The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการสุขภาพจิตวัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooksakaeo, 2023-05-01 04:44:21

สรุปโครงการสุขภาพจิตวัยรุ่นป้องกันภาวะซ

สรุปโครงการสุขภาพจิตวัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า

ค ำน ำ สรุปผลโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตวัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลองหินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหาเจริญ อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันภาวะซึมเศร้า และกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น ให้กับนักศึกษา กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น เพิ่มความรู้สึกถึงคุณค่าในตนเองและด้าเนิน ชีวิตได้อย่างมีความสุข มีผู้เข้าร่วมโครงการจ้านวน 140 คน การสรุปผลประเมินโครงการดังกล่าวฯ เล่มนี เป็นผลจากการปฏิบัติจริง ซึ่งคณะท้างานได้บันทึก รายงาน ไว้ทุกขั นตอนในการด้าเนิน โครงการอบรม เพื่อให้ทราบถึง การด้าเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของ โครงการที่ตั งไว้ และเป็นการน้าผลการด้าเนิน งานมาปรับปรุง แก้ไขสามารถพัฒนาการจัดกิจกรรมในครั งต่อไป กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น


สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ค้าน้า สารบัญ บทที่ 1 บทน ำ หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 1 ระยะเวลาในการด้าเนินงาน 2 เครื่องมือ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง กรอบแนวคิดการประเมินโครงการ 3-7 บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำร การด้าเนินการ 8-10 บทที่ 4 ผลกำรด ำเนินกำรและวิเครำะห์ข้อมูล วิธีด้าเนินการ 11-17 บทที่ 5 สรุปผลกำรด ำเนินกำรและอภิปรำยผล สรุปผล 18-19


บทที่ 1 บทน ำ หลักกำรและเหตุผล ปัจจุบันปัญหาโรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ นแล้วจะท้า ให้หมดก้าลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการท้างานลดลงอย่างชัดเจน ปัญหาภาวะ ซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่ส้าคัญของประเทศ และเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่ส้าคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่น ครอบครัวและสังคม จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทย ที่มีแนวโน้มสูงขึ น เรื่อยๆท้าให้ความซึมเศร้าและความเครียดเกิดขึ นได้ทุกแห่ง ทุกเวลา ความเครียดเป็นระบบเตือนภัยของ ร่างกาย ให้เตรียมพร้อมที่จะกระท้าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การที่มีความเครียดมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะไม่เป็นผลดี ต่อสุขภาพ ซึ่งในกลุ่มเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงทั งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศรษฐกิจ ท้าให้วัยรุ่นเป็นวัยที่พบโรคความผิดปกติทางอารมณ์ได้บ่อย โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ส่งผลให้มีความเครียด วิตก กังวล ท้าให้เกิดความท้อแท้สิ นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตนเองลดลง มีภาวะซึมเศร้า ปัจจัยทาง จิตและปัจจัยทางบุคลิกภาพส่งผลต่อประสิทธิภาพในการคิด การตัดสินใจ และการน้ามาซึ่งพฤติกรรมเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าตัวตาย ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆของวัยรุ่นในประเทศไทย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ้าเภอวังน ้าเย็น จึงจัดท้าโครงการส่งเสริม สุขภาพจิตวัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า โดยมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และเล็งเห็นความส้าคัญ ในการป้องกันและค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันภาวะซึมเศร้าและกลุ่มเสี่ยงในกลุ่ม วัยรุ่น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมเพิ่มความรู้สึกถึงคุณค่าในตนเองและด้าเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันป้องกันภาวะซึมเศร้าและกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น ขอบเขตกำรศึกษำ นักศึกษา กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว จ้านวน 140 คน ระยะเวลำในกำรด ำเนินงำน วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เครื่องมือ 1. แบบประเมินผลความพึงพอใจ 2. แบบแสดงความคิดเห็นและแจ้งปัญหา


ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ นักศึกษา กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น ได้รับความรู้ มีทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบน้าความรู้ที่ได้รับ ไปปรับใช้ในชีวิตประจ้าได้อย่างเหมาะสม


บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 เอกสำรแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับกำรรำยงำน ในการประเมินโครงการในครั งผู้ประเมินได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะได้ น้าเสนอตามล้าดับต่อไปนี 1. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิต การสร้าง สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการ บูรณาการ อย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื นฐานการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพื่อการท้างานที่มีคุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษา ให้ตรงตามความต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการ พัฒนาชีวิตและสังคม สามารถพึ่งพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ประสบการณ์ จากการท้างาน และการประกอบอาชีพ โดยการก้าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส้าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจให้มีคุณธรรมควบคู่ไปกับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั งภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีเพื่อให้ ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั งค้านึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร หลักกำร หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 ก้าหนดหลักการไว้ดังนี 1. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียนและการจัดการเรียนรู้โดยเน้น การบูรณาการเนื อหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสังคม 2. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความส้าคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 4. ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จุดหมำย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมี


คุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญามีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ จึงก้าหนดจุดหมายดังต่อไปนี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข 2. มีความรู้พื นฐานส้าหรับการด้ารงชีวิตและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทัน ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง 4. มีทักษะการด้าเนินชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุขตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึดมั่นในวิถีชีวิต และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 6. มีจิตส้านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และ บูรณา การความรู้มาใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ระดับกำรศึกษำ ระดับการศึกษาแบ่งระดับการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือ - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแต่ละระดับใช้เวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอน แต่ทั งนี ต้องลงทะเบียนเรียนใน สถานศึกษาอย่างน้อย 1 ภาคเรียน สำระกำรเรียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้และ 18 มาตรฐานการเรียนรู้ดังนี 1.สำระทักษะกำรเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 มำตรฐำน ดังนี มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานที่ 1.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้ มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการคิดเป็น มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการวิจัยอย่างง่าย 2. สำระควำมรู้พื้นฐำน ประกอบด้วย 2 มำตรฐำน ดังนี มาตรฐานที่ 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื นฐานเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี


3. สำระกำรประกอบอำชีพประกอบด้วย 4 มำตรฐำน ดังนี มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทาง และตัดสินใจ ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการ และศักยภาพของตนเอง 4. สำระทักษะกำรด ำเนินชีวิต ประกอบด้วย 3 มำตรฐำน ดังนี มาตรฐานที่ 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในการด้าเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ อนามัย และความปลอดภัยในการด้าเนินชีวิต มาตรฐานที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจและเจตคติที่ดีเกี่ยวกับศิลปะและสุนทรียภาพ 5. สำระกำรพัฒนำสังคม ประกอบด้วย 4 มำตรฐำน ดังนี มาตรฐานที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความส้าคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถน้ามาปรับใช้ในการด้ารงชีวิต มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุข ของสังคม มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความส้าคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้ความรู้พื นฐาน มาตรฐานที่ 2.1 มีความรู้ความเข้าใจทักษะพื นฐาน เกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร ซึ่งภาษาในมาตรฐานนี หมายถึง ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ รูปแบบกำรจัดกำรศึกษำนอกโรงเรียน สถานศึกษาสังกัดส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดบริการ การศึกษา ขั นพื นฐานในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายให้กับประชาชน 3 รูปแบบ ดังนี 1. แบบพบกลุ่ม 2. แบบทางไกล 3. แบบเทียบระดับการศึกษา 2. กิจกรรมพัฒนำผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการ ด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย ใน การพัฒนาผู้เรียนทั งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม มุ่งเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝัง คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างจิตส้านึกในธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและด้ารงชีวิตได้อย่างมีความสุข


