The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 – 2564
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fgra, 2022-04-26 05:15:37

รายงานประจำปี 2563 – 2564

รายงานประจำปี 2563 – 2564
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Keywords: รายงานประจำปี,บัณฑิตวิทยาลัย,เกษตรศาสตร์,kasetsart,graduate

คํานาํ

รายงานฉบับน้ีเป็นการรวบรวมสรุปผลงานและข้อมูลท่ีเกิดขึ้น ในช่วง 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึง 31 กรกฎาคม พ.ศ.
2564 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในฐานะหน่วยงานกลางที่ให้การสนับสนุน กํากับดูแล รับผิดชอบการจดั การและ
พัฒนาการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดย ณ วันน้ี ได้ปฏิบัติภารกิจสําคัญมาเป็นปีท่ี 55 ซ่ึงในปี 2563-2564 นับเป็นช่วงเวลาแห่ง
ความท้าทาย จากผลของวิกฤติการณ์โควิด19 ซ่ึงบัณฑิตวิทยาลัย ได้ปรับตัวอย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ ทําให้สามารถปฏิบัติ
ภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และก้าวผ่านวิกฤตการณ์ไปได้ด้วยดี โดยการขับเคลื่อนนโยบายผ่านกลยุทธ์ท่ีสําคัญอย่างต่อเนื่อง
คือ 1) การสนับสนุนให้เกิดโปรแกรมการเรียนรู้ที่เป็นแนวหน้าระดับนานาชาติ Graduate Global Frontier Program
(GradsPLUS_GGFP) สนับสนุนการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่สร้างความร่วมมือระดับชาติและนานาชาติ อาทิ
เช่น โครงการ Double/Dual Degree Program จํานวน 2 โครงการ ซึ่งเป็นโครงการท่ีทําร่วมกับ The University of
Montpellier ในระดบั ปริญญาโท โครงการ Joint Degree Program จํานวน 1 โครงการ ซ่ึงเป็นโครงการทที่ ําร่วมกับ Yamaguchi
University ในระดับปริญญาโท นอกจากนี้ได้สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ โดยสนับสนุนการจัดทํา
บันทึกข้อตกลงฯ (MOA) 2 ฉบับ ซ่ึงเป็นความร่วมมือระหว่างคณะศึกษาศาสตร์และบัณฑิตวิทยาลัย กับ Curtin University
ประเทศออสเตรเลีย และระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับ NARA Institute of
Science and Technology ประเทศญ่ีปุ่น 2) การสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระดับบัณฑิตศึกษา Graduate Study
Potential Professional (GradsPLUS_GSPP) และยังสร้างมาตรการเชิงรุก เพื่อเพ่ิมจํานวนผู้เข้าร่วมในโครงการ GSPP
มีผู้เข้าร่วมโครงการ 11 คน จากผู้เรียนในสาขาน้ัน 73 คน คิดเป็นร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการฯ เพ่ิมขึ้น 15.07 มีการพัฒนา
รายวิชาที่เข้าร่วมโครงการ GSPP ให้มีรูปแบบที่เป็น E-courseware ท่ีสามารถนําไปเผยแพร่ในแพลตฟอร์ม MOOC จํานวน
17 คณะ 33 สาขาวิชา และ 3) การสร้างแพลตฟอร์มในการสนับสนุนการสร้างนวตั กรรมทางการศึกษา GradsPLUS_SandBox

นอกจากนี้ “ภายใต้วิกฤติ คือ โอกาส” บัณฑิตวิทยาลัยได้สรรสร้างการดําเนินงานและปรับแนวปฏิบัติให้สอดรับกับ
รปู แบบวถิ ใี หม่ (New Normal) โดยพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีทันสมัย โดดเด่น ได้แก่ การย่นื คาํ ร้อง ตดิ ตาม แจง้ ผล แบบออนไลน์
ครบวงจร 100% การลงนามโดยใช้ระบบ Digital Signature ระบบข้อมูลบัณฑิตศึกษา (GRAD Info) ระบบบริการข้อมูลระดับ
บัณฑิตศึกษา (GDS) การให้บริการติดต่อสอบถามผ่าน Line Official นอกจากน้ี ยังสนับสนุนและต่อยอดการจัดการศึกษาที่
เหมาะสมกับโครงสร้างประชากรและบริบทการศึกษาท่ีเปลี่ยนไป ได้แก่ การรับสมัครนิสิตตลอดปีการศึกษา การปรับเปลี่ยน
เงื่อนไขนิสิตทดลองเรียน แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอนรายวิชา สําหรับทุนการศึกษาและทุนวิจัย บัณฑิตวิทยาลัยได้บริหาร
จัดการการมอบทุนแก่นิสิต ท้ังจากแหล่งทุนภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมท้ังสิ้น 269 ทุน จํานวนเงินรวม
ท้ังสิ้น 73,113,700 บาท ซ่ึงมาจากแหล่งทุนภายใน จํานวน 190 ทุน เป็นเงิน 26,936,000 บาท และแหล่งทุนภายนอก จํานวน
79 ทุน เป็นเงิน 46,177,700 บาท นอกจากน้ีมีทุนสนับการจัดทําสื่อการสอน E- Courseware จํานวน 5 ทุน เป็นเงิน 125,000 บาท
ส่วนการใหบ้ รกิ ารสงั คมผบู้ ริหารและบุคลากรรว่ มเป็นจิตอาสาและสนบั สนุนศนู ย์บริการฉดี วัคซนี KU สู้ COVID

และในปี 2565 บัณฑิตวิทยาลัยได้จัดโครงการอบรมสัมมนา “รวมพลังสร้างเสริมและพัฒนาบัณฑิตศึกษา มก.
(Empowering KU Graduate Connect)” ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วิทยาเขตกําแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา และ
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เพ่ือช้ีแจงและเสริมสร้างความเข้าใจเก่ียวกับหลักการและแนวปฏิบัติ ให้คําปรึกษา
ตอบข้อซักถาม คณะวิชาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดทําโครงการ การปรับปรุงหลักสูตร การรับนิสิตและผู้เข้าศึกษา คุณสมบัติอาจารย์
และเรื่องอ่ืนๆ ที่เก่ยี วข้องของ (1) โครงการความรว่ มมือการจัดการเรียนการสอนสองปรญิ ญา (Double/Dual Degree Programs)
หรือโครงการความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนร่วมปริญญา (Joint Degree Programs) ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ
มหาวิทยาลัยพันธมิตรในต่างประเทศ (2) หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 จํานวน 5 รูปแบบ (3) โครงการจัดการเรียนการ
สอนพฒั นาศกั ยภาพวิชาชีพระดับบณั ฑติ ศึกษา (GSPP)

บัณฑิตวิทยาลัย ขอขอบพระคุณผู้บริหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย
คณะกรรมการวิชาการและมาตรฐานการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย พันธมิตร และ Stakeholders ทั้งคณะวิชา หน่วยงาน นิสิต และ
บุคลากรทุกท่านเป็นอย่างสูงที่ให้การสนับสนุนและร่วมฟันฝ่าวิกฤติจนบัณฑิตวิทยาลัยบรรลุภารกิจและประสบความสําเร็จด้วยดี
ทั้งน้ี บัณฑติ วิทยาลยั กจ็ ะยงั คงสรรสรา้ งและมงุ่ ไปข้างหน้าเพ่ือการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ตอ่ ไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีจิตรา เจรญิ ลาภนพรัตน์)
คณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั

สารบญั

สารบัญ ............................................................................................................................................................. หนา
สารบญั ตาราง ................................................................................................................................................... (1)
สารบญั ภาพ ...................................................................................................................................................... (3)
(4)

สว นท่ี

ขอ มูลหนวยงาน

 ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น และพันธกิจ แหงมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร .................................................................. 1
 วิสัยทัศน พันธกจิ เปาหมายยุทธศาสตร ภารกิจหลกั และคานิยมของบัณฑิตวทิ ยาลยั ............................... 2
 ความเปน มาและพัฒนาการของบณั ฑติ วิทยาลยั ......................................................................................... 3
 ทำเนยี บคณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลัย ................................................................................................................... 4
 คณะผบู ริหารบัณฑติ วทิ ยาลยั ...................................................................................................................... 5
 คณะกรรมการประจำบัณฑิตวทิ ยาลัย ......................................................................................................... 6
 ภารกิจ การบรหิ าร และการขับเคลือ่ นองคกร ............................................................................................. 9
 โครงสรางการบรหิ ารงานบัณฑิตวิทยาลยั .................................................................................................... 13
 อตั รากำลงั บุคลากรบัณฑิตวทิ ยาลยั ............................................................................................................ 14

สว นที่

ผลการดำเนินงาน

 หลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ................................................................................................................................. 16
 โครงการความรวมมือของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรก บั สถาบันอุดมศึกษาตา งประเทศ ............................ 18
 โครงการจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพวิชาชพี ระดบั บัณฑติ ศึกษา (GSPP) ................................ 19
 การผลติ บณั ฑติ ............................................................................................................................................ 20
 การรบั นสิ ติ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา .................................................................................................................... 21
 จำนวนนิสติ ลงทะเบยี นเรียน ........................................................................................................................ 25
 จำนวนผูส ำเร็จการศึกษา ............................................................................................................................. 27
 การเผยแพรผ ลงานของนิสิตระดับบณั ฑติ ศึกษา .......................................................................................... 31

(1)

หนา
 การขึ้นทะเบียนอาจารยบ ัณฑิตวทิ ยาลยั ...................................................................................................... 33
 งบประมาณประจำปบญั ชี พ.ศ. 2563 ......................................................................................................... 36
 ทุนอุดหนนุ การศึกษาและการวิจัย ............................................................................................................... 39
 การมอบรางวัลผลงานวทิ ยานพิ นธ และรางวัลเกียรตยิ ศ ประจำปการศึกษา 2562 .................................... 40
 การใหบ รกิ ารรบั คำรองของบัณฑติ วิทยาลัย ................................................................................................ 43

สวนที่

ภาคผนวก

 เพลงประจำบัณฑติ วิทยาลยั ........................................................................................................................ 44
 ภาพกจิ กรรม ................................................................................................................................................ 45
 ผจู ัดทำ ......................................................................................................................................................... 59

(2)

สารบญั ตาราง 1ตารางที่ จำนวนผูสมัครและผูมีสิทธเิ์ ขาศกึ ษา
ระดับบณั ฑติ ศกึ ษาในรอบ 5 ป
จำแนกตามสายวชิ า วิทยาเขต 23

จำนวนนสิ ิตระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา 2ตารางที่ 25 และคณะ
ปการศึกษา 2563 จำแนกตาม 3ตารางท่ี
วทิ ยาเขต และระดบั ปริญญา จำนวนนิสิตระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา
ปก ารศกึ ษา 2563 จำแนกตาม
วทิ ยาเขต ระดับปรญิ ญา 25
ภาคปกติ และภาคพเิ ศษ
จำนวนผูสำเรจ็ การศึกษาทงั้ หมด 4ตารางที่ 27
จำแนกตามระดับการศกึ ษา และ 5ตารางที่
แผนการเรียน

จำนวนผูสำเรจ็ การศึกษาระดับ 27
มหาบัณฑติ จำแนกตาม
แผนการเรยี น

จำนวนผสู ำเรจ็ การศกึ ษา ปรยี บเทยี บ 6ตารางท่ี 29
ระหวา งปการศกึ ษา 2561-2563

7ตารางที่ จำนวนผสู ำเร็จการศกึ ษาระดับ

มหาบณั ฑิต เปรียบเทียบระหวาง 30

ปการศึกษา 2561-2563

ผลงานทไ่ี ดรบั การตพี มิ พเผยแพร 8ตารางท่ี 31
ในป พ.ศ. 2562-2563

9ตารางท่ี รางวลั ผลงานวิทยานิพนธ 40
10ตารางที่ 41 ศาสตราจารย ดร. ประเสรฐิ
ณ นคร ประจำปก ารศกึ ษา 2562
11ตารางที่
รางวัลเกยี รติยศแกนิสิตท่นี ำเสนอ
ผลงาน และไดรบั รางวัลระดับ
นานาชาติ ประจำปการศกึ ษา 2562

รางวัลเกียรติยศแกผ ูสำเร็จการศึกษา 41
ทีม่ ีผลการศกึ ษาดเี ดน
ประจำปก ารศกึ ษา 2562

