The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานความก้าวหน้าโครงการนโยบายเร่งด่วน 18.11.62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchanee Subsomboon, 2019-12-11 04:55:33

รายงานความก้าวหน้าโครงการนโยบายเร่งด่วน 18.11.62

รายงานความก้าวหน้าโครงการนโยบายเร่งด่วน 18.11.62

18 พฤศจกิ ายน 2562

รายงานความก้าวหนา้ โครงการขบั เคล่อื นนโยบายการบรหิ ารจดั การ
อาชวี ศึกษาเกษตรกรรมและประมงเพื่อความยงั่ ยนื (ระยะเรง่ ดว่ น)

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
สุพรรณบุรี

อาชวี ศึกษาจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา



คำนำ

เอกสารสรุปรายงานผลการดาเนินงาน โครงการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
เกษตรกรรมและประมงเพอ่ื ความยง่ั ยนื (ระยะเรง่ ดว่ น) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบุรี ได้จัดทาข้ึน
เพื่อรายงานความก้าวหนา้ ของการดาเนินโครงการในระยะท่ี 1 ประกอบด้วย โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้
Smart Farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อชุมชนในสถานศึกษา โครงการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน (งานฟาร์ม) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี และโครงการพัฒนาเกษตรกรเพ่ือเพ่ิมขีด
ความสามารถในการประกอบอาชพี ในชมุ ชน

ในนามของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ขอขอบพระคุณ ท่าน รัฐมนตรี คุณหญิงกัลยา
โสภณพานิช ท่ีได้ผลักดันให้เกิดโครงการตามนโยบายเร่งด่วน และอนุมัติงบประมาณเพื่อการดาเนินการ
ขอขอบพระคุณ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ผู้อานวยการสานักนโยบายและแผน ผู้อานวยการ
สานักมาตรฐานอาชีวศึกษา ที่ช่วยอานวยการ และประสานงานการดาเนินโครงการต่าง ๆ และขอขอบคุณ
คณะผู้บรหิ าร ครู และเจ้าหน้าที่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ท่ีได้ทุ่มเท เสียสละ ขับเคลื่อน
การดาเนินงานโครงการ และรายงานผลการดาเนนิ งาน จนทาให้เอกสารรายงานผลการดาเนินงานระยะที่ 1
ฉบับนี้ สาเร็จด้วยดี และหากมีสิ่งใดท่ีควรเพิ่มเติมเพือ่ การดาเนินงานต่อไปของโครงการให้บรรลุประสิทธิภาพ
และประสทิ ธผิ ล โปรดให้คาแนะนา จักเป็นพระคุณอย่างย่งิ

ถาวร ทิพวรรณ

ผู้อานวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี

18 พฤศจิกายน 2562

(ก)

บทสรปุ สาหรับผูบ้ ริหาร

ผลการดาเนนิ งาน โครงการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจดั การอาชวี ศึกษาเกษตรกรรมและประมง
เพือ่ ความยัง่ ยนื (ระยะเร่งดว่ น) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี

ผลการดาเนนิ งานโครงการขับเคล่ือนนโยบายการบริหารจัดการอาชวี ศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง
เพอ่ื ความยัง่ ยนื (ระยะเรง่ ด่วน) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี ช่วงเวลา 1 ตุลาคม 2562 ถงึ
15 พฤศจกิ ายน 2562 มีผลการดาเนนิ งาน ตามกรอบการติดตามประเมนิ ผล ของสานกั งานคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษา สรปุ ได้ดังน้ี

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ดาเนินโครงการขับเคล่อื นนโยบายการบริหารจัดการ
เกษตรกรรมและประมงเพ่อื ความย่ังยนื จานวน 3 โครงการ งบประมาณ รวมทง้ั สนิ้ 2,139,500 บาท
มกี ารเบกิ ใช้งบประมาณ เพ่อื ดาเนนิ งานตามกจิ กรรมของแต่ละโครงการ จานวน 1,395,537 บาท คิด
เปน็ ร้อยละ 65.23 ของงบประมาณทไ่ี ดร้ ับ โดยจาแนกเปน็ รายโครงการดังนี้

1.โครงการพฒั นาศูนย์การเรียนรู้ Smart Farm เทคโนโลยเี กษตรและอาหารปลอดภยั เพือ่
ชุมชนในสถานศึกษา งบประมาณ 1,549,500 บาท .ใชง้ บประมาณทง้ั สนิ้ 646,836 บาท หรือร้อยละ
41.74 ของงบประมาณทไ่ี ดร้ ับ ดาเนินกิจกรรมพัฒนา ปรบั ปรงุ ฟาร์มแหลง่ เรียนรู้ในสถานศกึ ษา ศนู ย์การ
เรยี นรู้ ด้านเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย ในฐานผลติ พืชผัก ฐานพืชไร่ และฐานการเลี้ยงไก่ วางแผนในการ
พัฒนาหลักสตู รระยะส้นั ฐานสมรรถนะ Smart Farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั ตอ่ ไป

2.โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน (งานฟารม์ ) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบุรี
งบประมาณ 500,000 บาท ใชง้ บประมาณ ทั้งสน้ิ 688,701 บาท หรอื ร้อยละ 137.74 ดาเนนิ การ
สารวจ ระบบการจดั การงานฟาร์ม และพฒั นาระบบการจดั การน้า ปรับปรุงพืน้ ทแ่ี ละโรงเรือนใน ฟาร์ม
พืชผัก ฟารม์ โคและสุกร ฟารม์ ประมง

3.โครงการพฒั นาเกษตรกรเพ่อื เพิม่ ขดี ความสามารถในการประกอบอาชีพในชุมชน
งบประมาณ 90,000 บาท ใช้งบประมาณเพอ่ื ดาเนนิ กิจกรรม จานวน 60,000 บาท หรอื รอ้ ยละ 67
ดาเนนิ กจิ กรรม การประชาสัมพันธ์ สารวจความต้องการ การฝึกอบรม และการสง่ เสรมิ การสรา้ งเครือขา่ ย
ไดด้ าเนินการฝกึ อบรมการผลติ มะเขอื เทศ เพอ่ื เป็นผ้ปู ระกอบการ ได้รับความพงึ พอใจจากผูเ้ ข้ารับการอบรม
และสามารถนาไปพฒั นาอาชีพ เป็น Smart Farmer ซง่ึ จะได้ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตอ่ ไป

4. โครงการพฒั นาศักยภาพครมู อื อาชพี (Train the trainer) เพือ่ ผลิตกาลังคนให้มี
สมรรถนะสอดคล้องกับความตอ้ งการในการพัฒนาประเทศ งบประมาณ 300,000 บาท (รว่ มดาเนินการ
กบั สถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง) อยูร่ ะหว่างดาเนินการ

ผลของการดาเนนิ งานโครงการ ก่อให้เกิดการพัฒนาศนู ยเ์ รียนรู้ใหไ้ ดม้ าตรฐานฟาร์มมากขึ้น แหลง่
เรยี นรเู้ ปน็ ทสี่ นใจของผ้ศู ึกษา และการปรับปรงุ ระบบงานฟาร์มทาใหฟ้ าร์มทเี่ ปน็ ฐานการเรียนรู้มีความเป็น
มาตรฐานและมคี วามพรอ้ มในการพัฒนาเปน็ ศูนย์ความเปน็ เลิศดา้ นเทคโนโลยีและอาหารปลอดภยั ในระดับ
จงั หวดั และภูมิภาคได้ต่อไป

สารบญั

คานา หน้า
บทสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร
ส่วนที่ ๑ ความสาคญั และความจาเป็น (ก)
1
๑.๑ ความสาคัญและความจาเป็น 2
๑.๒ ข้อมลู ทว่ั ไปของสถานศึกษา

ส่วนที่ ๒ การบรหิ ารสถานศึกษาเป็นเลศิ เทคโนโลยีอาหารปลอดภัยภายใตโ้ ครงการขับเคลื่อน
นโยบายการบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษาเกษตรกรรมและประมงเพ่ือความยง่ั ยืน (ระยะเร่งดว่ น) 6

สว่ นที่ ๓ โครงการและผลการดาเนินงาน 12
๓.๑ โครงการพฒั นาศูนยก์ ารเรยี นรู้ Smart Farm เทคโนโลยีอาหารปลอดภัยเพ่อื ชุมชนใน
สถานศึกษา 13
๓.๒ โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน (งานฟารม์ ) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบุรี 29
ผลการดาเนินงานดา้ นการเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นากาลงั คน
๓.3 โครงการพัฒนาเกษตรกรเพือ่ เพมิ่ ขีดความสามารถในการประกอบอาชีพในชุมชน 39

1

ส่วนท่ี 1

ความสาคัญและความจาเปน็
การดาเนินโครงการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการอาชวี ศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง

เพื่อความยั่งยนื (ระยะเร่งด่วน)

1.1 ความสาคญั และความจาเป็น
ตามท่ี สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดร้ บั มอบนโยบายจากรัฐมนตรชี ่วยว่าการ

กระทรวงศึกษาธิการ คณุ หญิงกลั ยา โสภณพานิช เมอื่ วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2562 ในการเร่งขับเคลื่อน
การบริหารจัดการอาชีวศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง เพ่ือใหเ้ ปน็ ผนู้ าด้านการเกษตรและเป็นศนู ย์การ
เรยี นร้แู ละถ่ายทอดเทคโนโลยเี กษตร รวมทัง้ เป็นต้นแบบการบริหารจัดการนา้ เพอ่ื การเกษตรให้กับเยาวชน
เกษตรกร และชุมชน

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ได้รับการโอนจัดสรรงบประมาณ เพือ่ ดาเนินการในการ
เพม่ิ ประสิทธิภาพและคณุ ภาพจดั การเรียนการสอนดา้ นอาชีวศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพและประสิทธิภาพเพ่ิมมาก
ยงิ่ ข้ึน สอดคลอ้ งตามเป้าหมายบรกิ ารหน่วยงาน เป้าหมายบรกิ ารกระทรวง และยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20
ปี และการขับเคลอ่ื นนโยบายการบริหารจดั การอาชีวศกึ ษาเกษตรกรรมและประมงเพ่ือความย่ังยนื (ระยะ
เร่งดว่ น) ตามหนงั สอื จากสานักนโยบายและแผนการอาชวี ศกึ ษา ที่ ศธ 0604/399 ลงวนั ท่ี 24 กนั ยายน
2562 เพอ่ื ดาเนินโครงการ จานวน 3 โครงการหลัก และโครงการรว่ มกับสถาบนั การอาชีวศึกษาเกษตร
ภาคกลาง จานวน 1 โครงการ ดังน้ี

1.โครงการพัฒนาศูนย์การเรยี นรู้ Smart Farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั เพือ่
ชุมชนในสถานศึกษา งบประมาณ 1,549,500 บาท

2.โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน (งานฟารม์ ) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบุรี
งบประมาณ 500,000 บาท

3.โครงการพัฒนาเกษตรกรเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการประกอบอาชพี ในชุมชน
งบประมาณ 90,000 บาท

4. โครงการพฒั นาศกั ยภาพครูมอื อาชพี (Train the trainer) เพ่ือผลติ กาลังคนให้มี
สมรรถนะสอดคลอ้ งกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ งบประมาณ 300,000 บาท (ร่วมดาเนินการ
กบั สถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคกลาง)

2

๑.๒ ข้อมลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา

๑) ประวัติสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบรุ ตี ั้งอย่เู ลขท่ี 288 หมู่ 1 ตาบลด่านช้าง อาเภอด่านช้าง

