HISTORY
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
เรามารู้ประวิติศาสตร์
ของประเทศฮังการี
มูลนิธิ กู๊ดสจ๊วต ส า ร บั ญ
01 แคว้นพันโนเนีย ก่อนปี ค.ศ. 895
02 เงินทุนตลอดปี 2563-2568
03 พันธมิตรของเรา
แคว้นพันโนเนีย ก่อนปี
ค.ศ. 895
ก่อนการพิชิตที่ราบพันโนเนียของชาวฮังการี
จักรวรรดิโรมันได้ทำการพิชิตดินแดนทางตะวันตก
ของแม่น้ำดานูบ ระหว่าง 35 ถึง 9 ปี ก่อนคริสตกาล
โดยตั้งแต่ 9 ปี ก่อนคริสตกาลจนถึงปลายศตวรรษที่
4 แคว้นพันโนเนีย (Pannonia) ทางตะวันตกของ
ที่ราบพันโนเนีย มีสถานะเป็ นส่วนหนึ่งของ จักรวรรดิ
โรมัน โดยมีการตั้งเมืองขึ้นในที่ราบพันโนเนียหลาย
เมือง เช่น เมืองซาวาเรีย (Savaria ปั จจุบันคือ เมือง
โซมบ็อตแฮลย์ Szombathely ทางตะวันตกของ
ฮังการี) และเมืองอาควินคุม (Aquincum ปั จจุบันคือ
เมืองโอบูดอ Óbuda ฝั่ งตะวันตกตอนเหนือใน
อาณาเขตของกรุงบูดาเปสต์) หลังจาก การล่มสลาย
ของจักรวรรดิโรมันตะวันตก จากปั ญหาภายในและ
การรุกรานของอนารยชน ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 มีชน
เผ่าจากยุโรปตะวันออกจำนวนมากเข้ามาในยุโรป
กลางโดยเริ่มต้นด้วยกลุ่มชาวฮัน ได้ทำการโจมตียึด
ครองยุโรปตะวันออก ตั้งเป็ นอาณาจักรฮันนิก ผู้
ปกครองที่มีอำนาจที่สุดของอาณาจักรฮันนิก คือ อัต
ติลาเดอะฮัน (ค.ศ. 434–453) ซึ่งต่อมาได้มีการ
สลายตัวไป หลังจากการสลายตัวของอาณาจักรฮันนิก
ชาวเกปิ ดส์ (Gepids) ซึ่งเป็ นชนเผ่าเยอรมันดั้งเดิม
ทางตะวันออกซึ่งถูกพวกฮันส์ยึดครองได้ก่อตั้ง
อาณาจักรของตนเองขึ้นในที่ราบพันโนเนีย กลุ่มอื่น
ๆ ที่มาถึงแอ่งคาร์เพเทียนในช่วงการอพยพ ได้แก่
ชาวก็อธ แวนดัล ลอมบาร์ด และ ชาวสลาฟ ในช่วง
ทศวรรษที่ 560 ชาวอาวาร์ได้ก่อตั้งจักรวรรดิข่านอา
วาร์ ซึ่งเป็ นรัฐที่รักษาอำนาจสูงสุดในภูมิภาคนี้มานาน
กว่าสองศตวรรษ ชาวแฟรงค์ภายใต้กษัตริย์ชาร์เลอ
มาญเอาชนะเผ่าอาวาร์ลงได้ในสมรภูมิรบ ช่วง
ทศวรรษที่ 790 ทำให้เผ่าอาวาร์ถอนตัวออกจากยุโรป
กลาง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 9 อาณาเขตของทะเล
สาบบอลอโตนได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็ น อาณาจักร
ชายแดนพันโนเนียของอาณาจักรแฟรงค์ (Frankish
March of Pannonia) ส่วนด้านตะวันออกของแม่น้ำ
ดานูบถูกยึดครองโดยจักรวรรดิบัลแกเรียแห่งแรก
โดยพวกบัลแกเรียเข้ายึดการปกครองของชนเผ่าสลา
ฟในท้องถิ่นและเผ่าอาวาร์ที่หลงเหลืออยู่
1
การบุกทวีปยุโรป และการพิชิตที่ราบ
พันโนเนียของชาวฮังการี ค.ศ. 895 -
ค.ศ. 972
ชาวฮังการี หรือ ชาวม็อจยอร์ ที่รวมเป็ น ราชรัฐฮังการี (Principality of Hungary,
หนึ่งเดียว ภายใต้การนำของหัวหน้าเผ่า Magyar Nagyfejedelemség ) ก่อตั้งขึ้นใน
นามว่า อาร์พาด (Árpád) ผู้สืบเชื้ อสายตาม ปี ค.ศ. 895 ประมาณ 50 ปี หลังจากการ
ประเพณีของอัตติลาเดอะฮัน (Attila) ได้ แบ่งจักรวรรดิแคโรลิงเกียนตามสนธิสัญญา
ทำการพิชิตที่ราบพันโนเนีย (Honfoglalás แวร์ดุนในปี ค.ศ. 843 ก่อนการรวมอาณา
ฮงโฟ้ กลอลาช) ตั้งรกรากอยู่ในที่ราบพันโน จักรแองโกล - แซกซอน ในขั้นต้นราชรัฐ
เนีย เริ่มตั้งแต่ปี 895 ในรูปแบบสหพันธ์ ฮังการี (หรือที่เรียกว่า "Western Tourkia"