(3)

สารบญั ภาพ 1ภาพที่ จำนวนนสิ ติ ระดับบัณฑิตศึกษา 26
2ภาพที่ 26 ทลี่ งทะเบียนเรยี น ปก ารศึกษา
จำนวนนิสิตระดับบณั ฑิตศกึ ษา 2563 จำแนกตามวทิ ยาเขต
ทล่ี งทะเบยี นเรยี น ปก ารศึกษา 2563 3ภาพท่ี
จำแนกตามระดบั ปรญิ ญา ภาคปกติ จำนวนผสู ำเรจ็ การศกึ ษา ปการศึกษา
และภาคพิเศษ
2563 จำแนกตามระดับปริญญา 28

ภาคปกติ และภาคพเิ ศษ

ภาพท่ี
4จำนวนผูสำเรจ็ การศกึ ษา เปรียบเทียบ 29

ระหวา งปการศกึ ษา 2561-2563

5ภาพที่ จำนวนผูสำเร็จการศึกษา 30
ระดับมหาบัณฑติ เปรยี บเทยี บ
ผลงานของนสิ ิตและผูส ำเรจ็ การศึกษาระดบั 6ภาพที่ 32 ระหวา งปก ารศึกษา 2561-2563
ปริญญาเอก ที่ไดรับการตีพมิ พเผยแพร 7ภาพที่
ในป พ.ศ. 2562-2563 โดยใหค า น้ำหนกั ผลงานของนิสติ และผูส ำเรจ็ การศึกษา
ตามเกณฑการประกนั คณุ ภาพ
32ระดบั ปริญญาโท ทีไ่ ดรบั การตพี ิมพ

เผยแพร ในป พ.ศ. 2562-2563 โดยให
คา นำ้ หนกั ตามเกณฑการประกันคณุ ภาพ

ภาพท่ี
8การเปรียบเทียบงบประมาณเงินรายได 37

ระหวา งปบญั ชี พ.ศ. 2562 และ 2563

9ภาพที่ การรับคำรองผานเคานเ ตอรบ รกิ าร

นสิ ติ ในรอบปก ารศกึ ษา 2563 และ 43
2562 จำแนกตามประเภทคำรอ ง

(4)

ปรัชญา วสิ ยั ทัศน และพนั ธกจิ แหง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

ปรชั ญา เเปกิดยนคสุทวถาาธมบศเันจาทริญี่สมีปงตณอรกิธงขาานอมมทงุงามบงั่นภณั ใูมนิปกฑญาริตญสวั่งาสททิ มี่เพเยสียาาบะลแพสัยรวองมหดาวแยลวะิชพากัฒานราคจวริยามธรรรูใหม

วิสยั ทัศน และคุณธรรม ตลอดจนเปนผูชี้นำทิศทางสืบทอดเจตนารมณที่ดีทางสังคม
พนั ธกิจ เพือ่ ความคงอยู ความเจริญ และความเปนอารยะของชาติ

มหาวิทยาลัยแหงการเรียนรู วิจัย และสรางนวัตกรรมระดับโลก
เพ่อื การพัฒนาอยางยั่งยืนบนพื้นฐานของศาสตรแ หง แผน ดิน

1. สรางองคความรูจากงานวิจัย นวัตกรรม และถายทอดเทคโนโลยีเพ่ือ
การพฒั นาและเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ

2. สรางสมรรถนะกำลังคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของประเทศและ
ของโลกในทุกชว งวยั

3. สรางตน แบบสังคมแหงการเรียนรู เพอื่ ยกระดบั คุณภาพชีวิต สังคมและ
ชมุ ชน

1

วิสัยทศั น พนั ธกิจ เปา หมายเชิงยทุ ธศาสตร ภารกจิ หลัก และคา นยิ มของบัณฑติ วทิ ยาลยั

วิสัยทัศน สนับสนุนและขับเคลื่อนงานระดับบัณฑิตศึกษาใหมีมาตรฐาน
ระดับสากล สงเสริมใหเกิดองคความรูและนวัตกรรมเพื่อการ
พัฒนาประเทศอยางยง่ั ยืน

พนั ธกิจ พันธกิจทส่ี อดคลองตามกลุมสถาบันอดุ มศึกษา ท่มี งุ ยุทธศาสตร
ดานการพัฒนาการวิจัยระดับแนวหนาของโลก (Global &
Frontier Research)

ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สงเสริม
และสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาถายทอดองคความรูและเทคโนโลยี
เปาหมาย ในการสรางโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อพัฒนา
เชิงยุทธศาสตร ขีดความสามารถของประเทศโดยใชความรูเปนฐาน

ภารกิจหลกั • ดแู ลคณุ ภาพและมาตรฐานของการผลติ บณั ฑติ
• สนบั สนุนคณาจารยใ นสาขาวชิ า/ภาควชิ า ใหม ีโอกาสทำงานอยางมี

ประสิทธิภาพและเต็มศักยภาพ
• ใหบรกิ ารแกนิสติ รวเร็วและพงึ พอใจ

คานยิ มบัณฑิตวิทยาลยั

Gentle Responsiveness Attention Dedication Synergy Motivation Improvement Loyalty Eagerness
มมี ติ ร บริการดี ใสใจ รกั ษา สามคั คี มุง มน่ั มกี ารพฒั นา ศรัทธา กา วไกล
ไมตรี ฉับไว ปญ หา มาตรฐาน รว มกัน ทำงาน รวมใจ ในสายงาน

2

ความเปนมาและพัฒนาการของบณั ฑิตวทิ ยาลยั

3

ทำเนยี บคณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลัย

ศ. ดร.ประเสริฐ ณ นคร
(10 ต.ค. 2509–30 เม.ย. 2512)

ศ. ดร.สงา สรรพศรี ศ. ดร.บรรเจดิ คติการ
(1 พ.ค. 2512–8 ธ.ค. 2513) (9 ธ.ค. 2514–14 พ.ค. 2527)
ผศ. ดร.ยงยุทธ เจียมไชยศรี รศ. ดร.สุรพล อปุ ดสิ สกุล
(15 พ.ค. 2527–14 พ.ค. 2531) (15 พ.ค. 2531–13 พ.ค. 2539)
ศ. ดร.ธรรมศักดิ์ พงศพิชญามาตย ศ. ดร.ทัศนยี  อัตตะนนั ทน
(14 พ.ค. 2539–13 พ.ค. 2543) (14 พ.ค. 2543–13 พ.ค. 2547)
รศ.วนิ ยั อาจคงหาญ รศ. ดร.กัญจนา ธรี ะกลุ
(14 พ.ค 2547–13 พ.ค 2551) (14 พ.ค. 2551–13 พ.ค. 2559)
รศ. ดร.สมหวงั ขนั ตยานวุ งศ รศ. ดร.ศรีจิตรา เจริญลาภนพรตั น
(14 พ.ค 2559–13 พ.ค 2563) (26 พ.ค. 2563 ถงึ ปจจบุ นั )

4

คณะผบู รหิ ารบัณฑติ วทิ ยาลัย

รศ. ดร.ศรีจิตรา เจริญลาภนพรัตน

คณบดีบณั ฑติ วทิ ยาลัย

ผศ. ดร.สรุ างค เห็นสวาง รศ. ดร.วีระภาส คณุ รตั นสิริ ผศ. ดร.ธีรศกั ด์ิ เอโกบล

รองคณบดีฝายอำนวยการ รองคณบดฝี า ยสารสนเทศ รองคณบดฝี ายมาตรฐานการศกึ ษา

ผศ. ดร.วชิ าญ มะวิญธร รศ. ดร.เอกสิทธิ์ โฆสิตสกลุ ชัย ผศ. ดร.ฆนทั นันท ทวีวัฒน

รองคณบดฝี า ยบริการการศกึ ษา รองคณบดบี ัณฑิตวิทยาลัย รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
วิทยาเขตกำแพงแสน วทิ ยาเขตศรรี าชา

5

คณะกรรมการประจำบณั ฑติ วทิ ยาลยั

ประธานกรรมการ

รศ. ดร.ศรจี ติ รา เจรญิ ลาภนพรตั น
คณบดบี ณั ฑิตวิทยาลัย

ผูทรงคณุ วฒุ ภิ ายใน

รศ. ดร.สมหวัง ขนั ตยานวุ งศ
รองอธกิ ารบดฝี า ยพัฒนาบัณฑิตขนั้ สงู และโครงการจดั ตง้ั วทิ ยาเขตสพุ รรณบุรี

ผแู ทนคณะกรรมการวิชาการ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

ผูทรงคุณวฒุ ภิ ายนอก

ศ. ดร.ทพญ.ศิริวรรณ สบื นกุ ารณ ศ. ดร.ภาวณิ ี ชนิ ะโชติ ศ. ดร.เทดิ ชาย ชวยบำรงุ รศ. ดร.ทพิ ยวมิ ล วังแกว หริ ญั

6

ผูแทนคณะท่ีเปด สอนหลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศึกษา

ผศ. ดร.สดุ สายสนิ แกว เรือง ผศ.น.สพ. ดร.สุเจตน ชื่นชม ผศ.น.สพ. ดร.สมคั ร สุจริต ผศ. ดร.เกรียงไกร พัทยากร
คณะเกษตร คณะเกษตร กำแพงแสน คณะเทคนิคการสตั วแพทย คณะทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

อตุ สาหกรรมเกษตร

ผศ. ดร.หฤทยั นำประเสรฐิ ชยั ผศ. ดร.ณรงคฤ ทธิ์ เมืองใหม อ. ดร.วณั ณนา สนุ ทรนฤรงั ษี ผศ. ดร.รัชนี โพธิแทน
คณะบรหิ ารธรุ กจิ คณะประมง คณะมนษุ ยศาสตร คณะวนศาสตร

อ. ดร.จุมพฏ บริราช ผศ. ดร.สธุ ารัตน โชติกประคัลภ ผศ. ดร.สิรพิ ร ศศมิ ณฑลกุล ผศ. ดร.จันทรเ พญ็ ตั้งจิตรเจริญกลุ
คณะวทิ ยาการจดั การ คณะวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรก ารกีฬา คณะวิทยาศาสตร ศรรี าชา

รศ. ดร.วชริ ะ จงบุรี ผศ. ดร.หทัยเทพ วงศส ุวรรณ ผศ. ดร.นัฎฐวิกา จนั ทรศ รี ผศ. ดร.วีรนุช แกว วิเศษ
คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวศิ วกรรมศาสตร กำแพงแสน คณะวิศวกรรมศาสตร ศรรี าชา คณะศลิ ปศาสตรและวิทยาศาสตร

7

ผูแทนคณะท่เี ปด สอนหลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา (ตอ )

ผศ. ดร.ปย ะนันท หริ ณั ยช โลทร ผศ. ดร.กุลธดิ า นุกลู ธรรม รศ. ดร.ประพณิ วดี ศิรศิ ภุ ลกั ษณ
คณะศกึ ษาศาสตร คณะศึกษาศาสตรแ ละพัฒนศาสตร คณะเศรษฐศาสตร

อ. ดร.สุธดิ า สัตยากร ผศ. ดร.เฉลมิ ขวัญ สิงหว ี ผศ.สพ.ญ. ดร.วราพร พิมพป ระไพ
คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะสงั คมศาสตร คณะสตั วแพทยศาสตร

ผศ. ดร.อรอนงค ผิวนิล ผศ. ดร.เทพกัญญา หาญศลี วัต อ. ดร.ฉัฐวฒั น ลมิ ปส รุ พงษ
คณะสิ่งแวดลอม คณะอตุ สาหกรรมเกษตร คณะศิลปศาสตรแ ละวิทยาการจัดการ

เลขานุการ

นางโสภา อนิ ทรณุ
หวั หนา สำนกั งานเลขานกุ าร บณั ฑิตวทิ ยาลยั

8

ภารกิจ การบรหิ าร และการขบั เคลื่อนองคก ร

บณั ฑติ วิทยาลัย เปนสวนราชการท่จี ัดต้งั ตามพระราชกฤษฎีกาการแบงสว นราชการของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
มีฐานะเปนคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อยูภายใตการบังคับบัญชาของคณบดี มีรองคณบดีและ
หัวหนา สำนักงานเลขานุการ ทำหนาทร่ี ับผิดชอบงานดานตาง ๆ และมีคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย เปนท่ีปรึกษา
โดยมวี ัตถุประสงค การดำเนินงานเชิงรุก การบริหารและการขับเคลือ่ นองคกร ดังนี้

