The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

น.ส.ปิยาพัชร แป้นจันทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooksakaeo, 2020-05-20 21:40:10

การทำขนมเม็ดขนุน

น.ส.ปิยาพัชร แป้นจันทร์

~ก~

คำนำ

การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรู้
ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจ
ชมุ ชน และสภาพสังคมปัจจุบันได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม
และสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรมนุษย์เพิ่มข้ึนเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไปอย่างรวดเร็ว และไม่
เพียงพอกับจานวนประชากรที่เพ่ิมขึ้น มนุษย์จึงประสบปัญหาต่างๆตามมามากมาย โดยเฉพาะด้านการดารงชพี และชวี ติ
ความเป็นอยู่ของมนุษย์ ดงั น้นั จงึ จาเปน็ อยา่ งยิ่งทม่ี นุษย์เราจะต้องสร้างส่ิงทดแทนเพ่ือการอยู่รอดโดยวธิ ีการตา่ งๆ

จากการสังเกตประชาชนในชุมชนท่ัวไปได้นิยมบริโภคขนมหวานเพราะมีราคาย่อมเยาว์ หาซ้ือได้ง่าย สามารถ
ทาไดห้ ลายเมนู สว่ นการทาเม็ดขนนุ ฝอยทอง เป็นอาหารหวานทมี่ มี าต้ังแตส่ มยั โบราณ เพราะสมยั กอ่ นน้ันไดท้ าขนมมาก็
คิดวิธีการอาหารหวานเพอ่ื จะไดเ้ กบ็ ไวไ้ ดน้ าน จึงนาไขไ่ ก่มาทาอาหารหวาน แปรรูปเป็นขนมในแบบตา่ งๆ

การทาขนมเม็ดขนุน -ฝอยทอง ผู้ประกอบการจะทาให้ได้ผลดีต้องข้ึนอยู่ที่การฝึกฝน และการเรียนรู้วิธีการทา รู้จัก
ดัดแปลงตกแต่งรูปแบบชนิดต่างๆ ให้สะดุดตาสะดุดใจต่อผู้พบเห็นทาให้เกิดความอยากรับประทาน เมื่อรับประทานแล้ว
จะตอ้ งตดิ ใจในรสชาตแิ ละกลนิ่ ของอาหารหวาน อีกท้งั ยงั ประกอบเปน็ อาชีพได้

ผู้จัดทา

~ข~

สำรบญั

คานา...................................................................................................................................................................................ก
วชิ าการทาขนมเมด็ ขนนุ – ฝอยทอง...................................................................................................................................1

ความเป็นมา..................................................................................................................................................................1
หลักการ ........................................................................................................................................................................1
จดุ หมาย........................................................................................................................................................................2
กลุม่ เป้าหมาย ...............................................................................................................................................................2
ระยะเวลา .....................................................................................................................................................................2
โครงสร้างหลักสูตร........................................................................................................................................................2
การจดั กระบวนการเรียนรู้ ............................................................................................................................................3
รายละเอียดโครงสร้างหลกั สูตร(แผนการสอน/แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้...................................................................4
สือ่ การเรยี นรู้ ................................................................................................................................................................6
การวัดและประเมนิ ผล ..................................................................................................................................................6
เงอ่ื นไขการจบหลกั สตู ร ................................................................................................................................................6
เอกสารหลกั ฐาน การผา่ นการฝึกอบรม/การจบหลักสตู ร .............................................................................................6
ใบความรู้.............................................................................................................................................................................7

ลกั ษณะของแผนธุรกจิ ทีด่ ี ต้องประกอบดว้ ยสว่ นสาคัญดังนี้ ............................................................................... 23
คณะผจู้ ัดทา ..................................................................................................................................................................... 24

~1~

วิชำกำรทำขนมเม็ดขนุน – ฝอยทอง
หลกั สตู ร 10 ชั่วโมง

กลมุ่ อำชีพพำณิชยกรรมและบรกิ ำร

ควำมเป็นมำ

การจัดการศกึ ษาอาชีพในปัจจบุ ันมีความสาคญั มาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรู้
ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจ
ชุมชน และสภาพสงั คมปัจจุบันได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม
และส่ิงแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรมนุษย์เพิ่มข้ึนเรื่อยๆ แต่ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไปอย่างรวดเร็ว และไม่
เพียงพอกับจานวนประชากรท่ีเพ่ิมขึ้น มนุษย์จึงประสบปัญหาต่างๆตามมามากมาย โดยเฉพาะด้านการดารงชพี และชีวติ
ความเปน็ อยูข่ องมนษุ ย์ ดงั น้ันจงึ จาเปน็ อย่างย่ิงท่มี นุษยเ์ ราจะต้องสรา้ งส่ิงทดแทนเพอ่ื การอยรู่ อดโดยวธิ ีการตา่ งๆ

