The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานวิจัย ณ กำแพงเพชร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-06-13 11:00:00

ผลงานวิจัย อ้อย

งานวิจัย ณ กำแพงเพชร

รายงานผลการทดลอง

เรอื่ ง

การศึกษาผลของการใช้ RH ash ตอ่ การเจรญิ เติบโตของอ้อยพันธ์ุ K99-72 (ตอปที ี่ 2)

Study on the effect of RH ash on sugarcane growth

( 2 nd ratoon cane ) variety K 99-72

คณะผูด้ าเนนิ งาน

1. นายสุภาพ มณรี ัตน์ ผอู้ านวยการวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร

2. นายธานนิ ทร์ สังขน์ อ้ ย รองผอู้ านวยการฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร

3. นางสาวสชุ นีย์ ทรพั ย์สมบรู ณ์ แผนกวิชาพืชศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยกี าแพงเพชร

4. นายไพทูรย์ นามสง่า แผนกวิชาพชื ศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยกี าแพงเพชร

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล

ด้วยบรษิ ทั อายโิ นะโมะโตะ๊ (ประเทศไทย) จากัด มโี รงงานแห่งหนง่ึ ตัง้ อย่ใู นจังหวดั กาแพงเพชร มี
การใช้แกลบเปน็ เช้อื เพลงิ ซง่ึ ก่อให้เกิดข้ีเถา้ แกลบจานวนหนง่ึ บริษัทอายโิ นะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย)
ต้องการใชป้ ระโยชน์สูงสุดจากข้ีเถา้ แกลบดงั กลา่ ว เพื่อให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด ทั้งผลกระทบท่ีมตี อ่ พืชท่ีปลูก
และผลกระทบตอ่ ดินทปี่ ลกู

ออ้ ย เปน็ พืชหลกั ของจังหวดั กาแพงเพชรมีพื้นที่ปลูกมากกวา่ 3.8 แสนไร่ ผลผลติ เฉล่ยี ของจงั หวัด
เท่ากับ 11.8 ตันต่อไร่ เกษตรกรท่ีปลกู อ้อยส่วนใหญใ่ ชป้ ยุ๋ เคมี ได้แก่สตู ร 15-15-15 เปน็ ต้น การนาขเ้ี ถา้
แกลบท่เี ปน็ ผลพลอยได้จากโรงงานนามาใช้ปรับปรุงดนิ ในแปลงปลูกออ้ ย จึงเปน็ สิง่ ท่คี วรศึกษาเพ่ือลดต้นทนุ
การผลติ และรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม

2.วตั ถุประสงค์

1. เพ่อื ต้องการทราบผลของการใช้ขเ้ี ถ้าแกลบในการปรับปรุงบารุงดิน
2. เพือ่ ตอ้ งการทราบถงึ ผลกระทบต่อการใช้ขเ้ี ถา้ แกลบท่ีมตี อ่ การเจรญิ เตบิ โตของอ้อยและดินทป่ี ลกู

ออ้ ยในระยะยาว
3. เพื่อทราบถึงวธิ ีการนาขี้เถา้ แกลบไปปรับใช้ในการเพาะปลกู ไดอ้ ย่างเหมาะสม

3.อุปกรณท์ ีใ่ ช้

1. ปยุ๋ เคมีสูตร 15-15-15
2. ปยุ๋ Ami-Ami®K
3. ขีเ้ ถา้ แกลบ
4. พนั ธ์ุอ้อย K-99-72

4.วธิ ีการทดลอง

1. การปลกู อ้อย ใชพ้ นั ธ์อุ อ้ ย K99-72 เตรยี มดนิ โดยการไถดะและไถแปร ยกร่องขนาด...............วาง
ท่อนพนั ธ์ออ้ ยโดยใชร้ ะยะปลูก............................. โดยมีขนาดของแปลง = 20.0 เมตร x 1.2 เมตร x 8 แถว =
192.0 ตร.ม(0.12 ไร่) พื้นทงี่ านทดลองทั้งหมด = 192.0 ตร.ม/แปลง X16 แปลง/งานทดลอง = 3,072 ตร.ม
(1.92 ไร่) พื้นทที่ ั้งหมด (รวมพื้นท่ีวา่ งระหวา่ งแปลง = 46.0 เมตร x 83.0 เมตร = 3,818 ตร.ม (2.39 ไร่)

2. วางแผนการทดลองแบบสุม่ ในบลอ็ กสมบรู ณ์ (Randomized Complete Block Design)
เปรียบเทยี บความแตกต่างของค่าเฉลย่ี จาก 4 กรรรมวิธีแต่ละกรรมวธิ มี ี 4 ซา้ ดงั นี้ (รายละเอยี ดปรากฏใน
ภาคผนวก)

กรรมวธิ ีที่ 1 (control) ไมม่ ีการใส่ปุ๋ยใด ๆ

กรรมวธิ ีที่ 2 ใสป่ ุ๋ยสูตร 15-15-15 อตั รา 80 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่

กรรมวิธที ่ี 3 ใส่ปุ๋ยนา้ Ami-Ami®K อัตรา 800 ลติ รตอ่ ไร่

กรรมวธิ ีที่ 4 ใส่ป๋ยุ น้า Ami-Ami ® K อัตรา 800 ลติ รต่อไร่ และ ขีเ้ ถา้ แกลบ (RH ash)
อัตรา 8 ตันตอ่ ไร่

3. เมอ่ื ออ้ ยอาย.ุ . 2..เดือน จงึ ใสส่ ง่ิ ทดลองตามกรรมวธิ ตี า่ ง ๆ ในข้อ 2 สว่ นการใสข่ ีเ้ ถ้าแกลบ (RH
ash) ใส่ผสมกบั ดนิ ก่อนเร่มิ ทาการทดลอง

