมีค่าลดลง
เนื่องจากขา้ วโพดมกี ารแขง่ ขนั ในลกั ษณะท่ไี ด้เปรยี บกว่าถัว่ พุ่ม โดยขา้ วโพดมีการเจริญเติบโตสูงข้ึนจนเกิดการ
บงั แสงถวั่ พุม่

8.3 การแขง่ ขนั การใชธ้ าตุโปตัสเซยี่ ม

Drake et al. (1951) รายงานว่าโดยท่ัวไปแล้วความจุในการแลกเปลี่ยนของรากพืชตระกูลถ่ัวจะ
มากกว่าธญั พชื ประมาณ 2 เท่า ดังนั้นในดนิ ท่ีมโี ปตัสเซ่ยี มต่า พชื ตระกูลถัว่ อาจแสดงอาการขาดโปตัสเซียมได้
ทั้งน้ีเพราะว่าธาตุอาหารที่อยู่ในรูป divalent cation จะไปไล่ที่ประจุ K+ และถูกดูดยึดไว้โดยรอบรากแทน
ปรากฏการณ์เช่นน้ีจะก่อให้เกิดการแข่งขันในการดูดซับประจุ K+ กับธัญพืชท่ีปลูกร่วมในระดับท่ีรุนแรงมาก
ยงิ่ ข้ึน และดว้ ยเหตุผลดงั กล่าวการดดู ซบั ประจุ K+ ของพชื ตระกลู ถ่วั ก็จะถูกกระทบมากยงิ่ ข้ึน

Wahua (1983) สรุปวา่ ความได้เปรยี บในการดดู ซับประจุ K+ ในข้าวโพดท่ีปลูกร่วมกับถั่วพุ่มจะเพ่ิม
มากย่งิ ขึ้น โดยเฉพาะเม่อื ใหป้ ๋ยุ ไนโตรเจนในระดบั สูง ๆ ซง่ึ จากการวดั ปริมาณธาตโุ ปตัสเซี่ยมในต้นข้าวโพดน้ัน
ลดลง 31% ในขณะทใ่ี นถว่ั พ่มุ ลดลงถึง 50% เมอื่ เทยี บกบั การปลกู โดยลาพงั

10

9. งานวิจัยอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

การใช้ประโยชน์พชื ตระกูลถว่ั เพื่อปรบั ปรุงบารงุ ดนิ และการอนรุ กั ษ์ดนิ และน้ามีอยู่ด้วยกนั 4 วธิ ี ซึ่ง
โดยท่วั ไปจะปรับปรงุ รปู แบบให้เหมาะสมตามระบบการปลกู พืช ได้แก่ การใชพ้ ืชตระกูลถวั่ ในระบบปลูกพืช
หมุนเวียน ระบบการปลกู พืชเปน็ แถบ การปลูกพืชเหลอื่ มฤดู และการปลูกพชื คลมุ ดิน (ประชา, 2544)

การปลกู พืชเหลอ่ื มฤดู (Delay Cropping) เป็นการจดั ระบบพืชโดยการปลกู พืชท่ีสอง ขณะท่ีพชื แรก
ยงั ไม่ทนั ไดเ้ กบ็ เกยี่ ว วธิ ีนเี้ หมาะกับกรณที ่มี ีพนื้ ท่ีน้อยและต้องการใช้พ้ืนท่ดี นิ และนา้ ท่ีมีอยอู่ ย่างคมุ้ ค่า หรืออยู่
ในเขตท่มี นี า้ ฝนในการเพาะปลูกคอ่ นขา้ งจากดั หรือในปีที่มีฝนมาล่าชา้ ปลูกพชื แรกล่าช้า ทาให้การเกบ็ เกี่ยว
ลา่ ชา้ ทาใหก้ ารปลกู พืชที่สองต้องลา่ ช้าออกไปและไมไ่ ดผ้ ลเพราะขาดน้า เช่น เกษตรกรควรปลูกพชื ทส่ี องลง
ไปในขณะที่ข้าวโพดมีอายไุ ด้ 80 วนั ซึง่ ระยะนใี้ บขา้ วโพดเริ่มแห้ง ทาใหก้ ารบังแสงตอ่ พชื ทส่ี องน้นั ลดลง พชื ที่
สองกจ็ ะได้อาศัยความชน้ื ท่เี หลืออยูใ่ นดิน สามารถเจรญิ เติบโตขึ้นมาได้ หรอื ปลกู พชื ทส่ี องเม่อื ข้าวโพดอายุได้
70 วัน โดยตัดยอดข้าวโพดเหนอื ระดับฝกั เพ่อื ลดการบงั แสงลง แล้วนายอดขา้ วโพดนั้นมาคลุมดนิ เพ่ือลดการ
ระเหยของนา้ ในดนิ หรือนายอดข้าวโพดไปใช้เลี้ยงววั ได้อีกด้วย ระบบการปลกู พืชแบบนี้ สว่ นใหญจ่ ะปลูก
ขา้ วโพดเหลือ่ มกบั มนั เทศหรอื มนั แกว หรือปลูกฝา้ ยเหลื่อมฤดูกบั ข้าวโพดหรือถัว่ เหลอื ง การปลูกข้าวเหล่ือม
กับถั่วเขียวในนาธรรมชาติ (ดวงจนั ทร์, 2544)

การศกึ ษาระบบการปลูกพชื เพอื่ การอนุรักษ์บนพน้ื ที่ดอน คือ ระบบการปลูกพชื ทีม่ วี ธิ ีการจดั การดนิ
พชื และน้า แบบผสมผสาน เช่น ปลกู พืชตระกลู ถว่ั หมุนเวียน ใชว้ ัสดุคลุมดนิ ใชป้ ยุ๋ พืชสด ลดจานวนการไถ
พรวน และหลีกเล่ยี งการเผาพืน้ ท่ี สามารถที่จะรกั ษาระดับการผลิตใหอ้ ย่ใู นข้ันทน่ี ่าพอใจได้ ภายใตส้ ภาพการ
เพาะปลูกทใี่ ช้น้าฝนเป็นหลัก (สวัสดี ไชยสทิ ธิ์ และนอร์แมน, 2529)

การปลูกพชื ตระกูลถัว่ ประเภทเถาคลุมดนิ เกษตรกรบนพนื้ ทส่ี ูงในพื้น ท่ีได้ปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน
มานานแล้ว เช่น ถ่ัวแป๋/ถั่วแดง (Vigna umbellata) ถ่ัวดา (Vigna Unguiculata) และถั่วแปยี (Lablab
purpureus) การสร้างแปลงพืชตระกูลถั่วประเภทเถาคลุมดินนี้ช่วยให้ต้นถั่ว สามารถตรึงไนโตรเจนได้ใน
ระดับที่สูง ประมาณ 80-130 กก./เฮคเตอร์ (Bunch) และทาให้ดินมีระดับอินทรียวัตถุของดินมากข้ึน และ
กาจัดวัชพชื โดยการคลุมดนิ ในภาคเหนอื ของประเทศไทย มเี กษตรกรจานวนมากที่มักจะทาการปลูกพืชเหลื่อม
ในไรพ่ ื้นทสี่ ูงทเ่ี กษตรกรไมส่ ามารถปล่อยให้ดินฟ้นื ตวั แบบวิธีดั้งเดิม แต่การปลูกพืชแบบเหลื่อมเป็นการปล่อย
ให้ ดินฟื้นตัวอย่างรวดเร็วโดยระบบน้ีในไร่ข้าวโพดจะมีการปลูกพืชตระกูลถ่ัวอย่างหนาแน่นประมาณหน่ึง
เดือนก่อน ท่ีจะมีการเก็บเก่ียวข้าวโพด ถั่วจึงมีคุณค่าอย่างมากสาหรับการปรับปรุงคุณภาพดินโดยการตรึง
ไนโตรเจนและการผลติ อินทรยี วัตถุ เช่นเดียวกับรายได้จากการขายเมล็ดถั่วแห้ง ดังน้ัน เพ่ือจะควบคุม วัชพืช
อย่างดีตลอดฤดูฝนจึง ประกอบด้วยพืชตระกูลถ่ัวประเภทเถา โดยเฉพาะถั่วแดง ถ่ัวแปะ และถั่วพร้า
(Canavalia ensiformis) สามารถปลกู ผสมกับข้าวโพดต้ังแต่เร่ิมเพาะปลูกในช่วงแรกๆ ได้อย่างดี โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งถั่วควรจะปลูกในช่วงเวลา 1-2 สัปดาห์หลังจากที่ปลูกข้าวโพด ขณะที่ในแปลงยังไม่ค่อยมีวัชพืช
เพ่อื ใหเ้ กดิ การแยง่ แสงแดดนอ้ ยทส่ี ุดระหวา่ งถ่ัวและข้าวโพด (ริชาร์ด, 2549)

11

ระบบการปลกู พชื บนทดี่ อนอาศยั นา้ ฝนทางทางภาคเหนอื ของประเทศไทยน้ัน การปลูกพืชเหล่ือมใน
ระบบท่ีมีข้าวโพดเป็นพืชหลัก ให้ปลูกก่อนการเก็บเก่ียวข้าวโพดประมาณ 1 เดือน หรือเม่ือข้าวโพดอายุได้
60-70 วัน หลังจากเกบ็ เกยี่ วข้าวโพดแล้ว แนะนาให้เกษตรกรตัดตอข้าวโพดแล้วกระจายคลุมดิน เพื่อลดการ
กระแทกของเม็ดฝน และช่วยเพ่ิมความชุ่มชื้นให้กับดินและยืดเวลาของการปลูกพืชคร้ังที่สองให้นานข้ึน
ตลอดจนช่วยลดการระบาดของวัชพืช และเมื่อเก็บเก่ียวพืชที่ 2 เสร็จแล้ว ก็แนะนาให้ทิ้งเศษซากของพืช
ทง้ั หมดไวบ้ นแปลง เปน็ วสั ดุคลุมดนิ ซ่งึ จะใหน้ า้ หนกั แห้งรวมกันสูงใกล้เคียงกับค่า 1.6 ตัน/ไร่ต่อปี สาหรับใน
ปีตอ่ ไปเกษตรกรสามารถปลูกพืชบนซากของพชื ไดโ้ ดยตรง โดยวิธีไม่ไพรวนชนิดพืชเหลื่อมฤดูท่ีเหมาะสมมาก
ทสี่ ุดบนทีด่ อน ไดแ้ ก่ ถ่ัวดา ถวั่ นวิ้ นางแดง และถ่วั แปะยี รองมาคอื ถั่วแดงหลวง (สานักงานพฒั นาทด่ี ินเขต 6)

ถั่วพรา้ สามารถทนรม่ เงาของข้าวโพดไดด้ ี และลาตน้ เป็นพุ่มคลมุ ดนิ ชว่ ยลดวัชพืชในฤดูฝน โดยไม่ปีน
หรือเลื้อยพันต้นข้าวโพด อย่างไรก็ตามเมล็ดถั่วพร้าที่แก่ไม่สามารถกินหรือขายตลาดได้เพราะมีสารพิษ
ในขณะท่ถี ่ัวแดงและถว่ั แปะ๊ ย้ีสามารถกินและขายได้ ลาต้นจะปีนหรือเลื้อยพันต้นข้าวโพด โดย 3 เดือน หลัง
การปลกู ถ่วั ชนดิ น้ี ควรใช้ไมเ้ พ่อื ตเี ถาถว่ั ลงเบาๆ ไม่นอ้ ย กว่า 2 ครั้ง เพื่อจะช่วยทาให้ต้นถั่วคลุมผิวดินได้ดีข้ีน
นอกจากน้นั การจัดการเถาของถว่ั แดงและถว่ั แป๊ะย้ีท่ีกระจายคลมุ ดนิ ง่ายกวา่ การถางหญ้า ทาให้ใช้แรงงานใน
การกาจดั วัชพืชน้อยลงและลดต้นทนุ การใช้สารเคมีกาจดั วชั พืช

ถ้าเปรียบเทียบถึงวิธีท่ีเหมาะสมระหว่างระบบการปลูกข้าวโพดและถั่วแบบเหลื่อม และระบบการ
ปลูกถั่วกับข้าวโพดแบบผสมผสานต้ังแต่เริ่มเพาะปลูกช่วงแรก เกษตรกรส่วนใหญ่ที่ใช้ยากาจัดวัชพืชอย่าง
เต็มท่ีในไร่ข้าวโพดช่วงปลายฤดูฝน ก่อนจะเพาะปลูกถั่วมักจะนิยมระบบการปลูกพืชแบบเหล่ือม พบว่า
ผลผลิตถวั่ ทไี่ ดจ้ ะโตกวา่ พนั ธเ์ุ ดียวกัน ซ่ึงถูกปลูกแบบผสมผสานกับข้าวโพด ตั้งแต่เริ่มเพาะปลูกช่วงแรก แต่
ถ้าเกษตรกรไม่ใช้ยากาจัดวัชพืชก่อนจะทาการเพาะปลูกถ่ัวกับข้าวโพดแบบเหลื่อม จะทาให้ต้องการแรงงาน
จานวนมากในการกาจัดวัชพืช เพราะฉะน้ันเกษตรกรท่ีผลิตข้าวโพดกับถั่วโดยไม่ใช้ยากาจัดวัชพืช จะนิยม
ระบบการปลูกถ่ัวกับข้าวโพดแบบผสมผสานตั้งแต่เริ่มเพาะปลูกช่วงแรก ถึงแม้ว่าปริมาณผลผลิตของถั่วใน
ระบบนีจ้ ะน้อยกว่าผลผลติ ของถว่ั ในระบบท่ปี ลกู แบบเหลื่อม (รชิ าร์ด, 2549)