กิจกรรมพัฒนำผู้เรียนตำมหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. กิจกรรมแนะแนว ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เหมาะสมตามความแตกต่าง ระหว่าง บุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การ เรียนรู้ ในเชิงพหุ-ปัญญาและการสร้างสัมพันธภาพที่ดี 2. กิจกรรมนักเรียน ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองตั งแต่ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการท้างาน โดยเน้นการท้างานร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้ช่วยกันคิด ช่วยกันท้า ช่วยกันแก้ปัญหา ส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนอย่างเต็มที่ รวมทั งปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเอง วัตถุประสงค์ในกำรจัดกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน 1. เพื่อผู้เรียนใช้กระบวนการกลุ่ม ฝึกทักษะ การวิเคราะห์ วางแผน เพื่อส่งเสริมด้านวิชาการและ วิชาชีพ 2. ผู้เรียนได้ค้นพบความสนใจ ความถนัด และได้ใช้กระบวนการกลุ่มพัฒนาความสามารถพิเศษ เฉพาะ ตัว 3. ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะการให้บริการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม 4. ผู้เรียนพัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติ ค่านิยม ในการด้าเนินชีวิต 5. ได้รับการปลูกฝังและสร้างจิตส้านึกในการท้าประโยชน์ต่อสังคมและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม 2.2 หลักและแนวคิดเกี่ยวกับกำรประเมินโครงกำร 2.2.1 ควำมหมำยของกำรประเมินโครงกำร สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (2524, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของการประเมินโครงการไว้ว่า เป็น กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศส้าหรับการตัดสินคุณค่าของโครงการ ผลผลิตกระบวนการ จุดมุ่งหมายของโครงการ หรือทางเลือกต่าง ๆ เพื่อน้าไปปฏิบัติให้บรรลุจุดมุ่งหมาย จุดเน้นของการประเมินคือ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้ข้อสนเทศ เพื่อตัดสินคุณค่าของสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยเฉพาะ ไพศาล หวังพานิช (2533, หน้า 25 – 26) ได้ให้ความหมาของการประเมินโครงการไว้ว่า การประเมิน โครงการเป็นกระบวนการก้าหนดคุณค่าของโครงการนั นว่าดีมีประสิทธิภาพและได้ผลเพียงใด สุวิมล ติรกานันท์ (2543, หน้า 2) กล่าวว่า การประเมินโครงการเป็นกระบวนการที่เกิดขึ นในทุก ขั นตอนของกระบวนการด้าเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่สามารถใช้ในการพิจารณาการด้าเนินการ ซึ่งจะท้าให้ การด้าเนินการเป็นไปได้อย่างทันท่วงที ในทางตรงกันข้ามผลการประเมินจะไม่เกิดเท่าที่ควร หากผลนั นไม่ สามารถใช้ในเวลาที่เหมาะสม จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า ความหมายการประเมินโครงการสรุปได้ว่า เป็นกระบวนการ ด้าเนินงานที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูล สารสนเทศส้าหรับการตัดสินคุณภาพ คุณค่าของโครงการว่ามีระดับคุณภาพ และ คุณค่าอย่างไร น้าไปใช้พัฒนาสืบเนื่องต่อไปได้อย่างไร


บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำร รายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ได้น้าวงจร คุณภาพของเดมิ่ง PDCA มาใช้ในการด้าเนินการ 4 ขั นตอนดังนี 1. ขั นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) 2. ขั นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do) 3. ขั นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check ) 4. ขั นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) 1. ขั้นตอนกำรร่วมกันวำงแผน (Plan) ขั นตอนนี เป็นการวางแผนการด้าเนินการโดยมีขั นตอน ดังนี 1.1 ประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างหัวหน้างาน/หัวหน้ากลุ่ม แล้วขยายผลสู่คณะครูทุกคน 1.2 จัดท้าโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า เสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณา เห็นชอบ 1.3 แต่งตั งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตาม ความ เหมาะสม 1.4 สร้างความเข้าใจกับนักศึกษาเพื่อก้าหนดแนวทางในการด้าเนินการ 1.5 ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทาง 1.6 ก้าหนดระยะเวลาในการด้าเนินการ และวิธีประเมินผล 2. ขั้นตอนกำรร่วมกันปฏิบัติ (Do) การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั นตอนในการด้าเนินงาน ดังนี 2.1 บันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตด้าเนินการ 2.2 ด้าเนินการตามโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็น นักศึกษา กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น โดยมีกิจกรรมด้าเนิน การดังนี 2.2.1 กิจกรรมศึกษาเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเชื่อมั่นในตัวเองทั งด้านความคิด การพูดและ การลงมือท้า 2.2.2 กิจกรรมศึกษาเพื่อส่งเสริมนักเรียนให้คิดเป็น ท้าเป็น แก้ปัญหาเป็น 3. ขั้นตอนกำรร่วมกันประเมิน (Check) 3.1 ด้าเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า โดยใช้แบบบันทึกกิจกรรม และแบบสอบถามความพึงพอใจ 3.2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบบันทึกกิจกรรม ใช้วิธีวิเคราะห์เนื อเรื่อง (Content Analysis )