วตั ถุประสงค

พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของการผลติ บณั ฑิตในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา

สง เสรมิ และสนับสนุนคณาจารยแ ละนสิ ติ บัณฑติ ศึกษาใหมโี อกาส
ทำงาน/เรียน ภายใตท รัพยากรทีม่ ีอยใู หเ ต็มศักยภาพ
พัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
ประหยัด คลองตัว โปรงใสและตรวจสอบได เนนความเปนธรรมใหแก
บคุ ลากร และสรางเสรมิ จิตสำนึกท่ตี องรับผิดชอบตอ สงั คม

การดำเนนิ งานเชิงรกุ

นวัตกรรมทางวชิ าการ การเผยแพรแลกเปลยี่ น ความโดดเดนในดานการวิจัย
ผใวรนะลิ ชหดงาลาั บชานยวี พบกิจลแั ณัยมุ ลรสฑะะาผดิ ตขับลศานิวึตกชิาบษนาัาณาหชฑาริตื ตอิ
Academic Disseminatioอnงคค วามรู
Splendid
นวตั กรรมการวิจยั Research การกำกับดูแล
อยา งมมี าตรฐาน

Standards

Globalization

มติ คิ วามเปนสากล Utmost

Profoundness Leadpershi งานวิจัยขั้นสูงที่ชวยพัฒนา
ประเทศใหเ กิดนวัตกรรมใหมๆ
ความกาวหนา ทางวชิ าการ
ที่ลมุ ลึกในสาขาวิชาการตา งๆ

ผูนำทางความคิดของประเทศในระดับ
บัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญา
เอก หรอื หลงั ปรญิ ญาเอก

9

การบรหิ าร และการขบั เคล่อื นองคก ร

การบริหารและการขับเคลื่อนองคกรของบัณฑิตวิทยาลัย ตั้งอยูบนพื้นฐานหลักธรรมาภิบาล โปรงใส และ
การมีสว นรว ม โดยมีคณะกรรมการจากคณะตา ง ๆ และผูทรงคณุ วุฒิ ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั ดงั น้ี

คณะกรรมการประจำบณั ฑิตวิทยาลยั
ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วาดวยคณะกรรมการ
ประจำสวนงาน พ.ศ. 2563 ประกอบดวย คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เปนประธาน
กรรมการ ผูแทนคณะหรือวิทยาลัย ในสังกัดของมหาวิทยาลัย ที่เปดสอนหลักสูตร
ระดับบัณฑิตศึกษา และผูทรงคุณวุฒิ เปนกรรมการ แตงตั้งโดยมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ปฏิบัติหนาที่ตั้งแตวันที่ 13 ตุลาคม
พ.ศ. 2563 เปน ตน ไป มวี าระการดำรงตำแหนง 2 ป
คณะกรรมการประจำบัณฑติ วิทยาลยั มีหนาทแ่ี ละอำนาจ ดงั น้ี

วางนโยบาย จัดทำแผนพัฒนาสวนงานและแผนปฏิบัติการของสวนงานให
แสลอดะทครลัพอ ยงกสบัินนโยบายของสภามหาวิทยาลัย รวมถงึ การงบประมาณการเงิน
วางระเบียบและออกขอบังคับภายในสวนงานตามที่สภามหาวิทยาลัย
มอบหมายหรือ เพอื่ เสนอตอ สภามหาวิทยาลัยหรอื มหาวทิ ยาลยั พิจารณา

ภารกจิ ดานการจดั การศึกษา ใหม หี นาทดี่ งั น้ี

(ก) พิจารณาเกยี่ วกับหลกั สตู รและจดั ทำรายละเอียดเกีย่ วกบั หลักสตู ร เพอื่ เสนอตอ
คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร (ก.ว.ช.) เพอื่ พจิ ารณาเสนอ
สภามหาวทิ ยาลยั ตอ ไป

(ข) เสนอเรือ่ งที่เก่ียวกับการดำรงตำแหนง ทางวิชาการของคณาจารยใ นคณะหรอื วทิ ยาลัย
ตอมหาวิทยาลยั

สงเสริมงานวจิ ยั งานบรกิ ารวชิ าการแกสงั คม และงานทำนบุ ำรงุ ศิลปะและ
วฒั นธรรม

ใหค ำปรกึ ษาและเสนอความเห็นตอ หัวหนา สว นงาน

ปฏิบตั ิงานอืน่ ทีเ่ ก่ียวกับกิจการของสวนงาน หรอื ตามทีอ่ ธิการบดี หรอื
สภามหาวทิ ยาลยั มอบหมาย

10

คณะกรรมการสนบั สนนุ การศกึ ษา มหาวิทยแาตลง ัยตเัง้กโษดตยรศาสตร
ตามคำสง่ั ที่ 1076/2563
แตง ต้งั โดย บณั ฑติ วทิ ยาลยั ลงวันท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ.2563
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสง่ั ที่ 2684/2563
ลงวันท่ี 7 ธันวาคม พ.ศ.2563

ปมรหะกาวาศทิ โยดายลยั บเณักษฑติตรวศิทายสาตลรยั
ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2563

แตง ตง้ั โดย บณั ฑติ วิทยาลยั
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสงั่ ที่ 2074/2563
ลงวนั ท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ.2563

มหาวิทยแาตลง ัยตเั้งกโษดตยรศาสตร
ตามคำสง่ั ท่ี 1696/2563
ลงวันท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ.2563

คณะกรรมการพฒั นาการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษาและระบบสารสนเทศ

แตงตง้ั โดย บัณฑติ วทิ ยาลัย แตงต้งั โดย บัณฑติ วทิ ยาลัย ประกาศ บณั ฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสง่ั ที่ 2113/2563 ลงวันท่ี 24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563
ลงวันที่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 คำสง่ั ท่ี 2115/2563
ลงวันที่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2563
01
02 04
คณะกรรมการ คณะกรรมการดำเนินงาน
ระบบสารสนเทศ คณะกรรมการนโยบาย โครงการจดั การเรยี นการสอน
บัณฑติ วทิ ยาลัย และบริหารจัดการ 03 เพ่อื พัฒนาศักยภาพวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยานิพนธ ระดับบณั ฑติ ศึกษา (Graduate 05
(iThesis) Study for Potential
คณะกรรมการดำเนนิ งาน Professionals : GSPP) คณะกรรมการพลิกโฉม
โครงการจดั การเรยี นการสอน
เพ่อื พัฒนาศักยภาพวชิ าชีพ หลกั สูตรระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา
ระดบั บณั ฑติ ศึกษาในรปู แบบ ผา นการขบั เคลือ่ น
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส นโยบายเชิงรุก
(E-courseware) GradsPLUS Sandbox

แตง ตัง้ โดย บัณฑิตวทิ ยาลัย แตงตั้งโดย บัณฑิตวิทยาลยั
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

คำสั่งท่ี 2114/2563 คำสัง่ ท่ี 2331/2563
ลงวนั ที่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2563

11

คณะกรรมการบริหารงาน

การมอบหมายและแตง ตั้งบคุ คล
ใหปฏบิ ตั ิภารกจิ หัวหนางาน

แตงตง้ั โดย บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสงั่ ท่ี 0022/2563 ลงวันท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2563
และคำสัง่ ท่ี 2156/2563 ลงวนั ที่ 16 กนั ยายน พ.ศ. 2563

คณะกรรมการบรหิ ารงานบคุ คล
สำหรบั พนกั งานมหาวิทยาลัยเงนิ รายได
ของบัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร

แตง ตั้งโดย บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสั่งท่ี 1989/2563 ลงวนั ท่ี 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

คณะกรรมการกลัน่ กรองผลการปฏิบตั งิ าน
ของบคุ ลากรบัณฑิตวิทยาลยั

แตงต้งั โดย บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสงั่ ที่ 2705/2563 ลงวันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

คณะกรรมการทำนบุ ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม

แตง ตั้งโดย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำส่ังที่ 2706/2563 ลงวนั ที่ 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

คณะทำงานดา นการจดั การความรู
ของบณั ฑติ วิทยาลัย

แตงตัง้ โดย บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำส่ังท่ี 2704/2563 ลงวันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

คณะทำงานดา นพลงั งาน

แตงตงั้ โดย บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำสัง่ ท่ี 2707/2563 ลงวันที่ 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

คณะทำงานโครงการเสวนาพัฒนาบัณฑติ วทิ ยาลยั

แตง ตงั้ โดย บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
ตามคำส่ังที่ 0273/2564 ลงวนั ท่ี 23 มีนาคม พ.ศ. 2564

12

โครงสรางการบรหิ ารงานบณั ฑิตวทิ ยาลยั

13

อตั รากำลังบุคลากรบณั ฑิตวิทยาลยั

จำนวนอัตรากำลังบคุ ลากร จำแนกตามงาน

งาน พนเปักลง่ียานนมสหถาานวทิภยาพาลยั พนักงานมหาวทิ ยาลยั พนักงานมหาวทิ ยาลยั ลกู จา งประจำ รวม
เงนิ รายได

สำนักงานเลขานกุ าร - นกั วิชาการศึกษา - นักวิชาการเงินและบัญชี - นักวิชาการเงินและบัญชี 1 อตั รา
งานคลังและพสั ดุ ชำนาญการพเิ ศษ 1 อัตรา ปฏบิ ตั ิการ 2 อัตรา ปฏบิ ตั กิ าร 1 อัตรา
- นักวิชาการเงนิ และบัญชี - นกั วิชาการพัสดุ - นักวิชาการพัสดุ 7 อตั รา
ชำนาญการพเิ ศษ 1 อัตรา ปฏบิ ตั กิ าร 1 อตั รา ปฏบิ ัติการ 1 อัตรา 12 อตั รา
- ผูปฏิบตั งิ านบริหาร
- นักวิชาการศึกษา - นักวิชาการศึกษา ปฏบิ ตั กิ าร 1 อตั รา 10 อตั รา
ชำนาญการ 2 อัตรา - เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป 2 อตั รา
งานบริการการศึกษา ชำนาญการ 1 อตั รา - นกั วิชาการศึกษา ปฏบิ ตั กิ าร 1 อัตรา 9 อตั รา
ปฏบิ ตั กิ าร 1 อัตรา - นักวิชาการศึกษา 6 อตั รา
งานบริหารและ - ผปู ฏบิ ัติงานบรหิ าร - เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป ปฏิบตั ิการ 7 อตั รา - พนักงาน 2 อตั รา
ธุรการ ชำนาญงาน 1 อัตรา ชำนาญการ 1 อัตรา - เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป ขบั รถยนต 2 อตั รา
- นักทรัพยากรบุคคล ปฏิบัตกิ าร 1 อตั รา 1 อตั รา 51 อตั รา
งานนโยบายและ - นกั วเิ คราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ 1 อตั รา - ผปู ฏบิ ตั ิงานบรหิ าร
ประสานงานวทิ ยาเขต ชำนาญการ 1 อตั รา ปฏบิ ัตกิ าร 2 อตั รา 1 อตั รา
- นกั วิชาการศึกษา - พนักงานขบั รถยนต 1 อัตรา
งานมาตรฐานการศึกษา ชำนาญการ 2 อัตรา - พนกั งานทัว่ ไป 2 อัตรา
- นักวิชาการศึกษา - เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป
งานสารสนเทศ - นกั วชิ าการศึกษา ปฏบิ ตั ิการ 2 อตั รา ปฏิบัตกิ าร 1 อัตรา
ชำนาญการ 1 อตั รา - นักวิชาการศึกษา
- นักวชิ าการคอมพิวเตอร ปฏิบัติการ 5 อัตรา
สำนักงานบณั ฑิตวิทยาลัย 6 อตั รา ชำนาญการ 1 อัตรา
วิทยาเขตกำแพงแสน - นักประชาสัมพันธ
- เจา หนา ท่บี ริหารงานทั่วไป ปฏบิ ัตกิ าร 1 อัตรา
สำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย ชำนาญการ 1 อัตรา - นกั วิชาการคอมพิวเตอร
วทิ ยาเขตศรีราชา - นักวิชาการคอมพวิ เตอร ปฏิบตั กิ าร 3 อตั รา
ชำนาญการ 1 อัตรา
รวม - เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป
15 อตั รา ปฏบิ ัติการ 1 อตั รา

