The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-06-14 01:13:27

งานวิจัย การจัดระบบการปลูกพืชในไร่อ้อย

KแกH่นOเNกษKตAรEN40AฉGบRับ. พJ.เิ ศ40ษS3U:P1P6L3M-1E7N0T(325: 5156)3.-170 (2012). KHON KAEN AGR. J. 40 SUPPLMENT 3 : 163-170 (2011623).

การปลกู พืชสลบั ในไรอ่ อ้ ยเพื่อปรบั ปรุงดินและเพมิ่ ผลผลิตอ้อย
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Crop rotation planting in sugarcane field for soil improvement and
increasing cane yield in the Northeast

พัชนี อาภรณร์ ัตน1์ * และ อษุ า จกั ราช1

Putchanee Arpornrat1* and Usa Jakrarat1

บทคัดย่อ: การทดลองน้มี วี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศึกษาการปลูกพืชสลบั (พชื น�ำ) ในแปลงอ้อยในช่วงเก็บเก่ยี วออ้ ยครั้งสุดท้าย
(หลงั รอ้ื แปลงออ้ ย) ทม่ี ผี ลตอ่ การปรบั ปรงุ ดนิ และเพมิ่ ผลผลติ ออ้ ยในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รวมทง้ั ศกึ ษาผลตอบแทนทาง
เศรษฐกจิ จากการนำ� พชื ตา่ งชนดิ มาปลกู สลบั เพอ่ื ทราบถงึ ความคมุ้ คา่ ในการปลกู พชื สลบั แตล่ ะชนดิ ไดแ้ ก่ ถวั่ พรา้ ปอเทอื ง
และข้าวไร่ก่อนการปลูกอ้อย ท้ังในแง่ของการปรับปรุงบำ� รุงดิน และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยวางแผนการทดลอง
แบบ RCBD จำ� นวน 3 ซำ้� ประกอบดว้ ย 7 วธิ กี าร ไดแ้ ก่ 1) ปลอ่ ยแปลงวา่ ง แลว้ ปลกู ออ้ ยตามและใสป่ ยุ๋ เคมสี ตู ร 15-15-15
อัตรา 50 กก./ไร่ 2) ปล่อยแปลงว่าง แลว้ ปลูกอ้อยตามและใสป่ ุย๋ เคมีสตู ร 16-16-16 อตั รา 25 กก./ไร่ และสูตร 22-8-10
อตั รา 25 กก./ไร่ และปยุ๋ หมัก อัตรา 2 ตนั /ไร่ 3) ปลกู ปอเทอื งเป็นพืชปุ๋ยสด 1 crop แล้วปลกู ออ้ ยตาม 4) ปลกู ปอเทอื ง
(เก็บเมล็ดพันธุ์) 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม 5) ปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสด 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม 6) ปลูกถ่ัวพร้า
(เก็บเมล็ดพันธ)์ุ 1 crop แลว้ ปลกู ออ้ ยตาม และ 7) ปลูกขา้ วไร่ (ไถกลบตอซงั หลังเก็บเกย่ี ว) 1 crop แลว้ ปลกู ออ้ ยตาม
ทุกวิธกี ารใช้ออ้ ยพนั ธุ์ K 88-92 โดยวิธีการที่ 3-7 ใสป่ ุ๋ยเคมสี ตู ร 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร่ เหมอื นกนั โดยทำ� การทดลอง
ในแปลงเกษตรกร ต.ภูเหล็ก อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น ทดลองในกลุ่มชุดดินที่ 41 (ชุดดินบ้านไผ่) ผลการทดลองพบว่า
หลังจากท�ำการปลูกพืชสลับเพ่ือปรับปรุงบ�ำรุงดิน แล้วพบว่าการไถกลบพืชปุ๋ยสด ท�ำให้สมบัติทางเคมีของดินดีขึ้น
ในทำ� นองเดยี วกนั การไถกลบพชื ปยุ๋ สด และไถกลบตอซงั ขา้ วใหผ้ ลตอบแทนสงู กวา่ ไมม่ กี ารปลกู พชื ปยุ๋ สด กลา่ วคอื วธิ กี าร
ที่ 7 ให้ผลผลผลิตออ้ ยปลกู สงู สุด เท่ากับ 18.84 ตนั /ไร่ รองลงมา คอื วธิ กี ารท่ี 5 ใหผ้ ลผลิตออ้ ยเท่ากบั 18.74 ตนั /ไร่ เมอ่ื
เปรียบเทยี บผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ พบวา่ เปน็ ไปในท�ำนองเดยี วกนั คอื วธิ ีการที่ 7 ให้ก�ำไรรวม 2 ปี เท่ากบั 12,050.72
บาท/ไร่ และวิธีการที่ 5 ให้ก�ำไรรวม 2 ปี เท่ากับ 8,666.44 บาท/ไร่ ดังนั้นผลจากการทดลอง 2 ปีที่ผ่านมาชี้ให้เห็นว่า
ควรแนะนำ� ให้เกษตรกรท่ีปลกู อ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพน้ื ท่ีดอน ปลกู พืชสลับ อาทิ ถ่ัวพรา้ ในช่วง
หลังจากร้ือตอเพื่อรอปลูกอ้อยใหม่ หรือปลูกข้าวไร่ ถ้าพ้ืนที่นั้นไม่แห้งแล้งจนเกินไป ซึ่งจะได้ประโยชน์ทั้งการเพิ่มความ
อดุ มสมบรู ณข์ องดนิ และชว่ ยเพมิ่ ผลผลติ ออ้ ยทป่ี ลกู ตาม อกี ทง้ั ยงั เปน็ การชว่ ยใหเ้ กดิ การใชท้ รพั ยากรดนิ อยา่ งยงั่ ยนื อกี ดว้ ย
คำ� สำ� คญั : อ้อย, ปรบั ปรงุ ดิน, ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ , ขา้ วไร,่ ปุย๋ พชื สด

ABSTRACT: The experiment aimed to study the effects of crop rotation in sugarcane field during the last ratoon
harvest and planting a new sugarcane crop, on soil improvement, increasing sugar yield and economic return in
northeast Thailand. The effect of Jack bean (Canavalia ensiformis), sunn hemp (Crotalaria juncea), upland rice
(Oryza saliva L.) fallowed as the rotation system. The experiment was a Randomize Complete Block Design with
three replications and 7 treatments. They included T1) farmer’s method (fallow followed by sugarcane receiving
chemical fertilizer control (15-15-15 at 50 kg/rai), T2) fallow followed by sugarcane receiving chemical fertilizer

1 กลมุ่ วชิ าการเพอ่ื การพัฒนาทด่ี นิ ส�ำนักงานพฒั นาท่ีดินเขต 5 ถ.มิตรภาพ อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่
* Corresponding author: [email protected]

164 แกน่ เกษตร 40 ฉบับพิเศษ 3 : 163-170 (2555).