การทดลองปลูกพชื ป๋ยุ สดตระกูลถัว่ แซมข้าวโพด พบว่าในการปลูกถ่ัวแปบแซมข้าวโพดโดยการให้ถ่ัว
แปบเลื้อยพันข้ึนไปบนข้าวโพด ในปีที่หน่ึงทาให้ผลผลิตข้าวโพดและปริมาณน้าในดินท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
ขา้ วโพดลดลง ส่วนในปีท่ีสอง การปลูกถ่ัวแปบแซมข้าวโพดทาให้ผลผลิตข้าวโพดเพ่ิมข้ึนมาก ในขณะท่ีการ
ปลกู ถ่วั พรา้ แซมขา้ วโพดแสดงแนวโนม้ ที่จะทาให้ผลผลิตขา้ วโพดลดลง และ ในขณะที่การปลูกถั่วมะแฮะแซม
ทาให้ผลผลติ ขา้ วโพดลดลงเนื่องจากการบงั แสงข้าวโพดเท่าน้นั (นิภา, 2540)

การศึกษาผลของการบังแสงในระบบการปลูกข้าวโพดแซมด้วยถ่ัวลิสง ถ่ัวแปป และถ่ัวมะแฮะต่อ
ผลผลิตของพืช พบว่า การปลูกแซมข้าวโพดด้วยถ่ัวที่สามารถบังแสงข้าวโพดจะทาให้ผลผลิตของข้าวโพด
ลดลง และการตดั แตง่ ถ่วั เป็นระยะๆ จะช่วยทาให้การปลูกถ่ัวแซมไม่มีผลต่อผลผลิตของข้าวโพด และ ในการ
ปลูกแซมข้าวโพดด้วยถวั่ ตน้ เตย้ี เชน่ ถั่วลิสง การจัดแถวพชื ตามแนวเหนือ-ใตจ้ ะช่วยให้ถัว่ แข็งแรงและสามารถ
แยง่ ปัจจยั การเจริญเตบิ โตกับข้าวโพดได้มากขึ้นซ่ึงจะยังผลใหผ้ ลผลิตขา้ วโพดลดลง (สมพร และคณะ, 2537)

12

การศกึ ษาอายุที่เหมาะสมของข้าวโพดท่ีจะนาถ่ัวเหลืองปลูกแซมแบบเหลื่อมฤดู รวมทั้งเปรียบเทียบ
ผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ระหว่างการปลูกถ่ัวเหลืองแซมในแถวข้าวโพดแบบเหลื่อมฤดูกับการปลูก
ถ่ัวเหลืองตามกันในรูปแบบต่าง ๆ ของข้าวโพดและถ่ัวเหลือง พบว่ารายได้เหนือต้นทุนผันแปรของระบบ
ข้าวโพดเหลื่อมด้วยถว่ั เหลือง (เมือ่ ข้าวโพดอายุ 80 วัน) มีแนวโน้มให้รายได้สุทธิหลังจากหักต้นทุนผันแปรสูง
กวา่ ระบบขา้ วโพดตามดว้ ยถวั่ เหลือง และระบบขา้ วโพดตามด้วยข้าวโพด ท้ังนี้เพราะใช้ค่าแรงงานต่ากว่า ซ่ึง
ไม่ตอ้ งใช้แรงงานเตรียมดิน เม่ือปลูกพืชที่สอง เนื่องจากทา การปลูกถั่วเหลืองในแถวข้าวโพดโดยไม่ไถพรวน
(พัฒน์, 2535)

การศึกษาการเจรญิ เตบิ โตและผลผลิตของข้าวโพด ถัว่ พุม่ และถัว่ น้ิวนางแดง เมื่อมีการปลูกเหลื่อมฤดู
ที่อายขุ ้าวโพดต่าง ๆ กัน โดยมกี ารตดั ยอด และไมม่ ีการตดั ยอดข้าวโพด รวมทั้งเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพการ
ใช้พ้นื ทดี่ ินและรายได้ ของระบบการปลูกพืชอย่างเดยี วกับการปลกู พืชเหลือ่ มฤดู พบว่าเมอื่ เปรียบเทยี บกบั
การปลกู ขา้ วโพดอย่างเดยี ว โดยการปลกู ถ่วั น้ิวนางแดงเหลอ่ื มฤดู เมือ่ ข้าวโพดอายุ 80 วัน ไม่มกี ารตัดยอด
ขา้ วโพดใหป้ ระสิทธิภาพการใชพ้ น้ื ท่ดี นิ สูงสดุ เม่ือวเิ คราะหผ์ ลตอบแทนทางเศรษฐกิจในรปู รายไดส้ ุทธิเหนอื
ตน้ ทุนผันแปรพบว่าการปลกู ถั่วน้วิ นางแดงเหลอื่ มฤดใู ห้รายได้สุทธิเหนือต้นทุนผนั แปรสงู กว่าการปลูกข้าวโพด
อยา่ งเดียว (สุฐิดา, 2543)

การศกึ ษาการใช้พืชคลมุ ดนิ ทดแทนสารเคมีควบคุมวชั พชื ในการปลกู ขา้ วโพด โดยไม่ไถพรวน โดยใช้
ถ่ัวแปบ ไมยราบ ถ่ัวพร้า ถ่วั ขอเมลด็ ดา และสารกาจดั วัชพชื แบบกอ่ นงอก ผลการทดลองพบว่า ถั่วขอเมลด็ ดา
และถั่วพรา้ สามารถเจรญิ เตบิ โตคลุมพืน้ ที่เร็วมากที่สดุ ภายใน 1 เดอื น และมนี า้ หนักแห้งเฉลยี่ สูงสุด พืชคลุม
ดินทงั้ 4 ชนิด ช่วยลดปรมิ าณวัชพชื โดยเฉพาะวชั พืชพวกหญ้าได้ดมี ากกว่าพวกกกและพวกใบกวา้ ง การใช้สาร
กาจัดวชั พชื แบบก่อนงอก และแบบกอ่ นพชื งอก แลว้ ตามด้วยแบบหลังพชื งอก สามารถควบคุมวชั พชื ไดด้ กี ว่า
แบบหลงั พืชงอก โดยมีน้าหนักแห้งนอ้ ยกวา่ พืชคลุมดินทั้ง 4 ชนดิ ใหผ้ ลผลิตใกล้เคยี งกันมาก สารกาจัดวชั พืช
ไม่มีผลกระทบตอ่ ผลผลิตข้าวโพด รวมทั้งองค์ประกอบผลผลิตและความสงู ตน้ ในช่วงการเจริญเตบิ โตระยะแรก
แต่ระยะหลัง 6 สปั ดาห์หลงั ปลูกถงึ ระยะเก็บเก่ียว การใชส้ ารกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกตน้ ขา้ วโพดมคี วามสงู
นอ้ ยทสี่ ดุ (สานกั งานเกษตรอาเภอนครหลวง, 2550)

การปลูกถัว่ แปยีหลังเกบ็ เกยี่ วข้าว หลังการเกบ็ เก่ยี วขา้ ว ดนิ ยังมคี วามชนื้ เพียงพอกบั การเจริญเติบโต
ของพืชตระกูลถ่ัวทนแล้งได้ ซึ่งถั่วแปยีเป็นพืชตระกูลถั่วทนแล้งชนิดหน่ึงท่ีสามารถงอก เจริญเติบโต พัฒนา
และสรา้ งผลผลิตได้ (ศิวพงษ์ และสุทัด, 2539) การปลูกถั่วแปยีร่วมระบบ นอกจากจะลดความเสี่ยงจากการ
ระบาดของโรคและแมลง ชะลอการเสอื่ มโทรมของดิน และเพ่มิ ศกั ยภาพของการใช้ท่ีดินแล้ว ยังช่วยสนับสนุน
กิจกรรมจลุ นิ ทรยี ใ์ นดินจากการปกคลมุ ผวิ ดนิ ของถวั่ แปยอี ภิวัฒน์และวีรวรรณ (2552) พบว่า การปลูกถ่ัวแปยี
อัตรา 48 ต้นต่อตารางเมตร (ระยะปลูก 25.0x16.7 เซนติเมตร 2 ต้นต่อหลุม) สามารถเจริญเติบโตและปก
คลมุ พืน้ ท่ีผวิ ดนิ ไดร้ ้อยละ 50 เม่ือปลูกไปแล้ว 52 วัน และหากปล่อยให้ถั่วแปยีมีการเจริญเติบโตต่อไปจนปก
คลุมพ้ืนที่ผิวดินได้ทั้งหมด จะใช้เวลา 108 วัน หลังปลูก และมีการสะสมน้าหนักแห้งของมวลชีวภาพ 689
กโิ ลกรัม/ไร่ ซึ่งเปน็ การสะสมปริมาณไนโตรเจน 13.2 กิโลกรมั /ไร่ และเป็นแหล่งธาตุอาหารไนโตรเจนสาหรับ
ข้าวในฤดูถดั ไป

13

การศึกษาวันปลูกถ่ัวแปยเี หลอื่ มข้าวโพดทแี่ ตกตา่ งกนั น้ันไมม่ ีผลต่อผลผลติ ของข้าวโพดท่ีปลูกเหลื่อม
แต่อย่างใด รวมถึงไม่แตกต่างกบั ข้าวโพดทีป่ ลูกโดยลาพังอกี ด้วย แต่มีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตและผลผลิตของถั่ว
แปยีท่ีปลูกเหล่ือมข้าวโพด โดยมีค่าลดลงเป็นลาดับตามวันปลูกที่ล่าช้าออกไป โดยการปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูก
ขา้ วโพด 60 วนั ให้ผลผลติ สูงสดุ (อรรณพ, 2534) พบวา่

การทดสอบการใช้พืชตระกูลถ่ัว 5 ชนิดคือ โสนอินเดีย โสนอัฟริกัน ถั่วพุ่มดา ถ่ัวเขียว และ ถั่วลิสง
เป็นพชื บารุงดินโดยการไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสดทิ้งไว้ประมาณ 15 วันจึงปลูกข้าวตามในชุดดินบางนรา (กลุ่มชุด
ดินที่6) พบว่าถ่ัวพุ่มดามีความเหมาะสมต่อการปลูกเป็นปุ๋ยพืชสดก่อนการปลูกข้าวเนื่องจาก ให้น้าหนักสด
เฉลี่ย 2 ปีสูงสุด 4,891 กิโลกรัม/ไร่ และให้ผลผลิตข้าวที่ปลูกตามมาเฉล่ีย 2 ปีสูงสุด 593 กิโลกรัม/ไร่
(สมศักด,ิ์ 2543)

การไถกลบโสนอัฟริกัน ปอเทืองและถ่ัวพุ่ม ในชุดดินปากช่อง(Pc) หลังจากการย่อยสลาย เป็นเวลา
15 วัน ระดับไนโตรเจนเพ่ิมข้ึนเฉล่ีย จาก 0.12 เป็น 0.18 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัส โปแตสเซียม โดย
เพิ่มข้ึนเฉลี่ยจาก106 และ 148 เป็น139 และ174 ppm ตามลาดับ และไถกลบปอเทืองร่วมกับปุ๋ยเคมี
(16–16–8) อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ ในชุดดินวาริน(Wa) ให้ผลผลิตข้าวโพดหวานสูงสุดมากกว่าแปลง
เปรยี บเทยี บที่ไมม่ ีการปลูกพืชปุย๋ สด (Arunin et al., 1994)

การใชพ้ ืชตระกลู ถั่ว 3 ชนดิ เป็นปยุ๋ พชื สดสาหรับมันสาปะหลังได้แก่ ถั่วพ่มุ ปอเทอื ง และ ถ่วั มะแฮะ
แล้วไถกลบเมอ่ื อายุ 60 วัน ซ่งึ มีผลตอ่ การปลูกมันสาปะหลัง โดยท่แี ปลงควบคุมไมม่ กี ารปลกู พชื ตระกูลถ่วั ให้
ผลผลติ เฉลี่ย 1.88 ตนั /ไร่ แต่เมอื่ มกี ารปลกู ถ่ัวพุ่ม ปอเทอื ง และถัว่ มะแฮะ การปรับปรุงดินจะยกระดับการ
ผลิตมนั สาปะหลงั ได้โดยเฉลี่ย 5 ปี เพมิ่ ข้ึนเปน็ 2.49 2.13 และ1.92 ตัน/ไร่ตามลาดับ (กอบเกยี รตแิ ละคณะ,
2534)

การศึกษาการใช้ ถั่วพร้า ถ่ัวพุ่ม ถ่ัวมะแฮะ และปอเทือง เป็นปุ๋ยพืชสดเพ่ือเพ่ิมผลผลิตของมัน
สาปะหลัง ในชุดดินมาบบอน พบว่า ผลผลิตมันสาปะหลังตอบสนองต่อปอเทืองและถั่วพร้า ให้น้าหนักสด
เฉลี่ย 5,499 และ 4,527 กิโลกรัม/ไร่ และให้ผลผลิตแป้งเฉลี่ยสูงสุด 1,487 และ 1,157 กิโลกรัม/ไร่
ตามลาดับ แต่เปอร์เซ็นต์แป้งวิธีการที่ใช้ถั่วพุ่มให้เปอร์เซ็นต์แป้งเฉลี่ยสูงสุดคือ 30.07 เปอร์เซ็นต์ (นงปวีณ์,
2549)