4. บารงุ รกั ษาแปลงออ้ ยโดยการใหน้ ้าหยด เดือนละ 1 ครง้ั (แต่ละคร้ังท่ใี หน้ าน 24 ชั่วโมง)
กาจดั วชั พชื ภายในแปลงทดลองทุกเดอื น

5. การเกบ็ ขอ้ มลู
5.1. นับจานวนการแตกหน่อ 45 วัน หลังทาการปลกู
5.2. วัดความสงู ของอ้อย ณ เดือนท่ี 6, 8, 10 และ 12
5.3. วัดเส้นผา่ ศนู ย์กลางลาต้น ณ เดือนท่ี 6, 8, 10 และ 12
5.4. นบั จานวนใบเขียว ณ เดือนท่ี 6, 8, 10 และ 12
5.5. วัดความหนาแนน่ ของต้นใน 1 กอ ณ เดอื นที่ 6, 8, 10 และ 12

6. เกบ็ เกี่ยวออ้ ยเมอ่ื มอี ายคุ รบ 12 เดือน เก็บข้อมลู ในดา้ นผลผลิตอ้อย (ตนั /ไร่) คุณภาพความ
หวาน (CCS) ,ผลผลติ นา้ ตาล (ตันต่อไร่) ความยาวของลาออ้ ย, เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางลาออ้ ย,วเิ คราะหท์ างเคมหี า
คา่ เปอรเ์ ซน็ ตค์ วามหวาน, เปอรเ์ ซ็นต์ Polarity, Fiber,Purity

7. วเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถติ แิ ละสรปุ ผลการทดลองในปีท่ี 1

5.ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ

ผลของการใช้ขเี้ ถา้ แกลบจะมีผลต่อการเจริญเตบิ โตและผลผลิตของออ้ ย และสามารถนาไปแนะนาใช้
ในแปลงปลกู อ้อยของเกษตรกรเพ่อื ลดต้นทุนการผลติ

6.สถานทท่ี าการทดลอง

แปลงทดลองอ้อยภายในวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร อาเภอเมือง จงั หวัด
กาแพงเพชร

7.ผลการทดลอง

7.1 ผลผลติ ออ้ ย (ตัน/ไร่)

จากการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งกันของคา่ เฉล่ยี พบวา่ กรรมวิธที ่ี 3 การใช้ ปุ๋ยAmi-Ami®
K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไร่ ใหผ้ ลผลติ สงู สุดเท่ากับ 15.8 ตนั ต่อไร่ รองลงมาคอื กรรมวิธีที่ 2การใชป้ ๋ยุ เคมี สตู ร
15-15-15 อตั รา 80 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ 15.7 ตันตอ่ ไร่ และกรรมวธิ ีที่ 4 ทมี่ ีการใช้ ป๋ยุ Ami-Ami® K
อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไรแ่ ละใสข่ เ้ี ถ้าแกลบอตั รา 8 ตนั ต่อไร่ ใหผ้ ลผลิตเทา่ กับ 15.5 ตันตอ่ ไร่ ในขณะท่ี
กรรมวธิ ที ี่ 1 ไมม่ กี ารใสป่ ๋ยุ ไดผ้ ลผลิตต่าสดุ เทา่ กับ 12.0 ตนั ตอ่ ไร่ (ตารางท่ี 1) เมอ่ื เปรียบเทียบผลผลิตในปที ี่
1 พบว่า กรรมวิธที ่ี 2,3 และ 4 ให้ผลผลติ ต่ากว่าปีท่ี 1 แต่กรรมวธิ ีที่ 1 ให้ผลผลติ สูงกวา่ ปีที 1

7.2 ผลผลติ นาตาล (ตนั /ไร)่

จากการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งกนั ของคา่ เฉลี่ยพบวา่ กรรมวิธีท่ี 2 การใชป้ ุ๋ยเคมี สตู ร
15-15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ให้ผลผลติ 2.18 ตนั ตอ่ ไร่เทา่ กบั กรรมวิธที ี่ 3 ทม่ี กี ารใช้ ป๋ยุ Ami-Ami®
K อัตรา 800 ลิตรตอ่ ไร่ ในขณะท่ี กรรมวธิ ที ่ี 4 การใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไร่ และใส่
ขเ้ี ถา้ แกลบอตั รา 8 ตันต่อไร่ ให้ผลผลิตสงู สดุ เท่ากับ 2.02 ตนั ตอ่ ไร่ และกรรมวธิ ีท่ี 1 ไม่มกี ารใสป่ ุย๋ ได้
ผลผลิตตา่ สดุ เทา่ กบั 1.67 ตนั ต่อไร่ (ตารางท่ี 1) ทุกกรรมวธิ ีใหผ้ ลผลิตน้าตาลมากกวา่ อ้อยปที ี่ 1 ยกเวน้
กรรมวิธที ี่ 4

7.3 คณุ ภาพความหวาน (CCS)

จากการเปรียบเทียบความแตกต่างกนั ของค่าเฉลีย่ พบว่า กรรมวิธีท่ี 1 ไมม่ ีการใสป่ ยุ๋ ให้คา่
เปอร์เซ็นตค์ ณุ ภาพความหวานสงู สดุ (CCS) เทา่ กบั 14.05 รองลงมา คอื กรรมวธิ ีท่ี 2 การใชป้ ๋ยุ เคมี สูตร 15-
15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรัมต่อไร่ให้คา่ เปอร์เซน็ ตค์ ุณภาพความหวาน (CCS) เทา่ กบั 13.90 รองลงมาคือ
กรรมวิธที ี่ 3 ท่ีมีการใช้ ปุย๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลิตรตอ่ ไรใ่ ห้ค่าเปอร์เซ็นตค์ ุณภาพความหวาน (CCS)
น้อยท่สี ดุ เท่ากับ 13.84 และ กรรมวธิ ีที่ 4 การใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อัตรา 800 ลติ รตอ่ ไร่ และใส่ขเี้ ถ้า
แกลบอตั รา 8 ตนั ต่อไร่ให้คา่ เปอรเ์ ซน็ ต์คุณภาพความหวาน (CCS)น้อยทีส่ ดุ เทา่ กับ 13.08 (ตารางที่ 1)
พบวา่ ทกุ กรรมวิธีให้ค่า CCS สูงกว่า ออ้ ยปีท่ี 1