(16-16-16 at 25 kg/rai+22-8-10 at 25 kg/rai and compost fertilizer at 2 tons/rai), T3) sunn hemp planting as green
manure followed by sugarcane, T4) sunn hemp planting for seed harvesting and then were ploughed and followed
by sugarcane, T5) jack bean planting as green manure and followed by sugarcane, T6) jack bean planting for seed
harvesting and then was ploughed after seed harvested and followed by sugarcane, and T7) upland rice planting
and ploughed after seed harvested followed by sugarcane. Sugarcane in treatment 3-7 was applied fertilizer grade
15-15-15 at the rate of 50 kg/rai. This experiment conducted in a farmer field upland at Phulek village, Ban Phai
district, Khon Kean province; soil group 41 (Ban phai soil series). The results showed that soil chemical properties
were changed in the green manure treatments. The green manure treatments and the upland rice straw ploughed
under treatment gave higher economic return compared to these of non-green manure treatments. Sugarcane growing
in T7 gave the highest yield at 18.84 tons/rai while T5 gave 18.74 tons/rai. T7 treatment gave the benefit return of
2-year at 12,050.72 bath/rai while T5 gave 8,666.44 bath/rai. The result from the two-year experiment suggested
that sugarcane farmers in northest Thailand should grow jack bean or upland rice as crop rotation in the sugarcane
field in order to improve soil fertility and also increase the sugar cane yield. This will help sustain the soil for sugar
cane production in the region.
Keywords: sugarcane (Saccharum officinarum L.), soil improvement, economic return, upland rice, green manure

บทนำ� ในดนิ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ พชื ทป่ี ลกู ตาม (McDonagh
ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็น et al., 1995; Stewart, 1966)
ดินร่วนปนทรายซ่ึงมีความอุดมสมบูรณ์ต�่ำ (เพ่ิมพูน, อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจส�ำคัญของไทย โดยไทย
2527) มีอินทรียวัตถุที่เป็นแหล่งส�ำรองธาตุอาหาร สามารถส่งออกน�้ำตาลเป็นอันดับสองของโลก ซึ่ง
โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจนน้อย เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ พื้นที่ปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปีเพาะ
พืชมีผลผลิตต�่ำ การใช้ปุ๋ยเคมีในการเพ่ิมความอุดม ปลูก 2553/54 เท่ากับ 3.7 ล้านไร่ คิดเป็น 42.20
สมบรู ณใ์ หแ้ กด่ นิ จงึ เปน็ ทนี่ ยิ มอยา่ งแพรห่ ลาย เพราะ เปอรเ์ ซน็ ต์ ของพน้ื ทป่ี ลกู ทงั้ หมด (กลมุ่ งานสารสนเทศ
สามารถเพม่ิ ผลผลติ ไดเ้ รว็ และเหน็ ผลไดช้ ดั เจน ดงั นนั้ อุตสาหกรรมอ้อยและน้�ำตาลทราย, 2555) อย่างไร
แนวโน้มการใช้ปุ๋ยที่ผ่านมาจึงเพ่ิมขึ้น ในปัจจุบันปุ๋ย กต็ ามเกษตรกรทปี่ ลกู ออ้ ยในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
เคมีมีราคาสูงขึ้น ท�ำให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ส่วนใหญ่ สามารถไวต้ อได้เพียง 1 ตอ (ต้องปลกู ใหม่
สูงขึ้น ประกอบกับการใช้ปุ๋ยเคมีติดต่อกันเป็นเวลา ทกุ ๆ 2 ป)ี เน่ืองจากปัจจยั หลายอย่าง เชน่ ความอดุ ม
นาน ท�ำให้เกิดผลเสียต่อโครงสร้างของดินและสภาพ สมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อม (เช่น ปริมาณ
แวดลอ้ มในระยะยาวอกี ดว้ ย แนวทางในการเพม่ิ ความ น�้ำฝน และการกระจายของน�้ำฝนมีความแปรปรวน
อดุ มสมบรู ณใ์ หก้ บั ดนิ หรอื เพม่ิ ปรมิ าณอนิ ทรยี วตั ถใุ น ในแต่ละปี) เป็นต้น (สถาบันวิจัยพืชไร่, 2544) ซึ่ง
ดนิ สามารถทำ� ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การใสป่ ยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ในการปลูกอ้อยใหม่ทุกคร้ัง จะต้องเพิ่มต้นทุนในการ
ลงไปในดิน แต่หากเกษตรกรมีพื้นที่เพาะปลูกจ�ำนวน จัดการ เช่น ค่าไถร้ือตออ้อย ค่าไถเตรียมดินปลูก
มาก ท�ำให้ยากต่อการปฏิบัติ เกษตรกรจึงไม่นิยม อ้อย ท�ำให้เกษตรกรได้ก�ำไรน้อย ไม่คุ้มค่ากับการ
ท�ำ อย่างไรก็ตามการใช้พืชตระกูลถ่ัวเป็นพืชปุ๋ยสด ลงทุน ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่หลังจากรื้อตออ้อยแล้ว
เปน็ อกี แนวทางหนง่ึ ในการเพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถใุ นดนิ และ ก็จะปล่อยแปลงให้ว่าง แต่ก็มีเกษตรกรบางรายที่น�ำ
เพิ่มผลผลิตพืชที่ปลูกตามได้อีกด้วย เนื่องจากราก พืชปุย๋ สด (green manure) ไปปลกู สลับในแปลงออ้ ย
ของพืชตระกูลถ่ัวมีปม (nodule) ซึ่งเกิดจากเชื้อไรโซ หลังจากรอ้ื ตอออ้ ยแล้ว เพื่อเพมิ่ ความอุดมสมบูรณ์ให้
เบียมเข้าไปอาศัยอยู่ท�ำให้สามารถตรึงไนโตรเจนจาก กบั ดิน ซ่งึ แตล่ ะรายกเ็ ลอื กพชื ปุ๋ยสดตา่ งชนิดกัน และ
อากาศมาใช้ในการเจริญเติบโตของพืชได้ จึงช่วยลด ในปัจจุบันก็มีเกษตรกรบางรายท่ีน�ำข้าวไปปลูกสลับ
ความตอ้ งการปยุ๋ ไนโตรเจนในการปลกู พชื (Giller and ในแปลงอ้อยหลังจากรื้อตออ้อยเพื่อรอปลูกอ้อยใหม่
Wilson, 1991) นอกจากนี้ไนโตรเจนทอ่ี ยใู่ นต้นถ่วั เมื่อ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง (ประสิทธ์ิ, 2549) แต่
มีการไถกลบลงไปในดินจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ยังไม่มีการศึกษาถึงผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และ
คณุ สมบตั ขิ องดนิ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไปหลงั จากไถกลบพชื