การใช้ปุ๋ยพืชสดมีผลต่ออินทรียวัตถุของดินอยู่ 2 ประการคือเป็นแหล่งไนโตรเจนพืชและการสะสม
อนิ ทรียวัตถแุ ก่ดนิ ปุ๋ยพืชสดท่ยี ่อยสลายเร็วจะปลดปล่อยไนโตรเจนได้รวดเร็วและเป็นประโยชน์ต่อพืชแรกท่ี
ปลูกตามในระยะเวลาสัน้ ๆ ถ้าเป็นพืชท่ีย่อยสลายช้า ก็จะมีผลต่อการปลดปล่อยไนโตรเจนในปริมาณน้อยต่อ
พืชแรกทปี่ ลูก แต่ในระยะยาวจะส่งผลตอ่ การสะสมปริมาณอินทรียวตั ถเุ พ่ิมขึ้นและเปน็ แหลง่ ไนโตรเจนของพืช
ท่ีจะปลูกในคร้ังที่สอง ปริมาณอินทรียวัตถุท่ีไถกลบด้วยโสนอัฟริกันจะลดลงอย่างรวดเร็ว ใน 10 วันแรก
หลังจากน้นั อตั ราการย่อยสลายจะชา้ ลงใน 10 วนั แรก ที่ยอ่ ยสลายกว่าร้อยละ 50 เป็นส่วนของใบ และอีก 30
เปอร์เซ็นต์เป็นส่วนของลาต้นและราก ส่วนที่เป็นเนื้อไม้ของลาต้น จะย่อยสลายช้าและคงอยู่ในดินมากกว่า
หนึ่งปหี ลังจากไถกลบ (Ventura and Watanabe, 1993)

14

การปลดปล่อยไนโตรเจนของปุ๋ยพืชสดขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ ชนิดของดิน ระยะเวลาของการ
ท่วมขังของน้าอุณหภูมิดิน คุณภาพ และปริมาณของพืชปุ๋ยสด ปริมาณไนโตรเจนในดิน และการจัดการน้า
หลังจากการไถกลบ (Nagarajah, 1987)

การใช้ถั่วพุ่มแล้วไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสดแล้วปลูกข้าวโพด โดยใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส 6 กิโลกรัม/ไร่ และ
โพแทสเซียม 3 กิโลกรัม/ไร่ที่อาเภอพระพุทธบาท อาเภอปากช่อง และจังหวัดขอนแก่น ทาให้ ผลผลิตของ
ข้าวโพด เพม่ิ ข้นึ เปน็ 408, 459 และ 265 กิโลกรัม/ไร่ตามลาดบั (กรมพัฒนาที่ดิน, 2540)

ระยะเวลาและสถานทด่ี าเนนิ งาน

ระยะเวลาดาเนนิ งาน เร่มิ ต้น เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2552
สนิ้ สดุ เดอื นกันยายน พ.ศ. 2554

สถานทด่ี าเนินงาน
1. สถานทต่ี งั้
แปลงเกษตรกรบา้ นนา้ กดั หมู่ท่ี 2 ต.ห้วยผา อ.เมือง จ.แมฮ่ อ่ งสอน (พิกดั E 0403275 N 2157824)

2. Site characterization
รายละเอียดสภาพพื้นท่ีทดลอง ชุดดินบ้านจ้อง (Ban Chong series: Bg) อยู่ในกลุ่มชุดดินท่ี 29 จัด
อยู่ใน fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic(Kandic) Paleustults การกาเนิดดินเกิดจาก การผุพัง
ของหินตะกอนทีม่ ีเนอื้ ละเอยี ดและหนิ ที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแปร หินโคลนชนวน หินฟิลไลท์
บริเวณภูเขาและวัสดุดินหรือหินเคลื่อนย้ายมาโดยแรงโน้มถ่วงหรือเกิดจากตะกอนดินที่ถูกน้าพาบริเวณเนิน
ตะกอนรูปพัด สภาพพื้นที่เป็นลูกคล่ืนลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขามีความลาดชัน 3-35 เปอร์เซ็นต์ การ
ระบายน้าดี การไหลบ่าของน้าช้าถึงเร็ว การซึมผ่านของน้าปานกลาง การแพร่กระจาย พบมากบริเวณ
ภาคเหนือตอนบน การจัดเรียงชั้นดิน Ap (A) – Bt ลักษณะและสมบัติของดินเป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดิน
ร่วนปนดินเหนียวสีนา้ ตาลเข้มถึงสีน้าตาลปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึง เป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดิน
ล่างเปน็ ดินเหนยี วสแี ดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5) ข้อจากัด
การใช้ประโยชน์ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า มีสภาพเป็นกรด สภาพพ้ืนท่ีมีความลาดชัน ดินเกิดการชะล้าง
พังทลายได้ง่าย ข้อเสนอแนะการใช้ประโยชน์ควรปรับปรุงบารุงดิน โดยใช้อินทรียวัตถุ ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ย
ชีวภาพ รว่ มกับปุ๋ยเคมแี ละใชว้ ัสดปุ นู ปรบั แก้ความเป็นกรดของดนิ จัดระบบอนรุ กั ษด์ ินและนา้ ใหเ้ หมาะสม

15

อปุ กรณแ์ ละวิธดี าเนนิ การ

1. อุปกรณ์

1.1. พันธุ์พชื ไดแ้ ก่ ขา้ วโพด พันธุ์สวุ รรณ 1, ถว่ั แปยี พนั ธ์พุ ้ืนเมือง และถ่วั นา้ หนัก พนั ธพุ์ นื้ เมอื ง
1.2. สายวดั ไม้หลกั สาหรบั แบ่งแปลงยอ่ ย และป้ายแปลง
1.3. อุปกรณเ์ ก็บตัวอยา่ งดิน
1.4. อุปกรณ์บันทึกข้อมลู ความสูง
1.5. อุปกรณ์บนั ทกึ ข้อมูลผลผลติ ตาช่งั
1.6. วสั ดสุ านักงาน

2. วธิ ีดาเนนิ การ

2.1. แผนการทดลอง

วางแผนการทดลองแบบ Split Plot in Randomized Complete Block Design จานวน 3 ซ้า

- Main plot ประกอบดว้ ย ถัว่ 2 สายพันธ์ุ คือ

สายพนั ธท์ุ ี่ 1 (py) ถวั่ แปยี

สายพนั ธุ์ท่ี 2 (nn) ถว่ั น้าหนกั

- Sub plot ประกอบด้วย วนั ท่ปี ลูกถว่ั 3 ระยะ คอื

ช่วงวันท่ี 1 (0d) ปลกู ถัว่ พรอ้ มกบั ปลกู ข้าวโพด

ช่วงวันท่ี 2 (40d) ปลูกถ่วั หลังปลูกขา้ วโพด 40 วนั

ชว่ งวนั ท่ี 3 (80d) ปลูกถัว่ หลังปลูกขา้ วโพด 80 วัน

หมายเหตุ ดูรายละเอยี ดของแต่ละตารับในขัน้ ตอนและวธิ กี ารทดลอง

2.2 ขัน้ ตอนและวิธกี ารทดลอง

2.2.1. การคัดเลือกพื้นท่ี ดาเนินการในแปลงปลูกข้าวโพดของเกษตรกร ท่ีบ้านน้ากัด หมู่ 2 ตาบล
ห้วยผา อาเภอเมือง จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน พกิ ัด E 0403275 N 2157824

2.2.2. สุ่มเก็บตัวอย่างดินในแปลงก่อนการทดลอง แบบ composite sample จานวน 5 จุด ต่อ
composite sample 1 ตัวอย่าง จานวน 3 ซ้า โดยใช้จอบขุดดินเป็นรูปตัว V ลึก ประมาณ 0-15
เซนติเมตร แล้วจึงแซะเอาดินด้านข้างหนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร จากปากหลุมขนานลงไปตามหน้าดินที่
ขุดไว้ลึกถึงก้นหลุม นาดินเหล่าน้ีมาคลุกเคล้าให้ท่ัวกันและแบ่งตัวอย่างดินออกมาประมาณ 1 กิโลกรัม
นาส่งตวั อย่างดนิ ดงั กล่าวส่งส่วนวเิ คราะหด์ ิน สพข. 6 เพ่ือวิเคราะห์หาคา่ ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH),
ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM), ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (Available P) และ ปริมาณธาตุ
โพแทสเซยี มที่แลกเปลีย่ นได้ (Exchangeable K)

2.2.3. เตรยี มดินแปลงทดลอง โดยไถทาการไถดะ 1 ครัง้ แลว้ ตากดนิ ไวไ้ ว้ประมาณ 10-15 วัน พร้อม
เก็บเศษวชั พืชออกใหห้ มด จากนนั้ ทาการไถพรวนดนิ อกี ครงั้ หน่ึงเพือ่ ใหด้ ินร่วนซยุ เหมาะแก่การงอกของเมล็ด

16

2.2.4. วัดแปลงและแบ่งแปลงทดลอง เป็นแปลงย่อย ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 5 เมตร จานวน 18
แปลง โดยทาการแปลงข้าวโพดทุกแปลง และปลกู ถว่ั ตามตารับการทดลอง ดงั นี้

- ตารบั ที่ 1 ปลกู ถั่วแปยี (py) พร้อมกับปลกู ขา้ วโพด (0d)
- ตารบั ท่ี 2 ปลูกถั่วแปยี (py) หลังปลกู ขา้ วโพด 40 วัน (40d)
- ตารบั ที่ 3 ปลูกถว่ั แปยี (py) หลงั ปลกู ข้าวโพด 80 วนั (80d)
- ตารับที่ 4 ปลูกถว่ั น้าหนกั (nn) พรอ้ มกบั ปลกู ขา้ วโพด (0d)
- ตารับที่ 5 ปลกู ถว่ั นา้ หนัก (nn) หลงั ปลูกขา้ วโพด 40 วัน (40d)
- ตารบั ท่ี 6 ปลูกถว่ั น้าหนัก (nn) หลังปลกู ข้าวโพด 80 วัน (80d)
2.2.5. ปลูกขา้ วโพดและถ่ัวตามตารับการทดลอง โดยการปลูกข้าวโพดใช้ ระยะปลูก 25 x 75 ซม.
ส่วนถัว่ จะปลูกเป็นแถวระหว่างต้นข้าวโพด โดยการขุดหลุมด้วยจอบและหยอดเมล็ด ใน 1 หลุม หยอด 2-3
เมลด็ แล้วกลบดินบางๆ หลงั จากต้นพืชงอกแล้ว ประมาณ 10-15 วัน ให้ถอนแยกเหลือ 1 ต้นต่อหลุม และ
เม่ือถ่วั โตขึ้นใหพ้ ันขน้ึ ต้นขา้ วโพด เพอ่ื สะดวกในการเก็บผลผลิตถวั่ และไม่ต้องทาคา้ ง
2.2.6. การใส่ปุย๋ แบง่ ให้ 2 ครงั้ ดงั น้ี
- ป๋ยุ รองพ้ืน ใส่รองก้นหลุม ใช้ปยุ๋ สูตร 15-15-15 อัตรา 25-30 กิโลกรัม/ไร่
- ปุ๋ยแต่งหน้า หลังจากปลูกประมาณ 25 - 30 วัน ใส่ปุ๋ยอีกคร้ัง โดยใช้ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) โรย
ข้างตน้ ในอัตรา 20 - 25 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ขณะดนิ มีความช้ืน
2.2.7. การให้น้าแปลงทดลอง ให้น้าครั้งท่ี 1 ก่อนปลูก คร้ังที่ 2 เม่ือพืชมีอายุ 15 วัน ครั้งท่ี 3 เม่ือ
พชื อายุ 30 วนั จากน้นั ให้นา้ 2 ครง้ั ตอ่ เดือน จนข้าวโพดมอี ายคุ รบ 120 วัน
2.2.8. การดแู ลรกั ษา กาจดั วชั พืช การป้องกันโรค แมลง และศัตรูพืช โดยมีการสารวจแปลงทดลอง
อย่างสมา่ เสมอและป้องกันกาจดั ตามความจาเป็นโดยใชน้ ้าหมกั ที่ผลิตจากสารเร่ง พด.7 และสารเคมีตามความ
เหมาะสม

2.3 การเก็บขอ้ มูล
2.3.1 ขอ้ มูลดิน

- เกบ็ ตวั อยา่ งดินท่รี ะดบั ความลึก 0-15 เซนตเิ มตร กอ่ นและหลงั การทดลองของทุกแปลงทดลอง
นาไปวิเคราะห์หาความเปน็ กรดเปน็ ด่างของดิน (pH) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส
ที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณธาตโุ พแทสเซยี มท่ีแลกเปล่ยี นได้ (Exchangeable K)

2.3.2 ขอ้ มลู ขา้ วโพด
- ข้อมลู การเจรญิ เตบิ โต โดยบันทึกความสงู ท่ีระยะเวลา 40, 80 และ 120 วันหลังปลูก โดยสุ่ม

วัดตน้ ข้าวโพด จานวน 10 ต้นต่อแปลง
- ข้อมูลผลผลิต เก็บเก่ียวผลผลิต โดยวัดเป็นน้าหนักสดของฝักข้าวโพด โดยสุ่มเก็บฝักข้าวโพด

จานวน 10 ฝักต่อแปลง
2.3.3 ข้อมลู ถว่ั
- ข้อมลู การเจรญิ เติบโต โดยบนั ทึกความสูงท่ีระยะเวลา 40, 80 และ 120 วันหลังปลูก โดยสุ่ม

วดั ตน้ ถ่วั จานวน 10 ต้นตอ่ แปลง

17

- ข้อมูลผลผลิต เก็บเกี่ยวผลผลิต โดยวัดเป็นน้าหนักสดของฝักข้าวโพด โดยสุ่มเก็บฝักข้าวโพด
จานวน 10 ฝกั ต่อ 1 แปลง

2.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีทางสถิติ (ANOVA: Analysis of Variance) และหาค่าความแตกต่างของ
คา่ เฉลย่ี โดยวิธี Least Significant Difference (LSD)