3.3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic : X ) 2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation : SD ) 3.4 รายงานผลการด้าเนินงานต่อผู้บริหารและบุคลากร กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น 4. ขั้นตอนกำรร่วมปรับปรุง (Act) สรุปผลการด้าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะผู้รับผิดชอบจึงได้น้าสารสนเทศที่ได้มา ปรับปรุง พัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพ จากการด้าเนินโครงการ จึงได้ท้าการประเมินโครงการนี ขึ น โดยมีวัตถุประสงค์การประเมิน โครงการดังนี วัตถุประสงค์โครงกำร สิ่งที่จะประเมิน วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน 1. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักรู้และเห็นคุณค่า ในตนเองและผู้อื่น 2. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง ทั งด้านความคิด การพูดและการลงมือท้า 3ใ เพื่อส่งเสริมนักเรียนให้คิดเป็น ท้าเป็น แก้ปัญหาเป็น 4. เพื่อให้นักศึกษามีวัฒนธรรมสัมพันธภาพที่ ดีกับผู้อื่น 1. ด้านความพึงพอใจ 2. ด้านเนื อหากิจกรรม 1. เพื่อประเมินความพึงพอใจ 2. เพื่อประเมินพฤติกรรมด้าน ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการ ป้องกันภาวะซึมเศร้าและกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มวัยรุ่น


จำกกรอบกำรประเมินโครงกำรจึงได้ขั้นตอนกำรประเมินโครงกำรดังนี้ วัตถุประสงค์ กำรประเมิน สิ่งที่ต้องกำรประเมิน แหล่งข้อมูล วิ ธี เ ก็ บ ข้ อ มู ล / เครื่องมือ วิ ธี วิ เ ค ร ำ ะ ห์ ข้อมูล เกณฑ์ 1. เพื่อประเมินความ พึงพอใจ 1. ความรู้สึกพึงพอใจ ผู้เข้าร่วม โครงการ -การสังเกต - แบบแสดงความ คิดเห็นและแจ้ง ปัญหา -แบบประเมินความ พึงพอใจแบบ มาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ -หาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน คะแนนเฉลี่ย มากกว่า 3.50 2.เพื่อประเมิน พฤติกรรมด้าน ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกัน ภาวะซึมเศร้าและ กลุ่มเสี่ยงในกลุ่ม วัยรุ่น 2.ความรู้สึกส้านึกให้ คิดเป็น ท้าเป็น แก้ปัญหาเป็น ผู้เข้าร่วม โครงการ - การสังเกต -เพื่อประเมิน พฤติกรรมด้าน ความรู้ความ เข้าใจ เกี่ยวกับ การป้องกัน ภาวะซึมเศร้า และกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มวัยรุ่น นักศึกษา กศน. ตอบ ค้าถามและ แสดงความ คิดเห็น เกณฑ์กำรประเมินเกี่ยวกับควำมพึงพอใจในกำรจัดกิจกรรม 1.00 - 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด 1.50 - 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 2.50 - 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 3.50 - 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 4.50 - 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด


บทที่ 4 ผลกำรด ำเนินกำรและวิเครำะห์ข้อมูล ในการสรุปผลการประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลองหินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหาเจริญ อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ครั งนี ได้ใช้เครื่องมือในการประเมิน สรุปตามขั นตอนดังนี ขั้นตอนกำรวำงแผน (Plan) ขั นตอนนี เป็นการวางแผนการด้าเนินการโดยมีขั นตอน พบว่า มีการประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่าง หัวหน้างาน/หัวหน้าคณะครูทุกคนได้รับความร่วมมือและสนับสนุนการท้าโครงการเป็นอย่างดีและน้าเสนอ ผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบโครงการได้รับการอนุมัติโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้ด้าเนินการแต่งตั ง คณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่ละกิจกรรมตามความเหมาะสม แล้วสร้างความ เข้าใจกับนักศึกษาเพื่อก้าหนดแนวทางในการด้าเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทางและก้าหนดระยะเวลาในการด้าเนินการ และวิธีประเมินผล ตามล้าดับ ขั้นตอนกำรปฏิบัติ (Do) การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั นตอนในการด้าเนินงาน คือ การบันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อ ขออนุญาตด้าเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ด้าเนินการ และผลการด้าเนินการตามโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลอง หินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหาเจริญ อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นนักศึกษา กศน. พบว่า กิจกรรมทุกกิจกรรม นักศึกษาให้ความร่วมมือในการด้าเนินกิจกรรมด้วยดี ผู้เข้าร่วม กิจกรรมให้ความสนใจมาก ขั้นตอนกำประเมิน (Check) การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลองหินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหา เจริญ อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น พบว่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย(X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) จากแบบสอบถาม โดยแปล ความหมายดังต่อไปนี - ระดับมาก - ระดับปานกลาง - ระดับน้อย


