The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-06-15 12:46:22

งานวิจัย2

project_7246

โครงการสิ่งประดิษฐค นรนุ ใหม
กลุมวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมอาชีวศึกษา รว มกบั คณะกรรมการจดั การนวัตกรรมอาชีวศกึ ษา

ตเู พาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือแบบเคลื่อนที่

หนว ยงาน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกำแพงเพชร
ประเภท ส่ิงประดษิ ฐด า นการประกอบอาชพี
บทคัดยอ :
ตเู พาะเล้ียงเนอ้ื เยือ่ แบบเคลอื่ นที่ เปน ผลงานประดิษฐคิดคนขึน้ ใหม โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใหก ารเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อพชื มีความสะดวก
คณุ ลักษณะ ประหยัดตน ทุน ประหยดั พลงั งานและใชง านไดดี และเพือ่ การตอบสนองตอเกษตรกร ท่ีประสงคจะเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื พืชดวยตนเอง
และประโยชน : ตูเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อแบบเคล่ือนที่ ประกอบดว ย 3 สวน คอื ตเู พาะเลี้ยงเน้อื เยือ่ ตบู มเน้ือเยื่อพชื และช้นั วางตบู มเน้อื เย่ือ
ตูเ พาะเล้ยี งเนอื้ เยอ่ื แบบเคล่อื นท่ีได มขี นาดเล็ก งา ยตอการทำความสะอาด ออกแบบตูเพื่อทำงานแทนหองเย็นโดยใชเจลลไ่ี อซ
และมีระบบการใหแสงเพ่อื การประหยัดไฟฟา มรี ะบบชนั้ วางเพอ่ื ความเปนระเบียบ การเคลื่อนยายและความสวยงาม
จุดเดนของส่งิ ประดษิ ฐ คอื ความสะดวกของการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือไดในทกุ สถานท่ี
กอ ใหเกดิ การประหยดั ตน ทนุ ของเกษตรกรในการวา จา งบริษทั ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื
เกษตรกรสามารถใชตูเพาะเลีย้ งเน้ือเยือ่ แบบเคลื่อนที่ เพอื่ การพัฒนาสายพันธกุ ลวยไม การอนุรักษพ ันธุกรรมพชื
การเพาะเนอื้ เย่อื ใหปลอดโรค ผลทีไ่ ดข องการประดิษฐค ิดคน ตเู พาะเลีย้ งเนอ้ื เย่อื แบบเคลอ่ื นทน่ี ้ี
จะกอใหเ กิดนวัตกรรมของการเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื พชื แบบใหมท่ไี มเฉพาะทำอยูในหอ งปฏิบัติการทมี่ กี ารลงทุนสูง
แตสามารถเพาะเลี้ยงเน้อื เยอ่ื ในทุกทที่ ่ีตองการ และมีการลงทนุ ที่ต่ำ
และจะกอ ใหเ กิดการพฒั นาเทคโนโลยกี ารเพาะเล้ยี งเนือ้ เยอ่ื พืชไดอยางกวางขวางตอ ไป