ผลการทดลองและวิจารณ์

1. สมบตั ทิ างเคมีบางประการของดิน
1.1 ก่อนการทดลอง
จากการเก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลองท่ีระดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร เพื่อทาการวิเคราะห์

พบว่า ดินมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0 ซ่ึงเป็นกรดจัด ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับปานกลาง คือ 2.12
เปอร์เซ็นต์ ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ามาก คือ 4.80 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และ
ปรมิ าณธาตโุ พแทสเซียมทีแ่ ลกเปลยี่ นได้อยู่ในระดับปานกลางคอื 49.20 มลิ ลกิ รัมต่อกโิ ลกรัม (ตารางที่ 1)

ตารางท่ี 1 สมบัติทางเคมบี างประการของดนิ กอ่ นการทดลอง ท่ีระดับความลึก 0 – 15 เซนตเิ มตร

คุณสมบตั ทิ างเคมีของดนิ กอ่ นการทดลอง

pH 5.00
2.12
%OM 4.80
Avai.P (mgkg-1) 49.20
Exch.K (mgkg-1)

1.2 หลงั การทดลอง

สมบตั ทิ างเคมบี างประการของดนิ หลังการทดลอง นน้ั ท้ังค่าความเปน็ กรดเป็นดา่ งของดนิ (pH) และ
ปรมิ าณอินทรยี วตั ถใุ นดิน (OM) ส่วนปรมิ าณธาตุฟอสฟอรสั ท่เี ปน็ ประโยชน์ (Available P) และปริมาณธาตุ
โพแทสเซยี มทีแ่ ลกเปล่ยี นได้ (Exchangeable K) มีค่าเพ่มิ สงู ซึง่ อาจเน่อื งมาจากมีสับกลบพืชตระกลู ถ่ัวซ่ึงเปน็
พชื ปุย๋ สดลงไปในดนิ หลงั จากเก็บเกีย่ วผลผลติ ถ่วั ซึ่งเปน้ การปรบั ปรงุ บารงุ ดินใหด้ ขี น้ึ

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ในทุกตารับการทดลอง มีค่าเพ่ิมสูงขึ้นในแต่ละปี โดยเปลี่ยนจากกรด
จัดเป็นกรดปานกลาง (ตารางท่ี 2) ปที ่ี 2553 ตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพด มีค่าความเป็น
กรด-ด่างสูงที่สุด คือ 5.67 ส่วนตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วน้าแปยีหลังข้าวโพด 40 วัน และ ปลูกถ่ัวน้าแปยี
หลังข้าวโพด 80 วัน ดินมีค่าความเป็นกรด-ด่างต่าท่ีสุด คือ 5.50 ส่วนปีที่ 2554 ตารับการทดลองที่ปลูกถั่ว
นา้ หนกั พรอ้ มขา้ วโพด ดินมีค่าความเปน็ กรด-ดา่ งสูงทสี่ ดุ คอื 5.83 และตารับการทดลองทป่ี ลกู ถั่วน้าแปยีหลัง
ข้าวโพด 40 วัน ดินมีค่าความเป็นกรด-ด่างต่าท่ีสุด คือ 5.73 ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกตารับ

18

การทดลอง (ตารางท่ี 3) โดยการใช้ปุ๋ยพืชสดมีผลทาให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินมีค่าเพ่ิมขึ้น ซ่ึงอาจ
เกิดจากสาเหตุ 2 ประการคือ 1) สารอินทรีย์บางชนิดท่ีเกิดข้ึนในการสลายตัวของปุ๋ยพืชสดมีสมบัติเป็นตัว
รีดิวซ์ (reducing substances) จึงรีดิวซ์เฟอริกออกไซด์ (Fe2O3) และแมงกานีสออกไซด์ (MnO3)
กระบวนการดังกลา่ วไดด้ งึ โปรตอนจากดนิ มาใช้ 2) การแปรสภาพแอนไอออนอนิ ทรีย์ (organic anions) เป็น
คารบ์ อนไดออกไซด์และน้ากด็ ึงโปรตอนมาใช้ทาให้โปรตอนในดินลดลง ส่งผลให้ pH ของดินเพ่ิมขึ้น (ยงยุทธ
และคณะ, 2551)

ตารางที่ 2 การประเมินค่า pH ของดิน (ดิน:นา้ = 1:1)

ระดบั (rating) พิสยั (range)
< 4.5
เปน็ กรดจัดมาก (extreamely acid) 4.5-5.0
5.1-5.5
เป็นกรดจัด (very strongly acid) 5.6-6.0
6.1-6.5
เป็นกรดแก่ (strongly acid) 6.6-7.3
7.4-8.4
เป็นกรดปานกลาง (moderately acid) 8.5-9.0
> 9.0
เป็นกรดเล็กน้อย (slightly acid)

เปน็ กลาง (near neutral)

เป็นกลางอยา่ งอ่อน (slightly alkali)

เปน็ ด่างแก่ (strongly alkali)

เป็นด่างจดั (extreamely alkali)

ทมี่ า: สานกั วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นาทีด่ ิน กรมพัฒนาทดี่ นิ (2547)

ตารางที่ 3 ค่าความเปน็ กรด – ด่างของดิน หลงั การทดลอง ทีร่ ะดบั ความลึก 0 – 15 เซนตเิ มตร

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถว่ั
วนั ทป่ี ลูกถ่ัว ชนิดถ่ัว เฉลี่ย ถ่วั แปยี ถั่วน้าหนกั เฉล่ยี
5.80 5.83
พร้อมข้าวโพด ถ่วั แปยี ถั่วนา้ หนกั (วนั ทป่ี ลกู ถ่วั ) 5.73 5.77 (วนั ที่ปลกู ถัว่ )
หลังขา้ วโพด 40 วนั 5.77 5.80
หลงั ข้าวโพด 80 วัน 5.67 5.63 5.65 5.77 5.80 5.82
เฉล่ีย (ชนิดถั่ว) 5.75
5.50 5.57 5.53 1.41 5.78
CV main 2.06 ns
CV Main*Sub 5.57 5.50 5.53

5.58 5.57 ns

0.85

2.68

ns : ไมม่ ีความแตกต่างทางสถิติ

19

ปริมาณอินทรียวัตถุของดิน (OM) ในทุกตารับการทดลอง มีค่าเพิ่มสูงข้ึนในแต่ละปี โดยปริมาณ
อินทรีย์วัตถุอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ตารางท่ี 4) โดยในปีท่ี 2553 ตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูก
ข้าวโพด 80 วัน มปี ริมาณอนิ ทรีย์วัตถุสูงที่สุด คือ 2.63% ส่วนตารับการทดลองที่ปลูกถั่วน้าหนักพร้อมปลูก
ขา้ วโพด 40 วัน และตารบั การทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีหลงั ปลูกข้าวโพด 80 วนั มปี ริมาณอินทรีย์วัตถุต่าท่ีสุด คือ
2.44% ซ่ึงไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกตารับการทดลอง ส่วนปีท่ี 2554 ตารับการทดลองที่ปลูกถั่ว
นา้ หนักหลังปลกู ขา้ วโพด 80 วนั มีปริมาณอินทรียว์ ตั ถุสงู ทสี่ ดุ คือ 2.86% และตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวแปยี
หลังปลูกข้าวโพด 80 วัน มีปริมาณอินทรีย์วัตถุต่าท่ีสุด คือ 2.62% โดยพบว่าชนิดของถ่ัวท่ีปลูกมีผลต่อ
ปรมิ าณอนิ ทรยี วัตถอุ ย่างมีนัยสาคัญ โดยตารบั การทดลองท่ีปลูกถัว่ น้าหนกั จะมปี รมิ าณอนิ ทรียวัตถุ สูงสุด คือ
2.79% (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 4 การประเมินระดับอนิ ทรียวตั ถุในดิน (Walkly and Black method)

ระดับ (rating) พสิ ยั (range) (เปอร์เซน็ ต์)
< 0.5
ตา่ มาก (very low) 0.5-1.0
1.0-1.5
ตา่ (low) 1.5-2.5
2.5-3.5
ค่อนข้างต่า (moderately low) 3.5-4.5
> 4.5
ปานกลาง (moderately)

ค่อนข้างสูง (moderately high)

สูง (high)

สูงมาก (very high)

ทีม่ า: สานักวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นาทดี่ นิ กรมพฒั นาท่ีดิน (2547)

ตารางที่ 5 ปริมาณอนิ ทรยี วัตถุ (%) ของดินหลังการทดลอง ทีร่ ะดบั ความลกึ 0 – 15 เซนตเิ มตร

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถ่ัว
วนั ท่ีปลกู ถ่ัว ชนิดถว่ั เฉลี่ย ถ่วั แปยี ถว่ั นา้ หนกั เฉลยี่
2.67 2.77
พร้อมข้าวโพด ถ่ัวแปยี ถว่ั นา้ หนกั (วนั ท่ปี ลูกถั่ว) 2.71 2.72 (วนั ทปี่ ลกู ถวั่ )
หลังข้าวโพด 40 วัน 2.62 2.86
หลังข้าวโพด 80 วนั 2.53 2.44 2.49 2.67 b 2.79 a 2.72
เฉลย่ี (ชนิดถั่ว) 2.72
2.48 2.56 2.52 1.91 2.74
CV main 6.26 *
CV Main*Sub 2.63 2.48 2.56

2.54 2.49 ns

3.24

5.02

ตวั เลขท่ีตามหลังดว้ ยอักษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างทางสถิติ โดยใช้ LSD
ns : ไมม่ คี วามแตกตา่ งทางสถติ ิ, * มคี วามแตกตา่ งทางสถิตทิ ่ีระดับความเชือ่ ม่ัน 95%

20

ปรมิ าณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (Available P) ในทุกตารับการทดลองมีค่าเพิ่มสูงข้ึนในแต่
ละปี (ตารางที่ 6) แต่ยังคงอย่ใู นระดับตา่ โดยในปที ี่ 2553 พบวา่ ตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวน้าหนักหลังปลูก
ขา้ วโพด 40 วัน มีปริมาณธาตฟุ อสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ต่าท่ีสุด คือ 5.20 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และทุกตารับ
การทดลองที่ปลูกถ่วั แปยี และตารับการทดลองท่ปี ลกู ถ่ัวน้าหนกั พรอ้ มข้าวโพด มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็น
ประโยชน์ สูงสุดเท่ากัน คือ 5.30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ส่วนปีที่ 2554 พบว่าตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยี
หลังปลูกข้าวโพด 40 วัน มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ต่าสุด คือ 5.30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ
ตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวน้าหนักหลังข้าวโพด 80 วัน มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ สูงสุด คือ
5.43 มิลลิกรมั /กิโลกรัม โดยทั้งสองปีที่ทาการทดลองพบว่าวันท่ีปลูกถั่วไม่มีผลต่อปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่
เปน็ ประโยชน์ และชนดิ ของถว่ั ทป่ี ลูกมผี ลตอ่ ปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรัสท่เี ปน็ ประโยชน์อยา่ งมีนัยสาคัญ โดยตารับ
การทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีจะมีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ สูงสุด คือ 5.33 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
(ตารางท่ี 7)

ตารางที่ 6 การประเมินระดับธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (Mehlich I method)

ระดับ (rating) พสิ ัย (range) (mgkg-1)

ดินทราย ดินเหนียว

ต่ามาก (very low) <7 <5
ต่า (low)
ปานกลาง (moderately) 7-12 5-8
สูง (high)
สงู มาก (very high) 13-24 9-16

25-50 17-30

>50 >30

ทมี่ า: สานกั วิทยาศาสตร์เพ่อื การพฒั นาที่ดนิ กรมพฒั นาที่ดิน (2547)

ตารางท่ี 7 ปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรัสทีเ่ ปน็ ประโยชน์ (Available P) (มลิ ลกิ รมั /กิโลกรัม ) ของดนิ หลงั การ
ทดลอง ที่ระดับความลกึ 0 – 15 เซนติเมตร

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถว่ั
วันทปี่ ลกู ถั่ว ชนิดถัว่ เฉลยี่ ถ่วั แปยี ถั่วน้าหนัก เฉล่ีย
5.37 5.40
พรอ้ มข้าวโพด ถัว่ แปยี ถ่ัวน้าหนกั (วันท่ีปลกู ถว่ั ) 5.30 5.33 (วนั ที่ปลกู ถัว่ )
หลังขา้ วโพด 40 วนั 5.33 5.43
หลงั ขา้ วโพด 80 วัน 5.30 5.30 5.30 5.33 b 5.39 a 5.38
เฉล่ีย (ชนิดถ่วั ) 5.32
5.30 5.20 5.25 1.84 5.38
CV main 1.84 *
CV Main*Sub 5.30 5.23 5.27

5.30 a 5.24 b *

0.45

1.05

ตัวเลขท่ีตามหลงั ด้วยอกั ษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างทางสถิติ โดยใช้ LSD, * มคี วามแตกตา่ งทางสถิติที่ระดบั ความเชือ่ มน่ั 95%

21

ปริมาณธาตุโพแทสเซียมท่ีแลกเปล่ียนได้ (Exchangeable K) ในทุกตารบั การทดลอง มคี า่ เพิ่มสูงข้ึน
ในแต่ละปี (ตารางที่ 6) แต่ยังคงอยู่ในระดับปานกลาง โดยในปีท่ี 2553 พบว่าตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัว
น้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน มีปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปล่ียนได้ ต่าท่ีสุด คือ 55.33 มิลลิกรัม/
กิโลกรัม และตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ สูงสุด คอื 56.50 มลิ ลกิ รมั /กิโลกรัม และไมพ่ บความแตกตา่ งทางสถิติ ส่วนปีที่ 2554 พบว่าตารับ
การทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน มีปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ต่าท่ีสุด คือ
56.67 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน มีปริมาณธาตุ
ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ สูงสุด คือ 57.83 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และไม่พบความแตกต่างทางสถิติ
เชน่ เดียวกบั ปี 2553 (ตารางท่ี 9)