จากการสังเกตประชาชนในชุมชนทั่วไปได้นิยมบริโภคไข่ไก่เพราะมีราคาย่อมเยาว์ หาซ้ือได้ง่าย สามารถ
ทาอาหารได้หลายเมนู ส่วนการทาเม็ดขนุน ฝอยทอง เป็นอาหารหวานที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ สมัยน้ันได้ไข่ไก่มาก็คิด
วิธีการแปรรูปอาหารเพื่อจะได้เก็บไว้รับประทาน จึงนาไข่ไก่มาแปรรูปเป็นอาหารหวาน ในรูปแบบต่างๆ อีกท้ังยัง
ประกอบเป็นอาชีพได้

หลักกำร

1. เป็นหลกั สตู รทีเ่ น้นการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมงี านทา ท่ีเนน้ การบูรณาการเนอื้ หาสาระภาคทฤษฎี
ควบคไู่ ปกบั การฝกึ ปฏิบัติจรงิ ผเู้ รยี นสามารถนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชพี ไดจ้ รงิ อยา่ งมคี ณุ ภาพ
และมคี ณุ ธรรมจริยธรรม

2. เป็นหลกั สูตรทเ่ี น้นการดาเนนิ งานรว่ มกับเครือขา่ ย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพ
และการศกึ ษาดงู าน

3. เปน็ หลักสูตรท่ผี ู้เรียนสามารถนาผลการเรียนร้ไู ปเทียบโอนเข้าสู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาเลอื กของสาระการประกอบอาชพี

4. เปน็ หลกั สูตรทเ่ี น้นการใช้ศกั ยภาพ 5 ด้านในการประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพด้านทรพั ยากร ภูมิอากาศ
ภมู ปิ ระเทศและทาเลที่ตง้ั ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและวถิ ชี ีวิต และดา้ นทรพั ยากรมนุษย์

~2~

จุดหมำย

เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณลักษณะดงั นี้
1. มคี วามรแู้ ละทักษะในการประกอบอาชพี สามารถสรา้ งรายได้ที่มัน่ คง ม่ังค่ัง
2. ตดั สินใจประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของตนเอง ชุมชน สงั คม และส่ิงแวดลอ้ มอย่างมคี ุณธรรม

จริยธรรม
3. มเี จตคตทิ ีด่ ีในการประกอบอาชีพ
4. มีความรคู้ วามเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจดั การในอาชีพไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
5. มโี ครงการประกอบอาชพี เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

กลุม่ เปำ้ หมำย

มี 2 กลมุ่ เป้าหมาย คือ
1. ผู้ที่ไม่มีอาชพี
2. ผ้ทู ่ีมีอาชพี และต้องการพฒั นาอาชพี

ระยะเวลำ

จานวน 10 ชวั่ โมง
- ทฤษฏี 5 ชว่ั โมง
- ปฏบิ ตั ิ 5 ชวั่ โมง

โครงสรำ้ งหลกั สตู ร

1. ช่องทำงกำรประกอบอำชีพ กำรทำขนมเม็ดขนนุ – ฝอยทอง จานวน 2 ช่วั โมง
- ความสาคัญในการประกอบอาชีพ
- ความเปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชีพ
- แหลง่ เรียนรูก้ ารประกอบอาชพี ธุรกิจ
- ทิศทางพัฒนาการประกอบอาชพี

2. ทกั ษะกำรประกอบอำชพี กำรทำขนมเม็ดขนุน – ฝอยทอง จานวน 6 ชวั่ โมง
- ประวตั ิของการทาขนมเม็ดขนนุ – ฝอยทอง
- อุปกรณ์การทาขนมเม็ดขนุน – ฝอยทอง
- การทาขนมเม็ดขนนุ – ฝอยทอง
- บรรจุหบี หอ่