- เจา หนาท่บี ริหารงานทั่วไป
ปฏิบตั กิ าร 1 อตั รา

29 อตั รา

หมายเหตุ: ขอ มูล ณ วนั ที่ 15 สงิ หาคม 2564

14

จำนวนอัตรากำลงั บคุ ลากร จำแนกตามสถานภาพและกลมุ งาน

ปจจบุ นั 51 อัตรา

(ขอมลู ณ วนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2564)

กลุม อำนวยการ จำนวน 5 อัตรา 1 อตั รา กลุมงานบรกิ าร จำนวน 1 อตั รา
- นักวิเคราะหน โยบายและแผน 1 อัตรา - ผปู ฏิบัติงานบรหิ าร 1 อตั รา
- นักวิชาการเงินและบัญชี 3 อัตรา
- นกั วิชาการศึกษา

กลุมอำนวยการ จำนวน 13 อัตรา กลมุ วชิ าชพี จำนวน 2 อัตรา 2 อตั รา
- เจาหนาทบี่ รหิ ารงานท่วั ไป 2 อัตรา - นกั วิชาการคอมพิวเตอร
- นักวิชาการเงินและบญั ชี 2 อตั รา
- นกั วิชาการพัสดุ 1 อัตรา
- นกั วิชาการศึกษา 7 อัตรา
- นักทรพั ยากรบุคคล 1 อัตรา

กลมุ อำนวยการ จำนวน 20 อตั รา กลมุ วชิ าชีพ จำนวน 3 อัตรา
- เจา หนาทบ่ี ริหารงานทั่วไป 4 อัตรา -กลนมุกั งวาิชนาบกรากิรคารอมจพำนิววเตนอร3 อัตรา 3 อตั รา
- นักวชิ าการพัสดุ 1 อัตรา
- นักวิชาการศึกษา 13 อตั รา - ผูป ฏิบัติงานบริหาร 3 อตั รา
- นกั ประชาสัมพนั ธ 1 อัตรา กลมุ งานบริการพ้ืนฐาน จำนวน 2 อตั รา
- นกั วิชาการเงนิ และบญั ชี 1 อัตรา ก-ลพมุ นงักางนาสนนทบั ่วั สไนปุน จำนวน 1 อตั รา2 อตั รา

- พนกั งานขับรถยนต 1 อตั รา

กลุมงานสนับสนุน จำนวน 1 อัตรา
- พนกั งานขบั รถยนต 1 อตั รา

ช่ือตำแหนง

เจา หนา ท่บี ริหารงานทั่วไป 6 คน (รอ ยละ 11.76)
นักทรพั ยากร 1 คน (รอยละ 1.96)
บนุคกั คปลระชาสัมพนั ธ 1 คน (รอ ยละ 1.96)
นกั วเิ คราะหนโยบายและแผน 1 คน (รอยละ 1.96)
นกั วิชาการคอมพิวเตอร
นกั วิชาการเงินและบญั ชี 5 คน (รอ ยละ 9.80)
นักวิชาการพสั ดุ 4 คน (รอยละ 7.84)
2 คน (รอยละ 3.92)

นักวิชาการศึกษา 4 คน (รอยละ 7.84) 23 คน (รอ ยละ 45.10)
ผูปฏบิ ตั ิงานบรหิ าร 2 คน (รอ ยละ 3.92)
พนกั งานขับรถยนต 2 คน (รอยละ 3.92) จำนวน (คน)
พนักงานทั่วไป

15

หลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา

ลักษณะของหลกั สตู ร

หลกั สตู รดุษฎีบณั ฑิต 2แบบ ทำวเรทิ ยี ยนารนาิพยนวธชิ แาละ
แบบ 2.1 รบั นิสิตจบปริญญาโท
1แบบ
ทำวิทยานิพนธ
แบบ 1.1 รับนิสติ จบปริญญาโท

แบบ 1.2 รบั นสิ ติ จบปรญิ ญาตรี แบบ 2.2 รับนิสติ จบปริญญาตรี

กแผน หลกั สูตรมหาบัณฑติ
แบบ ก 1 ทำวิทยานิพนธ แบบ ก 2 ทำวิทยานพิ นธแ ละเรียนรายวชิ า
สามารถมีไดมากกวา 1 แบบ และไมเกิน 5 แบบ โดยพิจารณาเลือก
ขแผน จากสัดสวนของวิชาหลักและวิทยานิพนธที่เหมาะสมกับผูเรียนและ
ทำการศึกษาคนควาอสิ ระ ลักษณะของการวิจัย (Tailor Made) โดยสภา มก. อนุมัติโครงสราง
และเรยี นรายวิชา หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2 จำนวน 5 แบบ ในการประชุม
ครั้งที่ 12/2563 เมอื่ วันที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

ขแผน

สรุปจำนวนหลักสตู รเปด ใหม หลกั สตู รปรับปรุง และโครงการพิเศษ

ปก ารศึกษา 2563 บณั ฑติ วทิ ยาลัยทำการวิเคราะห สนบั สนุน และดำเนินการตามข้ันตอนในการเปดหลักสูตรใหม
หลกั สตู รปรบั ปรงุ และโครงการพิเศษ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา ดงั น้ี

หลักสตู รใหม หลกั สตู รปรับปรุง

ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ
1 หลกั สูตร

ดษุ ฎบี ณั ฑติ 7 หลักสูตร 81 หลักสูตร
4 หลักสูตร
7 หลักสตู ร มหาบณั ฑิต ดุษฎีบณั ฑิต มหาบณั ฑติ
28 หลกั สตู ร 52 หลกั สตู ร
3 หลักสตู ร

โครงการพิเศษ

ดษุ ฎบี ณั ฑติ 7 โครงการ ประกาศนียบตั รบณั ฑติ
1 โครงการ 1 โครงการ

มหาบณั ฑิต รายละเอียดขอ มูล
5 โครงการ

16

สรุปจำนวนหลักสตู ร/โครงการพิเศษท้งั หมด จำแนกวทิ ยาเขต

จำนวนหลกั สตู รทัง้ หมด (หลักสูตรภาษาไทย และหลักสตู รนานาชาต)ิ

259 หลกั สตู ร บางเขน 202 หลักสูตร

ปรญิ ญาเอก 69 (8), ปรญิ ญาโท 113 (9), ประกาศนยี บัตรบัณฑิต 2,
ประกาศนียบตั รชัน้ สูง 1

กำแพงแสน 45 หลกั สูตร

ปริญญาเอก 15 (2), ปรญิ ญาโท 26 (2)

ศรรี าชา 8 หลกั สตู ร

ปริญญาเอก 1, ปริญญาโท 7

เฉลมิ พระเกียรติ จ.สกลนคร 4 หลกั สตู ร

ปริญญาโท 4

หมายเหต:ุ ( ) หลักสตู รนานาชาติ

จำนวนโครงการพเิ ศษทั้งหมด

98 โครงการ บางเขน 83 โครงการ

ปริญญาเอก 15, ปริญญาโท 66, ประกาศนยี บตั รบัณฑติ 2

กำแพงแสน 8 โครงการ

ปรญิ ญาเอก 1, ปริญญาโท 7

ศรรี าชา 5 โครงการ

ปรญิ ญาเอก 1, ปริญญาโท 4

เฉลมิ พระเกยี รติ จ.สกลนคร 2 โครงการ

ปรญิ ญาโท 2

รายละเอียดขอ มลู

17

โครงการความรวมมือของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร กับสถาบันอุดมศกึ ษาตางประเทศ

โครงการจัดการเรียนการสอนสองปริญญา (Double/Dual
Degree Program)

ในปการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีความ
รวมมือจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสองปริญญา (Double/Dual
Degree Program) ระดบั บัณฑติ ศึกษากบั สถาบันอุดมศึกษาตางประเทศ
ซ่งึ เปน โครงการใหม จำนวน 2 โครงการ เปน ระดบั ปรญิ ญาโท 2 โครงการ
และมีการยกเลิกโครงการในระดับปริญญาโท จำนวน 1 โครงการ
เมื่อรวมกับโครงการในชวงปการศึกษา 2557-2563
มีจำนวนทัง้ สิ้น 36 โครงการ เปนระดับปริญญาเอก 8 โครงการ และระดับปริญญาโท 28 โครงการ
โดยมีความรวมมือกับประเทศตาง ๆ คือ เครือรัฐออสเตรเลีย ประเทศญี่ปุน ประเทศเนเธอรแลนด
สหพันธรัฐมาเลเซีย สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรฐั ฝรง่ั เศส สาธารณรฐั ฟล ปิ ปน ส สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
รายละเอียดขอ มูล

โครงการจัดการเรียนการสอนหลกั สูตรรว มปรญิ ญา (Joint Degree Program)

ในปการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีความรวมมือจัดการเรียน
การสอนหลักสูตรรวมปริญญา (Joint Degree Program) ระดับบัณฑิตศึกษากับ
สถาบันอุดมศึกษาตางประเทศ ซึ่งเปนโครงการใหม จำนวน 1 โครงการ เปนโครงการ
ระดบั ปริญญาโท เมื่อรวมกับโครงการในชวงปการศึกษา 2561-2563 มีจำนวนท้ังส้ิน
3 โครงการ เปนระดับปริญญาเอก 1 โครงการ และระดับปริญญาโท 2 โครงการ
โดยมคี วามรว มมือกับประเทศญ่ีปุน

จำนวน (โครงการ) 36 ในชว งปการศกึ ษา 2557-2563 39
40

35 30

30 28

25 ปปรรญิิญญญาาเโอทก
รวม

20

15 123 9 โครงการ

10 8 Joint Degree รวม

5 18
0

Double/Dual Degree

โครงการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาศักยภาพวิชาชพี ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา (GSPP)

โครงการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพวิชาชีพระดับบัณฑิตศึกษา (Graduate Study for
Potential Professionals : GSPP) เปนโครงการที่บัณฑิตวิทยาลัยจัดทำขึ้นเพื่อสนับสนุนการศึกษาตลอดชีพ
(Lifelong Education) อันสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคมท่ี
เขาสสู ังคมผูสงู วยั (Aging Society) ของประเทศไทย ซงึ่ เปด โอกาสใหผสู นใจเลอื ก
เรียนรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไดโดยไมจ ำกดั อายุผูเรียน และสามารถเก็บหนวย
กติ สำหรับเขาศึกษาตอระดับบณั ฑติ ศึกษาได

ปการศึกษา 2563 มีคณะเขารวมโครงการท้ังสิน้ 25 คณะ รวม 128 สาขาวิชา โดยแบงเปนระดับปริญญาเอก
29 สาขาวิชา และระดับปรญิ ญาโท 99 สาขาวชิ า

GSPP บณั ฑิตวทิ ยาลยั โครงการสหวทิ ยาการ คณะวิศวกรรมศาสตร กำแพงแสน
คณะเกษตร คณะวศิ วกรรมศาสตรศรรี าชา
คณะศึกษาศาสตร
คณะเกษตร กำแพงแสน คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร
คแณละะอทตุ รสพั ายหากกรรรธมรเรกมษชตารติ คณะเศรษฐศาสตร
คณะเทคนคิ การสตั วแพทย คณะเศรษฐศาสตรศรรี าชา
คณะบรหิ ารธรุ กจิ คณะสถาปตยกรรมศาสตร
คณะสังคมศาสตร
คณะมนุษยศาสตร คณะสตั วแพทยศาสตร
คณะวนศาสตร คณะส่งิ แวดลอม
คณะวิทยาการจดั การ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
วิทยาลยั บรู ณาการศาสตร
คณะวทิ ยาศาสตร
คณะวทิ ยาศาสตรศรรี าชา
คณะวทิ ยาศาสตรก ารกฬี า
คณะวิศวกรรมศาสตร