ตารางที่ 8 การประเมินระดับธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปล่ียนได้ (Mehlich I method)

ตา่ มาก ระดบั (rating) พิสัย (range) (mgkg-1)
ตา่ (very low) (mg<ต1อ่5kg)
ปานกลาง (low) 16-30
สูง (moderately) 31-60
สงู มาก (high)
(very high) 61-120
>120

ที่มา: สานักวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การพัฒนาทดี่ นิ กรมพฒั นาทีด่ ิน (2547)

ตารางที่ 9 ปรมิ าณธาตุโพแทสเซยี มท่ีแลกเปลย่ี นได้ (Exchangeable K) (มลิ ลกิ รัม/กิโลกรัม ) ของดนิ หลงั
การทดลอง ทรี่ ะดบั ความลึก 0 – 15 เซนตเิ มตร

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถั่ว
วันที่ปลูกถ่วั ชนิดถว่ั เฉลยี่ ถั่วแปยี ถว่ั น้าหนกั เฉลีย่
56.97 57.53
พรอ้ มข้าวโพด ถ่ัวแปยี ถ่ัวน้าหนกั (วันทีป่ ลกู ถั่ว) 57.33 57.83 (วนั ที่ปลูกถัว่ )
หลงั ข้าวโพด 40 วัน 56.67 57.60
หลังข้าวโพด 80 วนั 55.70 56.37 56.03 56.99 57.66 57.25
เฉล่ยี (ชนิดถ่วั ) 57.58
55.93 55.33 55.63 1.83 57.13
CV main 1.03 ns
CV Main*Sub 56.50 56.20 56.35

56.04 55.97 ns

1.37

2.48

ns : ไม่มคี วามแตกตา่ งทางสถติ ิ

22

2. การเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวโพด

2.1 ความสูงเฉลย่ี ของตน้ ขา้ วโพด เมือ่ อายุ 40 วนั

จากการทดลองพบวา่ ความสูงเฉลยี่ ของตน้ ข้าวโพด เมื่ออายุ 40 วัน ในทุกตารับการทดลองน้ัน ไม่มี
ความแตกต่างกันทางสถติ ิ ทั้ง 2 ปที ีท่ าการทดลอง

โดยในปี 2553 ตารับการทดลองทป่ี ลูกถ่ัวนา้ หนักหลังปลูกขา้ วโพด 40 วนั และ 80 วัน ต้นข้าวโพดที่
อายุ 40 วัน มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 36.50 เซนติเมตร และตารับการ ทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูก
ขา้ วโพด 40 วัน ต้นข้าวโพดที่อายุ 40 วัน ความสูงเฉล่ียต่าสดุ คือ 35.00 เซนติเมตร (ตารางที่ 10)

ในปี 2554 น้ัน พบว่า ตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพด ต้นข้าวโพดที่อายุ 40 วัน มี
ความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 38.03 เซนติเมตร และตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน ต้น
ขา้ วโพดทอ่ี ายุ 40 วนั ความสูงเฉลีย่ ต่าสุด คือ 35.83 เซนติเมตร (ตารางที่ 10)

ตารางท่ี 10 ความสงู เฉลีย่ ของต้นขา้ วโพด เมอ่ื อายุ 40 วนั (เซนตเิ มตร)

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถ่ัว
วันท่ปี ลูกถวั่ ชนดิ ถว่ั เฉลยี่ ถ่ัวแปยี ถัว่ น้าหนัก เฉลีย่
38.03 36.63
พรอ้ มขา้ วโพด ถวั่ แปยี ถ่ัวนา้ หนกั (วันทีป่ ลกู ถัว่ ) 35.77 36.97 (วนั ที่ปลกู ถ่ัว)
หลงั ขา้ วโพด 40 วัน 35.83 36.93
หลงั ข้าวโพด 80 วนั 36.27 36.40 36.33 36.54 36.84 37.33
เฉลี่ย (ชนดิ ถ่ัว) 36.37
35.00 36.50 35.97 1.28 36.38
CV main 6.42 ns
CV Main*Sub 35.43 36.50 35.75

35.56 36.47 ns

1.37

2.48

ns : ไม่มีความแตกตา่ งทางสถติ ิ

23

2.2 ความสงู เฉลยี่ ของตน้ ขา้ วโพด เมอ่ื อายุ 80 วนั

จากการทดลองพบวา่ ความสูงเฉลยี่ ของตน้ ข้าวโพด เม่ืออายุ 80 วัน ในทุกตารับการทดลองน้ัน ไม่มี
ความแตกตา่ งกนั ทางสถิติ ทั้ง 2 ปีทีท่ าการทดลอง เชน่ เดียวกับความสงู เฉลี่ยของต้นข้าวโพด เมือ่ อายุ 40 วัน

โดยในปี 2553 พบวา่ ตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูกข้าวโพด 40 วันนั้น ต้นข้าวโพดท่ีอายุ
80 วัน มีความสูงเฉล่ยี สูงสุด คือ 211.60 เซนติเมตร และตารบั การทดลองท่ีปลูกถั่วน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด
80 วัน ต้นขา้ วโพดทอ่ี ายุ 80 วัน ความสงู เฉลยี่ ต่าสุด คอื 206.57 เซนติเมตร (ตารางท่ี 11)

ในปี 2554 นั้น พบว่า ตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพด ต้นข้าวโพดท่ีอายุ 80 วัน มี
ความสงู เฉล่ียสูงสดุ คอื 213.13 เซนติเมตร และตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน ต้น
ขา้ วโพดท่ีอายุ 80 วัน ความสงู เฉล่ยี ตา่ สดุ คอื 209.87 เซนตเิ มตร (ตารางที่ 11)

ตารางที่ 11 ความสูงเฉลีย่ ของต้นข้าวโพด เมอื่ อายุ 80 วนั (เซนติเมตร)

ปี 2553 ปี 2554
ชนิดถั่ว
วันทีป่ ลูกถว่ั ชนิดถวั่ เฉลย่ี ถวั่ แปยี ถั่วนา้ หนัก เฉล่ยี
213.13 210.37
พร้อมข้าวโพด ถั่วแปยี ถ่ัวน้าหนกั (วันทปี่ ลกู ถ่วั ) 211.90 209.83 (วนั ที่ปลูกถัว่ )
หลังข้าวโพด 40 วนั 206.87 212.67
หลงั ข้าวโพด 80 วนั 211.43 209.13 210.28 210.63 210.96 211.75
เฉล่ยี (ชนิดถว่ั ) 210.87
211.60 209.17 210.38 3.98 209.77
CV main 5.21
CV Main*Sub 206.57 210.50 208.53 ns

209.87 209.60 ns

3.49

5.09

ns : ไมม่ ีความแตกตา่ งทางสถติ ิ

24

2.3 ความสงู เฉลีย่ ของตน้ ข้าวโพด เมือ่ อายุ 120 วัน

จากการทดลองพบวา่ ความสงู เฉลยี่ ของตน้ ข้าวโพด เม่อื อายุ 120 วัน ในทกุ ตารับการทดลองนั้น ไม่มี
ความแตกต่างกันทางสถิติ ทั้ง 2 ปีที่ทาการทดลอง เช่นเดียวกับความสูงเฉลี่ยของต้นข้าวโพด เม่ืออายุ 40
และ 80 วัน

โดยในปี 2553 พบว่าตารบั การทดลองที่ปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 40 วันนั้น ต้นข้าวโพดท่ีอายุ
120 วัน มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 211.60 เซนติเมตร และตารับการ ทดลองท่ีปลูกถั่วน้าหนักหลังปลูก
ขา้ วโพด 80 วนั ต้นขา้ วโพดท่อี ายุ 120 วนั ความสูงเฉล่ียตา่ สุด คอื 206.57 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 12)

ในปี 2554 น้นั พบวา่ ตารับการทดลองที่ปลูกถั่วน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน ต้นข้าวโพดท่ีอายุ
120 วัน มีความสงู เฉล่ยี สูงสดุ คือ 217.83 เซนติเมตร และตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพด ต้น
ข้าวโพดทอี่ ายุ 120 วัน ความสูงเฉล่ยี ต่าสุด คอื 213.97 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 12)

ตารางท่ี 12 ความสงู เฉลี่ยของตน้ ข้าวโพด เม่ืออายุ 120 วัน (เซนติเมตร)

วนั ที่ปลูกถัว่ ปี 2553 เฉลีย่ ปี 2554 เฉลย่ี
ชนดิ ถั่ว ชนิดถ่ัว
พร้อมขา้ วโพด ถวั่ แปยี ถวั่ นา้ หนกั (วนั ทีป่ ลกู ถัว่ ) ถัว่ แปยี ถวั่ นา้ หนัก (วนั ท่ปี ลูกถวั่ )
หลงั ข้าวโพด 40 วนั 213.47 216.73 213.97 217.47
หลงั ขา้ วโพด 80 วนั 215.07 215.83 215.10 216.20 217.83 215.72
เฉล่ยี (ชนิดถว่ั ) 214.83 214.77 215.45 216.27 215.93 217.02
214.46 215.78 214.80 215.48 217.08 216.10
CV main
CV Main*Sub 2.22 ns 2.42 ns
2.36 2.42

ns : ไม่มคี วามแตกต่างทางสถิติ

25

2.4 นา้ หนักฝักสดเฉลีย่ ของขา้ วโพด

น้าหนักฝักสดเฉล่ียของข้าวโพด ในปี 2553 พบว่าตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพด
ขา้ วโพดมีน้าหนกั ฝักสดเฉลยี่ สงู สุด คือ 6,091.77 กโิ ลกรัม/ไร่ และตารับการทดลองที่ปลกู ถั่วน้าหนักหลังปลูก
ข้าวโพด 40 วัน ข้าวโพดมีนา้ หนกั ฝักสดเฉล่ียต่าสุด คือ 4,817.40 กิโลกรัม/ไร่ โดยพบว่าชนิดของถ่ัวไม่มีผล
ตอ่ นา้ หนกั ฝกั สดเฉลย่ี ของข้าวโพด แต่พบว่าวันท่ีปลูกถั่วมีผลต่อน้าหนักฝักสดเฉล่ียของข้าวโพด ซึ่งอาจเป็น
ผลมาจากมกี ารแข่งขนั การเจริญเตบิ โต และการใชธ้ าตุอาหารระหว่างพืชที่ปลูกร่วมกัน โดยตารับการทดลอง
ทป่ี ลกู ถวั่ พร้อมข้าวโพด ข้าวโพดมีน้าหนักฝกั สดเฉลย่ี สูงสดุ คอื 5,681.17 กโิ ลกรมั /ไร่ ซง่ึ มีความแตกต่างอย่าง
มีนัยสาคัญ กับตารับการทดลองที่ปลูกถั่วหลังข้าวโพด 40 และ 80 วัน ซึ่งข้าวโพดมีน้าหนักฝักสดเฉลี่ย
5,128.87 และ 5,043.75 กโิ ลกรัม/ไร่ ตามลาดบั (ตารางที่ 13)

ในปี 2554 นั้น พบว่าตารบั การทดลองที่ปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 40 วันนั้น ข้าวโพดมีน้าหนัก
ฝักสดเฉลี่ยสงู สดุ คอื 5,910.63 กโิ ลกรัม/ไร่ และตารบั การทดลองที่ปลูกถ่ัวน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน
ข้าวโพดมีน้าหนักฝักสดเฉลี่ยต่าสุด คือ 5,083.30 กิโลกรัม/ไร่ และโดยพบว่าวันท่ีปลูกถ่ัวน้ันไม่มีผลต่อ
น้าหนักฝักสดเฉล่ียของข้าวโพด แต่ชนิดของถั่วมีผลต่อน้าหนักฝักสดเฉลี่ยของข้าวโพดอย่างมีนัยสาคัญย่ิง
โดยตารบั การทดลองที่ปลกู ถ่วั แปยนี ัน้ ข้าวโพดมีนา้ หนกั ฝกั สดเฉล่ีย 5,786.03 กิโลกรัม/ไร่ ซ่ึงมากกว่าตารับ
การทดลองท่ีปลูกถัว่ น้าหนกั ที่ขา้ วโพดมีนา้ หนกั ฝักสดเฉล่ยี 5,366.70 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 13)

ตารางที่ 13 น้าหนกั ฝกั สดเฉลี่ยของขา้ วโพด (กิโลกรัม/ไร)่

ปี 2553 ปี 2554
ชนดิ ถวั่
วนั ทป่ี ลกู ถว่ั ถ่ัวแปยี ถ่วั นา้ หนัก เฉลี่ย ชนิดถั่ว เฉลีย่
6,091.77 5,270.57
พรอ้ มข้าวโพด 5,440.33 4,817.40 (วันทปี่ ลกู ถวั่ ) ถั่วแปยี ถัว่ นา้ หนัก (วนั ทปี่ ลูกถว่ั )
หลังขา้ วโพด 40 วัน 4,845.23 5,242.27
หลังข้าวโพด 80 วัน 5,459.11 5,110.08 5,681.17 a 5,780.43 5,610.33 5,695.38
เฉล่ีย (ชนดิ ถวั่ ) 5,128.87 b
5.95 5,043.75 b 5,910.63 5,083.30 5,496.97
CV main 7.72
CV Main*Sub * 5,667.03 5,406.47 5,536.75