จังหวดั สพุ รรณบุรี มีพ้ืนท่ี 952 ไร่ 3 งาน 5 ตารางวา เปน็ สถานศกึ ษาในสงั กัดสานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดร้ บั การประกาศจัดต้งั เมอื่ วนั ท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2520 เริ่มการ
กอ่ สรา้ งเมอ่ื วันท่ี 12 สงิ หาคม 2520 เดิมชือ่ โรงเรยี นเกษตรกรรมสพุ รรณบรุ ี ได้รับเลอื กเป็น
สถานศึกษาดเี ดน่ จากกรมอาชีวศกึ ษาเม่ือปี พ.ศ. 2528 ตอ่ มาได้รบั การประกาศยกฐานะเปน็
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรเี มอ่ื วันท่ี 26 กนั ยายน 2539 และไดร้ ับการคัดเลือกเป็น
สถานศกึ ษารางวัลพระราชทานขนาดกลางในปีการศึกษา 2555

ท่ตี ัง้ เลขท่ี 288 หมทู่ ี่ 1 ตาบลดา่ นช้าง อาเภอดา่ นชา้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
โทรศพั ท์ 0-3559-5056โทรสาร 0-3559-5055
Website : http://www.spcat.ac.th
E -mail: [email protected]

๒) ปรชั ญา วิสัยทัศน์ การจัดการศกึ ษา

ปรชั ญา วชิ าชาญ สูง้ านหนัก รกั คุณธรรม นาสังคม

วสิ ัยทศั น์ สรา้ งสรรค์ พฒั นาเทคโนโลยี สร้างคนดี มีอาชีพ สอดคลอ้ งกับความต้องการ

ใน การพฒั นาประเทศ

๓) บุคลากรในสถานศกึ ษา

ประเภท ทั้งหมด(คน) มีใบประกอบ สอนตรงสาขา

วิชาชพี (คน) (คน)

ผูบ้ รหิ าร(ผู้อานวยการ/รองผู้อานวยการ) 2 2

ขา้ ราชการครู 27 27 27

ขา้ ราชการพลเรอื น -- -

พนักงานราชการครู 44 4

พนักงานราชการ (อืน่ ) -- -

ครูพิเศษสอน 74 7

เจา้ หนา้ ท่ี -- -

บุคลากรอ่นื ๆ 27 - -

รวมครู 38 37

รวมท้งั สิ้น 65 37

3

4. การจัดการเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา
หลักสูตรที่จดั การเรยี นการสอน
๑. หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศกั ราช ๒๕๕๖,๒๕๖๒
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- สาขางานการเกษตร สาขางานผลติ สัตวน์ า้ สาขาการจัดการอาหารเกษตร
ปลอดภยั
ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบญั ชี
๒. หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗
ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าพชื ศาสตร์
- สาขางานพืชไร่
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวชิ าสตั วศาสตร์
- สาขางานการผลิตสัตว์
ประเภทวชิ าประมง สาขางานเพาะเลยี้ งสัตว์น้า
- สาขางานเพาะเลยี้ งสัตวน์ า้
๓. หลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร พุทธศักราช ๒๕๕๗
ประเภทวิชาประมง สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้า

5) การผลติ และพฒั นากาลังคนอาชีวศกึ ษาในแต่ละสาขาของสถานศกึ ษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภายใต้ บริบท

ความร่วมมือกับสถานประกอบการพัฒนาคุณภาพและปริมาณผู้เรียนให้สัมพันธ์กับความต้องการของ
ตลาดแรงงานในประเทศและระดับสากล พัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ของ
ตลาดแรงงานและสังคมท้ังในประเทศ ภูมิภาค อาเซียน และระดับสากล การเพ่ิมโอกาสการเรียนและการ
ฝึกอบรมวิชาชีพอาชีวศึกษาให้กับกลุ่มผู้อยู่ นอกระบบสร้างระบบการจูงใจให้เกิดการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ
อาชีวศกึ ษา

ข้อมูลนักเรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)
ระดับ ปวช.

ประเภทวิชา/สาขาวชิ า/สาขางาน
ปวช.๑ ปวช.๒ ปวช.๓ รวม

ประเภทวชิ าเกษตรกรรม

๑. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

- สาขางานการเกษตร 52 84 64 200

- สาขาการผลิตพืช 49 49

4

ระดบั ปวช.
ประเภทวชิ า/สาขาวชิ า/สาขางาน

ปวช.๑ ปวช.๒ ปวช.๓ รวม

- สาขาการผลิตสตั ว์ 19 14 30 48

- สาขางานผลติ สัตว์น้า 24 24

- สาขาเกษตรอาหารปลอดภัย 22 22

ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม

๑. สาขาวิชาการบญั ชี 19 14 15 48

ขอ้ มูลนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.)

ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน ระดบั ปวส. รวม
ปวส. ๑ ปวส. ๒

ประเภทวิชาเกษตรกรรม

1.สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 38 33 71

2. สาขาวิชาพืชศาสตร์

- สาขางานพืชไร่ 31 51 82

3.สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร 44

๒. สาขาวิชาสัตวศาสตร์

- สาขางานการผลติ สัตว์ 15 23 38

ประเภทวชิ าประมง

๑. สาขาวิชาเพาะเลีย้ งสัตว์นา้

- สาขางานเพาะเลย้ี งสัตว์นา้ 14 17 31

5

ข้อมูลนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ต่อเนอื่ ง) ระดับ ปริญญาตรี
ประเภทวชิ า/สาขาวชิ า/สาขางาน ปี ๑ ปี ๒ รวม

ประเภทวชิ าประมง

๑. สาขาวิชาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์นา้ 6 ๙ ๑๔

หลกั สตู รนอกระบบ/ระยะสัน้ รวม
หลกั สูตรนอกระบบ/ระยะส้ัน

หลักสูตรเกษตรระยะสั้น

หลกั สตู รระยะสน้ั E to E

หลักสตู ร อศ.กช.

หลักสูตรเสรมิ วชิ าชีพ(แกนมัธยม)

หลักสตู รระยะสนั้ โครงการอาชวี ะสรา้ งชา่ งฝมี อื (พระดาบส) ๓๐

๔) แผนผลติ และพัฒนากาลงั คน สาขาเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย

ปกี ารศึกษา 2562 - 2565

ปีการศึกษา

หลักสูตร 2562 2563 2564 2565
60
ปวช. สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย 30 60 60

ปวส.สาขาเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย - 30 30 30

ระยะสัน้ ฐานสมรรถนะเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย 150 150 150 150

รวม 180 240 240 240

6

สว่ นที่ ๒
การบริหารสถานศกึ ษาเปน็ เลิศเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย
ภายใตโ้ ครงการขับเคลอื่ นนโยบายการบริหารจดั การอาชีวศึกษาเกษตรกรรมและประมงเพื่อความยง่ั ยืน

(ระยะเรง่ ดว่ น)

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี บรหิ ารการจัดการโครงการ โดยใช้แผนพฒั นาสถานศกึ ษา
เป็นเลศิ เฉพาะทาง (พ.ศ. 2561-2565) เปน็ กรอบในการดาเนนิ งาน เพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคข์ องโครงการ
ตามที่ได้รับนโยบาย และเป็นไปในทศิ ทางของแผนพฒั นาของสถานศึกษา การดาเนินโครงการท่ีไดร้ บั
งบประมาณจดั สรร จงึ ทาใหก้ ารพฒั นาสถานศึกษามีความเข้มแขง็ และมีความโดดเดน่ มากยิ่งขึ้น กรอบในการ
บริหารสถานศกึ ษา ดงั กลา่ ว เปน็ ดังน้ี

๒.๑ การขับเคลอ่ื นสถานศึกษาเป็นเลิศเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาให้สอดคล้องความ
ตอ้ งการและทิศทางการพัฒนาประเทศ ภายใตบ้ รบิ ทภมู ิสังคมอาชีพและความร่วมมือกับสถานประกอบการ
เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพและปริมาณผเู้ รยี น ให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการทัง้ ปริมาณและคุณภาพของตลาดแรงงาน
พัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะอาชีพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับของตลาดแรงงานและสังคมท้ังในประเทศ
ภมู ิภาค อาเซียน และระดับสากล การเพ่ิมโอกาสการเรยี นและการฝึกอบรมวิชาชีพอาชีวศึกษาให้กับกลุ่มผู้อยู่
นอกระบบการศกึ ษาสร้างระบบการจงู ใจให้เกดิ การตัดสินใจเขา้ ศึกษาต่ออาชีวศกึ ษาเกษตร โดยมุ่งม่ันปรับปรุง
พัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนส่คู วามเป็นเลศิ เฉพาะทางสาขาวชิ าเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ท่ีสอด
รบั กับทิศทางการพัฒนาประเทศ

แผนภาพที่ ๑ แสดงกรอบการพฒั นาสถานศึกษาส่คู วามเป็นเลิศเฉพาะทาง

7

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี ได้จัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทางฯ
มุ่งมั่นพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านเกษตรและเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ให้
สามารถผลติ และพฒั นากาลังคนท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการและทศิ ทางการพัฒนาประเทศและความต้องการ
ของบรบิ ทภูมอิ าชพี ท้องถนิ่
แผนภาพท่ี ๒ แสดงกรอบการขับเคลอื่ นสถานศึกษาสคู่ วามเปน็ เลศิ เฉพาะทาง

๑. เพื่อพัฒนากาลังคนภาคเกษตรสอดคลอ้ งกบั กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนพฒั นาฉบับท่ี 12
๒. เพื่อสรา้ งแหลง่ เรียนรูอ้ าชีพเกษตรยุคใหม่ บนฐานเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
๓. เพ่ือพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชพี เกษตรยคุ ใหม่
๔. เพอ่ื พฒั นาและสรา้ งผูป้ ระกอบการเกษตรยคุ ใหม่
๕. เพอ่ื ปรับภาพลักษณ์ อาชีพภาคเกษตร
๖. เพอ่ื สรา้ งความเชื่อมัน่ ในอาชพี เกษตรและการจัดการศกึ ษาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ เฉพาะ
ทางด้านเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย

3.1.3 พนั ธกจิ และเปา้ ประสงค์

กรอบแนวคดิ ในการจัดทาแผนพฒั นาสถานศึกษาเปน็ เลศิ เฉพาะทางเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ได้
เช่ือมโยงแผนพัฒนาและทิศทางพัฒนาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษาด้านสังคม และนโยบายการ
จัดการอาชีวศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามาพัฒนาด้วยรูปแบบ SABEI Model โดย
กาหนดแนวการพฒั นาสอดคลอ้ งกบั องคป์ ระกอบการพัฒนาของโครงการส่งเสริมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเป็น
เลิศเฉพาะทาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหลักในการขับเคลื่อนได้กาหนด Strategy ไว้ ๙
กลยทุ ธ์ มีกลไกการขับเคลอื่ น(Action)รูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาฐานสมรรถนะ( Center of Excellence
Vocational Education : CEVed.) เป็นศูนย์กลางความเป็นเลิศทางวิชาชีพอาหารปลอดภัย (Center of
Excellence in Food Safety Technology) โดยใช้รูปแบบการจัดการศึกษาเกษตรสุพรรณบุรีสู่ความเป็น
เลิศ (Excellence Suphanburi Agricultural Model) เทียบเคียง(Benchmarks) จัดการศึกษาตาม