รายละเอียดขอ มูล

ทง้ั นี้ ท่ปี ระชมุ คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลยั คร้งั ท่ี 7/2563 วันพฤหสั บดีที่ 17 กนั ยายน พ.ศ. 2563
ไดเ หน็ ชอบใหขออนมุ ัติการใชท ุกรายวชิ าท่ีมีในหลกั สูตรฯ รวมท้ังรายวิชาปรับปรุงและรายวิชาเปดใหมท เ่ี พ่ิมเติมมาใน
ภายหลัง ยกเวนรายวิชา xxxxx595 xxxxx597 xxxxx599 xxxxx697 และ xxxxx699 เพื่อเขาโครงการจัดการเรียน
การสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพวิชาชีพระดับบัณฑิตศึกษา (Graduate Study for Potential Professionals: GSPP)
ทั้งนี้ในแนวปฏบิ ตั ิ ทางบัณฑิตวิทยาลัยจะมีการสอบถามไปยังสาขาวิชาวา จะมีความประสงคเปดสอนรายวิชาใดในแตละ
ภาคการศึกษา

19

การผลติ บณั ฑติ

คุณสมบัติของผมู สี ิทธิ์เขาศกึ ษา

คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
มีรายละเอียดตามขอบังคับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2559 (หมวด 1 การรับเขาศกึ ษา ขอ 6) ดังน้ี

1. หลกั สูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑิต
สำเร็จการศกึ ษาหรือกำลงั ศกึ ษาในปก ารศึกษาสดุ ทา ย ระดบั ปรญิ ญาตรีหรือเทียบเทา

2. หลักสูตรปรญิ ญาโท
สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาในภาคการศึกษาสุดทาย ระดับปรญิ ญาตรีหรือเทียบเทา และมีผลการสอบ

ภาษาองั กฤษไดต ามเกณฑท ่ีมหาวทิ ยาลยั กำหนด
3. หลักสตู รประกาศนียบตั รบัณฑติ ขัน้ สูง
สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาในภาคการศึกษาสุดทาย ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือระดับ

ปริญญาตรีทมี่ ีระยะเวลาการศึกษา 6 ป หรอื ระดับปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทา
4. หลักสตู รปรญิ ญาเอก
สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาในภาคการศึกษาสุดทาย ระดบั ปรญิ ญาตรหี รือเทียบเทา ทมี่ ีผลการเรียน

ดีมาก หรอื ปริญญาโทหรือเทียบเทา และมผี ลการสอบภาษาอังกฤษไดต ามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกำหนด
5. มคี ุณสมบัติอ่ืนตามที่กำหนดไวในหลกั สตู ร
6. ไมม ีลกั ษณะตองหามดงั ตอ ไปน้ี
6.1 เปนผมู ีความประพฤติเสยี หายอยางรา ยแรง
6.2 เปน คนวกิ ลจริต
6.3 เปนโรคติดตอ รา ยแรงหรือเปนโรคสำคญั ท่ีจะเปน อุปสรรคขัดขวางตอการศกึ ษา
6.4 ถูกคัดชื่อออกจากสถานศึกษาเพราะกระทำความผิดทางวินัย
การรับสมคั ร ใบสมคั ร และหลกั ฐาน ใหเปน ไปตามประกาศของบณั ฑติ วิทยาลัย ในแตละภาคการศกึ ษา

20

การรับนสิ ติ ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา

การรับนสิ ติ ระดับบัณฑิตศึกษา ปก ารศกึ ษา 2563 จะเปดรับสมคั รท้งั ภาคตน และภาคปลาย ดงั น้ี

กำหนดการเปด รบั สมัคร

บัณฑิตวทิ ยาลยั ดำเนนิ การเปด รบั สมคั รนิสิตเขา ศึกษาตอระดับบัณฑติ ศึกษา โดยมกี ำหนดการ ดังน้ี

พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 ม.ี ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
. .
ต.ค พ.ย. ธ.ค ม.ค. ก.พ. ภาคปลาย
ภาคตน รอบสาม (17 ส.ค.–16 ต.ค.)
ภาคตน รอบแรก ภาคตน รอบสอง (18 พ.ค.–12 ม.ิ ย.)
(7 ต.ค.–6 ธ.ค.) (17 ก.พ.–13 ม.ี ค.)

จำนวนสาขาวิชาท่เี ปดรับสมัคร จำแนกตามระดบั ปริญญาและวิทยาเขต

บัณฑิตวิทยาลัยเปดรับสมัครนิสิตเขาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2563 หลักสูตรภาคปกติ และ
ภาคพเิ ศษ โดยแบง สาขาวิชาที่เปด รับนิสิตเปน ระดับปรญิ ญาเอก ปริญญาโท และประกาศนยี บัตรบัณฑติ ดงั น้ี

จำนวน (สาขาวิชา) หลกั สตู ร รวม ป.เอก ป.โท ป.บัณฑติ

300 220274 ภาษาไทย
หลักสตู ร
250 226857 นานาชาติ

200 193 113489
181 7646
17 8 9 2
150
บางเขน
100 92 2 5427 11286 3341 7 4 วิทยาเขต
82 5 3
50 ศรีราชา เฉลจมิ.สพกรละนเกคียรรติ
10 12 กำแพงแสน
0 22
รวม

21

จำนวนผูส มัครและผูมสี ิทธ์เิ ขาศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา จำแนกตามระดับปรญิ ญา

จำนวนผูสมคั ร (รวม) จำนวนผมู ีสทิ ธ์ิเขาศึกษา (รวม)

ระดบั ปรญิ ญา 4,051 ระดบั ปรญิ ญา 3,087

รวม รวม

ป.เอก 429 ป.เอก 297

ป.โท 3,596 ป.โท 2,764

ป.บณั ฑิต 26 1,200 1,800 2,400 3,000 3,600 4,20จ0ำนวน (คน) ป.บณั ฑติ 26

0 600 0 600 1,200 1,800 2,400 3,000 3,600 4,20จ(0คำนน)วน

จำนวนผูส มัคร (ไทย) จำนวนผูมีสิทธเ์ิ ขาศึกษา (ไทย)

ระดบั ปรญิ ญา 3,968 ระดับปรญิ ญา 3,007

รวม รวม

ป.เอก 405 ป.เอก 276

ป.โท 3,539 ป.โท 2,707

ป.บัณฑิต 24 ป.บัณฑิต 24

0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,00จ0ำนวน 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,00จ0ำนวน (คน)

จำนวนผูส มัคร (ตางชาติ) จำนวนผมู สี ิทธเ์ิ ขาศึกษา (ตางชาติ)

ระดับปริญญา 83 ระดบั ปริญญา 80

รวม รวม

ป.เอก 24 ป.เอก 21

ป.โท 57 ป.โท 57

ป.บณั ฑิต 2 ป.บณั ฑติ 2

0 20 40 60 80 100จำนวน (คน) 0 20 40 60 80 100จำนวน (คน)

22

จำนวนผูสมคั รและผูมีสิทธ์เิ ขา ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษาในรอบ 5 ป

ตารางที่ 1 จำนวนผสู มัครและผมู ีสิทธิเ์ ขา ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษาในรอบ 5 ป จำแนกตามสายวชิ า วิทยาเขต และคณะ

สายวิชา / วทิ ยาเขต / คณะ จำนวนผสู มคั ร จำนวนผมู สี ิทธเิ์ ขา ศกึ ษา

2559 2560 2561 2562 2563 2559 2560 2561 2562 2563

รวมท้งั หมด 5,107 4,710 4,790 4,150 4,051 3,295 3,046 3,262 3,113 3,087
สายวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 2,400 2,176 2,114 1,955 1,906 1,789 1,705 1,696 1,679 1,605
บางเขน 2,060 1,792 1,715 1,623 1,562 1,505 1,387 1,363 1,369 1,302
โครงการสหวิทยาการระดบั บัณฑติ ศึกษา 26 32 32 18 33 14 24 27 21 24
คณะเกษตร 308 225 196 179 146 221 179 153 153 110
คณะเทคนคิ การสตั วแพทย 8 1 2 12 5 8 1 2 12 5
คณะประมง 60 65 84 59 59 53 58 72 55 52
คณะวนศาสตร 140 113 138 129 106 114 97 106 107 92
คณะวิทยาศาสตร 318 290 280 230 238 239 196 203 184 181
คณะวิศวกรรมศาสตร 768 716 693 714 707 525 540 557 584 617
คณะสถาปต ยกรรมศาสตร 29 36 19 24 34 26 31 17 20 26
คณะสตั วแพทยศาสตร 47 38 35 28 26 35 33 31 26 23
คณะสิ่งแวดลอม 78 80 47 48 48 60 66 39 39 37
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 278 196 189 182 160 210 162 156 168 135
วิทยาเขตกำแพงแสน 227 272 272 246 246 196 232 222 216 216
โครงการสหวทิ ยาการระดบั บัณฑติ ศึกษา 13 16 21 6 6 12 12 17 3 5
คณะเกษตร กำแพงแสน 116 114 102 118 90 100 96 92 104 84
คณะวิทยาศาสตรก ารกีฬา 26 24 33 35 17 11 25 26
คณะวศิ วกรรมศาสตร กำแพงแสน 31 79 63 42 50 26 73 53 39 46
คณะศลิ ปศาสตรแ ละวิทยาศาสตร 42 24 42 27 35 36 22 34 27 30
คณะสตั วแพทยศาสตร 25 13 20 20 30 22 12 15 18 25
วทิ คยณาเะขวตทิ ศยราีรศาาชสาตร ศรรี าชา 76 69 81 60 65 57 48 68 67 58
7 12 1 5121
คณะวิศวกรรมศาสตร ศรรี าชา 76 62 80 58 64 57 43 67 65 57
วิทยาเขตเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวัดสกลนคร 37 43 46 26 33 31 38 43 27 29
คณะทรัพยากรธรรมชาตแิ ละอตุ สาหกรรมเกษตร 3 9 8 2 7 3 8 8 4 6
คณะวทิ ยาศาสตรแ ละวิศวกรรมศาสตร 23 20 17 4 8 19 19 15 8 8
คณะสาธารณสุขศาสตร 11 14 21 20 18 9 11 20 15 15
สายสงั คมศาสตร 2,707 2,534 2,676 2,195 2,145 1,506 1,341 1,566 1,434 1,482
บางเขน 2,543 2,383 2,498 2,077 1,940 1,363 1,215 1,421 1,273 1,301
คณะบรหิ ารธรุ กิจ 1,058 960 719 557 493 380 283 270 300 265
คณะมนุษยศาสตร 170 154 182 195 233 82 85 104 135 175
คณะศึกษาศาสตร 478 585 856 687 615 270 310 480 358 386
คณะเศรษฐศาสตร 434 431 425 311 269 360 358 355 238 209
คณะสังคมศาสตร 403 253 316 327 330 271 179 212 242 266
วิทยาเขตกำแพงแสน 28 24 33 46 70 23 18 23 39 56
คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร 28 24 33 46 70 23 18 23 39 56
วิทยาเขตศรีราชา 93 91 111 65 114 88 74 92 86 104
คณะวิทยาการจัดการ 51 45 67 48 69 47 33 49 56 63
คณะเศรษฐศาสตร ศรีราชา 42 46 44 17 45 41 41 43 30 41
วทิ ยาเขตเฉลิมพระเกยี รติ จังหวัดสกลนคร 43 36 34 4 21 32 34 30 36 21
คณะศลิ ปศาสตรแ ละวทิ ยาการจดั การ 43 36 34 4 21 32 34 30 36 21

หมายเหต:ุ ขอมูล ณ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2564

23

จำนวนผูเ ขา รวมโครงการเรยี นลว งหนาระดับบณั ฑิตศึกษา จำแนกตามภาคการศกึ ษา

จำนวน (คน) 63 รวม ภาคตน ภาคปลาย
80 39
633 ภาคการศกึ ษา
70 69 27
ภาคปลาย
60 ภาคตน

50 42

40

30 27

20

10

0 รวม

จำนวนสาขาวิชาทเ่ี ขารวมโครงการเรยี นการสอนเพ่อื พฒั นาศักยภาพวชิ าชีพระดบั บัณฑิตศกึ ษา
(Graduate Study for Potential Professionals: GSPP)

คณะประมง คณะอุตสาหกรรม คณะสงั คมศาสตร คณะสิ่งแวดลอ ม คณะเทคนิค คณะสตั วแพทยศาสตร
เกษตร การสตั วแพทย
- วิทยาศาสตรท างทะเล - จิตวทิ ยาอุตสาหกรรม - จุลชวี วทิ ยาทางการสัตวแพทย
- พัฒนาผลติ ภัณฑ และองคก าร - เทคโนโลยแี ละการจัดการ - เทคโนโลยสี ขุ ภาพสตั ว - เภสัชและพิษวิทยาทางการสัตวแพทย
อตุ สาหกรรมเกษตร สิ่งแวดลอม