7.4 ความยาวของลาออ้ ย (เซนติเมตร)

จากการเปรยี บเทยี บความแตกต่างกันของคา่ เฉลี่ยพบวา่ กรรมวธิ ีท่ี 4 การใช้ ปยุ๋ Ami-
Ami® K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไร่ และใส่ขเ้ี ถา้ แกลบอัตรา 8 ตนั ต่อไรใ่ หค้ ่า ความยาวของลาอ้อยสูงสุดเท่ากับ
282.30 เซนติเมตร รองลงมาคือ กรรมวธิ ีที่ 2 ทมี่ ีการใช้ปยุ๋ เคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ให้
ค่าความยาวของลาอ้อยเท่ากับ 278 เซนตเิ มตร รองลงมา คือกรรมวิธีที่ 3 ทีม่ กี ารใช้ ปุ๋ยAmi-Ami® K อัตรา
800 ลติ รต่อไรใ่ หค้ า่ ความยาวของลาออ้ ยเท่ากับ 276.73 เซนติเมตร และกรรมวิธีที่ไม่ใสป่ ุ๋ย ใหค้ า่ ความ
ยาวของลาอ้อยต่าท่สี ดุ เทา่ กบั 256.41 เซนติเมตร (ตารางที่ 2)

7.5 ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางลาออ้ ย (มิลลเิ มตร)

จากการเปรยี บเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพบวา่ กรรมวิธที ่ี 4 การใช้ ปุ๋ยAmi-Ami® K
อัตรา 800 ลติ รต่อไร่ และใส่ขเี้ ถ้าแกลบอตั รา 8 ตนั ตอ่ ไร่ให้ค่าเสน้ ผา่ ศูนย์กลางของลาออ้ ยสูงสุดเท่ากับ
30.81 มิลลเิ มตร รองลงมาคอื กรรมวิธีท่ี 1 ท่ไี ม่ใสป่ ๋ยุ ให้ค่าเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางของลาออ้ ยเท่ากับ 29.91
มิลลิเมตร รองลงมาคอื กรรมวธิ ที ี่ 2 ทมี่ กี ารใชป้ ยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรใ่ ห้ค่า
เส้นผา่ ศูนย์กลางของลาอ้อยเทา่ กับ 29.28 มลิ ลิเมตร และมคี ่าใกล้คยี งกบั กรรมวธิ ที ี่ 3 ท่มี ีการใช้ ปยุ๋ Ami-
Ami® K อัตรา 800 ลิตรต่อไร่ใหค้ ่าเส้นผา่ ศูนย์กลางของลาอ้อยเท่ากับ 29.24 มิลลเิ มตร (ตารางที่ 2)

7.6 ผลการเปรยี บเทยี บข้อมลู เชิงสถิติ

จากตารางท่ี ผลของการเปรียบเทียบค่าต่าง ๆ ของกรรมวิธีต่าง ๆ ในด้าน ต่าง ๆ พบวา่ ใน
ด้านการเจริญเติบโตของออ้ ย ได้แก่ ความยาวของลาอ้อย เสน้ ผา่ ศูนย์กลางของลาอ้อย คา่ brix , polarity,
fiber, purity และ คา่ CCS ทกุ ๆ กรรมวธิ ไี ม่มีความแ ตกต่างกนั แตจ่ ะมคี วามแตกตา่ งกันดา้ นผลผลติ ออ้ ย
ซงึ่ พบวา่ กรรมวธิ ที ี่ 2, 3 และ 4 มีความแตกต่างจากกรรมวิธที ี่ 1 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และเป็นไปใน
ทานองเดียวกันกบั ผลผลิตของน้าตาลทไ่ี ด้

7.7 คา่ pH ของดิน

จากการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของค่าเฉลยี่ พบว่า กรรมวิธที ี่ 3 ที่มีการใช้ ปุย๋ Ami-
Ami® K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไรใ่ หค้ ่า pH ของดนิ สงู สดุ เท่ากบั 6.0 รองลงมาคอื กรรมวิธีที่ 2 ท่ีมกี ารใช้
ปยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ใหค้ า่ pH ของดิน เท่ากับ 5.7 รองลงมาคือ กรรมวธิ ที ี่ 4
การใช้ ปุ๋ยAmi-Ami® K อัตรา 800 ลิตรตอ่ ไร่ และใส่ขเี้ ถ้าแกลบอัตรา 8 ตนั ต่อไร่ใหค้ ่า pH เท่ากบั 5.5

และกรรมวิธีที่ 1 ทไ่ี มม่ กี ารใส่ปยุ๋ ให้ค่า pH ของดินตา่ สดุ เทา่ กับ 5.3 เมอ่ื เปรียบเทียบกับคา่ pH ก่อนการ
ใส่ปยุ๋ มีค่า pH เท่ากบั 6.1 ผลทีไ่ ดเ้ ป็นไปในทานองเดยี วกับออ้ ยปีที่ 1 (ตารางที่ 5-6)