8

มาตรฐานการประเมินคุณภาพการศึกษา ของ สมศ. มาตรฐานอาชีพปฏิบัติการเกษตรท่ีดี (Good
Agricultural Practice: GAP) หรือ เกษตรอินทรีย์ประเทศไทย (Organic Thailand) มีการประเมินผลการ
ดาเนนิ งาน (Evaluation)ผลสัมฤทธิ์ (Impacts) และมีแผนดาเนินการใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีมาพัฒนาระบบการ
บริหารจดั การด้านประมวลข้อมูลขนาดใหญ่เป็นหนว่ ยเฝา้ ระวัง(Intelligence Unit) สนบั สนนุ

สถานศกึ ษาไดด้ าเนนิ การขับเคลื่อนสถานศึกษาเป็นเลศิ เฉพาะทาง สาขาเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย
ภายใตแ้ ผนพฒั นาฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕ เพือ่ ผลิตและพฒั นากาลงั คนภาคเกษตรใหส้ อดคลอ้ งกับทิศทางการ
พัฒนาประเทศ และความต้องการของสถานประกอบการและทอ้ งถนิ่

แผนภาพที่ ๓ แสดงวิสัยทศั น์ พันธกิจและกลยทุ ธ์ แผนพัฒนาฯ ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๕

ได้กาหนดวสิ ยั ทัศน์ (Vision) คือ“จัดการศึกษาผลิตและพัฒนากาลังคนสอดคล้องความต้องการและ
ทิศทางการพฒั นาประเทศ เป็นเลศิ เฉพาะทางเทคโนโลยีอาหารปลอดภยั ระดบั ภูมภิ าคอาเซียน” โดยมีพันธกิจ
นาสู่วิสัยทัศน์เป็นจริง ๕ พันธกิจ ได้แก่พันธกิจท่ี ๑ การบริหารจัดการศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทางเทคโนโลยี
อาหารปลอดภัย พันธกิจที่ ๒ สร้างเครือข่ายความร่วมมือพัฒนาจัดการศึกษา พันธกิจที่ ๓ การยกระดับ
คุณภาพผูเ้ รียนสาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย พันธกิจท่ี ๔ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้คุณภาพสาขาเทคโนโลยี

9

อาหารปลอดภยั พนั ธกิจท่ี ๕ การพฒั นาคุณภาพจัดการศึกษามาตรฐานสากล โดยกาหนดกลยุทธ์ ๙ กลยุทธ์
สู่วสิ ยั ทัศน์ กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พัฒนานวัตกรรมการบริหาร กลยุทธท์ ่ี ๒ สร้างความรว่ มมือกับภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่
๓ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นและผูส้ าเร็จการศึกษา กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพ กลยุทธ์ที่ ๕
ยกระดับคณุ ภาพการเรยี นรูส้ กู่ ารปฏบิ ัติ กลยุทธ์ท่ี ๖ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้เทคโนโลยีเป็นเลิศเฉพาะทาง กล
ยุทธท์ ี่ ๗ พัฒนาสมรรถนะครูผู้สอน กลยทุ ธท์ ี่ ๘ ยกระดับสถานศึกษาเป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานอาชีพเฉพาะ
ทาง กลยุทธ์ท่ี ๙ พัฒนาสถานศกึ ษาสูม่ าตรฐานสากล
๒.๒ การกาหนดแผนการขบั เคลอื่ น ปีการศึกษา ๒๕๖๒

แผนภาพท่ี ๔ แสดง Road map การขบั เคลือ่ น SMART Farm แหล่งเรียนรูแ้ ละฝกึ อาชพี จริง

ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ การพัฒนาสถานศึกษาเป็นเลิศเฉพาะทางดาเนินการขับเคล่ือนต่อเน่ือง
จากปีการศึกษา ๒๕๕๙ ถงึ ๒๕๖๒ เริ่มจากวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มการจัดการศกึ ษา วษท.สุพรรณบรี ชี้แจง
สรา้ งความเขา้ ใจต่อคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลยั ฯ การประชมุ ครู เจ้าหนา้ ท่ี จัดทาแผนพัฒนาสถานศึกษาสู่
ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เทคโนโลยีอาหารปลอดภัย สร้างและพัฒนา SMART Farm แหล่งเรียนรู้ ฝึก
อาชีพตน้ แบบ “ด่านช้างกรนี ฟาร์ม” สรา้ งและพฒั นาเครือข่ายความร่วมมือ ระดมทรัพยากรทางการศึกษา
สร้างและพัฒนาฟาร์มเกษตรต้นแบบอาชีพเกษตรยุคใหม่ พัฒนาหลักสูตรระยะส้ันฐานสมรรถนะ พัฒนา
จัดทาระเบียบฯ ข้อตกลงหลักเกณฑ์การฝึกอบรมฯ จัดเตรียมส่ือ อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้และแผนฝึกทักษะ

10

อาชพี จัดเตรยี มเอกสารแบบฝกึ ใบงาน แบบประเมินสมรรถนะตามแผนการฝกึ อบรมฯ ฝึกอาชีพ ทดสอบ
ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ทดสอบสมรรถนะอาชีพที่กาหนด รายงานผลการฝึกอบรมฯ สนับสนุนการประกอบ
อาชพี เกษตรยคุ ใหม่ สรา้ งเครอื ขา่ ยพัฒนากลมุ่ อาชีพฯ เช่ือมโยงการตลาด และขยายช่องทางการตลาด
๒.๓ นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการขับเคลอ่ื นสถานศึกษา เปน็ เลศิ เฉพาะทางเทคโนโลยอี าหารปลอดภัย

การขับเคล่ือนสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง สาขาเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ใช้
รูปแบบการพัฒนาการจัดการศึกษา รูปแบบ ESAM : Excellence Suphanburi Agricultural Model เป็น
รูปแบบที่พัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง โดยมีกรอบแนวคิด จัดการศึกษาภายใต้ปรัชญา
Constructionism จัดสถานท่ีฝึกประสบการณ์จริงเป็นแปลงปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ครูผู้สอนและ
นักเรียน นักศึกษาได้ร่วมกันเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ ทดลอง วิจัยให้เกิดทักษะและองค์ความรู้พัฒนาอาชีพให้เป็น
ความรู้ฝังลึกในพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเจริญงอกงาม ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Learning By Doing) ด้วย
รูปแบบการสอนของครูผู้สอนที่หลากหลาย Project based learning:PjBL , STEM education ,Work
Integrate learning :WIL โดยจัดแหล่งเรียนรู้ปฏิบัติการด้วยรูปแบบ SMART Farm : Danchang Green
Farm ใหผ้ ้เู รียนได้ปฏบิ ตั จิ ริงนาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะอาชพี ของผเู้ รียน

แผนภาพที่ ๕ แสดงกรอบแนวคดิ รปู แบบESAM นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาสคู่ วามเป็น
เลิศ

11

แผนภาพที่ ๖ แสดงกรอบแนวคิดการพฒั นาแหล่งเรียนรู้และฝึกอาชีพ รปู แบบSMART Farm

รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนและฝึกอาชีพเกษตรยุคใหม่ ESAM SMART Farm Model มี
หลกั การพัฒนาให้เปน็ แหลง่ ปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรูท้ พ่ี ฒั นาโครงสรา้ งมคี วามเปน็ เฉพาะทางและมีความเป็น
จริงเสมือนจริง(Specific and Simulate) ในการประกอบอาชีพให้มากที่สุด มีความทันสมัยและการ
จัดการที่ทนั สมยั (Modern) มีการบรู ณาการความร่วมมอื ความเป็นพันธมิตร(Alliance) ทางวิชาการ
และธุรกิจ โดยแสวงหาความร่วมมือทางวิชาการและธุรกิจกับหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน สถาน
ประกอบการ กลุ่มเกษตรกร ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ปราชญม์ อื อาชีพร่วมพัฒนาและจัดการศึกษาฝึกอบรม
และบูรณาการแผนการเรียนรู้วิชาโครงการ ปัญหาพิเศษงานศึกษา วิจัย(Research)ของนักเรียน
นักศกึ ษา ครูและหน่วยงานราชการเครอื ข่ายนักวิจยั เพือ่ พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ตลอดจนฝึก
กระบวนการคิดสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะกระบวนการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม
พฒั นาอาชพี เกิดเปน็ เทคโนโลยี(Technology) นามาพัฒนา แก้ปัญหาพัฒนาอาชีพเทคโนโลยีอาหาร
ปลอดภัย และนาเทคโนโลยใี หม่ทีท่ นั สมยั มายกระดบั พฒั นาอาชพี ในแหล่งเรียนรู้นั้นๆ เพื่อให้ผู้เรียน
ไดเ้ รยี นรใู้ ห้มีความร้คู วามสามารถสมรรถนะท่สี อดคลอ้ งความต้องการสถานประกอบการและท้องถิ่น

ESAM SMART Farm Model
S : Specific and Simulate
M : Modern /Management
A : Alliance
R : Research
T : Technology

12

ส่วนที่ 3

โครงการและผลการดาเนินงาน

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี ดาเนนิ โครงการขบั เคลอื่ นนโยบายการบรหิ าร
จัดการเกษตรกรรมและประมงเพอ่ื ความยงั่ ยืน จานวน 3 โครงการ งบประมาณ รวมท้งั ส้นิ 2,139,500
บาท มีการเบกิ ใช้งบประมาณ เพ่ือดาเนินงานตามกจิ กรรมของแตล่ ะโครงการ จานวน 1,395,537
บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 65.23 ของงบประมาณท่ไี ด้รบั โดยจาแนกเปน็ รายโครงการดงั นี้

1.โครงการพฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้ Smart Farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั เพือ่
ชมุ ชนในสถานศกึ ษา งบประมาณ 1,549,500 บาท .ใชง้ บประมาณทงั้ สน้ิ 646,836 บาท หรือรอ้ ยละ
41.74 ของงบประมาณทไ่ี ด้รับ ดาเนินกิจกรรมพัฒนาศนู ย์เรียนรู้ ดา้ นเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย ในฐาน
ผลติ พืชผัก ฐานพชื ไร่ และฐานการเล้ียงไก่

2.โครงการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน (งานฟาร์ม) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี
งบประมาณ 500,000 บาท ใช้งบประมาณ ท้ังสิ้น 688,701 บาท หรอื ร้อยละ 137.74 ดาเนนิ การ
ปรบั ปรงุ พื้นท่ีและโรงเรือนใน ฟารม์ พืชผัก ฟารม์ โคและสุกร ฟารม์ ประมง

3.โครงการพฒั นาเกษตรกรเพ่อื เพิ่มขดี ความสามารถในการประกอบอาชีพในชุมชน
งบประมาณ 90,000 บาท ใช้งบประมาณเพ่ือดาเนินกิจกรรม จานวน 60,000 บาท หรือ รอ้ ยละ 67
ดาเนนิ กจิ กรรม การฝึกอบรมการผลิตมะเขอื เทศ เพ่อื เป็นผปู้ ระกอบการ

4. โครงการพฒั นาศกั ยภาพครูมืออาชพี (Train the trainer) เพ่ือผลิตกาลังคนใหม้ ี
สมรรถนะสอดคล้องกับความตอ้ งการในการพฒั นาประเทศ งบประมาณ 300,000 บาท (รว่ มดาเนินการ
กับสถาบนั การอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง) อยู่ระหวา่ งดาเนนิ การ