5,786.03 a 5,366.70 b **

1.86

11.67

ตวั เลขท่ีตามหลังดว้ ยอกั ษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างทางสถิติ โดยใช้ LSD,
* : มีความแตกต่างทางสถิตทิ ีร่ ะดบั ความเชอ่ื ม่นั 95%, ** : มคี วามแตกต่างทางสถติ ทิ ี่ระดบั ความเชอื่ มน่ั 99%

26

3. การเจรญิ เตบิ โตและผลผลิตถว่ั

3.1 ความสงู เฉลีย่ ของตน้ ถ่ัว เม่ืออายุ 40 วนั

โดยในปี 2553 พบว่าตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีพร้อมข้าวโพดน้ัน ถ่ัวแปยี เม่ืออายุ 40 วัน มี
ความสงู เฉลีย่ สงู สดุ คอื 45.80 เซนตเิ มตร และตารบั การทดลองที่ปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน ถั่วแป
ยี เมื่ออายุ 40 วัน มีความสงู เฉลี่ยต่าสุด คอื 20.90 เซนติเมตร (ตารางท่ี 14)

ในปี 2554 นั้น พบว่าตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีพร้อมข้าวโพดนั้น ถ่ัวแปยี เมื่ออายุ 40 วัน มี
ความสงู เฉลี่ยสงู สดุ คือ 47.30 เซนติเมตร และตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 40 วัน ถ่ัวแป
ยี เมอ่ื อายุ 40 วัน มีความสงู เฉลีย่ ต่าสดุ คอื 22.13 เซนตเิ มตร เชน่ เดยี วกบั ปี 2553 (ตารางที่ 14)

นอกจากน้ียังพบวา่ ในทง้ั 2 ปีท่ที าการทดลองนัน้ ชนิดของถ่ัวไม่มีผลต่อความสูงเฉล่ียของต้นถ่ัว ท้ัง
2 ชนิด เมือ่ อายุ 40 วัน แตพ่ บว่าวนั ท่ีปลูกถว่ั มผี ลต่อความสงู เฉลี่ยของตน้ ถว่ั ท้ัง 2 ชนิด เมื่ออายุ 40 วัน ซึ่ง
อาจเป็นผลมาจากมีการแข่งขันการเจริญเติบโต การบังแสงของต้นข้าวโพด และการใช้ธาตุอาหารระหว่าง
ข้าวโพดท่ีปลูกร่วมกัน โดยใน ปี 2553 และ 2554 ตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวพร้อมข้าวโพด ต้นถ่ัวท้ัง 2
ชนิด มีความสูงเฉล่ียสงู สดุ คือ 34.83 และ 36.22 เซนติเมตร ตามลาดบั รองมา คือตารับการทดลองท่ีปลูก
ถว่ั หลงั ข้าวโพด 40 วนั ต้นถั่วท้ัง 2 ชนดิ มีความสงู เฉลยี่ 32.63 และ 33.83 เซนติเมตร ตามลาดับ และ ตารับ
การทดลองท่ีปลูกถ่ัวหลังข้าวโพด 80 วัน ต้นถั่วท้ัง 2 ชนิด มีความสูงเฉลี่ยต่าสุด คือ 24.58 และ 25.43
เซนตเิ มตร ตามลาดับ ซึ่งมคี วามแตกต่างทางสถิติจาก 2 ตารับแรกอยา่ งมนี ัยสาคัญย่งิ (ตารางท่ี 14)

ตารางที่ 14 ความสงู เฉล่ียของต้นถัว่ เมอ่ื อายุ 40 วนั (เซนติเมตร)

ปี 2553 ปี 2554
ชนดิ ถวั่
วนั ทีป่ ลูกถั่ว ชนดิ ถว่ั เฉล่ยี ถว่ั แปยี ถัว่ นา้ หนัก เฉล่ีย
47.30 25.13
พรอ้ มขา้ วโพด ถว่ั แปยี ถวั่ นา้ หนกั (วนั ที่ปลูกถว่ั ) 22.13 45.53 (วนั ทีป่ ลกู ถั่ว)
หลงั ข้าวโพด 40 วนั 26.67 24.20
หลังข้าวโพด 80 วัน 45.80 23.87 34.83 a 32.03 31.62 36.22 a
เฉลยี่ (ชนิดถัว่ ) 33.83 a
20.90 44.37 32.63 a 6.70 25.43 b
CV main 7.08
CV Main*Sub 26.57 22.60 24.58 b **

31.09 30.28 **

8.56

10.74

ตัวเลขท่ีตามหลังดว้ ยอักษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างทางสถติ โิ ดยใช้ LSD, ** : มีความแตกตา่ งทางสถติ ทิ ีร่ ะดับความเชอื่ มนั่ 99%

27

3.2 ความสูงเฉล่ียของตน้ ถ่ัว เมอ่ื อายุ 80 วนั

โดยในปี 2553 พบว่าตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวแปยีพร้อมข้าวโพดน้ัน ถั่วแปยีเมื่ออายุ 80 วัน มี
ความสงู เฉล่ยี สูงสุด คือ 175.57 เซนติเมตร และตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน ถ่ัว
แปยี เมอ่ื อายุ 80 วนั มีความสงู เฉลยี่ ต่าสดุ คือ 144.50 เซนตเิ มตร (ตารางท่ี 15)

ในปี 2554 นั้น พบว่าตารับการทดลองที่ปลูกถั่วแปยีพร้อมข้าวโพดนั้น ถั่วแปยี เม่ืออายุ 80 วัน มี
ความสงู เฉล่ียสงู สุด คอื 177.13 เซนตเิ มตร และตารบั การทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีหลังปลูกข้าวโพด 80 วัน ถั่ว
แปยี เมอ่ื อายุ 80 วนั มีความสูงเฉลี่ยต่าสุด คอื 147.17 เซนตเิ มตร เชน่ เดียวกบั ปี 2553 (ตารางที่ 15)

นอกจากนี้ยงั พบวา่ ในท้ัง 2 ปที ี่ทาการทดลองนั้น ชนิดของถั่วไม่มีผลต่อความสูงเฉล่ียของต้นถั่ว ทั้ง
2 ชนิด เม่ืออายุ 80 วัน แต่พบว่าวันที่ปลูกถั่วมีผลต่อความสูงเฉล่ียของต้นถ่ัว ทั้ง 2 ชนิด เม่ืออายุ 80 วัน
เช่นเดียวกับความสูงเฉลี่ยของต้นถั่ว ทั้ง 2 ชนิด เมื่ออายุ 40 วัน ซึ่งอาจเป็นผลมาจากมีการแข่งขันการ
เจริญเติบโต การบังแสงของต้นข้าวโพด และการใช้ธาตุอาหารระหว่างข้าวโพดที่ปลูกร่วมกัน โดยใน ปี 2553
และ 2554 ตารบั การทดลองท่ปี ลกู ถัว่ พรอ้ มขา้ วโพด ต้นถั่วทง้ั 2 ชนดิ มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 174.20 และ
176.08 เซนติเมตร ตามลาดับ รองมา คอื ตารบั การทดลองท่ีปลกู ถ่วั หลังข้าวโพด 40 วัน ต้นถั่วทั้ง 2 ชนิด มี
ความสงู เฉล่ีย 169.38 และ 171.40 เซนติเมตร ตามลาดับ และ ตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวหลังข้าวโพด 80
วัน ต้นถ่ัวท้ัง 2 ชนิด มีความสูงเฉลี่ยต่าสุด คือ 149.22 และ 151.33 เซนติเมตร ตามลาดับ ซ่ึงมีความ
แตกตา่ งทางสถติ ิจาก 2 ตารับแรกอย่างมนี ยั สาคัญยิง่ (ตารางที่ 15)

ตารางท่ี 15 ความสูงเฉล่ยี ของต้นถวั่ เมอ่ื อายุ 80 วนั (เซนตเิ มตร)

ปี 2553 ปี 2554
ชนดิ ถ่ัว
วนั ท่ีปลกู ถว่ั ชนดิ ถ่วั เฉลยี่ ถว่ั แปยี ถัว่ นา้ หนัก เฉล่ยี
177.13 175.03
พร้อมข้าวโพด ถ่วั แปยี ถ่ัวนา้ หนัก (วันทปี่ ลูกถั่ว) 174.70 168.10 (วนั ท่ีปลูกถ่ัว)
หลงั ข้าวโพด 40 วัน 147.17 155.50
หลังขา้ วโพด 80 วนั 175.57 172.83 174.20 a 166.33 166.21 176.08 a
เฉล่ีย (ชนดิ ถ่ัว) 171.40 a
173.80 164.97 169.38 a 0.67 151.33 b
CV main 1.55
CV Main*Sub 144.50 153.93 149.22 b **

164.62 163.91 **

1.52

1.66

ตัวเลขที่ตามหลังด้วยอักษรเหมือนกนั ไม่แตกต่างทางสถิติโดยใช้ LSD, ** : มคี วามแตกต่างทางสถติ ทิ รี่ ะดบั ความเชือ่ ม่นั 99%

28

3.3 ความสูงเฉลี่ยของต้นถ่วั เมอ่ื อายุ 120 วนั

โดยในปี 2553 พบว่าตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 80 วันนั้น ถั่วน้าหนักเม่ือ
อายุ 120 วัน มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 256.13 เซนติเมตร และตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวน้าหนักพร้อม
ขา้ วโพด ถวั่ น้าหนกั เมือ่ อายุ 80 วัน มคี วามสงู เฉลีย่ ต่าสุด คอื 191.63 เซนติเมตร (ตารางท่ี 16)

ในปี 2554 น้นั พบวา่ ตารับการทดลองท่ปี ลูกถั่วน้าหนักหลังปลูกข้าวโพด 80 วันน้ัน ถั่วน้าหนักเมื่อ
อายุ 120 วัน มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด คือ 256.87 เซนติเมตร และตารับการทดลองที่ปลูกถั่วน้าหนักพร้อม
ขา้ วโพด ถวั่ นา้ หนกั เมอื่ อายุ 80 วัน มีความสูงเฉลี่ยตา่ สุด คือ 194.13 เซนติเมตร (ตารางที่ 16)

นอกจากนี้ยังพบว่าในท้ัง 2 ปีท่ีทาการทดลองนั้น ท้ังชนิดของถั่วและวันที่ปลูกถ่ัวมีผลต่อความสูง
เฉลย่ี ของตน้ ถ่ัว ทัง้ 2 ชนดิ เมอื่ อายุ 120 วนั โดยถ่ัวน้าหนักจะมีความสูงเฉล่ีย เมื่ออายุ 120 วัน สูงกว่าถ่ัวแป
ยีอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยในปี 2553 และ 2554 ถั่วน้าหนักจะมีความสูงเฉล่ีย เมื่ออายุ 120 วัน
234.62 และ 236.32 เซนติเมตร ตามลาดับ ในขณะท่ีถั่วแปยีจะมีความสูงเฉล่ีย เม่ืออายุ 120 วัน 213.37
และ 216.23 เซนติเมตร ตามลาดับ ส่วนปัจจัยด้านวันท่ีปลูกถั่วน้ันพบว่า ตารับการทดลองที่ปลูกถั่วหลัง
ข้าวโพด 80 วนั ตน้ ถ่วั ท้ัง 2 ชนิด มีความสงู เฉลี่ยสงู สุด คือ 253.30 และ 254.28 เซนติเมตร ตามลาดับ รอง
มา คือตารับการทดลองท่ปี ลกู ถ่ัวหลังขา้ วโพด 40 วนั ตน้ ถั่วทั้ง 2 ชนดิ มคี วามสูงเฉล่ีย 225.65 และ 227.82
เซนติเมตร ตามลาดับ และ ตารับการทดลองท่ีปลูกถั่วพร้อมข้าวโพด ต้นถั่วท้ัง 2 ชนิด มีความสูงเฉลี่ยต่าสุด
คือ 193.03 และ 196.73 เซนติเมตร ตามลาดับ ซ่ึงทุกตารับการทดลองมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมี
นยั สาคัญยงิ่ (ตารางท่ี 16)

ตารางท่ี 16 ความสูงเฉลี่ยของต้นถัว่ เมื่ออายุ 120 วัน (เซนตเิ มตร)

วันทีป่ ลูกถัว่ ปี 2553 เฉลย่ี ปี 2554 เฉลีย่
ชนดิ ถวั่ ชนิดถ่ัว
พร้อมข้าวโพด ถ่ัวแปยี ถ่วั น้าหนกั (วันที่ปลกู ถวั่ ) ถั่วแปยี ถ่ัวนา้ หนัก (วนั ที่ปลูกถั่ว)
หลังข้าวโพด 40 วนั 194.43 191.63 199.33 194.13
หลังข้าวโพด 80 วนั 195.20 256.10 193.03 c 197.67 257.97 196.73 c
เฉลยี่ (ชนิดถ่ัว) 250.47 256.13 225.65 b 251.70 256.87 227.82 b
213.37 b 234.62 a 253.30 a 216.23 b 236.32 a 254.28 a
CV main
CV Main*Sub 0.75 ** 0.49 **
2.22 1.43

ตัวเลขที่ตามหลงั ด้วยอกั ษรเหมือนกันไม่แตกต่างทางสถิตโิ ดยใช้ LSD, ** : มีความแตกตา่ งทางสถิติทรี่ ะดบั ความเชือ่ มน่ั 99%

29

3.4 นา้ หนักฝกั สดเฉล่ยี ของถัว่

น้าหนักฝักสดเฉล่ียของถ่ัว ในปี 2553 และปี 2554 พบว่าตารับการทดลองที่ปลูกถ่ัวน้าหนักพร้อม
ข้าวโพด ถ่ัวน้าหนักมีน้าหนักฝักสดเฉล่ียสูงสุด คือ 1,700.43 และ 1,745.03 กิโลกรัม/ไร่ ตามลาดับ และ
ตารับการทดลองท่ีปลูกถ่ัวแปยีพร้อมข้าวโพด ถั่วแปยีมีน้าหนักฝักสดเฉลี่ยต่าสุด คือ 237.27 และ 431.17
กิโลกรัม/ไร่ ตามลาดับ