~3~

3. กำรบรหิ ำรจดั กำรในกำรประกอบอำชพี ทำขนมเม็ดขนุน – ฝอยทอง จานวน 1 ชัว่ โมง
- การสารวจและศกึ ษาแหลง่ วัสดุ อปุ กรณ์ ของแหลง่ ทรัพยากร
- การกาหนดและควบคมุ คณุ ภาพผลผลิตท่ีต้องการ
- การลดตน้ ทุน การผลิตแตค่ ุณภาพคงเดิม
- การศกึ ษาวเิ คราะหป์ จั จัยความเสีย่ งและการจัดการความเส่ียง
- ศึกษาขอ้ มลู การตลาด วิเคราะห์ความต้องการของตลาดในชมุ ชน
- กาหนดทศิ ทาง เป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนการจดั การตลาด
- การคิดตน้ ทุนการผลิต การกาหนดราคาขาย การสง่ เสรมิ การขาย
- การกระจายสนิ คา้

4. โครงกำรประกอบอำชีพกำรทำขนมเม็ดขนุน – ฝอยทอง จานวน 1 ช่วั โมง
- ความสาคัญของโครงการประกอบอาชีพการทาขนมเมด็ ขนุน -ฝอยทอง
- การตรวจสอบความเป็นไปไดข้ องโครงการ
- ประเมินโครงการ/ปรับปรงุ โครงการ

กำรจัดกระบวนกำรเรยี นรู้

1. จัดกิจกรรมสารวจและวิเคราะห์ตนเอง ทรัพยากร อาชีพ และความต้องการของตลาด เพ่ือให้ผู้เรียนเห็น
ชอ่ งทางการประกอบอาชพี

2. จัดกิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้กระบวนการคิดเป็น และความเป็นไปได้ รวมท้ังการศึกษาดูงานเพ่ือการ
ตดั สินใจเลอื กประกอบอาชีพ

3. ฝึกทกั ษะการประกอบอาชีพ
- เรยี นรู้จากวทิ ยากร
- เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง จากสื่อตา่ งๆ แหล่งเรยี นรู้ ผูร้ ู้
- เรียนรจู้ ากการลงมือปฏิบตั จิ ริง
- เรยี นรจู้ ากกล่มุ โดยการพบกล่มุ เพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

4. จดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ ก่ยี วกบั การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ การบริหารจัดการ การผลิต และการ
บรหิ ารจดั การทางการตลาด

5. จัดทาโครงการประกอบอาชพี การเขยี นโครงการ
6. ดาเนนิ การใหผ้ เู้ รยี นนาโครงการประกอบอาชีพ ไปส่กู ารปฏบิ ตั จิ รงิ
7. การนิเทศ ตดิ ตามประเมินโครงการของผู้เรยี น และใหข้ ้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ พัฒนา

~4~

รำยละเอยี ดโครงสร้ำงหลักสตู ร(แผนกำรสอน/แผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้

ท่ี เร่ือง จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ เน้ือหำ กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ จำนวน
ชว่ั โมง

ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1 1. ชอ่ ง 1.1 บอกความสาคัญใน 1.1 ความสาคญั ในการ 1.1 ศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสาร สอ่ื

ทางการ การประกอบอาชีพทา ประกอบอาชีพการทา อเิ ล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการ สอื่

ประกอบ ขนมเม็ดขนุน-ฝอยทอง ขนมเมด็ ขนนุ -ฝอยทอง ของจรงิ ส่ือบคุ คลในชมุ ชน เพอ่ื นา

อาชีพการ ได้ 1.2 ความเปน็ ไปได้ใน ขอ้ มูลมาวเิ คราะห์และใช้ในการประกอบ

ทาขนม 1.2 บอกความเปน็ ไปได้ การประกอบอาชพี การ อาชีพที่มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นชุมชน

เม็ดขนุน- ในการประกอบอาชีพทา ทาขนุน -ฝอยทอง 1.2 วเิ คราะหอ์ าชพี ท่ีจะสามารถเลอื ก

ฝอยทอง ขนมเม็ดขนนุ -ฝอยทอง 1.3 แหล่งเรยี นรู้ ประกอบอาชีพไดใ้ นชมุ ชนจากขอ้ มลู

ได้ 1.4 ทิศทางพฒั นาการ ต่างๆ

1.3 บอกและหาแหล่ง ประกอบ อาชพี การทา 1.3 ศกึ ษาดงู านในสถานประกอบการ

เรียนรู้ในการประกอบ ขนุน -ฝอยทอง แหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ ในอาชพี ท่ีตัดสินใจ