ท้ังน้ี รายละเอียดของโครงการและผลการดาเนินงาน เปน็ ดังน้ี

(สำหรับสถานศกึ ษา)

ช่อื โครงการ โครงการพฒั นาศูนย์การเรยี นรู้ Smart farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยเพื่อชมุ ชนใน
สถานสถานศึกษา
สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ

ความเชือ่ มโยงและการตอบสนองเชิงยทุ ธศาสตร์ : แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙

( ) ย.๑ การจดั การอาชวี ศกึ ษาเพื่อความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
( ) ย.๒ การผลติ และพฒั นากำลงั คนด้านอาชวี ศกึ ษาเพ่อื สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
( / ) ย.๓ การพัฒนาศกั ยภาพกำลังคนด้านอาชีวศกึ ษาใหม้ สี มรรถนะสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการในการพัฒนาประเทศ
( ) ย.๔ การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มในด้านอาชีวศึกษา
( ) ย.๕ การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
( ) ย.๖ การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษา

๑. หลักการและเหตุผล
รฐั บาลได้จัดทำกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) ซึ่งกำหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมี

ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าหมายให้

ภาคเกษตรเป็นฐานการผลิตอาหารที่มั่นคงและปลอดภัย มีผลิตภาพการผลิตสูง โดยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้ยุทธศาสตร์ เรื่อง การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการ

แข่งขันได้อย่างยั่งยืน ได้กำหนดเป้าหมายให้มีพื้นเกษตรกรรมยั่งยืนไม่น้อยกว่า ๕ ล้านไร่ภายในปี ๒๕๖๔ และมีการ

ยกระดบั การผลิตสินค้าเกษตรเข้าส่มู าตรฐาน

จากคําแถลงนโยบาย ของคณะรฐั มนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐมนตรี แถลงตอ่ รัฐสภา วนั

พฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน ในด้านที่ ๕. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการ

แข่งขันของไทย พัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว [Bio-

Circular-Green (BCG) Economy) โดยนําความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาพฒั นาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพ่ิม

ในการผลิตสนิ ค้าเกษตร อุตสาหกรรมและบริการของท้องถิ่น โดยการสรา้ งสภาพแวดล้อมที่เอ้ือตอ่ การเข้าถึงเทคโนโลยี การ

วิจยั และนวัตกรรม และการใช้สถาบันการศึกษาท่ีมีอยู่ในพื้นที่มาสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนา ๕.๓.๓ พัฒนาองค์กร

เกษตรกรและเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยเพิ่มทักษะการประกอบการและพฒั นาความเชอื่ มโยงของกลมุ่ เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน

และสหกรณ์ในทุกระดบั โดยเฉพาะด้านการตลาด การค้าออนไลน์ ระบบบัญชี เพอื่ ขยายฐานการผลิตและฐานการตลาดของ

สถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ไปสู่เกษตรกรอัจฉริยะ เพื่อ

การพัฒนาภาคเกษตรไดอ้ ย่างมั่นคงต่อไปในอนาคต และในด้านท่ี ๗. การพฒั นาสรา้ งความเขม้ แข็งจากฐานราก รัฐบาลให้

ความสําคัญกับชุมชนในการนาํ ความรูแ้ ละทรัพยากรในพื้นที่มาผลิตเป็นสนิ ค้าและบริการ เพื่อเพิ่มศกั ยภาพของเศรษฐกจิ

ฐานรากให้สามารถสร้างรายได้กระจายรายได้สู่ชุมชน สนบั สนนุ สินค้าชุมชนและยกระดับวิสาหกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

พฒั นาช่องทางการตลาดเชื่อมโยงกบั ระบบพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ และสร้างพลงั สังคม พลงั ชุมชนรวมทง้ั สร้างการเรียนรู้ฝึก

อาชีพกลมุ่ อสิ ระในการร่วมขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ ๘.๓ พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคณุ ภาพวชิ าชพี และพัฒนาแรงงาน

รองรับอุตสาหกรรม ๔.๐ โดยการจัดระบบและกลไกความร่วมมือระหวา่ งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ชัดเจนเปน็
ระบบในการพฒั นากําลังคนท่ีมีทักษะขัน้ สูงให้สามารถนําความรู้และทกั ษะมาใช้ในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการสร้าง
และพัฒนานวัตกรรม การยกระดบั ฝมี ือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศกั ยภาพและอตุ สาหกรรมทีใ่ ชแ้ รงงานเขม้ ขน้

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพื่อพฒั นา ปรับปรงุ ฟาร์มแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษา เป็นศูนย์การเรยี นรู้ Smart farm เทคโนโลยีเกษตร

และอาหารปลอดภัยดา้ นพืช สัตว์และประมงเพ่อื ชมุ ชน

๒.๒ เพอื่ ซ่อมแซม ระบบสาธารณูปโภคน้ำ ไฟฟา้ เพอื่ พัฒนาฟารม์ แหลง่ เรียนรู้แปลงปฏิบัตกิ าร
๒.๓ เพอ่ื พัฒนาหลกั สตู รระยะสน้ั ฐานสมรรถนะ Smart farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัย

๒.๔ เพอื่ สรา้ งและพัฒนา Smart farming เป็นแหลง่ เรียนรู้ ฝึกอาชพี เกษตรมาตรฐานปลอดภยั ต้นแบบ

๓. กลุ่มเป้าหมาย (ผู้รับประโยชน์โดยตรงจากการดำเนนิ งานโครงการ) จำนวน
๑๒ คน
กลุ่มเปา้ หมาย ๕๐๐ คน/ปี
๓.๑ ครู บุคลากรทางการศึกษา วิทยาลัยเกษตรฯ
๓.๒ นกั ศกึ ษาได้รับการถ่ายทอด ความรู้ ฝึกทักษะ ๕๐๐ คน/ปี
(ภายหลังดำเนินการโครงการเสรจ็ สนิ้ )
๓.๓ เกษตรกรชมุ ชนเข้ารบั การศกึ ษาดูงาน เรียนรู้
(ภายหลังดำเนินการตอ่ เน่ืองของโครงการ)

๔. ตวั ชี้วัดการดำเนินงาน ค่าเปา้ หมาย
๔ หลักสูตร
ชอ่ื ตัวช้ีวดั ๔ กล่มุ อาชีพ
๔.๑ พัฒนาหลักสูตรระยะสั้นฐานสมรรถนะ
๔.๒ มีความรว่ มมือภาครัฐและเอกชน ร่วมพฒั นาและผลติ กำลงั คนภาค ๑๒ คน
เกษตรสอดคลอ้ งกับความต้องการและทิศทางการพฒั นาประเทศ ๔ แหง่
๔.๓ ครูวชิ าชพี เฉพาะทาง ไดร้ ยั การสนบั สนนุ พัฒนาศกั ยภาพ
๔.๔ ฟาร์มแหลง่ เรยี นรู้ เปน็ ศนู ย์การเรยี นรเู้ พ่ือชุมชน

๕. ระยะเวลาดำเนินงาน และสถานท่ี/พืน้ ทดี่ ำเนินงาน
๕.๑ ระยะเวลาดำเนนิ งาน กันยายน ๖๒ – มถิ ุนายน ๖๓

๕.๒ สถานท่/ี พืน้ ท่ดี ำเนนิ งาน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี
- ฟารม์ เทคโนโลยีผลิตพชื อาหารปลอดภัย มาตรฐานอินทรยี ์/GAP
- ฟารม์ เทคโนโลยีเพาะเลย้ี งสัตว์น้ำมาตรฐานปลอดภยั
- ฟารม์ เทคโนโลยีผลิตสัตว์ปีกมาตรฐานปลอดภัย มก.อช.
- ศนู ยพ์ ัฒนาผลติ ภณั ฑ์และเพ่มิ มลู ค่าสนิ ค้าเกษตรปลอดภัย

๖. กจิ กรรมหลักและแผนการดำเนนิ งาน

๖.๑ กิจกรรมหลัก

๑) พัฒนา ปรบั ปรงุ ฟาร์มแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศกึ ษา เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ Smart farm เทคโนโลยีเกษตร

และอาหารปลอดภัยเพ่อื ชุมชน

๒) ซอ่ มแซม ระบบโรงเรอื นแหลง่ เรียนรูแ้ ปลงปฏบิ ัติการเทคโนโลยีอาหารปลอดภัย

๓) พัฒนาหลกั สูตรระยะสั้นฐานสมรรถนะ Smart farm เทคโนโลยเี กษตรและอาหารปลอดภยั

๔) พฒั นา Smart farming เปน็ แหลง่ เรียนรู้ ฝึกอาชพี เกษตรมาตรฐานปลอดภยั ต้นแบบ

๖.๒ แผนการดำเนินงาน

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน

๑) เสนอโครงการ สงิ หาคม ๖๒

๒) วางแผนและเตรยี มการดำเนนิ งาน สงิ หาคม ๖๒

๓) ดำเนินงานตามแผน การจดั สรรงบประมาณ ตลุ าคม ๖๒ – มิถนุ ายน ๖๓

กิจกรรมที่ ๑ พฒั นา ปรบั ปรุง ฟารม์ แหลง่ เรียนรูใ้ นสถานศกึ ษา ตุลาคม - ธนั วาคม ๖๒

เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ Smart farmเทคโนโลยเี กษตรและอาหาร

ปลอดภัยเพอื่ ชุมชน

กจิ กรรมที่ ๒ ซอ่ มแซม ระบบโรงเรือนแหลง่ เรยี นรู้แปลงปฏบิ ัติการ ตุลาคม - ธนั วาคม ๖๒

กิจกรรมท่ี ๓ พฒั นาหลักสตู รระยะสั้นฐานสมรรถนะ Smart farm กนั ยายน ๖๒ – มนี าคม ๖๓

เทคโนโลยเี กษตรและอาหารปลอดภยั

กจิ กรรมที่ ๔ พฒั นา Smart farming เป็นแหลง่ เรยี นรู้ ฝกึ อาชีพ มีนาคม - เมษายน ๖๓

เกษตรมาตรฐานปลอดภัยตน้ แบบ

๔) ประเมินผลการดำเนนิ งาน เมษายน - พฤษภาคม ๖๓

๕) รายงานผลการดำเนินงาน พฤษภาคม - มถิ ุนายน ๖๓

๗. แหล่งงบประมาณ

ขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เป็นเงนิ จำนวน
๑,๕๔๙,๕๐๐.๐๐ บาท (หนงึ่ ล้านหา้ แสนสีห่ ม่ืนเกา้ พันห้ารอ้ ยบาทถ้วน)

๘. รายละเอียดการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

รายการ จำนวนเงิน
(บาท)

ศนู ย์การเรียนรู้ Smart Farm เพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ เพอื่ การงานอาชพี

๑ คา่ จา้ งเหมาซอ่ มแซมโรงเรือนเพาะเลย้ี งปลา ระบบหมุนเวียนนำ้ ๑ โรง ๒๙,๐๐๐

๒ คา่ จ้างเหมาจัดทำระบบบำบัดน้ำเพาะเล้ียงปลาสวยงามเพือ่ ส่ิงแวดล้อม ๑ แหง่ ๑๕๐,๐๐๐