คณะเกษตร คณะมนษุ ยศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะวทิ ยาศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะศึกษาศาสตร

- พชื สวน - ภาษาศาสตรประยุกต - วศิ วกรรมไฟฟา - จลุ ชีววิทยา - เศรษฐศาสตรส หกรณ - จติ วทิ ยาการศึกษา
- พืชไร - ภาษาตะวันออก - วิศวกรรมสิ่งแวดลอม - สถติ ิ วิทยาเขตศรีราชา และการแนะแนว
- สัตวศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน - มาตรวิทยา - เศรษฐศาสตรธ ุรกิจ - อาชีวศกึ ษาเพือ่ พัฒนา
- วศิ วกรรมเกษตร - รงั สปี ระยุกต ทรัพยากรมนษุ ย
- โภชนศาสตรส ัตวอุตสาหกรรม วทิ ยาเขตศรีราชา และไอโซเทป - การศึกษาเพื่อพัฒนา
วทิ ยาเขตกำแพงแสน - วิศวกรรมเครื่องกล ความเปนผูประกอบการ
- วิจัยและพัฒนาการเกษตร และการออกแบบ - วทิ ยาการคอมพวิ เตอร
(หลกั สูตรนานาชาติ) - วทิ ยาศาสตรและ
- วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยพี ้ืนพิภพ
การจัดการทางดนิ วิทยาเขตศรีราชา
- วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ผลิตภัณฑธ รรมชาติ

24

จำนวนนสิ ิตลงทะเบียนเรียน

ปการศึกษา 2563 จํานวนนิสิตลงทะเบียนเรียนระดับปริญญาเอก ปริญญาโท และประกาศนียบัตรบัณฑิต
ภาคปกตแิ ละภาคพเิ ศษ ที่ลงทะเบียนเรียนประจาํ ปการศกึ ษา 2563 รายละเอียดดังตารางท่ี 2-3

ตารางท่ี 2 จํานวนนสิ ติ ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 จําแนกตามวิทยาเขต และระดบั ปริญญา หนวย : คน

วทิ ยาเขต ปรญิ ญาเอก ก แบบ ก 1 ปริญญาโท รวม ป.บัณฑติ รวม
ก แบบ ก 2 แผน ข ทั้งหมด
บางเขน 1,180 164 3,743 2,052 5,959 13 7,152

กำแพงแสน (86.64) (60.97) (80.51) (94.34) (84.01) (100.00) (84.46)
182 103 550 1 654 - 836

ศรีราชา (13.36) (38.29) (11.83) (0.05) (9.22) (9.87)
- - 228 122 350 - 350

เฉลมิ พระเกยี รติ (4.90) (5.61) (4.93) (4.13)

จังหวัดสกลนคร - 2 128 - 130 - 130

(0.74) (2.75) (1.83) (1.54)
รวม 1,362 269 4,649 2,175 7,093 13 8,468
(100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00)
หมายเหตุ: คดิ จากจํานวนนสิ ติ ที่ลงทะเบียนเรยี น ภาคปลาย ปก ารศกึ ษา 2563 (ขอ มูล ณ วนั ท่ี 25 มกราคม 2564)

ตารางท่ี 3 จาํ นวนนิสิตระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 จําแนกตามวทิ ยาเขต ระดบั ปริญญา ภาคปกติ และภาคพเิ ศษ
หนวย : คน
ปริญญาเอก ปรญิ ญาโท ป.บณั ฑิต รวม
วทิ ยาเขต ภาคปกติ ภาคพิเศษ รวม ภาคปกติ ภาคพเิ ศษ รวม ภาคพิเศษ ท้งั หมด

บางเขน 955 225 1,180 2,349 3,610 5,959 13 7,152

(85.65) (91.09) (86.64) (77.42) (88.94) (84.01) (100.00) (84.46)
กำแพงแสน 160 22 182 571 83 654 836

ศรรี าชา (14.35) (8.91) (13.36) (18.82) (2.04) (9.22) (9.87)
62 288 350 350

เฉลมิ พระเกียรติ (2.04) (7.10) (4.93) (4.13)

จังหวดั สกลนคร 52 78 130 130

(1.71) (1.92) (1.83) (1.54)
รวม 1,115 247 1,362 3,034 4,059 7,093 13 8,468
(100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00) (100.00)
หมายเหตุ: คิดจากจาํ นวนนสิ ติ ที่ลงทะเบยี นเรยี น ภาคปลาย ปก ารศึกษา 2563 (ขอ มลู ณ วนั ท่ี 25 มกราคม 2564)

25

ภาพที่ 1 จํานวนนสิ ติ ระดบั บัณฑติ ศึกษาทล่ี งทะเบียนเรยี น ปการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามวทิ ยาเขต
(ขอมูล ณ วนั ที่ 25 มกราคม 2564)

ภาพที่ 2 จํานวนนิสติ ระดบั บัณฑิตศึกษาทลี่ งทะเบียนเรียน ปการศึกษา 2563 จาํ แนกตามระดับปริญญา ภาคปกติ
และภาคพิเศษ (ขอมลู ณ วันท่ี 25 มกราคม 2564)
26

จำนวนผูส ำเรจ็ การศึกษา

ปการศึกษา 2563 บัณฑิตวิทยาลัยมีจำนวนผูสำเร็จการศึกษา รวมทั้งหมด 1,814 คน แบงเปนระดับดุษฎี
บณั ฑิต จำนวน 183 คน คดิ เปน รอยละ 10.09 ระดับมหาบัณฑิต จำนวน 1,621 คน คิดเปนรอยละ 89.36 และระดับ
ประกาศนียบัตรบัณฑิต จำนวน 10 คน คิดเปนรอยละ 0.55 (ดังตารางที่ 4) สำหรับระดับมหาบัณฑิต พบวา
ในหลักสูตรแผน ก มีผูสำเร็จการศึกษา จำนวน 1,043 คน คิดเปนรอยละ 64.34 ในหลักสูตรแผน ข มีผูสำเร็จ
การศึกษา จำนวน 578 คน คดิ เปน รอยละ 35.66 (ดังตารางที่ 5)

ตารางท่ี 4 จาํ นวนผสู าํ เรจ็ การศกึ ษาทัง้ หมด จําแนกตามระดับการศึกษา และแผนการเรียน หนว ย : คน

การเรียน ปรญิ ญาเอก ก แบบ ก 1 ปริญญาโท รวม ป.บณั ฑิต รวม
การสอน ก แบบ ก 2 แผน ข
ภาคปกติ 148 29 577 - 606 - 754

(19.63) - - - (80.37) - -

ภาคพิเศษ 35 4 433 578 1,015 10 1,060

รวมทั้งสน้ิ (3.30) - - - (95.75) (0.94) -
183 33 1,010 578 1,621 10 1,814
(10.09) - - - (89.36) (0.55) -

ตารางที่ 5 จํานวนผสู ําเรจ็ การศกึ ษาระดับมหาบณั ฑิต จําแนกตามแผนการเรียน หนวย : คน
รวม
การเรียนการสอน ก แบบ ก 1 ก แบบ ก 2 รวม แผน ข 606
ภาคปกติ 29 577 606 - -
ภาคพเิ ศษ - - (100.00) - 1,015
รวม 4 433 437 578 -
- - (43.05) 1,621
33 1,010 1,043 (56.95) -
- - (64.34) 578
(35.66)

27

ภาพที่ 3 จํานวนผสู ําเรจ็ การศกึ ษา ปการศึกษา 2563 จำแนกตามระดบั ปรญิ ญา ภาคปกติ และภาคพเิ ศษ
28

ตารางที่ 6 จำนวนผูส ำเรจ็ การศึกษา เปรยี บเทยี บระหวางปก ารศึกษา 2561-2563 หนว ย : คน
ป.บัณฑิต
การเรียน ปริญญาเอก ปริญญาโท 2561 2562 2563
การสอน 2561 2562 2563 2561 2562 2563 -- -
ภาคปกติ 181 187 148 792 793 606 26 26 10
ภาคพิเศษ 52 55 35 1,067 1,076 1,015 26 26 10
233 242 183 1,859 1,869 1,621
รวม

ภาพท่ี 4 จํานวนผูสําเร็จการศึกษา เปรียบเทยี บระหวางปการศกึ ษา 2561-2563
29

ตารางท่ี 7 จำนวนผสู ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั มหาบัณฑิต เปรยี บเทียบระหวา งปการศึกษา 2561-2563 หนวย : คน

การเรยี นการสอน ก แบบ ก 1 ก แบบ ก 2 แผน ข
2561 2562 2563 2561 2562 2563 2561 2562 2563
ภาคปกติ 35 33 29 756 760 577 1 - -

ภาคพิเศษ 7 3 4 518 480 433 542 593 578

รวม 42 36 33 1,274 1,240 1,010 543 593 578

ภาพท่ี 5 จํานวนผูสาํ เร็จการศกึ ษาระดบั มหาบณั ฑิต เปรยี บเทียบระหวางปก ารศึกษา 2561-2563
30

การเผยแพรผ ลงานของนิสติ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา

ผลงานของนิสิตและผูสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกและโท ที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในป พ.ศ. 2562-2563
โดยมกี ารใหค านำ้ หนกั ตามเกณฑการประกันคณุ ภาพ รายละเอยี ดตามตารางที่ 8

ตารางที่ 8 ผลงานที่ไดรับการตพี มิ พเผยแพรในป พ.ศ. 2562-2563

ปรญิ ญาเอก ผลการดำเนินงาน ปรญิ ญาโท

ระดบั คุณภาพ/คา นำ้ หนกั ปก ารศึกษา 2562 ปการศึกษา 2563 ปการศึกษา 2562 ปการศึกษา 2563
จำนวน ผลรวมคา จำนวน ผลรวมคา จำนวน ผลรวมคา จำนวน ผลรวม
(เร่ือง) นำ้ หนัก (เรอื่ ง) น้ำหนัก (เรื่อง) น้ำหนัก (เร่ือง) คานำ้ หนัก
1. บทความฉบับสมบรู ณที่ตพี มิ พใ นลักษณะใด
ลกั ษณะหนึง่ (คา น้ำหนัก 0.10) ระดบั ปริญญาเอกไมน ับคา น้ำหนัก 0.10 68 6.80 45 4.50
2. บทความฉบับสมบรู ณที่ตีพิมพในรายงานสบื เนื่อง
จากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ (คา น้ำหนกั 0.20) 0 0.00 2 0.40 619 123.80 835 167.00
3. บทความฉบับสมบรู ณที่ตีพมิ พใ นรายงานสืบเนื่อง
จากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรอื ในวารสาร
ทางวิชาการระดับชาตทิ ่ีไมอยูในฐานขอมูลตามประกาศ
ก.พ.อ. หรอื ระเบียบคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
วา ดว ยหลกั เกณฑก ารพิจารณาวารสารทางวชิ าการ
สำหรบั การเผยแพรผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556
แตส ถาบันนำเสนอสภาสถาบันอนุมัตแิ ละจดั ทำเปน
ประกาศใหทราบเปนการทวั่ ไป และแจง ให ก.พ.อ./
กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นับแตวนั ทอี่ อกประกาศ
(คาน้ำหนัก 0.40) 3 1.20 7 2.80 154 61.60 132 52.80
4. บทความที่ตพี มิ พในวารสารวิชาการทป่ี รากฏในฐาน
ขอ มูล TCI กลุมที่ 2 (คา น้ำหนัก 0.60) 10 6.00 31 18.60 150 90.00 282 169.20
5. บทความท่ีตพี ิมพใ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ
ทีไ่ มอยูในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑ
การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรบั การเผยแพร
ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แตสถาบันนำเสนอ
สภาสถาบันอนุมตั แิ ละจัดทำเปนประกาศใหทราบ
เปน การท่ัวไป และแจงให ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน
30 วันนับแตวันทีอ่ อกประกาศ (ซึง่ ไมอ ยใู น Beall’s
list) หรอื ตพี ิมพในวารสารวชิ าการท่ีปรากฏในฐาน
ขอมูล TCI กลุมที่ 1 (คาน้ำหนกั 0.80) 111 88.80 55 44.00 205 164.00 135 108.00
6. บทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
ที่ปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ
ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
วา ดวยหลกั เกณฑก ารพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพรผ ลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556
(คานำ้ หนัก 1.00) 142 142.00 159 159.00 130 130.00 144 144.00
รวม 266 238.00 254 224.80 1,326 576.20 1,573 645.50
รอยละของผลรวมคาถวงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ
เผยแพรในป พ.ศ. นั้น ๆ ตอจำนวนผูสำเร็จการศึกษา
ในปก ารศึกษานัน้ 98.35 122.84 30.83 39.82