วิเครำะห์ข้อมูลจำกแบบประเมิน ได้ผลกำรประเมิน ดังนี้ 1. แบบประเมินควำมพึงพอใจ ในการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลองหินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหาเจริญ อ้าเภอวัง น ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ได้ส่งแบบประเมินความพึงพอใจให้กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 140 ชุด ได้แบบประเมิน ความพึงพอใจกลับคืนมา 140 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 โดยน้าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี ตำรำงที่1 ข้อมูลส่วนตัว รำยกำร จ ำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ เพศ - ชาย - หญิง 64 76 45.71 54.29 อำยุ - 13 - 16 ปี - 17 - 20 ปี - 21 ปีขึ นไป 7 77 56 5.00 55.00 40.00 ระดับกำรศึกษำ - ประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนต้น - มัธยมศึกษาตอนปลาย 4 64 72 2.85 45.71 51.42 ศำสนำ - พุทธ - อิสลาม - คริสต์ 140 - - 100.00 - - จำกตำรำงที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจปรากฏดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จ้านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 45.71 เพศหญิง จ้านวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 54.29 และผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีอายุระหว่าง 13-16 ปี จ้านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00 มีอายุระหว่าง 17-20 ปี จ้านวน 77 คนคิดเป็น ร้อยละ 55.00 มีอายุ21 ปีขึ นไป จ้านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับการศึกษาประถมศึกษา จ้านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.85 มัธยมศึกษาตอนต้น จ้านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 45.71 มัธยมศึกษาตอนปลาย จ้านวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 51.42 ศาสนาพุทธ จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100


ตำรำงที่ 2 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรม จำกตำรำงที่ 2 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรม ของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ปรากฏดังนี คือ ข้อมูล เข้ารับการอบรมครั งนี ทราบข่าวจากครู จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อมูลเข้ารับการอบรมครั งนี อยากมาเองจ้านวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 22.85 เพราะเพื่อนชวน จ้านวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 77.15 รำยกำร จ ำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ ทรำบข่ำวกำรอบรมครั้งนี้จำก - เพื่อน - ครู - ผู้ปกครอง - ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา - 140 - - - 100 - - มำเข้ำรับกำรอบรมครั้งนี้ เพรำะ - เพื่อนชวน - อยากมาเอง - อื่นๆ(ระบุ) 32 108 - 22.85 77.15 -


ตำรำงข้อที่ 3 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ชื่อวิชำ ได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ มำก ปำน กลำง น้อย ค่ำเฉลี่ย ควำม หมำย ล ำดับ ที่ ด้ำนวิทยำกร 3.1 มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 96 (68.57) 44 (31.43) - 4.67 ดีมาก 4 3.2 มีความสามารถในการอธิบายเนื อหา 114 (81.42) 26 (18.58) - 4.81 ดีมาก 1 3.3 เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดง ความคิดเห็น 106 (75.71) 34 (24.29) - 4.75 ดีมาก 2 3.4 ตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย 98 (70.00) 42 (30.00) - 4.70 ดีมาก 3 3.5 เอกสารที่ใช้ประกอบการฝึกอบรม 96 (68.57) 44 (31.43) - 4.67 ดีมาก 4 จำกตำรำงข้อที่ 3 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ในด้านมี ความสามารถในการอธิบายเนื อหา มีค่าเฉลี่ย 4.81 รองลงมาคือ เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความ คิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.75 รองลงมาคือ มีความสามารถในการตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย คิดเป็น ร้อยละ 4.8 ส่วนข้อที่ค่าเฉลี่ย ต่้าที่สุด คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.67