๓ คา่ วสั ดุ อปุ กรณ์ฝึกอาชพี การเลย้ี งปลาหางนกยูงสวยงามเพื่อการงานอาชีพ ๒๕,๐๐๐

๔ ค่าวสั ดุ อุปกรณ์ฝกึ อาชพี การเพาะเล้ียงปลากัดสวยงามเพ่ือการงานอาชพี ๒๕,๐๐๐

๕ ค่าวสั ดุ อุปกรณฝ์ กึ อาชีพ การเพาะเลยี้ งไรน้ำนางฟ้าเพ่อื การงานอาชพี ๒๕,๐๐๐

๖ ค่าวัสดุ อปุ กรรณ์ฝกึ อาชพี การเพาะเล้ยี งปลาเศรษบกิจเพ่ือการงานอาชพี ๒๕,๐๐๐

รวม ๒๗๙,๐๐๐

รายการ จำนวนเงนิ
(บาท)
ศนู ยก์ ารเรียนรู้ Smart Farm เทคโนโลยีผลิตพชื ผักปลอดภยั /อนิ ทรยี ์
๑. ค่าวัสดุ อปุ กรณ์พัฒนา Smart farm ผลิตพชื ผักอินทรยี ์ ๑๐๐,๐๐๐

๒. ค่าจ้างเหมาปรบั พ้นื ที่พัฒนา Smart farm ผลติ พืชอาหารปลอดภัยอนิ ทรีย์ ๕๘,๐๐๐
Smart farm ผลิตพืชอาหารปลอดภัยอินทรยี ์ ๖๐,๐๐๐
๔๐,๐๐๐
๓. คา่ จา้ งเหมาตดิ ตัง้ อุปกรณ์ควบคุมสภาพแวดลอ้ มในโรงเรือนปลูกพชื ผกั
ควบคมุ ระยะไกล ๖ จดุ

๔. คา่ วสั ดุฝึกอาชีพ Smart Farm ผลิตมะเขือเทศปลอดภยั ครบวงจร ๒ โรงเรือน

๕. คา่ วัสดุฝึกอาชพี Smart Farm ผลิตพืชผกั สลัดปลอดภัย ครบวงจร ๑ โรงเรือน ๒๐,๐๐๐

๖. คา่ วัสดุฝึกอาชพี Smart Farm ผลิตพืชผักบร็อคเคอร่ีปลอดภยั ระบบเปิด ๔๐,๐๐๐

๗. คา่ วัสดุฝกึ อาชพี Smart Farm ผลิตเมลอ่ นปลอดภัย ครบวงจร ๒ โรงเรอื น ๔๐,๐๐๐

รวม ๓๕๘,๐๐๐

ศูนย์การเรยี นรู้ฝึกอาชีพการผลิตพชื ไร่เพือ่ ชุมชนในสถานศึกษา

๑. ค่าวัสดุฝกึ อาชีพ Smart Farm เทคโนโลยีผลติ ขา้ วโพด และทานตะวัน จำนวน ๙๐,๐๐๐
๖๐ ไรๆ่ ละ ๑,๕๐๐ บาท (คา่ เมล็ดพันธ์ุ ค่าวสั ดุ อุประกรณ์การใหน้ ้ำ) ๕๔,๐๐๐

๒. คา้ จา้ งเหมาเตรียมดนิ ๖๐ ไร่ๆ ละ ๙๐๐ บาท (ไถดะ ไถแปร พ่นยาคมุ วชั พชื )

๓. คา่ จา้ งเหมาเคร่ืองปลูก ๖๐ ไร่ ๆ ละ ๓๐๐ บาท ๑๘,๐๐๐

๔. ค่าวัสดุดแู ละอุปกรณ์ ฝึกอาชพี การดูแลรกั ษาการผลิตพืชไร่เพื่อการงานอาชีพ ๑๒๐,๐๐๐
จำนวน ๖๐ ไร่ๆ ละ ๒,๐๐๐ บาท (ค่าปุ๋ย สารชวี ภณั ฑ์ป้องกนั กำจัดศตั รู) ๓๐,๐๐๐

๕. คา่ จ้างเกบ็ เกย่ี ว (๖๐ ไร่ ๆ ละ ๕๐๐ บท)

รวม ๓๑๒,๐๐๐

ศูนย์การเรยี นร้ฝู ึกอาชพี การผลิตสัตวป์ ีกมาตรฐานปลอดภัย/มก.อช. ๙๐,๕๐๐
๑๙ ค่าวัสดุฝึกอาชพี ๑๐๐,๐๐๐
๑๐๐,๐๐๐
อาหารไกไ่ ข่ ไกเ่ นื้อพน้ื เมือง ๒๙๐,๕๐๐
๒๐ ค่าจ้างเหมา ซอ่ มแซมฟารม์ โรงเรือนผลิตไก่เน้อื เพอ่ื การงานอาชพี ๑ โรง
๖๐,๐๐๐
รวม
ศนู ย์พัฒนาผลิตภณั ฑ์และเพม่ิ มลู คา่ สินค้าเกษตรปลอดภยั
๑. คา่ วสั ดุฝึกอาชพี พฒั นาผลิตภัณฑ์และเพม่ิ มลู คา่ สินคา้ เกษตรปลอดภัยตน้ แบบ

๒. คา่ วัสดแุ ละการออกแบบ บรรจุภัณฑส์ นิ ค้าเกษตรปลอดภัยเพ่อื การศึกษา ๙๐,๐๐๐

๓. คา่ ซอ่ มแซมยานพาหนะ สนบั สนนุ การเรียนรู้และฝึกอาชพี เพอ่ื การศึกษา ๑๒๐,๐๐๐

๔. ค่าตอบแทนจา้ งเหมาเจา้ หนา้ ทสี่ นับสนุนการพฒั นาฟาร์ม ๔ คน ๔ งานๆละ ๔๐,๐๐๐

๑๐,๐๐๐ บาท

รวม ๓๑๐,๐๐๐

รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ (บาท) ๑,๕๔๙,๕๐๐

๙. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั จากการดำเนนิ งาน
๙.๑ ศูนย์ฝึกอาชีพ Smart farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภัยด้านพืช สัตว์ ประมงและแปรรปู เพอื่ ชมุ ชน
๒.๒ อุปกรณ์ โรงเรือน Smart farm มีความพร้อมสมบูรณใ์ นการฝึกอาชีพ แกเ่ ยาวชนและประชาชนได้
๒.๓ มีหลักสตู รระยะสั้นฐานสมรรถนะ Smart farm เทคโนโลยีเกษตรและอาหารปลอดภยั
๒.๔ Smart farming เปน็ แหล่งเรียนรู้ ฝึกอาชพี เกษตรมาตรฐานปลอดภัยต้นแบบ

๑๐. การประเมนิ ผลและการรายงานดำเนินงาน
๑๐.๑ วธิ กี ารประเมิน

๑) ประเมินผลการดำเนินโครงการเม่อื สิน้ สดุ โครงการ

๒) ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน

๓) ประเมินประสทิ ธิภาพ Smart farming ต้นแบบอาชพี

๑๐.๒ การรายงานผลการดำเนินงาน

จัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงาน เสนอสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อเสร็จสิ้นการ

ดำเนินงานโครงการ และภายหลงั เสรจ็ สิ้นการดำเนินการระยะ ๖ เดอื น

๑๑. ผูร้ บั ผดิ ชอบและผปู้ ระสานงานโครงการ

๑๑.๑ ผู้รับผดิ ชอบ

ชื่อ - นามสกลุ ตำแหน่ง เบอร์โทรศัพท์
๐๘๑๙๘๑๓๗๔๐
นายถวิล โสขมุ า รองผู้อำนวยการ ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ
๐๙๕๗๓๙๓๙๖๐
ดร.เออื้ อารี สขุ สมนติ ย์ หน.แผนกวชิ าประมง ๐๘๗๐๔๑๘๗๔๙

นางสาวพสิ มัย เฉลยศกั ดิ์ ครู แผนกวิชาประมง เบอรโ์ ทรศัพท์
๐๙๘๗๔๗๔๙๔๗
ดร.สมศักด์ิ เพช็ รปานกนั หน.แผนกวชิ าสตั วศาสตร์

นางสมพร เกตุผาสุข ครแู ผนกวิชาสัตวศาสตร์

นางหทัยรตั น์ เทพสถติ ย์ หน.งานฟาร์มและโรงงาน

ดร.สชุ ณีย์ ทรัพย์สมบรู ณ์ หน.งานวางแผนและงบประมาณ

๑๑.๒ ผปู้ ระสานงานโครงการ

ชือ่ - นามสกลุ ตำแหนง่

นายถาวร ทพิ วรรณ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

สุพรรณบรุ ี

18

ผลการดาเนนิ งาน

โครงการ ศูนย์การเรียนรู้ Smart Farm เทคโนโลยผี ลิตพชื ผักปลอดภยั /อินทรยี ์

กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนนิ งาน เป้าหมาย งบประมาณท่ใี ช้
(ระบวุ นั /เดอื น/ป)ี
พัฒนาปรับปรงุ ฟาร์มเรยี นรู้ (เชงิ ปริมาณและคุณภาพ)
สถานศกึ ษาเปน็ ศนู ยเ์ รยี นรู้ ส.ค. 62 - ม.ิ ย. 63
Smart Farm เทคโนโลยเี กษตรและ 358,000
อาหารปลอดภยั ประกอบด้วย

-อปุ กรณ์พฒั นา Smart Farm 141,846
-ค่าจ้างปรับพืน้ ท่ี Smart Farm 9,440
-คา่ จ้างติดต้ังอปุ กรณ์ควบคมุ
สภาพแวดลอ้ ม
-วัสดุ SF ผลติ มะเขือเทศ

-วสั ดุ SF ผลิตผักสลัด
-วัสดุ SF ผลติ เมลอ่ น
-วัสดุ SF ผลติ บร็อคโคล่ี

ภาพกิจกรรม Smart Farm
1.อปุ กรณพ์ ัฒนา

โรงเรอื น B1-B4

19

โรงเรอื นสลดั 2 แปลงข้าวโพดเพยี วไวฮอกไกโด

2. วัสดปุ ลูก

2.1 วสั ดุ SF ผลติ มะเขือเทศ
3.2 วัสดุ SF ผลติ ผกั สลัด

20

2.2 วสั ดุ SF ผลิตผักสลดั

2.3 วสั ดุ SF ผลติ เมลอ่ น

2.4 วัสดุ SF ผลติ บร็อคโคล่ี

21

3. วัสดรุ อดาเนนิ งานกอ่ สร้าง

ข้อจากัด หรือ ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนนิ งาน
- ไม่มี

ผ้รู ายงาน นางหทัยรตั น์ เทพสถติ ย์

22

ผลการดาเนนิ งาน
โครงการ ศนู ย์การเรียนรฝู้ กึ อาชีพการผลิตพชื ไรเ่ พอ่ื ชมุ ชนในสถานศึกษา

กิจกรรม ระยะเวลาการดาเนนิ งาน เปา้ หมาย งบประมาณท่ี

(ระบวุ นั /เดือน/ป)ี (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) ใช้ (บาท)

1.ปลกู ทานตะวันและ กันยายน 62 – มถิ ุนายน 63 - เป้าหมายเชิงปริมาณ 41,550

คอสมอส เพอื่ เกบ็ ผลผลติ นักศึกษาและเกษตรใช้เป็นท่ี 49,000
90,550
และเปน็ ศูนยเ์ รยี นรู้ ศกึ ษา เรยี นรู้ไดไ้ มต่ ่ากวา่ 500 คนตอ่