ความสามารถ ตูเพาะเลยี้ งเน้ือเยื่อแบบเคลือ่ นที่ มีขนาดเลก็ สะดวกตอ การนำไปใชใ นสถานท่ีตาง ๆ ดแู ลรกั ษางา ย ไมเ ปลอื งพ้ืนท่ี
ประกอบดวยชดุ อปุ กรณ 3 สวน ท่ีสามารถเคลือ่ นท่ีได คือ
สว นที่ 1 ตูย ายเนื้อเยือ่ เปนกระจก สะดวกตอ การทำความสะอาด ฆาเชอ้ื โรค ทนความรอน สามารถปองกนั ฝนุ ละอองและเช้ือโรคไดดี
ติดตั้งหลอด UV ขนาดเลก็ เพอื่ ฆาเชื้อโรคบริเวณพืน้ ท่ีทำงาน มีบานประตูเลอื่ นขนาดเล็กใหมอื สามารถผา นเขา ไปทำงานได
มหี จู ับดานบนเพอ่ื การเคลื่อนยาย
สว นที่ 2 ตูบมเนอ้ื เยือ่ เปน ระบบทำงานแทนหอ งเยน็ หรอื ตเู ยน็ เพือ่ การประหยดั ไฟ มลี กั ษณะเปน กลอ งโฟม เพือ่ เกบ็ ความเย็น
ตดิ กระจกดานหนา เพ่อื ใชดกู ารเจริญของเน้ือเย่ือ สามารถวางเปนชน้ั เดยี วหรอื สองชัน้
กน้ั ดว ยแผน กระจกเพื่อใหโ ปรงแสงสำหรบั การเจรญิ เตบิ โตของพืช ดานบนตดิ หลอดไฟฟูออเรสเซนต
เพอื่ ใหแ สงสวางตอเนอื้ เยือ่ พืชท่เี ตบิ โตแลว ติดเทอรโมมิเตอรเ พ่อื ตรวจเชค็ ระดบั ของอุณหภมู ิ
ใชเจลล่ีไอซเปน ตวั บมความเย็นตามระดับของอุณภูมทิ เ่ี นอื้ เย่ือพืชตอ งการ สามารถนำไปวางในสถานท่ีใด ๆ
เพ่ือสะดวกตอการปฏบิ ัตงิ านได
สว นท่ี 3 ชัน้ วางตบู มเนอ้ื เยือ่ หรืออุปกรณ อนื่ ๆ เพอ่ื จัดเกบ็ ตูบม เนือ้ เย่ือ จำนวน 4 ชนั้ ทำดวยอลมู ิเนยี ม มีขอบ 3
ดา นเพอ่ื กันการตก มลี อสำหรบั การเคลื่อนยา ยบนพืน้ เรยี บ พื้นเรยี บเพอื่ การทำความสะอาด
1เกษตรกรสามารถนำไปเพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่ ของพืชได โดยไมตองสรางหอ ง lab ทม่ี ตี นทนุ สงู
2สามารถกอใหเกิดการพัฒนาการเพาะเลย้ี งเนือ้ เย่อื ไดอยางกวางขวาง ทั้งในระดบั โรงเรียน วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัย และงานฟารม ตา ง
ๆ เนอ่ื งจากเปนอปุ กรณท งี่ า ยสะดวกตอ การจัดการ สามารถสรา งงานทดลองเปรยี บเทยี บตาง ๆ ไดอ ยางมากมาย
3เกดิ นวัตกรรมของการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยือ่ ท่ไี มถ กู จำกดั ขอบเขตแตในหอ ง lab เทา นน้ั เกษตรกรสามารถทำไดเ อง เพาะเล้ียงไดเ อง
เมือ่ ตองการพันธใุ หม ๆ หรอื อนุรักษพ ันธุกรรมพชื

4เปนทางเลอื กในการสรา งมูลคาเพิม่ ใหก ับเกษตรกรทต่ี อ งการเพาะเล้ียงเนอื้ เย่ือเพอ่ื จำหนา ย เชน กลวยไม กุหลาบ
หรอื พันธไุ มท ม่ี คี วามสวยงามและหายาก
5เกษตรกรชาวไรออ ยสามารถเพาะพนั ธกุ ลาออยไดเองเพือ่ ใหปลอดจากโรคไวรสั ดวยการเพาะเลยี้ งเน้อื เย่อื ดวยอุปกรณง าย ๆ แบบนี้

อาจารยท่ปี รึกษา แผนก / ฝา ย นกั เรยี น ระดบั หลักสูตร
ชอื่ - นามสกุล - ช่อื - นามสกลุ ปวส.
- ปวส.
1. นาย สุชนีย ทรพั ยส มบูรณ - 1. นาย สุทธิรักษ สุวรรณโพธ์ิ ปวส.
2. นาง นชุ อนงค คงเทศ - 2. นาย นภดล อองยม้ิ ปวส.
3. นาย ทวี ปงสแุ สน 3. นาย นันทวัฒน วารี ปวส.
4. วา ที่ ร.ต. ธเนศ แตงงาม 4. นาย ศราวุธ ทิพมะณี
5. นางสาว สพุ รรษา แซท าว

Powered by TCPDF (www.tcpdf.org)


Click to View FlipBook Version