7.9 ค่า EC ของดนิ

จากการเปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี พบวา่ กรรมวิธที ่ี 4 ทีม่ กี ารใช้ ปุ๋ยAmi-Ami®
K อัตรา 800 ลติ รต่อไร่ และใส่ขีเ้ ถา้ แกลบอตั รา 8 ตันต่อไร่ มคี า่ EC ของดิน สูงสดุ เท่ากบั 31.03
mS/cm. รองลงมา คอื กรรมวิธที ่ี 3 ทีม่ กี ารใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลิตรต่อไร่ มคี ่า EC ของดนิ
เทา่ กับ 27.49 mS/cm ในขณะท่ี กรรมวิธีที่ 2 ทมี่ ีการใช้ปยุ๋ เคมี สูตร 15-15-15 อตั รา 80 กโิ ลกรมั ต่อไร่
และ กรรมวิธที ่ี 1 ที่ไม่มีการใสป่ ุ๋ย มีคา่ EC ของดินใกลเ้ คยี งกัน เทา่ กับ 16.96 mS/cm. และ 15.48
mS/cm ตามลาดับ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ค่า EC กอ่ นการใส่ป๋ยุ มคี ่า EC เทา่ กบั 0.01 mS/cm (ตารางที่
5-6)

7.10 ค่า CEC ของดนิ

จากการเปรยี บเทยี บความแตกต่างของค่ าเฉลี่ยพบวา่ กรรมวิธที ่ี 4 ทม่ี ีการใช้ ปยุ๋ Ami-
Ami® K อัตรา 800 ลติ รต่อไร่ และใสข่ ีเ้ ถ้าแกลบอัตรา 8 ตันตอ่ ไร่ มีคา่ CEC ของดนิ สงู สุดเทา่ กับ 5.5
meq/100 g รองลงมาคอื กรรมวธิ ที ่ี 2 ท่มี ีการใชป้ ยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 อตั รา 80 กโิ ลกรัมต่อไร่ มคี ่า CEC
ของดินเท่ากบั 5.3 meq/100 g กรรมวิธที ่ี 3 ทมี่ ีการใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไร่ มีค่า
CEC ของดินเทา่ กนั เทา่ กับ 4.8 meq/100g และกรรมวธิ ีที่ 1 ที่ไม่มกี ารใส่ปุ๋ย มคี ่า CEC ของดนิ ต่าสดุ
เท่ากับ 4.4 meq/100g เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ค่า CEC ก่อนการใส่ปุ๋ยมีค่า CEC เทา่ กับ 4.5 meq/100 g
(ตารางที่ 5-6)

7.11 ค่า OM ของดนิ

จากการเปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลี่ยพบวา่ กรรมวิธีท่ี 4 ท่ีมกี ารใช้ ปุ๋ยAmi-Ami®
K อัตรา 800 ลิตรต่อไร่ และใสข่ เี้ ถา้ แกลบอัตรา 8 ตันตอ่ ไร่ มคี ่า OM ของดินสงู สดุ เท่ากบั 0.9 %
รองลงมา คอื กรรมวิธีที่ 2 ท่ีมกี ารใช้ปยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 อัตรา 80 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ มคี ่า OM ของดิน
เทา่ กบั กรรมวิธีท่ี 3 ทม่ี กี ารใช้ ป๋ยุ Ami-Ami® K อัตรา 800 ลิตรตอ่ ไร่ เท่ากบั 0.7 % ขณะที่ กรรมวิธีที่
1 ท่ีไมใ่ สป่ ยุ๋ มคี า่ OM เท่ากับ 0.6 % เม่อื เปรียบเทยี บกบั ค่า OM กอ่ นการใส่ปุ๋ยมีค่า OM เท่ากับ 1.0 %
(ตารางที่ 5-6)

7.12 คา่ WH capacity

จากการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของค่าเฉล่ียพบว่า กรรมวธิ ที ี่ 4 ทีม่ ีการใช้ ปุ๋ยAmi-
Ami® K อตั รา 800 ลิตรตอ่ ไร่ และใสข่ ี้เถ้ าแกลบอัตรา 8 ตนั ต่อไร่ มคี ่า WH capacity ของดินเทา่ กับ
31.9 % รองลงมา คือ กรรมวธิ ที ี่ 3 ที่มีการใช้ ป๋ยุ Ami-Ami® K อัตรา 800 ลติ รต่อไร่ มีคา่ WH capacity
ของดินเทา่ กบั 29.2 % กรรมวิธที ี่ 2 ที่มกี ารใชป้ ยุ๋ เคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 80 กิโลกรมั ต่อไร่ มคี ่า WH
capacity ของดนิ เท่ากบั 27.6 % ใกลเ้ คียงกบั กรรมวิธีท่ี 1 ท่ีไมใ่ สป่ ยุ๋ มคี า่ WH capacity ของดนิ ตา่ ทสี่ ดุ
เทา่ กับ 27.5 % เมอ่ื เปรยี บเทียบกับคา่ WH capacity ของดิน ก่อนใส่ปุ๋ยเท่ากบั 25.2%(ตารางที่ 5-6)

7.13 คา่ Total Nitrogen (TN )

จากการเปรีย บเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉลยี่ พบว่า กรรมวิธีท่ี 2 ทม่ี กี ารใชป้ ุ๋ยเคมี สตู ร
15-15-15 อัตรา 80 กิโลกรัมต่อไร่ กรรมวิธที ี่ 3 ทีม่ กี ารใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลติ รต่อไร่ และ
กรรมวธิ ที ี่ 4 ทมี่ ีการใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลติ รต่อไร่ และใส่ขเ้ี ถา้ แก ลบอตั รา 8 ตนั ตอ่ ไร่ มคี ่า
TN ของดนิ เท่ากัน คือ มคี า่ เทา่ กบั 0.04% สงู กว่ากรรมวิธีท่ี 1 ท่ีไม่มีการใสป่ ุย๋ ซ่งึ มคี า่ TN เทา่ กบั 0.03%
เมื่อเปรียบเทยี บกับค่า TN ของดิน กอ่ นใส่ปุ๋ยเทา่ กับ 0.0% และมีคา่ เท่ากับอ้อยปีท่ี 1 (ตารางที่ 5-6)