KHON KAEN AGR. J. 40 SUPPLMENT 3 : 163-170 (2012). 165

ปยุ๋ สดและไถกลบซากพชื แตล่ ะชนดิ ดงั นน้ั การทดลอง แบ่งพื้นท่ีออกเป็นแปลงย่อย (โดยใน 21 แปลงย่อย
ในครั้งน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาการปลูกพืชสลับ ประกอบดว้ ย 3 ซ้�ำ แตล่ ะซ�ำ้ มี 7 วธิ ีการ) ขนาดแปลง
(crop rotation) ที่มีผลต่อการปรับปรุงดินและเพิ่ม ยอ่ ย 15 x 10 ม. เวน้ ระยะห่างระหว่างทางเดนิ 2 ม.
ผลผลติ ออ้ ยในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื รวมทงั้ ศกึ ษา เก็บตัวอย่างดินในแต่ละแปลงย่อยที่ 2 ระดับความ
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจในไร่อ้อยในการน�ำพืชต่าง ลกึ คือ 0-15 ซม. และ 15-30 ซม. ท้ังกอ่ นและหลังการ
ชนดิ มาปลกู สลบั เพอื่ ทราบถึงความคุม้ คา่ ในการปลูก ทดลอง เพือ่ นำ� ไปวเิ คราะหส์ มบตั ทิ างเคมีของดิน จาก
พืชสลบั 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ถว่ั พรา้ (jack bean) ปอเทือง นน้ั เตรยี มแปลงเพอื่ ปลกู พชื สลบั (พชื กอ่ นออ้ ย) แตล่ ะ
(sunn hemp) และขา้ วไร่ (upland rice) ในไร่ออ้ ย ท้ัง ชนิด ได้แก่ ปอเทือง ถ่ัวพร้า และข้าวพันธุ์ซิวแม่จัน
ในแง่ของการเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดินและผล ตามวิธีการ โดยพืชแต่ละชนิดท�ำการปลูกแบบหยอด
ตอบแทนทางเศรษฐกจิ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจ หลุม ปอเทอื งและถั่วพร้า ใช้ระยะปลกู 75 x 50 ซม.
ของเกษตรกรในการเลอื กปลกู พชื และเพอ่ื ความยง่ั ยนื ปอเทอื งหยอด 3-5 เมลด็ /หลมุ ส่วนถ่ัวพร้า หยอด 2-3
ในการใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรดินต่อไปในอนาคต เมล็ด/หลุม และใสป่ ยุ๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา 20 กก./ไร่
เมอ่ื อายุ 2-3 สปั ดาห์ ถอนแยกใหเ้ หลอื 1-2 ตน้ ตอ่ หลมุ
วธิ กี ารศกึ ษา สว่ นข้าว ใช้ระยะปลกู 75 x 20 ซม. หยอดเมลด็ หลุม
แผนการทดลอง ละประมาณ 7-8 เมล็ด ใส่ปยุ๋ สูตร 16-16-8 อตั รา 30
วางแผนการทดลองแบบ Randomize Complete กก./ไร่ ไถกลบพืชปุย๋ สด ในวธิ ีการที่ 3 และ 5 เมอ่ื พืช
Block Design (RCBD) มี 7 วิธกี าร จ�ำนวน 3 ซ�ำ้ ดังนี้ แต่ละชนดิ ออกดอกเต็มที่ (อายปุ ระมาณ 60 วัน) สว่ น
วธิ กี ารที่ 1 : วธิ เี กษตรกร (ปลอ่ ยแปลงวา่ ง 1 crop วธิ กี ารที่ 4, 6 และ 7 เกบ็ เกยี่ วผลผลติ เมลด็ เมอ่ื พชื อายุ
+ อ้อย (ใสป่ ุย๋ เคมสี ตู ร 15-15-15 อตั รา 50 กก./ไร)่ ) ประมาณ 120-150 วนั แลว้ จงึ ไถกลบซาก หรอื ตอซัง
วธิ ีการท่ี 2 : ปลอ่ ยแปลงวา่ ง 1 crop + ออ้ ย (ใส่ ขา้ วลงดนิ และรอให้ย่อยสลายประมาณ 2-3 สปั ดาห์
ปยุ๋ เคมสี ตู ร 16-16-16 อตั รา 25 กก./ไร่ +สตู ร 22-8-10 จากน้ันจึงไถเตรียมดินเพื่อปลูกอ้อยโดยไถคร้ังแรกใช้
อตั รา 25 กก./ไร่ + ปยุ๋ หมกั อตั รา 2 ตัน/ไร่ ) ผาล 3 ตากดินไว้ 7-10 วัน ไถครั้งตอ่ ไปใชผ้ าล 7 โดย
วิธีการท่ี 3 : ปลูกปอเทอื งเปน็ พืชปุ๋ยสด 1 crop + ไถลกึ ประมาณ 30 ซม. แลว้ ยกรอ่ ง (ความลึกของร่อง
ออ้ ย ประมาณ 50 ซม) จากน้ันจึงปลูกอ้อยพันธุ์ K 88-92
วธิ กี ารที่ 4 : ปลกู ปอเทอื ง (เกบ็ เมลด็ พนั ธ)์ุ 1 crop + ระยะปลกู 50 x 130 ซม. ทำ� การดแู ลรกั ษาอ้อย โดย
อ้อย วิธกี ารที่ 1 : วิธเี กษตรกร (ปล่อยแปลงว่าง 1 crop +
วธิ ีการท่ี 5 : ปลกู ถ่วั พรา้ เปน็ พชื ปยุ๋ สด 1 crop + ออ้ ย (ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อตั รา 50 กก./ไร)่ วธิ ี
อ้อย การที่ 2 ปล่อยแปลงว่าง 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม
วธิ กี ารที่ 6 : ปลกู ถวั่ พรา้ (เกบ็ เมลด็ พนั ธ)์ุ 1 crop + และใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 อัตรา 25 กก./ไร่ และ
อ้อย สตู ร 22-8-10 อตั รา 25 กก./ไร่ และใสป่ ุ๋ยหมกั อตั รา 2
วิธีการที่ 7 : ปลูกข้าวไร่ (ไถกลบตอซังหลัง ตัน/ไร่ เม่อื ออ้ ยอายุ 3 เดอื น ส่วนวธิ ีการท่ี 3 - 7 ใสป่ ยุ๋
เก็บเกยี่ ว) 1 crop + อ้อย เคมีสูตร 15-15-15 อตั รา 50 กก./ไร่ แบ่งใส่ 2 ครง้ั ๆ
การปลูกและการดแู ลรกั ษา แรก ใส่เม่อื ออ้ ยอายุประมาณ 1 เดือนครงึ่ คร้งั ทส่ี อง
ท�ำการคัดเลือกพื้นท่ีท่ีร้ือตออ้อยแล้ว เพื่อรอ ใส่เม่ืออ้อยอายุประมาณ 3-4 เดือน ท�ำการก�ำจัดโรค
ปลูกอ้อยใหม่ ในเขต อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น จากนั้น แมลง และวัชพชื ในแปลง ตามความจ�ำเปน็ และเก็บ
เก่ียวผลผลิตอ้อยเมื่อออ้ ยอายปุ ระมาณ 1 ปี