นอกจากน้ียังพบว่าวันที่ปลูกถั่วไม่มีผลต่อน้าหนักฝักสดเฉลี่ยของถ่ัว ท้ัง 2 ชนิด แต่ชนิดของถ่ัวมีผล
ต่อน้าหนักฝักสดเฉลี่ยของถ่ัว ท้ัง 2 ชนิด อย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยถ่ัวน้าหนักจะให้ผลผลิตฝักสด
มากกว่าถั่วแปยี ท้ัง 2 ปีท่ีทาการทดลอง ในปี 2553 และ 2554 ถั่วแปยีจะมีน้าหนักฝักสดเฉลี่ย 281.70
และ 464.08 กิโลกรัม/ไร่ ตามลาดับ ส่วนถั่วน้าหนักจะมีน้าหนักฝักสดเฉล่ีย 1,642.12 และ 1,687.02
กโิ ลกรัม/ไร่ ตามลาดับ (ตารางที่ 17)

ตารางที่ 17 นา้ หนักฝกั สดเฉล่ยี ของถัว่ (กโิ ลกรัม/ไร่)

ปี 2553 ปี 2554

วันทป่ี ลกู ถว่ั ชนิดถัว่ เฉลย่ี ชนิดถั่ว เฉลีย่

พรอ้ มขา้ วโพด ถั่วแปยี ถ่ัวนา้ หนกั (วนั ทีป่ ลูกถ่วั ) ถั่วแปยี ถั่วน้าหนัก (วันทปี่ ลกู ถว่ั )
หลังข้าวโพด 40 วนั
หลงั ข้าวโพด 80 วัน 237.27 1,700.43 968.85 431.17 1,745.03 1,088.10
เฉล่ีย (ชนดิ ถ่ัว)
282.47 1,594.43 938.45 480.07 1,661.50 1,070.78
CV main
CV Main*Sub 325.37 1,631.50 978.43 481.00 1,654.53 1,067.77

281.70 b 1,642.12 a ** 464.08 b 1,687.02 a **

1.09 1.76

5.45 3.74

ตวั เลขท่ีตามหลงั ดว้ ยอักษรเหมอื นกนั ไม่แตกต่างทางสถิตโิ ดยใช้ LSD, ** : มคี วามแตกต่างทางสถิตทิ ี่ระดบั ความเช่อื ม่ัน 99%

30

สรุปผลการทดลอง

ศึกษาพชื ตระกลู ถวั่ พนั ธ์พุ ้ืนเมอื งของจังหวดั แม่ฮ่องสอน ในปรับปรงุ บารงุ ดินสาหรับการปลูกข้าวโพด
ปี 2553 - 2554 นน้ั สรุปผลการทดลอง ไดด้ ังนี้

สมบตั ทิ างเคมบี างประการของดินนน้ั ทง้ั คา่ ความเป็นกรดเปน็ ดา่ งของดิน (pH), ปริมาณอินทรียวัตถุ
ในดิน (OM), ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณธาตุโพแทสเซียมท่ี
แลกเปล่ียนได้ (Exchangeable K) มีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น โดยค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) มีค่า
เพิ่มขึน้ จากกรดจัดเป็นกรดปานกลาง ส่วนปริมาณอนิ ทรียวัตถุในดนิ (OM) น้นั เพ่ิมข้ึนจากระดับปานกลางเป็น
คอ่ นข้างสงู ปรมิ าณธาตุฟอสฟอรสั ท่เี ป็นประโยชน์ (Available P) และปรมิ าณธาตุโพแทสเซียมท่ีแลกเปลี่ยน
ได้ (Exchangeable K) มีแนวโน้มเพิ่มสูง แต่ยังคงอยู่ในระดับเดิมกันก่อนการทดลอง คือระดับต่ามาก และ
ระดับตา่ ตามลาดับ ซึ่งการท่ีสมบัติทางเคมีบางประการของดิน มีค่าเพิ่มข้ึนน้ัน อาจเน่ืองมาจากมีสับกลบพืช
ตระกลู ถัว่ ซึ่งเปน็ พชื ปุ๋ยสดลงไปในดินหลังจากเก็บเกีย่ วผลผลติ ถ่วั ซ่ึงเป้นการปรบั ปรุงบารุงดินใหด้ ีขนึ้

การเจริญเตบิ โตและผลผลติ น้าหนกั สดของขา้ วโพดนั้น พบวา่ การปลกู ถ่ัวแซมหรือเหลื่อมข้าวโพดน้ัน
ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด แต่มีผลต่อผลผลิตของข้าวโพดในทางสถิติ โดยในปีที่หน่ึงข้าวโพดมี
น้าหนกั ฝักสดเฉล่ยี 5,284.59 กิโลกรมั /ไร่ ส่วนปีทส่ี องข้าวโพดมนี า้ หนักฝักสดเฉล่ีย 5,576.37 กิโลกรัม/ไร่
ซ่งึ มผี ลผลิตเพ่ิมขน้ึ 291.77 กโิ ลกรัม/ไร่ หรือคดิ เป็น 5.52%

การเจริญเติบโตและผลผลิตน้าหนักสดของถ่ัวนั้น พบว่า การปลูกถั่วแซมหรือเหลื่อมข้าวโพด และ
ชนิดของถั่วท่ีปลูกน้ัน มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของถ่ัวในทางสถิติ โดยเฉพาะการปลูกถ่ัวหลังจาก
ปลูกข้าวโพดแล้ว จะมีผลทาให้ถ่ัวมีการเจริญเติบโตน้อยกว่าถั่วที่ปลูกพร้อมข้าวโพด ซึ่งอาจเป็นผลมาจาก มี
การแข่งขันการเจรญิ เตบิ โต การบังแสง และการใช้ธาตุอาหารระหวา่ งถว่ั กับข้าวโพดท่ีปลูกร่วมกัน และในการ
ทดลอง และสาเหตทุ ถี่ ว่ั ท้ัง 2 ชนิดท่ีทาการทดลอง มีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่างกันมาก เนื่องจากในช่วงที่ทาการ
ทดลองน้ันไม่ต้องกับฤดูปลูกของถั่วแปยี ซึ่งนิยมเริ่มปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคม ทาให้ได้ผลผลิตถั่วแปยีน้อย
ซ่ึงไม่ตรงช่วงท่ีทาการทดลอง คือ เร่ิมการทดลองในเดือนพฤษภาคม เพื่อให้สอดคล้องกับการเบิกจ่าย
งบประมาณ

ประโยชน์ที่ได้รับ

1. เป็นแนวทางการเพิ่มการใชป้ ระโยชน์จากพืชในท้องถิ่นที่เกษตรกรมีความคุ้นเคย มาใช้เป็นพืชปุ๋ย
สดเพือ่ ปรับปรงุ บารงุ ดินสาหรับปลกู ข้าวโพด

2. ดินมีสมบัติทางเคมีและทางกายภาพดีขนึ้ เนื่องจากการมกี ารพืชตระกูลถ่วั ในการปรับปรุงบารุงดนิ
3. เปน็ แนวทางใหเ้ กษตรกรนาไปปฏิบัติ เพอื่ เปน็ เพ่มิ รายได้ในจากการปลูกพืชแซมและพชื เหลื่อม
4. เป็นข้อมูลพนื้ ฐานทส่ี ามารถนาไปใช้ในงานวิจยั อนื่ ต่อไปได้

31

ขอ้ เสนอแนะ

1. การใช้ปุ๋ยพืชสด มีแนวโน้มทาให้ผลผลิตและความอุดมสมบูรณ์ของดินดีข้ึน ซึ่งอาจจะเป็นการ
ช่วยลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้ แต่การใช้ปุ๋ยพืชสดน้ันต้องคานึงถึง เมล็ดพันธ์ุดี อัตราการงอกของเมล็ดพันธ์ุ และ
การจดั การดนิ เพอ่ื ใหไ้ ด้มวลชวี ภาพเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของพชื ทป่ี ลูก

2. การปลูกพืชแซมหรือพืชเหลื่อมควรคานึงถึง ชนิดพืชท่ีปลูก วันท่ีเหมาะสมในการปลูกพืชเหล่ือม
ฤดูปลูกของพชื แต่ละชนิดให้สอดคล้องกัน และการใช้ธาตุอาหารของพืชแต่ละชนิดเพื่อลดการแข่งขันกันของ
พืชทป่ี ลกู ร่วมกนั

เอกสารอ้างองิ

กรมพัฒนาที่ดนิ . 2540. พืชตระกูลถ่ัวเพอ่ื การปรับปรงุ บารงุ ดนิ .คณะกรรมการกาหนดมาตรการและจดั ทา
เอกสารอนุรกั ษด์ ินและน้า และการจัดการดิน กรมพฒั นาท่ดี ิน กรุงเทพฯ.หนา้ 30–33 และหน้า
64–73.

กรมพฒั นาทด่ี นิ . 2545. คมู่ อื การจัดการดินกับพชื เศรษฐกจิ สาหรับเกษตรกรในจงหวัดแม่ฮ่องสอน. กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์. 157 น.

กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. 2553. ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว.์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 6 น.
ชาญชยั มณีดลุ . พืชอาหารสัตว์ในวงศ์ถว่ั . [ระบบออนไลน]์ แหล่งท่ีมา : http://guru.sanook.com/

search/knowledge_search.php?q=%B6%D1%E8%C7%E1%C5%E7%BA%E1%C5%E7
%BA+%28Lablab+purpureus%29&select=1#s5
ฉตั รสุดา เชงิ อักษร. 2553. ถ่วั แปยีกับปะหลอ่ งทีบ่ า้ นปางแดงใน. หนงั สือพิมพ์กสิกร 83 (1), 22-25.
ดวงจันทร์ เกรียงสุวรรณ. 2544. สิบวิธีการปลูกพืชเพื่อรักษาหน้าดินและสงวนนา้ . [ระบบออนไลน์]
แหล่งที่มา : http://natres.psu.ac.th/radio/radio_article/radio43-44/43-440021.htm
นิภา เลขะสุนทรากร. 2540. การปลูกถ่ัวลิสง และถ่ัวปุ๋ยพืชสดแซมข้าวโพดต่อผลผลิตข้าวโพด และสมบัติ
ของดิน. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พัฒน์ วิบูลย์เจริญผล. 2535. การศกึ ษาช่วงเวลาการปลูกพชื แซมแบบเหลือ่ มฤดขู องถั่วเหลอื งในแปลง ปลกู
ขา้ วโพดในฤดฝู นของจังหวดั ขอนแกน่ . วิทยานพิ นธ์มหาบัณฑิต วทิ ยาศาสตร์ (พืชศาสตร์)
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บัณฑติ วิทยาลัย,ขอนแกน่
ริชาร์ด เบอร์เนตต์. 2549. ทางเลือกในการทาวนเกษตรสาหรับไร่และสวนขนาดเล็กบนพ้ืนท่ีสูง.เชียงใหม่ :
โครงการพัฒนาพื้นท่ีสูง/UHDP. [ระบบออนไลน]์ แหล่งท่ีมา:
www.floresta.org/Agroforestry_Thai_web.pdf

32

สมพร ทองแดง และคณะ. 2537. ผลของการบังแสงในระบบการปลูกข้าวโพดแซมด้วยถ่ัวลิสง ถั่วแปป
และถั่วมะแฮะต่อผลผลิตของพืช. การศึกษาสมบัติของดิน การใช้ปุ๋ย และการปรับปรุงดินเพื่อการ
ปลูกข้าวโพดและข้าวฟ่าง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมพร ทองแดง และคณะ. 2539. ผลของการบังแสงในการปลูกข้าวโพดแซมด้วยถ่ัวลิสง ถั่วแปบ และถ่ัว
มะแฮะซ้าท่ีเดิม ต่อผลผลิตพืชที่ปลูกครั้งที่สอง. บทคัดย่อการประชุมวิชาการข้าวโพดข้าวฟ่าง
แห่งชาติ ครั้งท่ี 27. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการเกษตร.

สวสั ดี บญุ ชี, ไชยสทิ ธิ์ เอนกสัมพนั ธ์ และ นอรแ์ มน วลิ เลียมส์. 2529. ระบบการปลูกพืชเพ่ือการอนุรักษ์บนท่ี
ดอนในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. ใน รายงานการสมั มนา เร่อื ง ระบบการทาฟารม์ ครง้ั ท่ี 3 วันที่
3-4 เมษายน 2529 จงั หวัดเชยี งใหม่.