ความเป็นไปได้ และใช้เปน็ ปี

แหลง่ ท่องเทยี วเชงิ เกษตร - เปา้ หมายเชิงคุณภาพ

นเิ วศน์ เกษตรกรชุมชนเขา้ รับ

การศกึ ษาดูงาน เรยี นรู้ และมี

ความพึงพอใจมากกวา่ ร้อยละ

80

2. จัดหาอุปกรณไ์ ม้ไผเ่ พ่ือ กนั ยายน 62 – มถิ ุนายน 63 - นกั ศึกษาไดเ้ รียนร้แู ละ

ประกอบการตกแต่งศูนย์ เกษตรกรสามารถใชเ้ ปน็ แนว

เรียนรู้พืชไร่ ทางเลอื กในการเพ่มิ อาชีพได้

รวม

ภาพประกอบกจิ กรรม(ก่อน/หลงั ดาเนนิ การ)

ภาพท่ี 1 ไมไ้ ผ่ ขนาดต่างๆ ภาพที่ 2 ทางเดนิ ดว้ ยไมไ้ ผ่เช่อื มระหวา่ งต้นไม้

23

ภาพท่ี 3 หยอดเมลด็ ทานตะวนั ภาพท่ี 4 หวา่ นเมลด็ คอสมอส

ภาพท่ี 5 แปลงทานตะวัน

ข้อจากัด หรอื ปญั หา อุปสรรคในการดาเนินงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ผรู้ ายงาน นายถวิล โสขุมา

24

ผลการดาเนินงาน

โครงการพฒั นาศูนยก์ ารเรยี นรู้ ฝกึ อาชีพการผลติ สัตวป์ กี มาตรฐานปลอดภัย/มก.อช

กิจกรรม ระยะเวลาการดาเนินงาน เป้าหมาย งบประมาณทใ่ี ช้
(ระบุวนั /เดอื น/ป)ี (เชงิ ปริมาณและ (บาท)
กิจกรรมท่ี ๔ พัฒนา
Smart farming เป็น กันยายน ๖๒ – มิถุนายน ๖๓ คณุ ภาพ) ๑. คา่ วัสดุฝกึ อาชพี
แหลง่ เรยี นรู้ ฝกึ อาชพี ๙๐,๕๐๐ บาท
เกษตรมาตรฐาน - ฟาร์มเทคโนโลยีผลิต ๒. อาหารไก่ไข่ ไกเ่ นื้อ
ปลอดภยั ตน้ แบบ สตั ว์ปีกมาตรฐาน พน้ื เมอื ง ๑๐๐,๐๐๐
- ศูนยก์ ารเรียนรูฝ้ ึก ปลอดภัย มก.อช ๑ แหง่ บาท
- นกั ศึกษาไดร้ ับการ ๓. ค่าจ้างเหมา ซอ่ มแซม
อาชีพการผลิตสัตว์ ถา่ ยทอด ความรู้ ฝึก ฟารม์ โรงเรือนผลิตไก่เนอ้ื
ปกี มาตรฐาน ทักษะ จานวน ๑๐๖ คน เพอื่ การงานอาชพี ๑ โรง
ปลอดภัย/มก.อช - เกษตรกรชมุ ชนเขา้ รบั ๑๐๐,๐๐๐ บาท
การศึกษาดงู าน เรยี นรู้ รวม ๒๙๐,๕๐๐ บาท
จานวน ๑๐๐ คน (ใช้แลว้ ๔๗,๐๐๐ บาท
ทเี่ หลอื อยู่ระหวา่ ง
ดาเนินการ)

ภาพประกอบกจิ กรรม (กอ่ น ดาเนนิ การ)

25

ไกไ่ ข่อารมณด์ ีด่านชา้ งกรีนฟาร์ม

ไกพ่ ้นื เมือง

ภาพประกอบกิจกรรม (หลังดาเนนิ การ)

ไก่ไขอ่ ารมณ์ดดี ่านชา้ งกรนี ฟาร์ม

26

ไกไ่ ข่อารมณ์ดีดา่ นช้างกรนี ฟาร์ม
ไกไ่ ข่อารมณด์ ีดา่ นช้างกรนี ฟาร์ม

27

ไก่พื้นเมอื ง
ไก่พ้ืนเมือง

28

ไกพ่ ้ืนเมือง
ขอ้ จากดั หรอื ปญั หา อปุ สรรคในการดาเนินงาน

๑. ในงานฟาร์มไกไ่ ขอ่ ารมณด์ ี ระบบนา้ ขดั ข้องเปน็ บางครั้ง เนื่องจากระบบนา้ ดบิ ชารดุ
๒. งานศูนย์การเรียนรไู้ กพ่ นื้ เมือง ยงั ขาดห้องเก็บไขฟ่ ัก

ผรู้ ายงาน นางสมพร เกตุผาสขุ

29

(สาหรบั สถานศกึ ษา)
(ชื่อโครงการ) โครงการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน (งานฟาร์ม) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี

(Smart Farming)

ความเช่อื มโยงและการตอบสนองเชิงยทุ ธศาสตร์ : แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
( ) ย.๑ การจดั การอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื ความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
( ) ย.๒ การผลิตและพัฒนากาลงั คนดา้ นอาชวี ศึกษาเพ่อื สร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
( ) ย.๓ การพัฒนาศักยภาพกาลงั คนดา้ นอาชีวศกึ ษาให้มสี มรรถนะสอดคลอ้ งกบั ความต้องการในการพฒั นาประเทศ
( ) ย.๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มในด้านอาชีวศึกษา
( ) ย.๕ การจดั การอาชีวศกึ ษาเพื่อสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
( ) ย.๖ การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบการบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษา

๑. หลกั การและเหตุผล

เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ข้อที่ ๔. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม โดยจัดพ้ืนท่ี
การเกษตรใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบบริหารจัดการน้าและคุณภาพของดินตาม Agri-Map กาหนดเป้าหมายรายได้เกษตรกร
ใหส้ ามารถมรี ายได้จากผลผลติ ทางการเกษตรที่มีคุณภาพในสินค้าเกษตรสาคัญ อาทิข้าว ยางพารา มันสาปะหลัง ปาล์ม
อ้อย และข้าวโพด สร้างนวัตกรรมและเคร่ืองมือทางการเกษตรในราคาที่เข้าถึงได้เพ่ือลดต้นทุนการผลิต โดยจัดหา
สิ่งทดแทนท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ท่ียอมรบั ของเกษตรกร ต่อยอดภมู ิปัญญาและความรขู้ องปราชญช์ าวบ้านในการสร้าง
นวัตกรรม เพอื่ สรา้ งโอกาสทางเศรษฐกจิ และการสรา้ งรายไดข้ องประชาชน

โครงการซ่อมแซมโครงสร้างพ้ืนฐานงานฟาร์มของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีและประมง เป็นโครงการที่
สามารถทาใหบ้ รรลุเป้าหมายการพัฒนาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี ใหส้ ามารถเปน็ ต้นแบบด้านการบริหาร
จดั การน้าในฟาร์มเกษตรทเี่ ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม มีการวางแผนในการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมโครงสรา้ งพ้ืนฐานของงานฟาร์ม
ทางการเกษตรท้งั งานฟาร์มพชื สตั ว์ และประมง ทั้งนเี้ นอ่ื งจากวทิ ยาลัยฯได้มีการจัดการระบบการใชน้ ้ามาอย่างยาวนาน
ดังน้ันการปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะระบบน้าและการใช้น้าของงานฟาร์ม ท่ีจะต้องมีการบริหาร
จัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพเพียงพอท่ีจะเป็นต้นแบบให้ชุมชนต่อไปได้ อีกทั้งสามารถเป็นต้นแบบให้ดับชุมชน และ
ภูมิภาคทค่ี ล้ายคลงึ กนั ได้

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพอื่ พฒั นาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี เป็นสถานศึกษา smart college
๒.๒ เพอื่ เปน็ ตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการฟารม์ เกษตร สาหรับเปน็ แหลง่ เรยี นรขู้ องชุมชน
2.3 เพื่อพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานงานฟารม์ ของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี

30

๓. กลุ่มเป้าหมาย (ผ้รู ับประโยชนโ์ ดยตรงจากการดาเนินงานโครงการ)

กลุ่มเปา้ หมาย จานวน
๓.๑ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี ๑ แหง่
๓.๒ นกั เรยี น นักศกึ ษา และเกษตรกรในชุมชน/พนื้ ที่ ๑,๐๐๐ คน

๔. ตัวชี้วดั การดาเนินงาน ค่าเปา้ หมาย
๔ ฐาน
ช่ือตัวชี้วดั
๔.๑ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบรุ ี ได้พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ไม่น้อยกว่า ๔ กลุ่มอาชพี ตอ่ ปี
งานฟารม์ เพ่ือเปน็ ต้นแบบในการบริหารจัดการฟารม์ เกษตร
๔.๒ เป็นแหลง่ เรียนรู้ให้นักเรยี นนักศกึ ษา เกษตรกรและผ้ทู ส่ี นใจ

๕. ระยะเวลาดาเนินงาน และสถานท/่ี พน้ื ท่ีดาเนนิ งาน

๕.๑ ระยะเวลาดาเนนิ งาน สิงหาคม – กันยายน ๒๕๖๒
๕.๒ สถานท่ี/พืน้ ทีด่ าเนนิ งาน วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี

๖. กิจกรรมหลกั และแผนการดาเนินงาน
๖.๑ กจิ กรรมหลัก
๖.๑ สารวจระบบการจัดการงานฟาร์มพืช สัตว์ และประมง
๖.๒ พฒั นาระบบการจดั การน้าของฟาร์มพชื สัตว์ และประมง
๖.๓ พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ฝกึ อบรมดา้ นการบรหิ ารจัดการน้าเพื่อการเกษตรแบบครบวงจรและมปี ระสิทธภิ าพ

๖.๒ แผนการดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนนิ งาน
สิงหาคม ๒๕๖๒
กิจกรรม สงิ หาคม ๒๕๖๒

๑) เสนอโครงการ สิงหาคม ๒๕๖๒
กนั ยายน ๒๕๖๒
๒) วางแผนและเตรยี มการดาเนนิ งาน กนั ยายน ๒๕๖๒

๓) ดาเนนิ งานตามแผน กนั ยายน ๒๕๖๒
กนั ยายน ๒๕๖๒
กิจกรรมที่ ๑ สารวจระบบการจัดการงานฟารม์ พชื สัตว์ และประมง

กิจกรรมที่ ๒ พัฒนาระบบการจัดการนา้ ของฟารม์ พชื สัตว์ และประมง
กิจกรรมที่ ๓ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ฝึกอบรมดา้ นการบรหิ ารจัดการน้าเพือ่
การเกษตรแบบครบวงจรและมปี ระสิทธภิ าพ
๔) ประเมินผลการดาเนนิ งาน

๕) รายงานผลการดาเนนิ งาน

31

๗. แหลง่ งบประมาณ
ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นเงนิ จานวน

๕oo,ooo บาท (หา้ แสนบาทถว้ น)

๘. รายละเอียดการใช้จา่ ยงบประมาณ

รายการ จานวนเงิน

(บาท)

๑. ค่าวสั ดุพัฒนาระบบการจดั การนา้ ๑ ระบบๆ ละ 200,000 บาท 200,000

๒. คา่ วสั ดุซ่อมแซมโรงเรือนปฏบิ ัตกิ ารพชื ศาสตร์ (พืชผกั และเรือนเพาะชาแปลงผลติ พชื ไร่ ) 100,000

๓. ค่าวัสดซุ ่อมแซมโรงเรือนปฏบิ ตั กิ ารสัตวศาสตร์ (สตั วป์ ีก สัตวเ์ ลก็ และสัตว์ใหญ่) 100,000