7.14 ค่า K2O

จากการเปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉลยี่ พบว่า กรรมวิธีท่ี 4 ท่ีมกี ารใช้ ปุ๋ยAmi-Ami®
K อตั รา 800 ลิตรต่อไร่ และใสข่ ้ีเถา้ แกลบอัตรา 8 ตันต่อไร่ มีคา่ K2O ของดินสงู สดุ คือ 7.5 mg/100 g
รองลงมาคือ กรรมวิธที ี่ 2 ท่มี กี ารใช้ปุย๋ เคมี สูตร 15-15-15 อตั รา 80 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ มีค่า K2O ของดิน
เท่ากับ 5.0 mg/100 g ในขณะท่ีกรรมวิธที ่ี 3 ท่ีมีการใช้ ปุ๋ยAmi-Ami® K อัตรา 800 ลิตรตอ่ ไร่ มคี ่า K2O
ของดินใกล้เคียงกรรมวธิ ที ่ี 1 ที่ไม่ใสป่ ุ๋ย มคี ่า K2O เท่ากับ 4.8 mg/100 g และ 4.7 mg/100 g ตามลาดบั
เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ค่า K2O ของดินก่อนใสป่ ุ๋ยเท่ากับ 3.9 mg/100 g (ตารางท่ี 5-6)

7.15 คา่ Na2O

จากการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ยี พบวา่ กรรมวิธที ่ี 4 ท่มี ีการใช้ ปุ๋ยAmi-Ami®
K อตั รา 800 ลติ รตอ่ ไร่ และใสข่ ้ีเถ้าแกลบอตั รา 8 ตนั ต่อไร่ มีค่า Na2O ของดนิ มากกวา่ ก รรมวิธอี ื่น คือ
7.5 mg/100 g ในขณะที่ กรรมวธิ ี 2 ที่มีการใช้ปยุ๋ เคมี สตู ร 15-15-15 อัตรา 80 กิโลกรัมต่อไร่ มีคา่ Na2O
ของดนิ เทา่ กับ กรรมวิธที ี่ 3 ที่มกี ารใช้ ปยุ๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลิตรตอ่ ไร่ มีคา่ Na2O ของดินใกลเ้ คยี ง

กรรมวธิ ีที่ 1 ทไ่ี ม่ใส่ปุ๋ย มี คา่ Na2O เท่ากบั 2.9 mg/100 g และ 2.8 mg/100 g ตามลาดบั เมอ่ื
เปรียบเทยี บกับดินกอ่ นใสป่ ุ๋ยเทา่ กบั 1.6 mg/100 g (ตารางที่ 5-6)

7.16 คา่ Bulk
จากการเปรยี บเทียบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ พบวา่ กรรมวธิ ีที่ 2 ท่ีมีการใชป้ ๋ยุ เคมี สตู ร

15-15-15 อตั รา 80 กโิ ลกรัมต่อไร่ กรรมวิธที ี่ 3 ทมี่ กี ารใช้ ปุย๋ Ami-Ami® K อตั รา 800 ลิตรตอ่ ไร่ และ
กรรมวธิ ที ่ี 4 ที่มกี ารใช้ ป๋ยุ Ami-Ami® K อัตรา 800 ลติ รตอ่ ไร่ และใส่ข้ีเถ้าแกลบอตั รา 8 ตันต่อไร่ มีคา่
Bulk ของดนิ เท่ากัน เท่ากบั 1.8 g/cm3 ขณะท่ี กรรมวธิ ีท่ี 1 ทไ่ี มใ่ ส่ปุ๋ย มีคา่ Bulk เท่ากบั 1.7 g/cm3
เม่ือเปรยี บเทียบกบั ดนิ กอ่ นใสป่ ุ๋ยเท่ากับ 1.66 g/cm3 ( ตารางท่ี 5-6)

-------------------------------

8. สรุปผลการทดลอง

จากการศึกษา ผลการใช้ขเ้ี ถ้าแกลบทีม่ ผี ลต่อการปลกู ออ้ ยและผลกระทบต่อดินทีปลูกอ้ อย
โดยเปรียบเทยี บการปรบั ปรงุ ดิน ใน 4 กรรมวธิ ีตา่ ง ๆ ได้แก่ กรรมวธิ ที ี่ 1 (control) ไม่มีการใสป่ ยุ๋ หรอื
วสั ดุปรบั ปรงุ ดนิ กรรมวิธที ่ี 2 ใส่ปยุ๋ สตู ร 15-15-15 กรรมวธิ ที ี่ 3 Ami-Ami®K และ กรรมวธิ ีที่ 4
Ami-Ami ® K+RHA 8 ตนั ตอ่ ไร่ ในแปลงปลูกอ้ อย ในการศกึ ษาวิจยั ดาเนนิ การศกึ ษา ผลทไ่ี ด้ ใน 2 ดา้ น
ด้านที่ 1 คือ การเจรญิ เติบโตของอ้อย ความสูง เส้นผา่ ศนู ย์กลางลาออ้ ย การแตกกอและคุณภาพของออ้ ย (
% brix, Polarity, Fiber,CCS , Purity , Sugar production) ดา้ นที่ 2 เป็นการศึกษาคุณสมบัตขิ องดนิ ท่ี
เปล่ียนไป ( Organic matter, Water holding capacity, pH,EC,CEC,Total nitrogen, K2O , Na2O ,
Bulk density ) โดยผลการศึกษาวจิ ยั เปน็ ดงั น้ี