อาชีพการทาขนมเม็ด เลอื ก 1
ขนนุ -ฝอยทองได้ 1.4 กาหนดทิศทางพัฒนาการประกอบ

1.4 บอกทศิ ทาง อาชีพโดยใช้กระบวนการคดิ เป็นและมี

พฒั นาการประกอบ ความเปน็ ไปไดต้ ามศกั ยภาพ 5 ด้าน

อาชีพการทาขนมเม็ด ไดแ้ ก่ ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติใน

ขนนุ -ฝอยทองได้ แตล่ ะพน้ื ท่ี ศักยภาพของพนื้ ท่ตี าม

ลักษณะภมู ิอากาศ ศักยภาพของภมู ิ

ประเทศ และทาเลท่ตี งั้ ของแต่ละ

ประเทศ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม

ประเพณแี ละวิถีชีวิตของแต่ละพนื้ ท่ีและ

ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นแตล่ ะ

พน้ื ที่

2. 2. ทกั ษะ 2.1 บอกประวัติของการ 2.1 ประวัตขิ องการทา 2.1 จดั ให้ผู้เรยี นศึกษาเอกสารเก่ยี วกับ 1 4

การ ทาขนมเม็ดขนนุ - ขนมเมด็ ขนนุ -ฝอยทอง ประวตั ิการทาขนมเม็ดขนนุ –ฝอยทอง

ประกอบ ฝอยทองได้ ได้ 2.2 จดั ให้ผเู้ รียนศกึ ษาเอกสารของ

อาชีพการ 2.2 บอกอปุ กรณ์ในการ 2.2 อปุ กรณใ์ นการทา อุปกรณใ์ นการทาขนมเมด็ ขนุน-ฝอยทอง

ทาขนม ทาขนมเม็ดขนุน- ขนมเม็ดขนนุ - 2.3 จดั ให้ผู้เรียนศึกษาอปุ กรณ์ในการทา

เมด็ ขนุน- ฝอยทองได้ ฝอยทอง ขนมเม็ดขนุน –ฝอยทอง พร้อมวิธกี าร

ฝอยทอง 2.3 บอกวธิ ีการทาขนม 2.3 วิธกี ารทาขนมเม็ด ทา และฝกึ ปฏิบตั ิ

เมด็ ขนุน-ฝอยทองได้ ขนุน-ฝอยทอง 2.4 การบรรจุขนมเม็ดขนุน-ฝอยทอง

2.4 บรรจุภณั ฑ์ 2.4 ชนิดบรรจภุ ณั ฑ์

~5~

ท่ี เร่ือง จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ เนอ้ื หำ กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ จำนวน
ชั่วโมง

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

3. 3. การ 3.1 สามารถสารวจและ 3.1 สารวจและศกึ ษา 3.1 สารวจและศึกษาแหล่งวสั ดุ อปุ กรณ์

บรหิ าร ศกึ ษาแหล่งวัสดุ อุปกรณ์ แหลง่ วสั ดุ อุปกรณ์ ของแหลง่ ทรัพยากร

จัดการใน ของแหล่งทรพั ยากรได้ ของแหล่งทรพั ยากร

การ 3.2 สามารถกาหนดและ 3.2 การกาหนดและ 3.2 การกาหนดและการควบคมุ คณุ ภาพ

ประกอบ ควบคุมคุณภาพผลผลิต ควบคมุ คุณภาพ ผลผลติ ทต่ี ้องการ

อาชีพการ ที่ตอ้ งการได้ ผลผลิตที่ตอ้ งการ

ทาขนม 3.3 สามารถลดตน้ ทุน 3.3 การลดตน้ ทนุ การ 3.3 ศึกษาการลดตน้ ทนุ การผลิตแต่

เมด็ ขนุน- การผลติ แต่คุณภาพคง ผลิตแต่คุณภาพคงเดิม คุณภาพ คงเดิม

ฝอยทอง เดิมได้ 3.4 การศึกษา

3.4 สามารถศกึ ษา วิเคราะหป์ จั จยั ความ 3.4 ศึกษา วิเคราะห์ ปัจจยั ความเสี่ยงท่ี

วิเคราะห์ปัจจัยความ เสี่ยงและการจัดการ คาดว่าจะเกิดขน้ึ และมีแนวทางในการ

เส่ียงและการจัดการ ความเสี่ยง จดั การความเสย่ี ง

ความเสี่ยงได้ 3.5 การศกึ ษาขอ้ มูล 3.5 ศกึ ษาข้อมูลการตลาด และวเิ คราะห์ 2
ความตอ้ งการของตลาดในชมุ ชน
3.5 สามารถศกึ ษาข้อมูล การตลาด วเิ คราะห์