ชนเผ่าที่เป็ นปึ กแผ่น (Törzsszövetség) ในแหล่งข้อมูลกรีกยุคกลาง) เป็ นรัฐที่สร้าง
ตามทฤษฎี Finno-Ugrian เผ่าฮังการีมีต้น ขึ้นโดยเผ่าเร่ร่อน มีการปกครองที่มี
กำเนิดมาจากประชากรที่พูดภาษาฟิ นโน-อู ประสิทธิภาพและมีอำนาจทางทหารที่สูง
ราลิก (Finnugor nyelv)โบราณซึ่งเดิมเคย ทำให้ชาวฮังการีประสบความสำเร็จในการ
อาศัยอยู่ในพื้ นที่ป่ าระหว่างแม่น้ำโวลก้าและ รบอย่างดุเดือดโดยชาวฮังการีทำการบุก
เทือกเขาอูราลตอนใต้ ในแถบไซบีเรีย เมืองในยุโรปตั้งแต่กรุงคอนสแตนติโนเปิ ล
(ปั จจุบันอยู่ในประเทศรัสเซีย) โดยในปี ทางตะวันออก ไปจนถึง แถบคาบสมุทร
ค.ศ. 830 ชาวม็อจยอร์ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ สเปนในปั จจุบัน ชาวฮังการีเอาชนะกองทัพ
แถบตอนเหนือของทะเลดำ จักรวรรดิแฟรงกิชตะวันออกที่สำคัญไม่น้อย
กว่าสามกองทัพ ระหว่างปี ค.ศ. 907 ถึง
910 แต่ก็ได้หยุดการรุกรานเกือบทั้งหมด
2
ยุคของราชวงศ์อาร์พาด ค.ศ. 972-ค.ศ. 1308
พระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี หรือ กษัตริย์เซนต์สตีเฟน (I.
István király) กษัตริย์องค์แรกของฮังการี เปลี่ยนให้เผ่าฮังการี
มานับถือศาสนาคริสต์ และ สถานปนาตนเองเป็ นกษัตร์ย์
(király) ของฮังการี
ปี ค.ศ. 972 เป็ นปี ที่แกรนด์พรินซ์ (ฮังการี: fejedelem) เกซอ
(Géza fejedelem) แห่งราชวงศ์อาร์พาด เริ่มเปลี่ยนศาสนาของ
เผ่าฮังการีให้เข้ากับยุโรปตะวันตกที่นับถือศาสนาคริสต์ เซนต์สตี
เฟน (พระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี) บุตรชายคนแรกของเขา
กลายเป็ นกษัตริย์องค์แรกของฮังการี หลังเอาชนะหัวหน้าเผ่าโค
ปปาญ (Koppány vezér) ลุงของอิชน์วานผู้นับถือลัทธิเพเกิน
(Pogány) ฮังการีซึ่งอ้างสิทธิ์ในบัลลังก์ด้วย
ภายใต้พระเจ้าอิชต์วานที่ 1 แห่งฮังการี ประเทศฮังการีได้
รับการยอมรับว่าเป็ นอาณาจักรคริสเตียน หลังเข้าพบกับ
สมเด็จพระสันตะปาปาซิลเวสเตอร์ที่ 2 พระเจ้าอิชต์วานที่ 1
แห่งฮังการีได้รับการสถาปนาเป็ นกษัตริย์คนแรกของชาวม็อจ
ยอร์ในปี ค.ศ. 1000 โดยพระสันตะปาปา ซึ่งได้เปลี่ยน
สถานะของรัฐม็อจยอร์ จากราชรัฐที่ปกครองโดยเจ้าชาย เป็ น
ราชอาณาจักรคาทอลิคที่มีกษัตริย์ และนอกจากการสถาปนา
กษัตริย์แล้ว ชาวม็อจยอร์ยังได้รับมอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ชั้นสูง (ซึ่งอาจรวมถึง มงกุฎเซนต์สตีเฟน ซึ่งปั จจุบันเก็บไว้
ในรัฐสภาฮังการี) จากพระสันตะปาปา
ลาสโล่ที่ 1 (I. László király) ขยายพรมแดนของฮังการีไป
จนสุดเขตทรานซิลเวเนียและบุกโครเอเชียในปี ค.ศ. 1091
การบุกโครเอเชียสิ้นสุดลงในสมรภูมิภูเขากะวอซด์ (Battle of
Gvozd Mountain) ในปี ค.ศ. 1097 และเป็ นสหภาพส่วน
บุคคลของโครเอเชียและฮังการีในปี 1102 ซึ่งปกครองโดย
กษัตริย์คาลมานแห่งฮังการี (หรือ คาลมานผู้รักการอ่าน
"Könyves Kálmán") กษัตริย์ที่ทรงอำนาจและมั่งคั่งที่สุด
ของราชวงศ์อาร์พาด คือ เบลอที่ 3 (III. Béla király) ซึ่งใช้
จ่ายด้วยแร่เงินบริสุทธิ์ 23 ตันต่อปี ซึ่งมากกว่าการใช้จ่าย
ของกษัตริย์ฝรั่งเศส (ประมาณ 17 ตัน) และเป็ นสองเท่าของ
รายวงศ์อังกฤษ
3