1. การเจริญเติบโตของอ้อยและผลผลิตออ้ ย
ผลของการเปรียบเทยี บค่าต่าง ๆของกรรมวธิ ีตา่ ง ๆ ในดา้ นตา่ ง ๆ พบวา่ ในดา้ นการเจริญเตบิ โต ของ
ออ้ ย ไดแ้ ก่ ความยาวของลาออ้ ย เส้นผ่าศูนยก์ ลางของลาออ้ ย ค่า brix , polarity, fiber, purity และ ค่า
CCS ทกุ ๆ กรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกนั แต่จะมคี วามแตกต่างกันด้านผลผลิตออ้ ย ซง่ึ พบว่า กรรมวธิ ีที่ 2, 3
และ 4 มคี วามแตกตา่ งจากกรรมวธิ ที ี่ 1 อยา่ งมีนยั สาคั ญทางสถิติ และเปน็ ไปในทานองเดียวกันกับผลผลติ
ของน้าตาลท่ไี ด้

ผลการทดลองเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉล่ีย พบวา่ การใช้ Ami-Ami ® K+RHA 8 ตนั
ต่อไร่ให้ความยาวของลาออ้ ยมากทีส่ ุด เท่ากับ 282.30 เซนติเมตร

จากการเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ย พบ วา่ การใช้ Ami-Ami®K อัตรา 800 ลติ รต่อไร่
ให้ผลผลิตอ้อยสงู สดุ เท่ากับ 15.8 ตันตอ่ ไร่

2. ผลการวเิ คราะหค์ ุณสมบัตขิ องดิน

จากการเปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี ในแต่ละกรรมวธิ ีหลังจากปลูกอ้อยเปน็ ระยะเวลา 2 ปี พบว่า กรรมวธิ ีท่ี
4 ท่ใี ช้ Ami-Ami ® K+RHA 8 ตนั ตอ่ ไร่ จะมีค่า ของ EC , CEC, OM, K2O Na2O และ WHC สงู กวา่
กรรมวิธอี น่ื ๆ เมือ่ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในทางสถติ ิ ทีร่ ะดบั นัยสาคญั 0.05 พบวา่ กรรมวิธีต่าง ๆ จะให้
คุณสมบัตขิ องดนิ ในด้าน ค่า pH , EC , K2O และ คา่ WHC แตกตา่ งกนั ในขณะท่ี ค่า CEC , OM, TN ,
Na2O และ คา่ Bulk ท่ีไมม่ คี วามแตกตา่ งกันในทกุ กรรมวธิ ี

โดยสรุป ผลการใชข้ ี้เถ้าแกลบทีม่ ีผลตอ่ การปลกู ออ้ ยและผลกระทบตอ่ ดนิ ทปี ลูกอ้อยจากการปลูกออ้ ย
ตอ 2 ทาให้อ้อยมกี ารเจรญิ เติบโตดี ผลกระทบต่อดนิ ท่ปี ลกู มีแนวโน้มทาให้ดินมคี า่ EC , K2O และค่า %
ของ WHC สงู ขึน้

ภาคผนวก

ตารางผนวกที่ 1 ผลผลิตของออ้ ยหลังการเกบ็ เกี่ยว

Cane Production Quality of cane solution

Rep. 96 1,600 m2 Brix Polarity Fiber CCS Puirty Sugar production
m2 (%) (%)
1 20.66 91.66 (T/rai)
2 (Kg) (T) 18.78 (%) (%) (%) 86.20 1.73
3 21.46 92.29 1.91
4 703 11.7 19.88 18.93 12.17 14.76 89.80 1.61
Avg. 20.20 89.99 1.40
T1 1 936 15.6 20.66 16.19 11.31 12.27 91.39 1.67
2 20.10 90.90 2.07
Control 3 627 10.4 18.66 19.81 12.47 15.45 88.80 2.45
4 20.20 89.49 1.88
T2 Avg. 614 10.2 19.91 17.85 12.34 13.72 90.15 2.31
Chemical 1 21.88 92.51 2.18
fertilizer 2 720 12.0 20.40 18.20 12.07 14.05 89.14 2.20
3 18.36 87.86 2.26
T3 4 844 14.1 18.74 18.88 11.98 14.73 89.38 2.09
Ami-Ami® K Avg. 19.85 89.72 2.17
adding P & K 1 1038 17.3 21.34 18.27 12.29 14.15 89.50 2.18
2 18.08 88.21 1.92
T4 3 881 14.7 19.14 16.57 11.48 12.78 89.41 2.22
Ami-Ami® K + 4 18.38 86.23 1.99
RH ash 8 T/rai Avg. 995 16.6 19.24 18.08 12.01 13.92 88.34 1.93
adding P & K 2.02
939 15.7 17.95 11.94 13.90

831 13.9 20.24 11.95 15.91

964 16.1 18.18 11.66 14.03

1000 16.7 16.13 10.47 12.51

1008 16.8 16.75 11.92 12.90

951 15.8 17.83 11.50 13.84

797 13.3 19.10 13.32 14.47

1080 18.0 15.95 10.98 12.32

891 14.8 17.11 10.45 13.42

956 15.9 15.85 10.68 12.11

931 15.5 17.00 11.36 13.08

การคานวณผลผลิต Cane production (T/rai) x %CCS
Sugar production = 100

%CCS = 0.9433 x Pol x (1-%F) - 0.5 x [0.9660 x Brix x (1-%F) - 0.9433 x Pol x
Remark ; (1-%F)]

1. Pol = % Sucrose in sugar solution
2. Brix = % Solid in sugar solution
3. %F = % Fiber / 100

ตารางผนวกที่ 2 เปรยี บเทยี บความสูงของลาอ้อยจากกรรมวธิ ีต่าง ๆ ณ วันทเี่ ก็บเกย่ี วผลผลติ (ห