การตลาด วเิ คราะห์ ความต้องการของ

ความตอ้ งการของตลาด ตลาดในชุมชน 3.6 การกาหนดทิศทาง เป้าหมาย กล

ในชุมชนได้ 3.6 กาหนดทิศทาง ยุทธ์ และแผนการจดั การตลาดที่

3.6 สามารถกาหนด เปา้ หมาย กลยุทธ์ และ เกี่ยวขอ้ งกบั การทาขนมเม็ดขนนุ -

ทิศทาง เป้าหมาย กล แผนการจัดการตลาด ฝอยทอง

ยทุ ธ์ และแผนการ 3.7 การคิดต้นทนุ การ 3.7 ดาเนินการตามกระบวนการจดั การ

จัดการตลาดได้ ผลิต การกาหนดราคา การตลาด เชน่ การคิดตน้ ทนุ การผลิต

3.7 สามารถคิดต้นทุน ขาย การสง่ เสรมิ การ การกาหนดราคาขาย การส่งเสรมิ การ

การผลติ การกาหนด ขาย การกระจายสนิ คา้ ขาย การกระจายสินค้า

ราคาขาย การสง่ เสริม

การขาย การกระจาย

สนิ ค้าได้

4. โครงการ 4.1 เขยี นโครงการในแต่ 4.1 การเขียนโครงการ 4.1 จดั ให้ผู้เรยี นฝึกปฏบิ ัติการเขียน

ประกอบ ละองค์ประกอบให้ ประกอบอาชพี เพอื่ โครงการประกอบอาชีพ

อาชีพการ เหมาะสมและถูกต้องได้ นาไปส่กู ารปฏิบตั ิจริง 11
ทาขนม 4.2 ตรวจสอบความ 4.2 การตรวจสอบ

เม็ดขนุน- เป็นไปได้ของโครงการ ความเป็นไปได้ของ 4.2 กาหนดใหผ้ ู้เรยี นเขยี นโครงการ

ฝอยทอง ประเมนิ โครงการ/ โครงการ การประเมิน อาชพี ของตนเองและตรวจสอบความ

~6~

ปรับปรุงโครงการได้ โครงการ/ปรบั ปรงุ เป็นไปไดข้ องโครงการ และการประเมิน
โครงการ ความเหมาะสมและสอดคล้องของ
โครงการอาชพี

สือ่ กำรเรียนรู้
1. สอื่ ส่ิงพมิ พ์ ได้แก่ หนังสือ คูม่ อื เอกสาร ใบความรู้
2. สอ่ื บุคคล / ภมู ปิ ัญญา
3. สื่ออินเตอรเ์ นต็

กำรวดั และประเมนิ ผล
1. การประเมนิ ความร้ภู าคทฤษฏรี ะหว่างเรยี นและจบหลกั สตู ร
2. การประเมินผลงานระหวา่ งเรยี นจากการปฏบิ ตั ิ ไดผ้ ลงานทมี่ ีคุณภาพสามารถสรา้ งรายได้ และจบหลักสตู ร

เงือ่ นไขกำรจบหลักสตู ร
1. มเี วลาเรียน ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85
2. มีผลการประเมนิ ทงั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ไิ ม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60
3. มีผลงานอาชีพการผูกผ้าในงานพิธีตา่ ง ท่ีได้มาตรฐานเป็นที่นา่ พึงพอใจ

เอกสำรหลกั ฐำน กำรผำ่ นกำรฝกึ อบรม/กำรจบหลกั สูตร
1. หลักฐานการประเมนิ ผล
2. วุฒิบตั ร ออกโดยสถานศึกษาในสังกดั สานักงาน กศน.
3. ทะเบยี นคมุ วุฒบิ ตั รทสี่ ถานศึกษาออกใหก้ ับผู้เรียนจบหลักสตู ร

~7~

ใบควำมรู้

เร่อื งท่ี 1 ช่องทำงกำรประกอบอำชีพกำรทำขนมเม็ดขนุน -ฝอยทอง

1. ควำมสำคัญในกำรประกอบอำชีพ
การประกอบอาชีพ หมายถึง การทามาหากินท่เี กิดจากกิจกรรมหรือบรกิ ารใดๆ ทกี่ ่อให้เกดิ ผลผลิตและรายได้