(จำนวนผเู ร็จการศกึ ษาตามปก ารศึกษา) (242 คน) (183 คน) (1,869 คน) (1,621 คน)

31

300
266 254

250

จํานวนเร่ือง 200 ป พ.ศ. 2562
150 142 159 ป พ.ศ. 2563

111
100

50 3 7 10 31 55
0
02

0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 รวม

คา น้ําหนกั

ภาพท่ี 6 ผลงานของนสิ ติ และผูสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ที่ไดร ับการตีพิมพเ ผยแพรในป พ.ศ. 2562-2563
โดยใหค าน้ำหนักตามเกณฑการประกันคุณภาพ

1800
1600 1,573

1400 1,326

ํจานวนเร่ือง 1200 ป พ.ศ. 2562
ป พ.ศ. 2563
1000 835

800 619
600

400 154 282 205 135 130 144
132 150
200 68 45
0

0.10 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 รวม

คานาํ้ หนัก

ภาพท่ี 7 ผลงานของนสิ ิตและผสู ำเร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท ที่ไดรับการตีพิมพเ ผยแพรในป พ.ศ. 2562-2563
โดยใหคา น้ำหนกั ตามเกณฑการประกนั คณุ ภาพ

32

การข้นึ ทะเบียนอาจารยบ ณั ฑิตวิทยาลัย

คุณสมบตั อิ าจารยบณั ฑติ วทิ ยาลยั

อาจารยที่ขออนุมัติขึ้นทะเบียนเปนอาจารยบัณฑิตวิทยาลัย คุณสมบัติ คุณวุฒิ และผลงานทางวิชาการตอง
เปนไปตามขอ บงั คับมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วาดว ยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร พ.ศ. 2559 ดงั นี้

อาจารยประจำ

 ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือ
ขั้นตำ่ ปริญญาโทหรอื เทียบเทาท่ีมีตาํ แหนง รองศาสตราจารย
มผี ลงานทางวิชาการทไี่ มใชสว นหนง่ึ ของการศึกษาเพ่ือรับ
ปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพร
ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคล
ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ
5 ปย อนหลงั โดยอยา งนอย 1 รายการ ตองเปน ผลงานวิจัย
ตีพิมพเผยแพรในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ หรือ
การตีพิมพใ นรายงานสืบเนื่องจากการประชมุ (Proceedings)
33

อาจารยผ ูทรงคุณวุฒพิ เิ ศษ และอาจารยภายใตโครงการความรว มมือ (MOU)

 ตอ งมคี ุณวฒุ ิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือข้ันต่ำ
ปรญิ ญาโทหรือเทียบเทาท่ีมตี ําแหนงรองศาสตราจารย มีคำสั่ง
แตงตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ใหเปนผูทรงคุณวุฒิพิเศษ
และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษา
เพื่อรบั ปริญญา และเปน ผลงานทางวิชาการที่ไดร ับการเผยแพร
ตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคล
ดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ป
ยอ นหลงั โดยอยางนอย 1 รายการ ตอ งเปน ผลงานวิจัยตีพิมพ
เผยแพรในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ หรือการตีพิมพ
ในรายงานสบื เนือ่ งจากการประชมุ (Proceedings)

อาจารยพเิ ศษ (ภายนอก มก.)

 ตอ งมีคณุ วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมี
ผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสาร
ที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ
ไมนอยกวา 10 เรื่อง หรือระดับนานาชาติ ไมนอยกวา
5 เรอ่ื ง

คำแนะนำการข้ึนทะเบยี นอาจารย
อาจารยที่ยังไมปรากฎชื่อในทำเนียบอาจารยบัณฑิตวิทยาลัย

ใหส าขาวิชา/ภาควิชา/คณะตนสังกัด ดำเนินการขอข้ึนทะเบียนเปนอาจารย
บัณฑิตวิทยาลัย โดยสงบันทึกขอความเร่ือง ขออนุมัติขึน้ ทะเบยี นอาจารย
บณั ฑิตวิทยาลัย ประเภทอาจารยประจำ หรอื อาจารยพ ิเศษ (ภายนอก มก.)
พรอมเอกสารประวัติอาจารย และผลงานทางวิชาการ เสนอตอคณบดี
บัณฑิตวิทยาลัย ซึ่งเอกสารการขึ้นทะเบียนอาจารยตองผานที่ประชุม
คณะกรรมการคณะตน สงั กัด

34

ภาพรวมอาจารยบณั ฑิตวทิ ยาลัย

อาจารยพิเศษ (ภายนอก มก.)
(1,549 คน) 42.32%

อาจารยประจํา
(1,793 คน) 48.99%

ผทู รงคณุ วุฒพิ ิเศษ
(318 คน) 8.69%

อาจารยป ระจํา ผทู รงคุณวุฒิพเิ ศษ อาจารยพิเศษ
อาจารยบ ัณฑติ วิทยาลยั ประจำป 2563

อาจารยพ เิ ศษ (ภายนอก มก.) อาจารยป ระจํา
(50 คน) 15.53% (78 คน) 24.22%

ผูทรงคณุ วฒุ ิพิเศษ อาจารยพ เิ ศษ (ภายนอก มก.)
(194 คน) 60.25%

อาจารยประจํา ผูทรงคุณวฒุ ิพเิ ศษ

หมายเหต:ุ ขอมลู ณ วันท่ี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564

35

งบประมาณประจำปบ ญั ชี พ.ศ. 2563

งบประมาณรายรับ งบประมาณรายจา ย

25% 28%

72%
75%

งบประมาณแผน ดิน งบประมาณเงนิ รายได งบประมาณแผน ดิน งบประมาณเงนิ รายได

บัณฑิตวิทยาลัย ไดรับการสนับสนุนงบประมาณรายรับและงบประมาณรายจาย ประจำปบัญชี พ.ศ. 2563
เพื่อใชในการดำเนินงานตามหลักเกณฑการบริหารงบประมาณและตามกรอบวงเงินที่สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
อนุมัติ และเบิกจายตามขอบังคับและระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยใชจายตามความจำเปน สอดคลองกับภารกิจ
เปาหมายการดำเนนิ งานของสวนงาน และกอใหเ กิดประโยชนสงู สดุ ตอ องคก ร

งบประมาณแผนดนิ 12,800,000
12,600,000
จากแผนภูมิแทงงบประมาณแผนดิน แสดงใหเห็นวา 12,400,000
บัณฑิตวิทยาลัยไดรับจัดสรรงบประมาณแผนดิน ประจำป 12,200,000
บัญชี พ.ศ. 2563 งบประมาณรายจายเกิดจริง จำนวนเงิน 12,000,000
12,458,200 บาท แบงเปนงบบุคลากร 11,880,600 บาท 11,800,000
งบดำเนินงาน 577,600 บาท และประจำปงบประมาณ 11,600,000
พ.ศ. 2562 จำนวนเงิน 12,097,120 บาท แบงเปนงบ 11,400,000
บุคลากร 11,519,520 บาท งบดำเนินงาน 577,600 บาท 11,200,000
ภาพรวม มแี นวโนม เพม่ิ ข้นึ จากปที่แลว รอ ยละ 4.29 จาก 11,000,000
งบบคุ ลากร 10,800,000

งบดําเนินงาน ป 2563 ป 2562
งบบุคลากร 577,600 577,600
12,061,646 11,519,520

36

งบประมาณเงินรายได

ในปบัญชี พ.ศ. 2563 บัณฑิตวิทยาลัยไดรับอนุมัติงบประมาณเงินรายได ประกอบดวย งบบุคลากร จำนวน
เงิน 11,449,721 บาท งบดำเนินงาน จำนวนเงนิ 8,500,000 บาท งบลงทุน 3,126,300 บาท งบอุดหนุน จำนวนเงิน
5,000,000 บาท และงบกลาง จำนวนเงิน 500,000 บาท แสดงการเปรยี บเทียบงบประมาณเงินรายได ดงั ภาพที่ 8

งบบคุ ลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนนุ งบกลาง

11,449,721.00 10,731,550.00
8,500,000.00 10,090,000.00
3,126,300.00
5,000,000.00 4,176,900.00
500,000.00 4,000,000.00
500,000.00

ป 2563 ป 2562

ภาพที่ 8 การเปรียบเทียบงบประมาณเงินรายได ระหวา งปบัญชี พ.ศ. 2562 และ 2563

จากภาพที่ 8 แสดงใหเห็นวา บัณฑิตวิทยาลัยไดรับจัดสรรงบประมาณเงินรายได ในภาพรวมมีแนวโนม
เพ่มิ ข้นึ จากปท ่แี ลว รอยละ 3.23 จากงบบคุ ลากร รอ ยละ 6.69 และงบอดุ หนุน รอยละ 25.00 ลดลงจากงบดำเนนิ งาน
รอยละ 15.76 และลดลงจากงบลงทุน รอ ยละ 25.15

37

ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานของบัณฑิตวิทยาลัยจากงบประมาณเงินรายได เปรียบเทียบระหวางปบัญชี พ.ศ. 2562
และ พ.ศ. 2563 มีรายละเอยี ดดังนี้

รายได ป 2563 (หนว ย : บาท)
รายไดจ ากการขายสนิ คาและบรกิ าร ป 2562
รายไดจ ากเงนิ อุดหนุนและเงินบรจิ าค
รายไดอื่น 28,145,155.95 29,629,134.31
รวมรายได 15,292,500.00 15,205,886.51
1,101,612.10 1,111,860.81
คาใชจาย 44,539,268.05 45,946,881.63
คาใชจา ยบคุ ลากร
คา ตอบแทน 8,540,329.21 8,439,004.40
คาใชสอย 106,640.00 191,100.00
คาวสั ดุ
คา สาธารณูปโภค 8,412,325.09 8,000,293.46
ตนทุนขายสนิ คา และบริการ 2,030,697.21 1,585,851.09
คาเสอ่ื มราคาและคา ตัดจำหนา ย 1,327,524.63 1,397,527.37
คาจำหนา ยจากการขายสนิ ทรัพย
คา ใชจ า ยเงนิ อุดหนนุ และบรจิ าค 0.00 0.00
คา ใชจ า ยอ่ืน 1,193,018.24 1,229,044.12
รวมคา ใชจา ย
0.00 6.00
รายไดส งู /(ต่ำ) กวาคา ใชจ า ยกอนตนทุนทางการเงิน 19,246,122.99 19,800,483.79
ตน ทุนทางการเงนิ
984,693.92 706,614.19
รายไดส ูง/(ต่ำ) กวาคา ใชจ า ยสุทธิ 41,841,351.29 41,349,924.42

2,697,916.76 4,596,957.21
0.00 0.00

2,697,916.76 4,596,957.21

38

ทุนอดุ หนุนการศึกษาและการวจิ ยั

ในปการศึกษา 2563 นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรับการพิจารณาจัดสรรทุน
จำนวนทัง้ สน้ิ 269 ทุน เปน เงิน 73,113,700 บาท โดยเปน ทนุ จากแหลง ทนุ ภายในมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร จำนวน
190 ทนุ เปนจำนวนเงนิ รวม 26,936,000 บาท และจากแหลง ทนุ ภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จำนวน 79 ทุน
เปนจำนวนเงนิ รวม 46,177,700 บาท รายละเอียดปรากฏดงั ภาพ

23,710101,00ท0ุนบาท ทุนการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษาเพื่อการตพี มิ พผ ลงานวิทยานิพนธ
2,59120,00ท0ุนบาท ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ
20,030ท0ุนบาท
ทนุ การศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาสำหรบั นสิ ติ ตางชาติ
140,700ท0นุ บาท
4845,090ท0นุ บาท เงนิ สนบั สนุนงานวิชาการและงานวิจัย
เงินสนับสนุนการตีพิมพผ ลงานวทิ ยานิพนธ
ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
ทนุ ผชู ว ยสอน

190 ทุน รายละเอยี ดขอ มลู
26,936,000 บาท

79 ทุน
46,177,700 บาท

269 ทุน
73,113,700 บาท

รวมท้ังสิน้

สำนกั งานการวจิ ยั แหงชาติ (วช.) 40,02680,7ท0ุน0 บาท
(35 ทุน/5,127,500 บาท) ทุนวจิ ยั พัฒนาบณั ฑิตศกึ ษา
4,95190,00ท0ุนบาท
ทุนโครงการพัฒนานกั วิจัยและงานวิจัย 1,1909,0ท0นุ0 บาท
(7 ทนุ /4,568,000 บาท) เพอ่ื อุตสาหกรรม (พวอ.)