Treat. Rep. Stalk 1 Stalk 2 Stalk 3 Stalk 4 Stalk 5 Stalk 6 Stalk 7 Stalk 8
212.0 290.0 291.0 237.0 230.0 240.0 245.0 237.0
T1 1 352.0 315.0 379.0 337.0 347.0 328.0 269.0 341.0
Control 2 253.0 251.0 212.0 228.0 223.0 225.0 241.0 237.0
3 260.0 220.0 222.0 230.0 236.0 223.0 220.0 234.0
T2 4
Chemical Avg. 267.0 276.0 290.0 263.0 270.0 275.0 233.0 233.0
fertilizer 1 310.0 270.0 335.0 288.0 315.0 277.0 285.0 225.0
2 332.0 327.0 340.0 255.0 305.0 318.0 324.0 300.0
T3 3 263.0 229.0 237.0 269.0 244.0 241.0 216.0 243.0
Ami-Ami® K 4
adding P & K Avg. 259.0 308.0 301.0 270.0 253.0 249.0 284.0 265.0
1 312.0 327.0 310.0 248.0 291.0 230.0 255.0 249.0
T4 2 234.0 292.0 322.0 320.0 270.0 249.0 304.0 333.0
Ami-Ami® K + 3 204.0 252.0 260.0 300.0 300.0 274.0 260.0 264.0
RH ash 8 T/rai 4
adding P & K Avg. 294.0 264.0 304.0 271.0 278.0 275.0 306.0 288.0
1 189.0 320.0 303.0 312.0 267.0 310.0 350.0 324.0
2 308.0 248.0 302.0 307.0 250.0 323.0 244.0 335.0
3 266.0 250.0 265.0 314.0 238.0 313.0 280.0 260.0
4
Avg.

หน่วย:เซนติเมตร)

Stalk 9 Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Avg.
224.0 10 11 12 13 14 15 16
338.0 243.38
267.0 260.0 255.0 258.0 239.0 200.0 222.0 254.0 302.69
203.0 262.0 251.0 270.0 230.0 262.0 311.0 244.56
251.0 238.0 284.0 252.0 257.0 251.0 247.0 235.00
243.0 224.0 251.0 224.0 250.0 243.0 256.41
247.0 268.88
249.0 258.0 288.0 316.0 330.0 200.0 287.94
277.0 349.0 259.0 290.0 300.0 230.0 300.0 314.31
297.0 358.0 304.0 331.0 285.0 318.0 240.88
280.0 274.0 227.0 258.0 230.0 240.0 250.0 262.0 278.00
280.0 294.0 271.13
316.0 319.0 274.0 315.0 266.0 264.0 282.0 190.0 270.88
227.0 218.0 320.0 165.0 298.0 253.0 262.0 235.0 307.75
374.0 317.0 234.0 327.0 342.0 329.0 257.19
255.0 303.0 277.0 230.0 265.0 267.0 237.0 210.0 276.73
272.0 307.0 284.13
319.0 358.0 285.0 288.0 277.0 271.0 292.0 292.0 289.19
300.0 215.0 320.0 263.0 298.0 272.0 316.0 300.0 279.31
292.0 205.0 265.0 303.0 359.0 173.0 276.56
277.0 284.0 280.0 311.0 248.0 207.0 333.0 255.0 282.30
290.0 193.0
287.0 268.0
275.0 330.0

ตารางผนวกที่ 3 เปรียบเทียบเส้นผา่ ศูนยก์ ลางของลาออ้ ยจากกรรมวิธตี า่ ง ๆ ณ วันที่เกบ็ เกย่ี วผลผ

Treat. Rep. Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk
1 2 3 4 5 6 7 8

1 30.55 28.32 35.54 25.68 27.30 33.67 32.00 26.23

T1 2 30.19 31.52 28.89 26.45 33.28 25.48 30.98 23.43
Control 3 32.21 26.13 35.86 30.05 31.39 28.99 24.69 33.35
4 27.31 24.98 31.10 24.92 24.90 24.77 21.58 32.20

Avg.

1 32.24 29.51 29.41 23.90 32.54 27.00 30.27 24.75

T2 2 30.04 29.50 28.38 30.52 23.45 25.94 35.91 32.12

Chemical 3 25.55 22.62 35.52 28.56 29.91 28.08 27.14 30.00

fertilizer 4 31.02 24.05 37.02 28.10 28.61 32.48 28.71 28.56

Avg.

1 29.25 30.92 26.27 26.13 28.99 32.42 28.94 31.72

T3 2 39.37 30.76 32.40 30.46 29.87 32.23 30.94 32.01
Ami-Ami® K 3 34.69 30.70 26.70 38.42 21.12 30.11 26.35 32.90
4 27.42 28.10 32.44 33.43 31.34 30.72 32.02 30.13

Avg.

1 23.70 25.97 31.56 32.30 26.83 29.90 25.83 32.78

T4 2 33.30 28.69 28.05 31.07 25.81 28.38 33.34 36.28

Ami-Ami® K + 3 36.85 31.00 29.81 32.88 31.00 31.54 31.39 31.78

RH ash 8 T/rai 4 30.52 29.15 33.95 29.95 35.33 26.39 36.29 29.96

Avg.

ผลติ (หนว่ ย: มลิ ลิเมตร)

Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Stalk Avg.
9 10 11 12 13 14 15 16
29.89
34.90 29.45 28.48 31.77 30.13 25.92 27.97 30.29 28.93
27.07 23.63 29.68 27.87 28.04 34.73 31.24 30.47 31.82
34.75 36.26 25.36 33.29 33.02 38.02 32.40 33.31 27.78
31.94 30.83 29.24 27.83 32.67 28.04 27.77 24.47 29.61
30.14
32.28 32.94 27.46 37.46 34.53 33.38 29.96 24.64 28.19
23.99 28.35 29.88 28.35 21.65 27.10 27.64 28.14 29.59
21.10 31.58 33.10 28.59 31.89 32.01 35.37 32.36 29.85
26.77 30.04 23.56 32.14 30.05 32.45 31.46 32.54 29.44
30.31
32.61 30.96 27.24 26.57 31.50 33.75 32.17 35.47 31.28
28.94 32.20 26.55 31.23 27.97 35.70 30.45 29.34 30.14
28.96 29.59 37.09 21.40 22.32 29.82 38.19 33.91 31.42
35.68 34.99 28.44 34.16 33.41 29.98 30.79 29.71 30.79
31.27
38.60 38.14 28.58 34.74 32.28 32.75 34.72 31.60 30.72
31.23 31.82 26.75 33.38 23.59 26.69 37.01 36.15 31.25
28.81 31.34 28.67 27.89 33.78 31.06 31.81 30.35 30.80
29.58 32.71 33.11 30.49 27.69 29.33 30.15 28.14 31.01