๔. ค่าวัสดุซอ่ มแซมโรงเรอื นเพาะเลยี้ งสัตว์น้า (เพาะขยายพนั ธแุ์ ละอนุบาล 100,000

รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สิ้น (บาท) ๕oo,ooo

หมายเหตุ งบประมาณขอถวั จ่ายทกุ รายการตามความเปน็ จรงิ

๙. ผลที่คาดว่าจะได้รบั จากการดาเนนิ งาน
๙.๑ โครงสรา้ งพ้นื ฐานงานฟารม์ ของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี ไดร้ ับการปรับปรุงซ่อมแซม
๙.๒ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี เปน็ smart college
๙.๓ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี เป็นตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการการเกษตร สาหรับเป็นแหล่งเรียนรู้

ของชมุ ชน

๑๐. การประเมนิ ผลและการรายงานดาเนนิ งาน
๑๐.๑ วิธกี ารประเมนิ
๑) สารวจและประเมินโครงสรา้ งพนื้ ฐานของสถานศึกษาก่อนและหลังการดาเนินงานโครงการ
๒) สารวจความคิดเหน็ ของเกษตรกรและผสู้ นใจในการเปน็ ต้นแบบการบริหารจดั การน้า
๑๐.๒ การรายงานผลการดาเนนิ งาน
จัดทาสรุปรายงานผลการดาเนินงาน เสนอสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อเสร็จส้ินการ

ดาเนนิ งานโครงการ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนดตามแผนการดาเนนิ งาน (ขอ้ ๖.๒)

๑๑. ผรู้ ับผดิ ชอบและผู้ประสานงานโครงการ 32 เบอรโ์ ทรศพั ท์
๑๑.๑ ผรู้ บั ผิดชอบ 093-2594553
ชื่อ - นามสกลุ ตาแหน่ง
นายถาวร ทพิ วรรณ ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั

๑๑.๒ ผปู้ ระสานงานโครงการ ตาแหน่ง เบอรโ์ ทรศัพท์
ช่ือ - นามสกุล
ครู ทาหน้าที่รองผูอ้ านวยการฝ่าย แผนฯ 081-9813740
นายถวลิ โสขุมา

33

ผลการดาเนนิ งาน
โครงการ พัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานงานฟารม์ Smart Farming (โรงเรือนปฏบิ ัติการพืชผกั )

กจิ กรรม ระยะเวลาการดาเนินงาน เปา้ หมาย งบประมาณทใ่ี ช้
(ระบุวัน/เดอื น/ป)ี (เชงิ ปริมาณและ (บาท)
- จดั ทาแปลงผกั
ขนาด 1.2 x24 ม. ส.ค. 62 - ม.ิ ย. 63 คณุ ภาพ) 10,960
- ทาถนนทางเท้าหนา้
โรงเรอื นผกั ได้แปลงผกั มาตรฐาน 42,939
- คา่ แรงทาความสะอาด 8 แปลง
บริเวณแปลงปลกู 5,700
ไดถ้ นนทางเทา้ ในฟารม์
100 ตร.ม

สามารถใช้เป็นที่ฝกึ งาน
ฝึกอบรมและศึกษาดูงาน
และทาใหก้ ารผลิตใน
ฟาร์มมีประสทิ ธภิ าพและ
ประสทิ ธิผลมากข้ึน

ภาพกิจกรรม
1. จดั ทาแปลงผักขนาด 1.2 x24 ม.

กอ่ นดาเนนิ งาน

หลงั การดาเนนิ งาน

34

2. ทาถนนทางเท้าหนา้ โรงเรือนผกั

ก่อนการดาเนนิ งาน

หลงั การดาเนนิ งาน

ขอ้ จากัด หรือ ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนนิ งาน
- ไม่มี

ผ้รู ายงาน นางหทยั รัตน์ เทพสถติ ย์

35

ผลการดาเนนิ งาน
โครงการ พัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน โรงเรอื นปฏบิ ัติการสัตวศาสตร์

กิจกรรม ระยะเวลาการดาเนนิ งาน เป้าหมาย งบประมาณท่ใี ช้
299,980
(ระบวุ ัน/เดอื น/ป)ี (เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ)
43,822
- โครงการอาหารสุกร ส.ค. – ต.ค. 62 - ปรับปรุงสภาพฟาร์มพื้นทก่ี ารเรยี นรู้

เทคโนโลยีการผลติ สกุ ร และระบบ

บ้าบดั น้าของฟาร์มสุกร

- โครงการปรบั ปรงุ โรงเรือนโค ส.ค. – ต.ค. 62 - ปรับปรุงสภาพฟารม์ พน้ื ทก่ี ารเรียนรู้

นม เทคโนโลยีการผลิตโคนม

- โครงการซ่อมบ้ารุงระบบน้า ส.ค. – ต.ค. 62 - ปรับปรงุ สภาพฟาร์มพน้ื ทก่ี ารเรยี นรู้ 59,700
เสียโรงเรือนสุกร ส.ค. – ต.ค. 62 เทคโนโลยกี ารผลติ สกุ ร และระบบ 64,600
บ้าบดั น้าของฟารม์ สุกร
- พฒั นาพ้ืนท่เี รยี นรู้
เทคโนโลยกี ารผลติ โคเน้ือ - ปรับปรุงสภาพฟารม์ พื้นท่ีการเรยี นรู้
เทคโนโลยกี ารผลติ โคเนอื้

ภาพกจิ กรรม

ปรบั ปรงุ โรงเรือนโคนม

36

ซ่อมบ้ารุงระบบน้าเสียโรงเรือนสกุ ร

พัฒนาพื้นท่ีเรยี นร้เู ทคโนโลยีการผลิตโคเนื้อ
ข้อจากัด หรือ ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนินงาน

- ไม่มี
ผ้รู ายงาน นายถวิล โสขมุ า

37

ผลการดาเนนิ งาน

โครงการพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน งานฟารม์ เพาะเล้ยี งสัตว์นา้

กิจกรรม ระยะเวลาการดาเนินงาน เป้าหมาย งบประมาณทใี่ ช้
(บาท)
(ระบุวนั /เดือน/ป)ี (เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ)
146,000
ปรบั ปรุงหลังคาโรงเรือน 1 ต.ค. – 30 ต.ค. 2562 โรงเรือน เพาะเลี้ยงปลา
เพาะเล้ียงปลาสวยงาม สวยงาม จานวน 1 โรงเรอื น
สามารถเป็นแหลงเรยี นรู้ ฝึก
ปฏิบัติใหน้ ักศึกษา ดาเนิน
โครงการวิจัย และทาเป็น
ตน้ แบบการทาธรุ กจิ ขนาด
ยอ่ มได้

สภาพของหลงั คาโรงเรอื นเพาะเลี้ยงปลาสวยงามก่อนดาเนนิ การ

38

สภาพของหลงั คาโรงเรือนเพาะเล้ียงปลาสวยงามกอ่ นดาเนนิ การ

สภาพของหลงั คาโรงเรือนเพาะเลยี้ งปลาสวยงามกอ่ นดาเนนิ การ
ขอ้ จากดั หรือ ปัญหา อปุ สรรคในการดาเนินงาน

1. อุณหภมู ิอากาศ เนอื่ งจากถ้าปูพลาสติกในช่วงอากาศเย็น ทาให้พลาสตกิ หยอ่ น ไม่ตงึ
ดงั นั้นจงึ ควรปพู ลาสตกิ ตอนอุณหภมู คิ ่อนขา้ งร้อน

2. ในชว่ งฤดูฝน ไม่สามารถปพู ลาสตกิ ได้
ผูร้ ายงาน นางสาวพสิ มัย เฉลยศกั ด์ิ

39

ผลการดาเนนิ งาน

โครงการ พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ฟารม์ ประมง (ฐานงานเพาะและอนบุ าลลูกปลา)

กิจกรรม ระยะเวลาการดาเนินงาน เป้าหมาย งบประมาณทใ่ี ช้
5,000
(เชิงปริมาณและคณุ ภาพ)
10,000
- ปรับปรุงซอ่ มแซมรางระบาย 1-7 พ.ย. 62 - จัดทา้ ตะแกรงเหล็กครอบรางระบาย (อยรู่ ะหว่าง
ดา้ เนินการ)
น้า โดยจัดท้าตะแกรงเหล็ก นา้ โรงเพาะฟัก ความยาว 12.15

ครอบรางระบายนา้ ความยาว เมตร 1 ชิน้

12.15 เมตร - ผู้เรยี นได้รบั ความปลอดภัยขณะ

ปฏิบตั ิการเรยี น

- สรา้ งบ่อคอนกรตี เพาะเลย้ี ง 15 พ.ย. – 10 ธ.ค. 62 - บอ่ คอนกรีตส้าหรับเพาะเล้ียงอาหาร

อาหารสัตวน์ ้ามีชวี ติ จา้ นวน 4 สตั วน์ า้ มชี วี ติ จ้านวน 4 บอ่ และลาน

บ่อ และเทลานพนื้ คอนกรตี คอนกรตี อเนกประสงค์เพื่อการ

พร้อมมุงหลงั คา ปฏบิ ตั งิ าน

- ผูเ้ รยี นมพี ื้นทีฝ่ กึ ปฏบิ ัตกิ ารเพราะ

เลยี้ งอาหารสัตวน์ า้ มีชีวิต ตอบสนอง

การเรยี นการสอนท้ังระดับ ปวช. และ

ปวส.

ภาพกิจกรรม หลัง
กอ่ น

ข้อจากดั หรือ ปญั หา อปุ สรรคในการดาเนินงาน
- ไมม่ ี

ผู้รายงาน นางเปรมจิตร์ ชลสินธุ์

39

(สาหรับสถานศกึ ษา)

(ชอื่ โครงการ) โครงการพัฒนาเกษตรกรเพ่ือเพม่ิ ขดี ความสามารถในการประกอบอาชพี ในชมุ ชน (Smart Farmer)

ความเชอ่ื มโยงและการตอบสนองเชงิ ยุทธศาสตร์ : แผนพฒั นาการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579
( ) ย.1 การจัดการอาชวี ศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ
( √ ) ย.2 การผลติ และพฒั นากาลงั คนดา้ นอาชีวศกึ ษาเพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
( √ ) ย.3 การพัฒนาศักยภาพกาลงั คนด้านอาชีวศกึ ษาใหม้ ีสมรรถนะสอดคล้องกบั ความต้องการในการพฒั นาประเทศ
( √ ) ย.4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมในดา้ นอาชวี ศกึ ษา
( √ ) ย.5 การจดั การอาชีวศกึ ษาเพือ่ สรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม
(√ ) ย.6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบการบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษา

1. หลกั การและเหตุผล

การจดั ศึกษาเพ่ือพัฒนาชุมชนที่สอดคล้องกับการประกอบอาชีพด้านการเกษตรของประชาชนในชุมชน
ต่าง ๆ จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหนึ่งหน่วยงาน
ของภาครัฐ ท่ไี ด้มงุ่ พัฒนาชมุ ชนตามแนวทางการจัดการศึกษาของชุมชนมาโดยตลอดท้ังในด้านการพัฒนาหลักสูตรที่ใช้
การบริหารจัดการโครงการ การจดั งบประมาณสนับสนุน เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษาท่ีเรียนตามโครงการ อศ.กช. ซึ่งเป็น
ส่วนสาคัญในการสนองนโยบายการเพ่ิมผู้เรียนอาชีวศึกษาให้บรรลุเป้าหมายของกระทรวงศึกษาธิการ อย่างไรก็ตาม
การดาเนินงานท่ีผ่านมาพบว่ายังมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีแท้จริงของโครงการทั้งในด้านความรู้
ความเข้าใจ ตลอดจนพ้ืนฐานของผู้บริหารหลาย ๆ ท่านมีประสบการณ์การจัดการศึกษามาจากประเภทวิชาอื่นท่ีไม่ใช่
สาขาเกษตร อีกทงั้ ประเด็นปัญหาการเกษียณอายุราชการไปเป็นจานวนมาก ครูรุ่นใหม่ ยังขาดความรู้ ความเข้าใจการ
จัดการศึกษาตามโครงการดังกล่าว ประกอบกับสภาพปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว
ที่ส่งผลกระทบต่อการจดั การเรยี นการสอน และการบริหารจัดการโครงการจนส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายเรื่องการเพ่ิม
จานวนผู้เรียนอาชีวศึกษาในโอกาสต่อไปได้อีกด้วย จึงสมควรให้มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานตามโครงการ อศ.กช.ให้ทันกับสภาพปัจจุบันซ่ึงมีความจาเป็นสาหรับการสร้างและ
พัฒนากาลังคนภาคการเกษตรของประเทศให้เป็นผู้นาและเกษตรกรรุ่นใหม่ที่จะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถในการ
จัดการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จตามเป้าหมาย ๆ หลายปัจจัยเพ่ือคาดหวังให้ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเกษตรกร
รุ่นใหม่ท่ีมีคุณลักษณะท่ีสาคัญ ๆ ของ smart farmer คือการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล การเป็นผู้ประกอบการ
การมีมาตรฐานอาชีพ การใช้ภาษาต่างประเทศ การมีทักษะการคิดวิเคราะห์ และลักษณะความเป็นผู้นาและการ
ทางานเปน็ ทมี ต่อไป

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพ่ือพฒั นาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมะเขอื เทศและผกั มาตรฐานปลอดภัยแกเ่ กษตรกร
2.2 เพ่ือพัฒนาเครือขา่ ยเกษตรกร Smart farmer ผ้ผู ลิตผัก มะเขอื เทศมาตรฐานปลอดภยั ดา่ นช้างกรีนฟารม์
2.3 เพื่อพฒั นาทักษะ ความรู้เกษตรกรด้วยเทคโนโลยี นวตั กรรมการผลิตเกษตรปลอดภยั

40

3. กลมุ่ เป้าหมาย (ผรู้ บั ประโยชนโ์ ดยตรงจากการดาเนินงานโครงการ)

กล่มุ เป้าหมาย จานวน
1 ชมุ ชน
3.1 ชุมชนทร่ี ว่ มจัดการศกึ ษากบั วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบรุ ี 30 คน

3.2 เกษตรกรหรือผู้สนใจประกอบอาชพี เกษตรกรรมทีม่ วี ฒุ กิ ารศึกษาตัง้ แต่
ระดับ ม.3 ขึน้ ไป

4. ตัวชี้วัดการดาเนนิ งาน

ช่อื ตัวชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย

4.1 เกษตรกรทีม่ ที ักษะเปน็ Smart Farmer และจานวนชุมชนที่เป็นเครือขา่ ย 30 คน 1 ชุมชน

4.2 เกษตรกรมสี มรรถนะการผลิตมะเขือเทศ มาตรฐานปลอดภัย ใชเ้ ทคโนโลยี ชว่ ยงานดา้ นการ

ผลิตสินค้าเกษตรทม่ี มี าตรฐาน

ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด

มากกวา่ ร้อยละ 80

5. ระยะเวลาดาเนนิ งาน และสถานท่/ี พื้นทด่ี าเนินงาน

5.1 ระยะเวลาดาเนินงาน สิงหาคม 2562-กนั ยายน 2562

5.2 สถานที/่ พืน้ ท่ดี าเนนิ งาน วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสพุ รรณบุรี
และชมุ ชนวังคนั อาเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี

6. กิจกรรมหลกั และแผนการดาเนนิ งาน
6.1 กจิ กรรมหลกั

กจิ กรรมที่ 1 จัด เวท/ี ประชาสัมพนั ธ์สารวจความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย เกษตรกร
กิจกรรมท่ี 2 ใหก้ ารฝึกอบรมระยะสน้ั พัฒนาอาชีพเกษตรและอาหารปลอดภยั
กิจกรรมท่ี 3.สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนากลุ่มเครือข่าย smart fatmer ผลิตพืขผัก มะเขือเทศมาตรฐาน

ปลอดภยั
กจิ กรรมที่ 4. ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน

41

6.2 แผนการดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน
กิจกรรม สิงหาคม 2562
สิงหาคม 2562
1) เสนอโครงการ ก.ย.62-พ.ค.63
2) วางแผนและเตรยี มการดาเนนิ งาน กันยายน 2562

3) ดาเนนิ งานตามแผน กันยายน 2562

กจิ กรรมที่ 1 จดั เวที/ประชาสมั พันธส์ ารวจความตอ้ งการของ ก.ย.62-พ.ย.62
กลมุ่ เปา้ หมาย เกษตรกร
กนั ยายน-พฤศจิกายน 62
กจิ กรรมท่ี 2 ให้การฝกึ อบรมระยะสัน้ พฒั นาอาชีพเกษตรและ ประเมนิ ทุกคร้งั เม่อื สิน้ สดุ โครงการ
อาหารปลอดภัย
รายงานผลหลงั การดาเนนิ งาน
กิจกรรมที่ 3 สนบั สนุน ส่งเสรมิ พฒั นากล่มุ เครอื ข่าย smart
fatmer ผลิตพืขผกั มะเขือเทศมาตรฐาน
ปลอดภยั

กจิ กรรมที่ 4 ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งาน

4) ประเมินผลการดาเนินงาน

5) รายงานผลการดาเนนิ งาน

7. แหล่งงบประมาณ
ขอรับการสนับสนนุ งบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปน็ เงนิ จานวน 90,000 บาท

(เก้าหมื่นบาทถ้วน)

8. รายละเอยี ดการใช้จา่ ยงบประมาณ

รายการ จานวนเงิน (บาท)
1 คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 1 คน คนละ 21 ชวั่ โมง ชวั่ โมงละ 600 บาท 12,600
2 คา่ อาหารผ้เู ข้ารับการอบรม 30 ชุด ชดุ ละ 3 มือ้ มื้อละ 70 6,300
3 คา่ อาหารว่างผเู้ ข้ารับการอบรม 30 ชดุ ชดุ ละ 6 มอื้ มื้อละ 35 6,300
4 ค่าจา้ งเหมาสถานท่ี 1 แห่ง แห่งละ 1,000
5 ค่าวสั ดุฝึกอบรม 61,800
6 ค่าวัสดุสานกั งาน 2,000
90,000
รวมเปน็ เงินทัง้ สิน้ (บาท)

หมายเหตุ ขอถวั จ่ายทุกรายการตามความเปน็ จริง

9. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการดาเนินงาน
9.1 เกษตรกรไดร้ บั การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารผลิตมะเขือเทศและผกั มาตรฐานปลอดภยั
9.2 มเี ครือข่ายเกษตรกร Smart farmer ผู้ผลติ ผัก มะเขือเทศมาตรฐานปลอดภัย ดา่ นช้างกรนี ฟารม์ จานวน 30

คน
9.3 เกษตรกรมคี วามรู้ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีผลติ สนิ ค้าเกษตรปลอดภยั จานวน 30 คน

42

10. การประเมินผลและการรายงานดาเนนิ งาน
10.1 วิธีการประเมนิ
สรุปรายงานการจัดกกิ รรมหลกั ทงั้ 4 กจิ กรรมสง่ สอศ.ตามกาหนด

10.2 การรายงานผลการดาเนินงาน

จัดทาสรุปรายงานผลการดาเนินงาน เสนอสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เมื่อเสร็จส้ินการ

ดาเนนิ งานโครงการ ภายในระยะเวลาที่กาหนดตามแผนการดาเนินงาน (ขอ้ 6.2)

11. ผรู้ ับผิดชอบและผู้ประสานงานโครงการ

11.1 ผู้รบั ผดิ ชอบ

ช่ือ - นามสกุล ตาแหน่ง เบอร์โทรศัพท์

นายถาวร ทิพวรรณ ผู้อานวยการวทิ ยาลัย 093-2594553

นายกฤษฎา วเิ ศษสขุ ครู ทาหนา้ ท่ี รองผอู้ านวยการฝ่ายพัฒนาฯ 083-3149977

11.2 ผ้ปู ระสานงานโครงการ

ชอ่ื - นามสกลุ ตาแหน่ง เบอร์โทรศพั ท์

นางจนั ทร์เพญ็ อินทอง ครู 089-7410759

นางหทยั รัตน์ เทพยส์ ถิตย์ ครู -

43

ผลการดาเนินงาน

โครงการฝึกอบรมและพฒั นาเกษตรกรใหเ้ ปน็ Smart Farmer.

กจิ กรรม ระยะเวลาการดาเนินงาน เป้ าหมาย งบประมาณท่ีใช้

(ระบวุ นั /เดอื น/ปี ) (เชงิ ปริมาณและคุณภาพ) (บาท)

ดาเนินการจัดฝึกอบรม 31 ส.ค. - 1 ก.ย. 62 ผเู้ ข้ารับการอบรม ค่าอาหาร 6,200บาท
ค่าวิทยากร 14,400
และพฒั นาเกษตรกรให้ จานวน 31 คน จากการ บาท และค่าวัสดุ
39,400บาท รวม
เป็น Smart Farmer ประเมนิ ความพงึ พอใจใน ท้งั สนิ้ 60,000 บาท

ให้กบั กลุม่ เกษตรกร การเขา้ รบั การฝกึ อบรม

ประชาชน และผู้สาเรจ็ 7 ดา้ น ด้านการ

การศกึ ษาท่ียงั ไม่มีงานทา ถา่ ยทอดความรูข้ อง

โดยจดั การฝกึ อบรมเร่ือง วทิ ยากร ๙3.๑๔ %

การปลกู มะเขือเทศทาน ด้านเนอ้ื หาในการ

สดมาตรฐานปลอดภัยใน ฝกึ อบรม ๙5.2๔ %

โรงเรอื นอัจฉริยะ ด้านสถานที่ความสะอาด

๙๖.๔๖ % ด้านอาหาร

95.63 % ดา้ น

ระยะเวลาในการอบรม

92.53 % ด้านการ

ความรู้ท่ไี ดจ้ ากการอบรม

ไปใช้ในชีวิตจริง

96.24% และดา้ น

ภาพรวมความพึงพอใจใน

การฝกึ อบรม ๙๘.๖๘%

และ

44

ภาพประกอบการฝกึ อบรมและพฒั นาเกษตรกรใหเ้ ป็น Smart Farmer
เรื่อง การปลกู มะเขือเทศทานสดมาตรฐานปลอดภัยในโรงเรือนอจั ฉริยะ

ภาพที่ 1 ลงทะเบยี นฝกึ อบรมการปลกู มะเขอื เทศทานสดมาตรฐานปลอดภยั ในโรงเรอื นอจั ฉริยะ

ภาพที่ 2-3 นายถวลิ โสขมุ า รองผอู้ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ุพรรณบุรี ประธานในพธิ ี


Click to View FlipBook Version