166 แกน่ เกษตร 40 ฉบบั พิเศษ 3 : 163-170 (2555).

การบันทึกขอ้ มูล C และวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉล่ีย โดยวิธี
ท�ำการบันทึกขอ้ มลู ตา่ งๆ ดังนี้ คอื DMRT รวมท้ังวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจใน
ขอ้ มูลดนิ ไดแ้ ก่ สมบตั ทิ างเคมขี องดิน ประกอบ แต่ละวิธีการทดลอง โดยวิเคราะหต์ น้ ทุนการผลติ ราย
ด้วย ค่า pH, % organic matter (OM), ไนโตรเจน, ไดแ้ ละกำ� ไรสทุ ธิ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน, โพแทสเซียมที่แลก
เปล่ียนได้ในดิน, แคลเซียม, แมกนีเซียม และค่า ผลการศกึ ษาและวจิ ารณ์
Cation Exchange Capacity (CEC) และสมบตั ทิ าง ดนิ
กายภาพของดนิ ประกอบดว้ ย ค่าความหนาแน่นของ จากการขุดหลุมดินเพ่ือศึกษาและท�ำค�ำอธิบาย
ดิน (bulk density) ท้งั กอ่ นและหลงั ทำ� การทดลอง หน้าตัดดิน พบว่า ดินในแปลงทที่ ำ� การทดลองเป็นดนิ
ขอ้ มลู พชื ไดแ้ ก่ มวลชวี ภาพ (biomass) ของพชื ในกลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ี 41 ซง่ึ มศี กั ยภาพเหมาะสมในการปลกู
สลับในแปลงอ้อย ไดแ้ ก่ ปอเทอื ง และถ่วั พร้า (ในวธิ ี พชื ไร่ ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ หรอื ไมผ้ ลบางชนดิ แตไ่ มเ่ หมาะ
การที่ 3 และ 5) รวมทงั้ นำ�้ หนกั ซากของปอเทอื งและถวั่ สมในการท�ำนา เนื่องจากสภาพพ้ืนที่และเน้ือดินไม่
พร้า (ในวิธกี ารท่ี 4 และ 6) และตอซงั ขา้ ว (ในวิธกี าร อ�ำนวย และจากการทำ� คำ� อธบิ ายหน้าตัดดนิ สามารถ
ท่ี 7) และบนั ทกึ ลกั ษณะองคป์ ระกอบผลผลติ ของออ้ ย จำ� แนกไดว้ า่ เปน็ ชดุ ดนิ บา้ นไผ่ (Ban Phai series: Bpi)
และลักษณะทางการเกษตร ได้แก่ จ�ำนวนล�ำต่อกอ ความลาดชนั ประมาณ 2 - 5% มลี กั ษณะดนิ โดยรวม คอื
ความสูง และผลผลติ ตอ่ ไร่ และค่าความหวาน (องศา ดนิ บนเป็นชั้นทีม่ ีการไถพรวน (Ap) ความลกึ ประมาณ
บริกซ)์ 15 - 20 ซม. เนอ้ื ดนิ เปน็ ดนิ รว่ นปนทราย (sandy loam)
ข้อมูลต้นทุนการผลิต โดยบันทึกข้อมูลต้นทุน สีน�้ำตาลหรือน�้ำตาลปนแดง การระบายน้�ำดี (well
การผลิตทั้งที่เป็นเงินสด และไม่เป็นเงินสด ต้ังแต่เริ่ม drain) เป็นช้ันท่ีมีอินทรียวัตถุปะปนอยู่น้อยกว่า 1%
ต้นเตรียมดินเพื่อปลูกพืชสลับในแปลงอ้อยจนถึงเก็บ สว่ นดินลา่ งท่ลี กึ กว่า 30 ซม. เปน็ ช้นั ท่มี กี ารสะสมของ
เก่ียวผลผลติ อ้อยในแต่ละวธิ กี าร อนภุ าคดนิ เหนยี ว ทถ่ี กู ชะลา้ งจากชน้ั ดนิ บน (Ap) และ
การวิเคราะหข์ ้อมูล ช้ันชะล้าง (E) มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย
ท�ำการวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลตาม (sandy loam) สีน�้ำตาลหรือน�้ำตาลปนแดง ที่มีการ
แผนการทดลอง RCBD โดยใช้โปรแกรม MSTAT ระบายนำ�้ ดี (well drain)

Table 1 Soil chemical properties at 2 soil depths before conducting the experiment

Soil parameter 0-15 cm Soil depth 15-30 cm
pH 4.40 5.63
OM (%) 0.50 0.35
N (%) 0.03 0.02
P (mg/kg) 2.98 1.23
K (mg/kg) 38.33 19.0
Ca (mg/kg) 70.74 32.52
Mg (mg/kg) 22.29 13.93
CEC (me/100 g) 6.20 5.97