ตำรำงข้อที่ 4 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ชื่อวิชำ ได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ มำก ปำน กลำง น้อย ค่ำเฉลี่ย ควำม หมำย ล ำดับ ที่ 4 ด้ำนสิ่งอ ำนวยควำมสะดวก 4.1 ความเหมาะสมของสถานที่ ที่ใช้ในการ ฝึกอบรม 107 (76.43) 33 (23.57) - 4.76 ดีมาก 2 4.2 ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ ฝึกอบรม 98 (70.00) 42 (30.00) - 4.70 ดีมาก 5 4.3 ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการ ฝึกอบรม 100 (71.43) 40 (28.57) - 4.71 ดีมาก 4 4.4 ความเหมาะสมของอาหารและเครื่องดื่ม 105 (75.00) 35 (25.00) - 4.75 ดีมาก 3 4.5 การประชาสัมพันธ์ในการจัดฝึกอบรม 140 (100) - - 5.00 ดีมาก 1 จำกตำรำงข้อที่4 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ด้านสิ่งอ้านวย ความสะดวก คือ การประชาสัมพันธ์ในการจัดฝึกอบรม เฉลี่ย 5.00 รองลงมาคือ ความเหมาะสมของสถานที่ ที่ใช้ในการฝึกอบรม คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.76 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่้าที่สุด ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการฝึกอบรม คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.70


ตำรำงข้อที่ 5 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ชื่อวิชำ ได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ มาก ปาน กลาง น้อย ค่าเฉลี่ย ความ หมาย ล้าดับ ที่ 5. ด้ำนกำรน ำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ 5.1 เนื อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตาม ความ ต้องการของท่าน 96 (68.57) 44 (31.43) - 4.67 ดีมาก 4 5.2 ได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตาม ความคาดหวัง 114 (81.42) 26 (18.58) - 4.81 ดีมาก 1 5.3 ความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถน้าไป ประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและด้าเนิน ชีวิตประจ้าวันได้ 106 (75.71) 34 (24.29) - 4.75 ดีมาก 2 5.4 ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน เพียงใด 98 (70.00) 42 (30.00) - 4.70 ดีมาก 3 5. 5 โด ยภ าพ ร ว ม ท่ านมีค ว ามพึงพอใ จใน กระบวนการและขั นตอนของการฝึกอบรมในครั งนี 96 (68.57) 44 (31.43) - 4.67 ดีมาก 4 จำกตำรำงข้อที่ 5 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด โดยภาพรวม ท่าน มีความพึงพอใจได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตาม ความคาดหวัง คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.81 รองลงมา คือ ความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถน้าไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้ คิด เป็นค่าเฉลี่ย 4.75 ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่้าที่สุด โดยภาพรวม ท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการและขั นตอนของ การฝึกอบรมในครั งนี คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.67 10.ควำมรู้สึก/สิ่งที่ประทับใจในกำรอบรมครั้งนี้ - จะน้าความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจ้าวันได้ 11. ต้องกำรให้มีกำรจัดอบรมอีกหรือไม่ - ต้องการให้มีการจัดอบรมอีก จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100 12.ในกรณีที่ต้องกำรให้มีกำรจัดกำรอบรมอีก ต้องกำรให้มีกำรจัดอบรมในเรื่องใด - ไม่มี 13.ปัญหำ อุปสรรคที่เกิดจำกำรร่วมกิจกรรมกำรอบรมครั้งนี้ - ไม่มีปัญหา / อุปสรรค


14.ข้อเสนอแนะส ำหรับปรับปรุง แก้ไขในกำรจัดกำรอบรมครั้งต่อไป - ต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี อีก - ต้องการให้มีกิจกรรมมากกว่านี - ต้องการให้มีกิจกรรมนันทนาการที่แสดงออกที่หลากหลาย