สขุ มุ โชติช่วงมณีรัตน์. 2550. การปลูกถั่วแปบเพ่ือปรับปรุงบารุงดิน. [ระบบออนไลน]์ แหล่งที่มา :
http://rdi.ku.ac.th/kufair50/plant/57-2_plant/57-2_plant.htm

สุฐดิ า สวุ รรณดี. 2543. อิทธิพลของอายุและการตัดยอดข้าวโพดไร่ที่มตี อ่ การเจริญเติบและผลผลิตของถว่ั พุม่
และถัว่ น้วิ นางแดงในระบบการปลูกพชื เหลอ่ื มฤดูในสภาพนา้ ฝน และน้าชลประทาน. วิทยานิพนธ์
มหาบณั ฑติ วทิ ยาศาสตร์ (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บัณฑิตวิทยาลยั ,ขอนแก่น

สานักงานเกษตรอาเภอนครหลวง. 2007. ข้าวโพด [online]. http://ayutthaya.doae.go.th/ nakhonlua
ng / kvijakan/vijakann6.htm (24 July 2005)

สานกั งานพัฒนาท่ีดินเขต 6. ผลสาเร็จงานวชิ าการของกรมพฒั นาที่ดนิ ปี 2537 – 2541. [ระบบออนไลน]์
แหล่งที่มา : http://www.ldd.go.th/pldweb/tech/ผลสาเรจ็ /Chapter%2010_5.htm

อรรณพ คณาเจริญพงศ์. 2534. ผลของวันปลูกถั่วดาและถั่วแปยีที่ปลูกเหล่ือมข้าวโพดต่อการเจริญเติบโต
และผลผลิตของข้าวโพดและถั่วทั้งสองภายใต้สภาพท่ีดอนอาศัยน้าฝน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
วิทยาศาสตร์ (วชิ าพชื ไร่) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ บณั ฑิตวิทยาลัย, เชียงใหม่

33

ภาคผนวก

34

ตารางภาคผนวกท่ี 1 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนค่าความเป็นกรดเปน็ ด่างของดิน (pH) หลงั เกบ็
เก่ียวผลผลิตของขา้ วโพดและถวั่ ปี 2553

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.00444 0.00222

bean 1 0.00056 0.00056 0.25 0.6667 ns

Error Rep*bean 2 0.00444 0.00222 ns
ns
day 2 0.05444 0.02722 1.23 0.3435

bean*day 2 0.01444 0.00722 0.32 0.7316

Error Rep*bean*day 8 0.17778 0.02222

Total 17 0.25611

Grand Mean 5.5722

CV(Rep*bean) 0.85

CV(Rep*bean*day) 2.68

ตารางภาคผนวกที่ 2 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) หลังเก็บเก่ียว
ผลผลติ ของขา้ วโพดและถ่วั ปี 2554

Source DF SS MS F P
Rep 2 4.29E-30 2.15E-30
bean 1 0.005 0.005 0.75 0.4778 ns
Error Rep*bean 2 0.01333 0.00667
day 2 0.01333 0.00667 0.47 0.6409 ns
bean*day 2 6.54E-31 3.27E-31 0.00 1.0000 ns
Error Rep*bean*day 8 0.11333 0.01417
Total 17 0.145
Grand Mean 5.7833
CV(Rep*bean) 1.41
CV(Rep*bean*day) 2.06

35

ตารางภาคผนวกที่ 3 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนปริมาณอินทรียวัตถุ (%) หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตของ
ขา้ วโพดและถ่วั ปี 2553

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.00063 0.00032

bean 1 0.0128 0.0128 1.92 0.2997 ns

Error Rep*bean 2 0.0133 0.00665

day 2 0.0147 0.00735 0.46 0.6471 ns

bean*day 2 0.0427 0.02135 1.34 0.3158 ns

Error Rep*bean*day 8 0.12787 0.01598

Total 17 0.212

Grand Mean 2.52

CV(Rep*bean) 3.24

CV(Rep*bean*day) 5.02

ตารางภาคผนวกท่ี 4 ตารางวิเคราะหค์ วามแปรปรวนปรมิ าณอินทรียวัตถุ (%) หลังเก็บเกยี่ วผลผลติ ของ
ขา้ วโพดและถว่ั ปี 2554

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.01154 0.00577

bean 1 0.06361 0.06361 23.51 0.0400 *

Error Rep*bean 2 0.00541 0.00271

day 2 0.00231 0.00116 0.04 0.9613 ns

bean*day 2 0.03684 0.01842 0.63 0.5560 ns

Error Rep*bean*day 8 0.23311 0.02914

Total 17 0.35283

Grand Mean 2.7261

CV(Rep*bean) 1.91

CV(Rep*bean*day) 6.26

36

ตารางภาคผนวกที่ 5 ตารางวเิ คราะห์ความแปรปรวนปริมาณธาตฟุ อสฟอรสั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ (Available P)
(มลิ ลิกรัม/กโิ ลกรมั ) หลังเก็บเกย่ี วผลผลิตของขา้ วโพดและถว่ั ปี 2553

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.00111 0.00056

bean 1 0.01389 0.01389 25 0.0377 *

Error Rep*bean 2 0.00111 0.00056

day 2 0.00778 0.00389 1.27 0.3312 ns

bean*day 2 0.00778 0.00389 1.27 0.3312 ns

Error Rep*bean*day 8 0.02444 0.00306

Total 17 0.05611

Grand Mean 5.2722

CV(Rep*bean) 0.45

CV(Rep*bean*day) 1.05

ตารางภาคผนวกท่ี 6 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ (Available P)
(มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั ) หลงั เก็บเกี่ยวผลผลิตของขา้ วโพดและถวั่ ปี 2554

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.02778 0.01389

bean 1 0.01389 0.01389 25 0.0377 *

Error Rep*bean 2 0.00111 0.00056

day 2 0.01778 0.00889 0.91 0.4389 ns

bean*day 2 0.00444 0.00222 0.23 0.8007 ns

Error Rep*bean*day 8 0.07778 0.00972

Total 17 0.14278

Grand Mean 5.3611

CV(Rep*bean) 0.44

CV(Rep*bean*day) 1.84

37

ตารางภาคผนวกที่ 7 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนปรมิ าณธาตุโพแทสเซยี มทแี่ ลกเปล่ยี นได้
(Exchangeable K) (มิลลกิ รัม/กโิ ลกรัม ) หลงั เก็บเก่ยี วผลผลติ ของข้าวโพดและถว่ั
ปี 2553

Source DF SS MS F P

Rep 2 0.0211 0.01056

bean 1 0.0272 0.02722 0.05 0.8499 ns

Error Rep*bean 2 1.1811 0.59056

day 2 1.5478 0.77389 0.4 0.6830 ns

bean*day 2 1.3144 0.65722 0.34 0.7218 ns

Error Rep*bean*day 8 15.4778 1.93472

Total 17 19.5694

Grand Mean 56.006

CV(Rep*bean) 1.37

CV(Rep*bean*day) 2.48

ตารางภาคผนวกท่ี 8 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนปริมาณธาตุโพแทสเซยี มทแ่ี ลกเปล่ียนได้
(Exchangeable K) (มิลลิกรมั /กิโลกรัม ) หลังเกบ็ เกีย่ วผลผลิตของขา้ วโพดและถวั่
ปี 2554

Source DF SS MS F P

Rep 2 7.2011 3.60056

bean 1 2 2 1.83 0.3091 ns

Error Rep*bean 2 2.19 1.095

day 2 0.6544 0.32722 0.94 0.4296 ns

bean*day 2 0.1633 0.08167 0.23 0.7960 ns

Error Rep*bean*day 8 2.7822 0.34778

Total 17 14.9911

Grand Mean 57.322

CV(Rep*bean) 1.83

CV(Rep*bean*day) 1.03

38

ตารางภาคผนวกท่ี 9 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนความสงู เฉล่ยี ของต้นขา้ วโพด เม่ืออายุ 40 วัน
(เซนติเมตร) ปี 2553

Source DF SS MS FP ns
Rep 2 40.49 20.2467
bean 1 3.65 3.645 4.31 0.1737 ns
Error Rep*bean 2 1.69 0.8467 ns
day 2 1.04 0.5217 0.08 0.9243
bean*day 2 1.46 0.7317 0.11 0.8958
Error Rep*bean*day 8 52.47 6.5583
Total 17 100.81
Grand Mean 36.017
CV(Rep*bean) 2.55
CV(Rep*bean*day) 7.11

ตารางภาคผนวกท่ี 10 ตารางวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉล่ียของตน้ ข้าวโพด เมอื่ อายุ 40 วนั
(เซนติเมตร) ปี 2554

Source DF SS MS F P ns
Rep 2 34.33 17.17
bean 1 0.41 0.41 1.83 0.3091 ns
Error Rep*bean 2 0.44 0.22 ns
day 2 3.67 1.84 0.33 0.7274
bean*day 2 6.51 3.26 0.59 0.5783
Error Rep*bean*day 8 44.36 5.55
Total 17 89.73
Grand Mean 36.694
CV(Rep*bean) 1.28
CV(Rep*bean*day) 6.42

39

ตารางภาคผนวกที่ 11 ตารางวิเคราะหค์ วามแปรปรวนความสงู เฉลย่ี ของต้นขา้ วโพด เมื่ออายุ 80 วนั
(เซนตเิ มตร) ปี 2553

Source DF SS MS FP ns
Rep 2 220.70 110.352
bean 1 0.32 0.01 0.9454 ns
Error Rep*bean 2 106.90 0.32 ns
day 2 12.99 53.452 0.06 0.9449
bean*day 2 39.70 6.495 0.17 0.8431
Error Rep*bean*day 8 910.78 19.852
Total 17 1,291.40 113.848
Grand Mean 209.73
CV(Rep*bean) 3.49
CV(Rep*bean*day) 5.09

ตารางภาคผนวกที่ 12 ตารางวิเคราะหค์ วามแปรปรวนความสงู เฉล่ียของตน้ ขา้ วโพด เมอ่ื อายุ 80 วัน
(เซนตเิ มตร) ปี 2554

Source DF SS MS FP ns
Rep 2 208.79 104.39
bean 1 0.47 0.47 0.01 0.9425 ns
Error Rep*bean 2 140.85 70.42 ns
day 2 11.85 5.92 0.05 0.9523
bean*day 2 67.88 33.94 0.28 0.7619
Error Rep*bean*day 8 964.76 120.60
Total 17 1,394.59
Grand Mean 210.79
CV(Rep*bean) 3.98
CV(Rep*bean*day) 5.21

40

ตารางภาคผนวกที่ 13 ตารางวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉลี่ยของต้นขา้ วโพด เม่อื อายุ 120 วัน
(เซนตเิ มตร) ปี 2553

Source DF SS MS FP ns
Rep 2 90.75 45.375
bean 1 7.87 7.8672 0.35 0.6157 ns
Error Rep*bean 2 45.41 22.7072 ns
day 2 1.27 0.635 0.02 0.9757
bean*day 2 9.03 4.5139 0.18 0.8422
Error Rep*bean*day 8 205.76 25.7194
Total 17 360.09
Grand Mean 215.12
CV(Rep*bean) 2.22
CV(Rep*bean*day) 2.36

ตารางภาคผนวกที่ 14 ตารางวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสูงเฉลย่ี ของตน้ ข้าวโพด เม่ืออายุ 120 วนั
(เซนติเมตร) ปี 2554

Source DF SS MS F P

Rep 2 82.48 41.24

bean 1 11.52 11.52 0.42 0.5831 ns

Error Rep*bean 2 54.76 27.38 ns
ns
day 2 5.35 2.68 0.10 0.9076

bean*day 2 11.02 5.51 0.20 0.8212

Error Rep*bean*day 8 218.31 27.29

Total 17 383.45

Grand Mean 216.28

CV(Rep*bean) 2.42

CV(Rep*bean*day) 2.42

41

ตารางภาคผนวกที่ 15 ตารางวิเคราะห์ความแปรปรวนน้าหนกั ฝักสดเฉลี่ยของข้าวโพด (กิโลกรัม/ไร)่ ปี 2553

Source DF SS MS FP
Rep 2 146,917 73,458
bean 1 548,209 548,209 5.54 0.1429 ns
Error Rep*bean 2 198,038 99,019
day 2 1,437,160 718,580 4.32 0.0534 *
bean*day 2 1,281,867 640,934 3.85 0.0673 ns
Error Rep*bean*day 8 1,330,300 166,287
Total 17 4,942,491
Grand Mean 5,284.6
CV(Rep*bean) 5.95
CV(Rep*bean*day) 7.72

ตารางภาคผนวกที่ 16 ตารางวิเคราะหค์ วามแปรปรวนน้าหนกั ฝกั สดเฉล่ียของข้าวโพด (กโิ ลกรัม/ไร่) ปี 2554

Source DF SS MS FP
Rep 2 314,265 157,133
bean 1 791,282 791,282 73.50 0.0133 *
Error Rep*bean 2 21,533 10,766
day 2 132,233 66,116 0.16 0.8579 ns
bean*day 2 380,682 190,341 0.45 0.6529 ns
Error Rep*bean*day 8 3,385,101 423,138
Total 17 5,025,096
Grand Mean 5576.4
CV(Rep*bean) 1.86
CV(Rep*bean*day) 11.67

42

ตารางภาคผนวกที่ 17 ตารางวเิ คราะห์ความแปรปรวนความสูงเฉลย่ี ของตน้ ถั่ว เม่อื อายุ 40 วัน (เซนตเิ มตร)
ปี 2553

Source DF SS MS FP
Rep 2 25.87 12.935
bean 1 2.96 2.961 0.43 0.5796 ns
Error Rep*bean 2 13.79 6.894
day 2 349.41 174.705 16.09 0.0016 **
bean*day 2 1,568.27 784.137 72.24 0.0000 **
Error Rep*bean*day 8 86.84 10.855
Total 17 2,047.15
Grand Mean 30.683
CV(Rep*bean) 8.56
CV(Rep*bean*day) 10.74

ตารางภาคผนวกท่ี 18 ตารางวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนความสงู เฉล่ยี ของต้นถัว่ เมอื่ อายุ 40 วนั (เซนตเิ มตร)
ปี 2554

Source DF SS MS F P

Rep 2 5.07 2.54

bean 1 0.76 0.76 0.17 0.7221 ns

Error Rep*bean 2 9.09 4.54

day 2 385.04 192.52 37.89 0.0001 **

bean*day 2 1,566.75 783.37 154.19 0.0000 **

Error Rep*bean*day 8 40.64 5.08

Total 17 2,007.36

Grand Mean 31.828

CV(Rep*bean) 6.7

CV(Rep*bean*day) 7.08


Click to View FlipBook Version