KHON KAEN AGR. J. 40 SUPPLMENT 3 : 163-170 (2012). 167

จากผลการวเิ คราะหด์ นิ กอ่ นการทดลอง พบวา่ คา่ เปรียบเทยี บกบั ผลวเิ คราะห์ดินกอ่ นการทดลอง กล่าว
ปฏิกิริยาความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) ที่ระดับ คอื มคี า่ อยรู่ ะหวา่ ง 4.78-5.69 สว่ นปรมิ าณอนิ ทรยี วตั ถุ
ความลกึ 0-15 ซม. และ 15-30 ซม. มคี า่ เท่ากบั 4.40 และปริมาณไนโตรเจนในดินก่อนการทดลองและหลัง
และ 4.63 ตามลำ� ดบั จดั วา่ ดนิ มสี ภาพเปน็ กรดจดั ปรมิ าณ ปลกู พืชนำ� ก่อนปลกู ออ้ ย มคี ่าใกลเ้ คยี งกนั ในแตล่ ะวิธี
อนิ ทรยี วตั ถทุ รี่ ะดบั ความลึก 0-15 ซม. และ 15-30 ซม. การ ทงั้ นอ้ี าจเนอื่ งมาจากการปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ ดว้ ยพชื
มีค่าเทา่ กบั 0.50 และ 0.35% ตามล�ำดับ ซึง่ ถอื วา่ มี ปยุ๋ สด ตอ้ งอาศยั ระยะเวลา อยา่ งนอ้ ย 3 ปี อนิ ทรยี วตั ถุ
อินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่�ำมาก ปริมาณผลรวมของ ในดนิ จึงจะเกิดการเปลยี่ นแปลง (McDonagh et al.,
ไนโตรเจนมีค่าอยู่ระหว่าง 0.02 - 0.03% ปริมาณ 1995) ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน
ฟอสฟอรสั ทเี่ ป็นประโยชน์ ในดินมีอย่ใู นระดับต�่ำมาก หลงั การทดลองในปีที่ 1 มคี ่าเพ่ิมข้นึ ทกุ วธิ ีการ โดยทุก
เทา่ กบั 2.98และ1.23mg/kgทร่ี ะดบั ความลกึ 0-15ซม. วธิ ีการมคี า่ อยรู่ ะหว่าง 6.60-12.40 mg/kg สอดคล้อง
และ 15-30 ซม. ตามล�ำดบั ปริมาณโพแทสเซยี ม จดั กบั งานทดลองของ ทวศี กั ด์ิ (2552) ทพ่ี บวา่ การไถกลบ
ว่ามีอยู่ในระดับต�่ำถึงต�่ำมาก คือเท่ากับ 38.33 และ ตอซังและการใช้พืชปุ๋ยสด ท�ำให้ปริมาณธาตุอาหาร
19.0 mg/kg ที่ระดับความลึก 0-15 ซมและ 15-30 ที่เป็นประโยชน์ในดินเพ่ิมขึ้น เช่นเดียวกับปริมาณ
ซม. ตามล�ำดบั ส่วนแคลเซียมในดินมปี รมิ าณสงู มาก แคลเซียมในดินหลังการทดลองในปีท่ี 1 ก็มีค่าเพ่ิม
เท่ากับ 70.74 และ 32.52 mg/kg ที่ระดับความลึก ขึน้ เช่น เดยี วกนั มีค่าอย่รู ะหวา่ ง 137.00-171.25 mg/
0-15 ซม. และ 15-30 ซม. ตามลำ� ดบั แมกนีเซียมใน kg สว่ นคา่ แมกนเี ซยี มในดนิ กม็ คี า่ เพมิ่ ขน้ึ เชน่ เดยี วกนั
ดนิ มใี นระดบั ตำ่� มาก เทา่ กบั 22.29 และ 13.93 mg/kg สอดคลอ้ งกบั การรายงานของประชา และคณะ (2538)
ทร่ี ะดับความลกึ 0-15 ซม. และ 15-30 ซม. ตามล�ำดบั ซงึ่ รายงานวา่ หลกั การไถกลบพชื ปยุ๋ สดลงในดนิ จะเกดิ
สว่ นคา่ CEC จดั วา่ มอี ยใู่ นระดบั มคี า่ ต่�ำ คอื มคี า่ เทา่ กบั การสลายตัว ซ่ึงมีบทบาทส�ำคัญในการปรับปรุงบ�ำรุง
6.20 และ 5.97 me/100 g ที่ระดบั ความลกึ 0-15 ซม. ดิน ช่วยเพ่ิมธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช และ
และ 15-30 ซม. ตามล�ำดบั (Table 1) เพมิ่ ความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารของพืช ใน
จากผลการวิเคราะห์ดินหลังเก็บเกี่ยวพืชน�ำ (พืช ทางตรงกันข้ามค่า CEC หลังการทดลองในปีท่ี 1 มี
สลับชนิดต่างๆ ) ก่อนปลูกอ้อย พบว่า ค่าปฏิกิริยา ค่าลดลง โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 1.03-1.76 me/100 g
ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) มีค่าสูงขึ้นเมื่อ (Table 2)

Table 2 Soil chemical properties of different treatments at the end of first crops experiment at soil depths
0-15 cm

Soil parameter (at soil depths 0-15 cm)
Treatment pH OM Total N Avail. P Exch. K Extract. Ca Extract. Mg CEC
(%) (%) (mg/kg) (mg/kg) (mg/kg) (mg/kg) (me/100 g)
Treatment 1 5.07 0.39 0.02 10.92 13 137.00 17.25 1.20
Treatment 2 5.59 0.42 0.02 10.40 27 171.25 40.00 1.11
Treatment 3 5.69 0.38 0.02 10.66 32 144.25 20.25 1.28
Treatment 4 5.00 0.41 0.02 10.37 17 156.00 18.25 1.03
Treatment 5 5.58 0.49 0.02 6.60 46 170.50 21.25 1.76
Treatment 6 5.78 0.32 0.02 12.40 23 137.75 18.75 1.06
Treatment 7 5.06 0.35 0.02 7.54 34 143.50 18.50 1.14

168 แก่นเกษตร 40 ฉบับพเิ ศษ 3 : 163-170 (2555).