ทุนโครงการปรญิ ญาเอก
(18 ทุน/30,333,200 บาท) กาญจนาภเิ ษก (คปก.)

สำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หงชาติ (สวทช.)

สำนักงานพัฒนาการวจิ ยั การเกษตร (องคก ารมหาชน) - สวก.

39

การมอบรางวัลผลงานวทิ ยานิพนธและรางวัลเกยี รติยศ
ประจำปก ารศึกษา 2562

รางวัลผลงานวิทยานพิ นธ ศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร

ตามที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดการประกวดผลงานวิทยานิพนธประจำปการศึกษา
2562 เพื่อเปนการเผยแพรผลงาน และสงเสริมใหวิทยานิพนธของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โดยไดคัดเลือกผลงานวิทยานิพนธที่สมควรไดรับรางวัลผลงานวิทยานิพนธในระดับดีเดน ดี และชมเชย เมื่อเดือน
สงิ หาคม พ.ศ. 2563 รวมทัง้ ส้นิ 14 ผลงานแบงเปนระดับดีเดน 4 ผลงาน ระดับดี 5 ผลงาน และระดับชมเชย 5 ผลงาน
โดยบัณฑิตวทิ ยาลัยใหการสนับสนุนทุนจำนวนท้ังสิ้น 305,000 บาท ดงั ตารางที่ 9

ตารางท่ี 9 รางวัลผลงานวทิ ยานิพนธ ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร ประจำปก ารศึกษา 2562

กลุม/ระดับ ประเภทรางวัล ชื่อ-นามสกุล สาขาวิชา
กลุมวทิ ยาศาสตรก ายภาพ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคมี
ปรญิ ญาเอก รางวัลดีเดน ดร.วริศรา ดีรตั นตระกูล สาขาวิชาวทิ ยาการวสั ดนุ าโน
รางวลั ดี ดร.ชาครติ ศรปี ระจวบวงษ สาขาวิชาฟสิกส
รางวลั ชมเชย ดร.ศตายุ สวุ รรณะโสภณ สาขาวชิ าวทิ ยาการวสั ดนุ าโน
ปรญิ ญาโท รางวลั ดีเดน นายขวัญชาติ พรมฮวด สาขาวิชาเคมี
รางวัลดี นายสรฉตั ร ธารมรรค สาขาวิชาเทคโนโลยชี วี ภาพ
รางวลั ชมเชย นางสาวณชิ นนั ทน รัตนสมุ าลย สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรช ีวภาพ
กลมุ วิทยาศาสตรช วี ภาพ สาขาวิชากฏี วิทยา
ปรญิ ญาเอก รางวลั ดเี ดน ดร.ณชล แรท อง สาขาวิชาพันธุวิศวกรรม
รางวัลดี ดร.สรญา ใจกลา สาขาวชิ าเทคโนโลยีการบรรจุ
รางวัลชมเชย ดร.พรชนก ทวชี พี สาขาวิชาจุลชวี วทิ ยาทางการสตั วแพทย
ปริญญาโท รางวลั ดีเดน นางสาวอัจฉราวรรณ ศรีษา สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรการอาหาร
รางวัลดี นางสาวพชิ ญา แจมวิมล
รางวลั ชมเชย นายณัฏฐพล วตั นะกลุ สาขาวชิ าพัฒนอาชีวศึกษา
กลมุ วิทยาศาสตรส งั คม สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ
ปรญิ ญาเอก - ไมมผี ไู ดร ับรางวลั -
ปรญิ ญาโท รางวลั ดีเดน - ไมมผี ไู ดร บั รางวลั -
รางวัลดี นางสาวรัศมีวรรณ กนกนุวัตร
รางวลั ชมเชย นายภูวดล ดานรตั นชยั

40

รางวลั เกยี รตยิ ศแกนสิ ติ ทน่ี ำเสนอผลงานและไดรับรางวัลระดับนานาชาติ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดโครงการใหรางวัลเกียรติยศแกนิสิตที่นําเสนอผลงานและ
ไดร ับรางวลั ระดบั นานาชาติ ประจําปก ารศกึ ษา 2562 เพ่ือเปนการยกยองและเปนแบบอยางที่ดี ในปการศกึ ษา 2562
มีนิสิตท่นี าํ เสนอผลงานและไดรับรางวัลระดบั นานาชาติ รวมทัง้ สน้ิ 3 ราย ดงั ตารางท่ี 10

ตารางที่ 10 รางวลั เกียรติยศแกน ิสิตทีน่ ําเสนอผลงานและไดร บั รางวลั ระดับนานาชาติ ประจาํ ปการศกึ ษา 2562

ชอ่ื -นามสกุล สาขาวชิ า
ระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าชีวเคมี
สาขาวิชาเคมี
1. นางสาวศวิ ะพร ประชโู ชติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคมี
2. นางสาวอัลยล ิกา ฉมิ ประสิทธิ์
3. นายเอกณรงค เดชะ

รางวัลเกียรติยศแกผ ูส ำเร็จการศกึ ษาทีม่ ผี ลการศกึ ษาดีเดน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดโครงการใหรางวัลเกียรติยศแกผูสำเร็จการศึกษาที่มี
ผลการศึกษาดีเดน ประจำปการศึกษา 2562 เพื่อเปนการยกยองและเปนแบบอยางท่ีดี ในปการศึกษา 2562
มผี สู ำเร็จการศึกษาทมี่ ผี ลการศกึ ษาดีเดน รวมท้ังสน้ิ 27 ราย ดงั ตารางท่ี 11

ตารางท่ี 11 รางวลั เกียรติยศแกผสู ำเร็จการศึกษาท่มี ีผลการศกึ ษาดเี ดน ประจำปการศึกษา 2562

ชือ่ -นามสกุล สาขาวิชา
ระดบั ปริญญาเอก สาขาวิชาเคมี
สาขาวิชาเคมี
1. ดร.พนิดา ทองอราม สาขาวชิ าเคมี
2. ดร.อจั ฉรยี  รฐั วฒั นานนท สาขาวิชาพันธุศาสตร
3. ดร.อัญชุลี เพง็ สุข สาขาวิชาวิทยาศาสตรพ ้ืนพภิ พ
4. ดร.ทิพวัลย บุญแกว สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคมี
5. ดร.วมิ ลทิพย สิงหเถ่อื น สาขาวชิ าวทิ ยาการวสั ดุนาโน
6. ดร.วริศรา ดรี ัตนตระกลู สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรปา ไม
ระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการบริหารและพฒั นาอตุ สาหกรรม
1. นายขวัญชาติ พรมฮวด สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธ รุ กิจ
2. นายปวฒั นช ยั พรหมเมศร สาขาวชิ าเศรษฐศาสตรธ ุรกิจ
3. นายนนั ทเดช สนิ ทอง
4. นายจริ ายุทธ ธราธรรุงเรอื ง
5. นางสาวชมภูนุช วิเศษศักดิ์

41

ตารางที่ 11 (ตอ) สาขาวชิ า
ชือ่ -นามสกุล สาขาวชิ าเศรษฐศาสตรธ รุ กิจ
สาขาวชิ าเศรษฐศาสตรธรุ กิจ
6. นางสาวปรยี าภา ทรพั ยเ กดิ สาขาวชิ าจติ วิทยาการศกึ ษาและการแนะแนว
7. นางสาวอรุณรตั น พันธมาลี สาขาวิชาการสงเสริมสุขภาพและสขุ ศกึ ษา
8. นายพงศสนั ต เกษมพงศส นั ต สาขาวิชาการสงเสรมิ สขุ ภาพและสขุ ศกึ ษา
9. นางสาวจนั จิรา อาสมาน สาขาวิชาการสงเสริมสขุ ภาพและสุขศึกษา
10. นางสาวฉตั รวิไล ประทปี ะจิตติ สาขาวชิ าการสง เสรมิ สุขภาพและสุขศึกษา
11. รอ ยเอกหญงิ ฐชั สรญั ทพิ ย ศิระดษิ ฐกุล สาขาวิชาการสง เสรมิ สขุ ภาพและสขุ ศึกษา
12. นายปฐวี ปวกพรหมา สาขาวชิ าการสง เสริมสุขภาพและสุขศกึ ษา
13. นางสาวพิชยารตั น จนั ทรเ พญ็ สาขาวิชาการสงเสริมสุขภาพและสุขศกึ ษา
14. นางสาวรตั ติยากร ถือวัน สาขาวิชาปรสิตวทิ ยาทางสัตวแพทย
15. นางสาวสลุ ี ถาวรกุล สาขาวชิ าเภสชั และพษิ วทิ ยาทางการสตั วแพทย
16. Miss Do Thanh Thom สาขาวชิ าเภสัชและพษิ วิทยาทางการสตั วแพทย
17. นายไกรวฒุ ิ นวลขาว สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร
18. นางสาวณัฐสดุ า ระววี รรณ สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร
19. นางสาวจารุวรรณ เหนือคเู มอื ง สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร
20. นางสาวมัจฉา สกุลเดช
21. นายอริยฉัฏร กาฬหวา

42

การใหบ รกิ ารรบั คำรอ งของบณั ฑิตวทิ ยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย ดำเนินงานใหบริการรับคำรองออนไลน ผานทางเว็บไซตของบัณฑิตวิทยาลัย แกนิสิตระดับ
บัณฑิตศึกษาและผูมาติดตอ อันเปนสวนหนึ่งของการตอบสนองภารกิจหลักของบัณฑิตวิทยาลัย ในการใหบริการที่ดี
แกน สิ ติ และผูมาติดตอ โดยเปดบรกิ ารแกนสิ ิตระดับบัณฑิตศึกษา ณ สำนักงาน 3 แหง ดงั น้ี

- บางเขน วนั ทำการ เวลา 08.30-16.30 น.
วนั เสาร เวลา 08.00-15.00 น.
- วทิ ยาเขตกำแพงแสน วันทำการ เวลา 08.30-16.30 น.
- วทิ ยาเขตศรีราชา วันทำการ เวลา 08.30-16.30 น.

ผลการดำเนินงานรบั คำรอง ในรอบปก ารศกึ ษา 2563 เปรียบเทียบกบั ป 2562 ดังแสดงในภาพท่ี 11

12,000 9,508 10,541 รวมท้งั สน้ิ (ฉบับ)
10,000 8,406
ป 2563 (รวม=34,217)
จํานวน ํคา รอง (ฉ ับบ) 8,000 ป 2562 (รวม=41,915)
6,356

6,000 5,202 4,883 4,935

4,000 3,497 3,519
3,115 2,614 2,951 2,703 2,856 2,893
2,153

2,000

0 ประเภทคํารอง

ภาพท่ี 13 การรับคำรองผานเคานเตอรบ ริการนสิ ิต ในรอบปก ารศึกษา 2563 และ 2562
จำแนกตามประเภทคำรอง

43

เพลงประจำบณั ฑิตวทิ ยาลยั

เรียบเรยี งคำรองและทำนอง : ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร

เหลา บรรดาบัณฑติ วิทยาลัย โหเ อาชัยสำรวมจิตใจเดินนำ
หมัน่ เพียรและเรยี นศึกษา ปรับปรุงพฒั นาประจำ
ประเสริฐเลิศลำ้ ผลสงหนนุ นำไทยเจรญิ
จะอทุ ิศทงั้ กายและใจ วิจยั นำใหชาตไิ ทยเจริญ (ซ้ำ)

จักบรกิ ารในทางวิชาการ ฝก ชำนาญหนนุ นำประชากาวไกล
ปรับปรงุ วัฒนธรรม ปา วนำศลิ ปะชาวไทย
กาวหนานำไป สวยสดวิไลไทยเจรญิ
จะอทุ ิศท้งั กายและใจ วจิ ยั นำใหชาตไิ ทยเจรญิ (ซ้ำ)

44


Click to View FlipBook Version