ตารางผนวกที่ 4 สรุปผล Final height Final diameter Cane
production
Treatment group (cm) a (mm) a
256.41 a 29.91 a (T/rai)
T1 No fertilizing 278.00 a 29.28 a 12.0
T2 CF (15-15-15) 276.73 a 29.24 a 15.7
T3 Ami-Ami® K adding P & K 282.30 30.81 15.8
T4 Ami-Ami® K + RHA 8 T/rai adding P & K 15.5
ns ns
F-test 7.6 4.8 ns
CV (%) 9.2

Brix Polarity Fiber CCS Puirty Sugar
production

(%) (%) (%) (%) (%) (T/rai)

b 20.2 a 18.2 a 12.1 a 14.1 a 90.0 a 1.67 b

a 19.9 a 18.0 a 11.9 a 13.9 a 90.1 a 2.18 a

a 19.8 a 17.8 a 11.5 a 13.8 a 89.7 a 2.18 a

a 19.2 a 17.0 a 11.4 a 13.1 a 88.3 a 2.02 a

ns ns ns ns ns

5.6 7.1 6.5 7.5 2.0 6.9

ตารางผนวกท่ี 5 ผลของการวิเคราะห์ดนิ ทีป่ ลกู ออ้ ยในกรรมวธิ ีตา่ ง ๆ หลังการเกบ็ เก่ยี วผลผลิต

Moisture EC CEC OM TN K2O Na2O Bulk WHC P2O5
density (mg/100g)
TR. Rep. pH (%) (mg/100g) (mg/100g) (g/cm3) (%)
0.0315 5.70 2.60 28.37 7.7
(%) (mS/cm) (meq/100g) (%) 0.0383 5.40 2.90 1.7 29.17 10.2
0.0288 3.60 2.70 1.8 26.26 7.6
1 0.78 5.16 13.50 4.1 0.61 0.0274 4.20 2.80 1.6 26.01 5.4
0.0315 4.73 2.75 1.7 27.45 7.7
2 1.16 5.34 15.78 5.6 0.87 0.0370 5.60 2.60 26.07 11.8
0.0465 5.40 3.00 1.70 29.16 38.6
T1 3 1.04 5.40 17.82 4.1 0.61 0.0383 4.30 3.10 1.8 27.29 9.5
0.0356 4.60 2.90 1.9 27.68 9.8
4 0.55 5.49 14.83 3.7 0.47 0.0394 4.98 2.90 1.9 27.55 17.4
0.0370 3.90 2.50 1.7 30.06 28.0
Avg. 0.88 5.35 15.48 4.38 0.64 0.0411 5.40 2.90 28.29 237.5
1 0.57 5.39 21.00 5.1 0.66 0.0452 4.00 3.10 1.83 29.06 12.7
2 0.93 6.03 19.67 7.1 0.87 0.0438 6.00 2.90 1.8 29.37 13.3
0.69 5.88 10.09 4.5 0.68 0.0418 4.83 2.85 1.8 29.20 72.9
T2 3 1.05 5.32 17.08 4.5 0.64 0.0356 5.30 2.80 1.8 28.99 15.9
4 0.0465 5.90 3.10 1.8 30.91 39.2
0.0479 8.90 3.20 35.77 17.1
Avg. 0.81 5.66 16.96 5.30 0.71 0.0451 9.70 4.70 1.80 32.12 17.0
1 1.34 5.91 17.94 5.0 0.66 0.0438 7.45 3.45 1.8 31.95 22.3
2 1.99 6.16 22.90 4.8 0.71 1.8
1.72 6.20 45.40 4.5 0.75 1.8
T3 3 0.91 5.76 23.70 4.9 0.87 1.70
4
1.78
Avg. 1.49 6.01 27.49 4.80 0.75
1 0.75 5.68 37.20 4.5 0.66
2 1.65 5.39 29.10 5.1 0.93
1.75 5.21 33.10 6.1 1.12
T4 3 1.29 5.66 24.70 6.3 1.06
4

Avg. 1.36 5.49 31.03 5.50 0.94

ตารางผนวกท่ี 6 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ดินทีป่ ลูกออ้ ยในกรรมวิธีตา่ ง ๆ หลังการเก็บเกี่ยวผลผ

EC CEC OM

Treatment group pH
Initial soil
Control (No fertilizer) (mS/cm) (meq/100g) (%)
T1
6.10 0.01 4.50 1.00
T2 Chemical fertilizer (15-15-15)
Ami-Ami® K 5.3 15.48 4.4 0.6
0.7
T3 5.3
5.7 16.96 0.7
T4 Ami-Ami® K + RHA 8T/rai
F-test 6.0 27.49 4.8

5.5 31.03 5.5 0.9
* * ns ns

1

ผลิต K2O Na2O Bulk WHC
(mg/100g) (mg/100g) (g/cm3) (%)
TN 25.20
(%) 3.90 1.60 1.66
0.00 27.5
4.7 2.8 1.7 27.6
0.03 5.0
0.04 1.8 29.2
2.9 1.8 31.9
0.04 4.8
1.8 *
0.04 2.9 ns
ns
7.5 3.5
* ns


Click to View FlipBook Version