พชื เทืองไม่สามารถให้ผลผลิตได้เต็มศักยภาพ และให้นำ้�
จากการทดลองพบว่าพืชสลับที่ไถกลบลงดินเพ่ือ หนักซากก่อนไถกลบลงดินเท่ากับ 1,150 กก./ไร่ ส่วน
เป็นพืชปุ๋ยสด ได้แก่ ปอเทืองและถ่ัวพร้า ให้น�้ำหนัก ถั่วพร้าไม่ได้ผลผลิต เนื่องจากถั่วพร้าออกดอก แต่ไม่
สดเทา่ กบั 2,560 และ 3,840 กก./ไร่ (Table 3) และ ตดิ ฝกั ดงั นน้ั จงึ ไมส่ ามารถใหผ้ ลผลติ เมลด็ พนั ธไ์ุ ด้ ทงั้ น้ี
ปอเทอื งให้ผลผลติ เมลด็ พนั ธุ์ เท่ากับ 71.6 กก./ไร่ ทงั้ นี้ อาจเนื่องมาจากในช่วงที่ถั่วพร้าก�ำลังจะติดฝัก แปลง
เน่ืองจากในช่วงการเจริญเติบโตในช่วงติดดอกออก ปลูกถ่ัวพร้าได้รับผลกระทบจากฝน ท�ำให้บางแปลงมี
ฝัก ปอเทืองมีปัญหาในด้านโรคและแมลงรบกวน โดย น�ำ้ ขังเป็นหย่อมๆ หรือโดยส่วนใหญท่ กุ แปลง ในดินอม่ิ
เฉพาะอยา่ งยิ่งโรคทพ่ี บไดแ้ ก่ เกดิ อาการใบหงกิ งอ ใน ตัวด้วยน้�ำ ซ่ึงโดยธรรมชาติของถ่ัวพร้าเป็นพืชท่ีข้ึนได้
ช่วงก่อนออกดอก เนื่องจากเชื้อมายโคพลาสมา ซึ่งมี ดีในที่ดอน และไมช่ อบน้ำ� ขงั (กรมพฒั นาท่ดี นิ , 2540)
แมลงเป็นพาหะในการแพรเ่ ช้อื ซง่ึ หากต้นใดที่มอี าการ อย่างไรก็ตามก็ท�ำให้ถ่ัวพร้ามีการเจริญเติบโตทางด้าน
ดังกล่าวจะไม่ติดดอกออกฝัก และต้องถอนต้นที่เป็น ล�ำต้นดีมาก จึงมีมวลชีวภาพสูง และให้น�้ำหนักซาก
โรคออก แลว้ นำ� ไปทง้ิ นอกแปลง พรอ้ มกนั นกี้ จ็ ะตอ้ งฉดี สงู ตามไปดว้ ย กล่าวคอื มีน้�ำหนักซาก ก่อนการไถกลบ
พ่นสารก�ำจัดแมลงศัตรูพืช เพื่อลดการแพร่ระบาดของ ลงดินเทา่ กับ 2,520 กก./ไร่ สว่ นผลผลิตขา้ วไร่ พนั ธ์ซุ ิว
แมลงซึ่งเป็นพาหะในการแพร่กระจายของโรคที่ทำ� ให้ แม่จัน ซงึ่ เปน็ พืชสลับอกี ชนดิ หนงึ่ พบว่าให้ผลผลติ ขา้ ว
เกิดอาการดังกล่าว นอกจากน้ียังพบการระบาดของ เปลอื กเทา่ กบั 320 กก./ไร่ (Table 3) และใหน้ ำ�้ หนกั แหง้
หนอนเจาะฝกั ในช่วงทีป่ อเทืองตดิ ฝัก จึงมีผลท�ำให้ปอ ของตอซงั เทา่ กบั 480 กก./ไร่

Table 3 Green manure crop fresh weight, stover weight and seed yield of crops in different treatment

parameter Fresh weight Stover weight Seed yield
Treatment (kg/rai) (kg/rai) (kg/rai)
Treatment 1** - - -
Treatment 2** - - -
Treatment 3 - -
Treatment 4 2,560 71.6
Treatment 5 - 1,150 -
Treatment 6 - *
Treatment 7 3,840 320
- 2,520
- 480
Note * No seed yield of jack bean in treatment.
** No crop grown in treatment 1 and 2. The plots are left as fallow.

Table 4 Cane yield and its yield component as affected by different treatment

treatment parameter Height No.of millable Stem diameter Degree brix Cane yield
(cm) cane/hill (cm) (° brix) (tons/rai)
Treatment 1 294 5.3 3.26 21.33 14.55b
Treatment 2 308 6.1 3.50 20.75 16.20ab
Treatment 3 298 6.0 3.39 21.58 18.21a
Treatment 4 282 5.9 3.30 20.58 16.06ab
Treatment 5 322 6.3 3.53 21.08 18.74a
Treatment 6 318 5.9 3.52 21.00 18.10a
Treatment 7 305 5.6 3.52 20.58 18.84a
F-test ns ns ns ns **
C.V. (%) 7.52 8.40 4.34 6.08 7.20
Mean in the same column followed by the same letter are not significantly different by the DMRT at P ≤ 0.01
ns and ** = nonsignificant and significant at P ≤ 0.01, respectively

KHON KAEN AGR. J. 40 SUPPLMENT 3 : 163-170 (2012). 169

จาก Table 4 พบว่าลกั ษณะความสูง จ�ำนวนลำ� ปริมาณธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ในดินเพิ่มมากข้ึน
ตอ่ กอ เส้นผา่ ศูนย์กลางลำ� ตน้ และค่าความหวานของ รองลงมาคอื วธิ กี ารท่ี 6 ใหค้ า่ เฉลยี่ ความสงู เทา่ กบั 318
ออ้ ยในแตล่ ะวธิ กี าร ไมแ่ ตกตา่ งกนั ในทางสถติ ิ อยา่ งไร ซม. เชน่ เดยี วกบั ลกั ษณะจำ� นวนลำ� ตอ่ กอ ในวธิ กี ารท่ี 5
กต็ ามสำ� หรบั ลกั ษณะความสงู พบวา่ วธิ กี ารท่ี 5 มแี นว กใ็ หค้ า่ เฉลย่ี จ�ำนวนลำ� ตอ่ กอสงู สดุ คอื 6.3 ล�ำ/กอ เชน่
โน้มให้ค่าความสูงเฉล่ียสูงสุด เท่ากับ 322 ซม. ทั้งน้ี เดยี วกบั ลักษณะเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางลำ� ต้น พบว่าวิธีการ
อาจเนื่องมาจากในปีแรกมีการปลูกถ่ัวพร้าเป็นพืชปุ๋ย ที่ 5 มีแนวโนม้ ใหค้ า่ เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางลำ� ต้นสูงสุด คือ
สด (ซงึ่ ใหน้ ำ�้ หนกั สดตอ่ ไรส่ งู สดุ ) และไถกลบลงดนิ จงึ เทา่ กบั 3.53 ซม. สว่ นคา่ ความหวานในแต่ละวธิ กี ารมี
ปลกู ออ้ ยตาม จงึ สง่ ผลใหอ้ อ้ ยไดร้ บั ปรมิ าณธาตอุ าหาร คา่ ใกลเ้ คยี งกนั สำ� หรบั ผลผลติ ออ้ ย พบวา่ ในแตล่ ะวธิ ี
ที่ถูกปลดปล่อยมาจากถ่ัวพร้า จึงท�ำให้ความสูง รวม การ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญในทางสถิติ
ทั้งให้ผลผลิตอ้อยสูงท่ีสุด เม่ือเปรียบเทียบกับทุกวิธี ท่ีระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธีการท่ี 5 ให้ผลผลิต
การ สอดคลอ้ งกบั งานทดลองของ ทวศี ักดิ์ (2552) ซงึ่ สูงสุด คือ 18.74 ตัน/ไร่ รองลงมาคือ วิธีการที่ 3 ให้
พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยการใช้พืชปุ๋ยสดจะท�ำให้ ผลผลติ เท่ากบั 18.21 ตัน/ไร่

ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ

Table 5 Production cost and economic return as affected by different treatments

ปีที่ 1 ปที ่ี 2 Total profit
treatment Cost yield Return profit Cost yield Return profit for 2 years
(Baht/rai) (kg/rai) (Baht./rai) (Baht/rai) (Baht/rai) (kg/rai) (Baht./rai) (Baht/rai)
1 - - - - 7,849.68 14.55 14,550.00 6,700.32 6,700.32
2 - - - - 7,814.93 16.20 16,200.00 8,385.07 8,385.07
3 3,005.71 - - -3,005.71 7,134.28 18.21 18,210.00 11,075.72 8,070.01
4 3,388.96 71.60 1,432.001/ -1,956.90 7,131.28 16.06 16,060.00 8,928.72 6,971.82
5 2,939.28 - - -2,939.28 7,134.28 18.74 18,740.00 11,605.72 8,666.44
6 3,092.58 - - -3,092.58 7,131.28 17.10 18,100.00 10,968.72 7,876.14
7 3,690.45 320.00 4,160.002/ 345.00 7,134.28 18.84 18,840.00 11,705.72 12,050.72
1/ profit of sunn hemp seed = 20 Baht/kg
2/ price of sticky rice = 13 Baht/kg

จาก Table 5 จะเห็นได้ว่า ในปีที่ 1 วิธีการที่ 7 กบั การลงทนุ เมอ่ื พจิ ารณาผลตอบแทนในปที ี่ 2 พบวา่
ปลูกข้าวไร่ พนั ธซุ์ ิวแม่จัน เก็บเมล็ด และไถกลบตอซัง วิธกี ารที่ 7 (ปลูกขา้ วไร่) ใหผ้ ลตอบแทนสูงสุด เท่ากบั
ข้าว(พืชน�ำ) เพ่อื ปรับปรงุ บำ� รงุ ดิน จากนนั้ จึงปลูกออ้ ย 11,705.72 บาท/ไร่ รองลงมาคือวิธีการที่ 5 ให้กำ� ไร
ตามในปีที่ 2 พบว่าในวิธีการนี้ มีต้นทุนการผลิตในปี ในปีท่ี 2 เท่ากับ 11,605.72 บาท/ไร่ เมื่อเปรียบเทยี บ
แรกสูงที่สุด ในขณะท่ีให้ผลก�ำไรสูงสุด เช่นเดียวกัน ทุกวธิ กี าร รวม 2 ปี กไ็ ด้ผลเปน็ เชน่ เดียวกนั กล่าวคือ
ส่วนวิธีการท่ี 3-6 ในปีแรกมีการปลูกพืชปุ๋ยสดและ วิธกี ารที่ 7 ใหก้ �ำไรรวม 2 ปี สูงท่ีสุด กลา่ วคอื เทา่ กบั
ไถกลบ (วธิ กี ารที่ 3 และ 5) และปลกู เพอื่ เกบ็ เมลด็ พนั ธ์ุ 12,050.72 บาท/ไร่ รองลงมาคอื วธิ กี ารท่ี 5 ใหก้ ำ� ไรรวม
ขาย แล้วไถกลบซากลงดิน พบวา่ ทกุ วิธกี ารท่ีกล่าวมา 2 ปี เทา่ กบั 8,666.44 บาท/ไร่ ทง้ั นเี้ นอื่ งจากเปน็ วธิ กี าร
ขาดทุน เนอ่ื งจากมีต้นทนุ ในการปลูกพชื ปุ๋ยสดสงู แต่ ทมี่ กี ารไถกลบถวั่ พรา้ ในระยะออกดอก ซงึ่ เปน็ วธิ กี ารที่
ไมไ่ ดร้ บั ผลตอบแทนทเี่ ปน็ เงนิ สด ยกเวน้ วธิ กี ารท่ี 4 ได้ ถว่ั พรา้ มมี วลชวี ภาพสงู สดุ จงึ ทำ� ใหผ้ ลผลติ ออ้ ยสงู ตาม
รบั ผลตอบแทนจากการขายเมลด็ พนั ธ์ุ แตก่ ย็ งั ไมค่ มุ้ คา่ ไปดว้ ย สอดคลอ้ งกับการทดลองของ อษุ า (2552) ซ่ึง

170 แกน่ เกษตร 40 ฉบบั พิเศษ 3 : 163-170 (2555).