บทที่ 5 สรุปผล และอภิปรำยผล สรุปผล ในการสรุปผลประเมิน โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ กศน.ต้าบลวังน ้าเย็น กศน.ต้าบลคลองหินปูน กศน.ต้าบลตาหลังใน กศน.ต้าบลทุ่งมหาเจริญ อ้าเภอวังน ้าเย็น จังหวัดสระแก้ว ครั งนี ได้ส่งแบบประเมินความพึงพอใจให้กลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 140 ชุด ได้แบบประเมินความพึงพอใจ กลับคืนมา 140 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 สามารถไปสรุปเป็นข้อมูลได้ดังนี ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจปรากฏดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จ้านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 45.71 เพศหญิง จ้านวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 54.29 และผู้เข้าร่วมโครงการ ที่มีอายุระหว่าง 13-16 ปี จ้านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 5.00 มีอายุระหว่าง 17-20 ปี จ้านวน 77 คนคิดเป็น ร้อยละ 55.00 มีอายุ 21 ปีขึ นไป จ้านวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับการศึกษาประถมศึกษา จ้านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.85 มัธยมศึกษาตอนต้น จ้านวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 45.71 มัธยมศึกษาตอนปลาย จ้านวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 51.42 ศาสนาพุทธ จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรม ของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ปรากฏดังนี คือ ข้อมูล เข้ารับการอบรมครั งนี ทราบข่าวจากครู จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อมูลเข้ารับการอบรมครั งนี อยากมาเองจ้านวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 22.85 เพราะเพื่อนชวน จ้านวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 77.15 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ในด้านมี ความสามารถในการอธิบายเนื อหา มีค่าเฉลี่ย 4.81 รองลงมาคือ เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแสดงความ คิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.75 รองลงมาคือ มีความสามารถในการตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย คิดเป็น ร้อยละ 4.8 ส่วนข้อที่ค่าเฉลี่ย ต่้าที่สุด คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.67 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด ด้านสิ่งอ้านวย ความสะดวก คือ การประชาสัมพันธ์ในการจัดฝึกอบรม เฉลี่ย 5.00 รองลงมาคือ ความเหมาะสมของสถานที่ ที่ใช้ในการฝึกอบรม คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.76 ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่้าที่สุด ความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการฝึกอบรม คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.70 ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริม สุขภาพจิต วัยรุ่นป้องกันภาวะซึมเศร้า ดังนี คือ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจมากที่สุด โดยภาพรวม ท่านมีความพึงพอใจได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตาม ความคาดหวัง คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.81 รองลงมา คือ ความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถน้าไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้ คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.75 ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่้าที่สุด โดยภาพรวม ท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการและขั นตอนของ การฝึกอบรมในครั งนี คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.67


ที่ประทับใจในการอบรมครั งนี จะน้าเรื่องที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ้าวันต้องการให้มีการจัดอบรมอีก หรือไม่ ต้องการให้มีการจัดอบรมอีก จ้านวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ในกรณีที่ต้องการให้มีการจัดการ อบรมอีก ต้องการให้มีการจัดอบรมในเรื่องใด - ไม่มี ควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะ - ต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี อีก - ต้องการให้มีกิจกรรมมากกว่านี - ต้องการให้มีกิจกรรมนันทนาการที่แสดงออกที่หลากหลาย


โครงกำรส่งเสริมสุขภำพจิต วัยรุ่นป้องกันภำวะซึมเศร้ำ วันที่ 17 สิงหำคม 2565 ณ กศน.ต ำบลวังน้ ำเย็น กศน.ต ำบลคลองหินปูน กศน.ต ำบลตำหลังใน กศน.ต ำบลทุ่งมหำเจริญ อ ำเภอวังน้ ำเย็น จังหวัดสระแก้ว


โครงกำรส่งเสริมสุขภำพจิต วัยรุ่นป้องกันภำวะซึมเศร้ำ วันที่ 17 สิงหำคม 2565 ณ กศน.ต ำบลวังน้ ำเย็น กศน.ต ำบลคลองหินปูน กศน.ต ำบลตำหลังใน กศน.ต ำบลทุ่งมหำเจริญ อ ำเภอวังน้ ำเย็น จังหวัดสระแก้ว


คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำโครงกำร นางอารีย์ ลิ มวัฒนกิตติ ผู้อ้านวยการ กศน.อ้าเภอวังน ้าเย็น นายไพฑูร ขุนสอาด ครู นางสาวปรีดา สีเหลี่ยม ครูผู้ช่วย ผู้รับผิดชอบโครงกำร นางสาวณัฏฐ์ชวัล ไชยเพชร ครู กศน.ต้าบล คณะท ำงำน นางพจมาศ ไชยบุตร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวสุณญตา สนสร้อย ครู กศน.ต้าบล นางดวงฤดี หล้าเจริญ ครู กศน.ต้าบล นางสาวนิชาภา นางสาวณัฏฐ์ชวัล ธรรมจันทร์ ไชยเพชร ครู กศน.ต้าบล ครู กศน.ต้าบล นายสมบูรณ์ วังโส ครู กศน.ต้าบล นางสาวปรัชกานณ์ สีเหลี่ยม ครู กศน.ต้าบล นางสาวกัญญาภัค พลเสน ครู กศน.ต้าบล นางสาวจิรภา โสมกุล บรรณารักษ์ นายกริจวัชน์ นายวิทัศน์ อังกูรธีรพัฒน์ ปรากฏหาญ ครูผู้สอนคนพิการ ครูผู้สอนคนพิการ ออกแบบปก นายไพฑูร ชุนสอาด ครู


Click to View FlipBook Version