พบวา่ ผลผลติ อ้อยในวิธกี ารทีม่ ีการใส่ปุ๋ยพชื สด จะสงู ความชว่ ยเหลอื ในการเกบ็ ขอ้ มลู งานวจิ ยั ในครงั้ นี้ และ
กว่าวธิ กี ารทไี่ ม่มีการใส่ปุ๋ยพชื สด สุดท้ายขอขอบพระคุณ รศ.ดร.ประสิทธ์ิ ใจศิล คณะ
เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน ทไี่ ดใ้ หค้ �ำแนะนำ�
สรปุ ในการเขยี นโครงการวจิ ัยนขี้ ้นึ มา และใหค้ ำ� แนะน�ำใน
1. สมบัติทางเคมีของดินมีการเปล่ียนแปลง ด้านต่างๆ ในการดำ� เนนิ การทดลอง ด้วยดเี สมอมา
เล็กน้อย โดยมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึน
กลา่ วคอื คา่ ปฏกิ ริ ยิ าความเปน็ กรดเปน็ ดา่ งของดนิ (pH)
มีค่าสูงข้ึน (ความเป็นกรดน้อยลง) ส่วนปริมาณอิน เอกสารอา้ งองิ
ทรยี วตั ถแุ ละปรมิ าณไนโตรเจนในดนิ กอ่ นและหลงั การ
ทดลองมีค่าไม่แตกต่างกัน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น กรมพฒั นาทดี่ นิ . 2540. พชื ตระกลู ถว่ั เพอื่ การปรบั ปรงุ บำ� รงุ ดนิ .
ประโยชน์ในดิน มีค่าเพิ่มขึ้นทุกวิธีการ เช่นเดียวกับ กรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ กรงุ เทพมหานคร.
ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมในดิน ก็มีค่าเพ่ิม
ขึ้นเชน่ เดยี วกนั กลุ่มงานสารสนเทศอตุ สาหกรรมอ้อยและนำ้� ตาลทราย. 2555.
2. หลงั สน้ิ สดุ การทดลองในปที ่ี 2 (หลงั เกบ็ เกยี่ ว รายงานพน้ื ท่ปี ลูกอ้อย ปีการผลิต 2553/2554. สำ� นกั งาน
พืชตาม) พบว่า ผลผลิตอ้อยในแต่ละวิธีการมีความ คณะกรรมการออ้ ยและนำ้� ตาล. http://www.ocsb.go.th/
แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ กลา่ วคอื วธิ กี าร upload/journal/fileupload/923-5062.pdf. (สบื คน้ เมอื่ วนั
ท่ี 7 (ปลกู ข้าวไร่ และไถกลบตอซังหลงั เกบ็ เกีย่ วขา้ ว) ที่ 25 กรกฎาคม 2555).
ให้ผลผลิตอ้อยสงู สุด เทา่ กับ 18.84 ตัน/ไร่ รองลงมา
คอื วธิ กี ารที่ 5 (ปลกู ถว่ั พรา้ แลว้ ไถกลบเปน็ ปยุ๋ พชื สด) ทวศี กั ด์ิ ชนะสทิ ธ.์ิ 2552. ศกึ ษาการใชป้ ยุ๋ อนิ ทรยี ต์ อ่ ผลผลติ ขา้ ว
ให้ผลผลิตออ้ ยเท่ากบั 18.74 ตัน/ไร่ สงั ขห์ ยดในกลุ่มชดุ ดนิ ที่ 6 จังหวัดพัทลงุ ใน การประชุม
3. เมอ่ื พจิ ารณา ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ แลว้ วชิ าการ กรมพฒั นาทด่ี นิ ปี 2552. สรุ าษฎร์ธาน.ี
พบว่า การปลกู ขา้ วไร่ แล้วไถกลบตอซงั หลังเก็บเกยี่ ว
ขา้ ว ใหก้ ำ� ไรสงู สดุ ทง้ั ปที ี่ 1 ปที ่ี 2 และรวม 2 ปี กลา่ วคอื เพ่มิ พนู กีรติกสกิ ร. 2527. ดนิ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของ
ให้กำ� ไรรวม 2 ปี เท่ากบั 12,050.72 บาท/ไร่ รองลงมา ประเทศไทย. ภาควิชาปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
คือวิธีการที่ 5 (ปลูกถ่ัวพร้าเป็นพืชปุ๋ยสด 1 crop + มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
ออ้ ย) ใหก้ ำ� ไรรวม 2 ปี เท่ากับ 8,666.44 บาท/ไร่
ประชา นาคะประเวช ปรชั ญา ชญั ญาดี และพริ ชั มา วาสนานกุ ลู .
ค�ำขอบคุณ 2538. คมู่ อื การใชพ้ ชื ปยุ๋ สดปรบั ปรงุ บ�ำรงุ ดนิ . กองอนรุ กั ษ์
ขอขอบคุณกรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตรและ ดนิ และนำ้� กรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์
สหกรณ์ ที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการท�ำงานวิจัย กรงุ เทพมหานคร.
นี้ ขอขอบพระคณุ นางปราณี สหี บัณฑ์ ผ้อู �ำนวยการก
ลุ่มวิชาการเพือ่ การพฒั นาทด่ี ิน ส�ำนกั งานพฒั นาที่ดนิ ประสทิ ธ์ิใจศลิ .2549.คมู่ อื ชาวไรอ่ อ้ ยแนวทางในการพฒั นาและ
เขต 5 ทไ่ี ดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� เปน็ ทปี่ รกึ ษา ตง้ั แตเ่ รมิ่ ดำ� เนนิ เพม่ิ ผลผลติ ออ้ ยในเขตแลง้ . หจก. โรงพมิ พค์ ลงั นานาวทิ ยา.
การทดลอง ตลอดทง้ั อำ� นวยความสะดวกในการดำ� เนนิ ขอนแก่น.
งานวจิ ยั ในทกุ ๆ ดา้ น ขอขอบคณุ ผชู้ ว่ ยวจิ ยั ทกุ คน ทใี่ ห้
สถาบนั วจิ ยั พชื ไร.่ 2544.เอกสารวชิ าการพนั ธ์ุการปลกู ดแู ลรกั ษา
อ้อย. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.
กรุงเทพฯ.

อษุ า จกั ราช ปราณี สหี บณั ฑ์ และสดุ สงวน เทยี มไธสงค.์ 2552.
รายงานการวิจัย เรื่องการจัดการดินที่เหมาะสมส�ำหรับ
ปลูกอ้อยแตล่ ะพนั ธ์ุ ในกล่มุ ชุดดินที่ 35 จังหวัดอุดรธานี.
สว่ นวชิ าการเพอ่ื การพฒั นาทด่ี นิ กรมพฒั นาทดี่ นิ กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์. ขอนแก่น.

Giller, K.E. and K.J. Wilson. 1991. Nitrogen Fixation
in Tropical Cropping System. C.A.B. International,
Wallingford, Oxon, U.K.

McDonagh, J.F., B. Toomsan, V. Limpinuntana and K.E.
Giller. 1995. Grain legumes and green manures as
pre-rice crops in northeast Thailand II. Residue
decomposition. Plant and Soil. 177: 127-136.

Stewart, W.D.P. 1966. Nitrogen fixation in plants.
University of London. The Athlone Press.


Click to View FlipBook Version