ซง่ึ เปน็ งานประจาทีส่ ุจริต ไม่ผิดศีลธรรม
ลกั ษณะอำชพี แบ่งออกเป็น

1. อาชพี อิสระ มลี กั ษณะเปน็ เจา้ ของกิจการ บริหารจดั การด้วยตนเอง อาจเปน็ กิจการขนาดเลก็ หรอื เป็น
อุตสาหกรรมในครัว เรอื น อาชีพอิสระแยกย่อยออกไปเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

- อาชพี อิสระดา้ นการผลิต การแปรรูปผลผลิตเป็นสินคา้ นาไปจาหน่ายในทอ้ งตลาดเป็นการขายปลีกและ
ขายส่ง เช่น อาหารไทย ขนมไทย เบเกอรี่ ผักผลไม้ แปรรปู เนอื้ สตั ว์

- อาชพี อสิ ระด้านการใหบ้ รกิ าร เปน็ อาชพี ทน่ี ยิ มกนั แพรห่ ลาย เน่อื งจากมีความเสีย่ งน้อย การลงทุนต่า เชน่
บริการทาความสะอาด ทานายโชคชะตา บริการซักรีดเสอื้ ผา้ ชา่ งซอ่ มอน่ื ๆ

2. อาชพี รับจ้าง เปน็ การทางานทีม่ ีเจา้ นายมอบหมาย ได้รบั คา่ ตอบแทนเปน็ เงิน เช่น งานก่อสร้าง พนกั งานใน
บริษทั ห้างร้าน และโรงงาน

3. อาชีพงานฝมี ือ เป็นอาชีพทป่ี ฏิบัตงิ านโดยใช้ประสบการณแ์ ละความชานาญเฉพาะดา้ น เชน่ งานศลิ ปะ งาน
หัตถกรรม งานประติมากรรม

4. อาชีพขา้ ราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรฐั รวมท้งั พนกั งานรฐั วิสาหกจิ เป็นอาชีพท่ีให้บรกิ ารแก่ประชาชน
ประโยชนข์ องอำชีพ มีหลายดา้ น ดังนี้
1. ด้านตนเอง เป็นคนที่รู้คณุ คา่ ของเงิน ใช้จา่ ยเงินอย่างประหยดั วางแผนการใช้จ่ายเงิน การเกบ็ ออมเงินเพือ่
ความม่ันคงของชวี ติ
2. ด้านครอบครวั การมอี าชพี จะสรา้ งคณุ ค่าให้กบั ตนเองและสมาชกิ ในครอบครัว เป็นตัวอยา่ งแก่คนใน
ครอบครัวและบคุ คลอ่ืนๆ
3. ดา้ นชมุ ชน เป็นการสร้างรายได้ให้ชมุ ชน ทาใหเ้ ศรษฐกิจชุมชนดขี ึ้น ทาให้ชุมชนเขม้ แขง็ พ่งึ พาตนเองได้
4. ดา้ นประเทศชาติ เมื่อประชาชนมอี าชพี มีรายได้ รัฐสามารถเกบ็ ภาษีจากประชาชนได้ สามารถนารายได้จาก
การเก็บภาษีไปพัฒนาประเทศในดา้ นต่างๆ ได้
2. ควำมเป็นไปได้ในกำรประกอบอำชพี
อาชีพมีหลายประเภท มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั การเลอื กอาชีพตอ้ งพจิ ารณาจากปัจจยั ต่างๆ ดังน้ี

2.1 กำรวิเครำะห์ตนเอง
1. ความสนใจ สารวจความถนดั ความสนใจ ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมกบั ตนเองมากที่สุด

เพอ่ื เป็นแนวทางการเลือกอาชีพท่เี หมาะสม
2. วสิ ยั ทัศน์การเป็นคนท่ีมีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ และมองการณ์ไกล จะไดเ้ ปรยี บในเชงิ ธุรกจิ มากกว่าคน

อื่น

~8~

3. ความรู้และทักษะในการประกอบอาชพี หากไม่มคี วามรเู้ พียงพอ ต้องศกึ ษาขวนขวายหาความรู้เพม่ิ เติม
อาจจะฝึกอบรมจากสถาบนั ท่ีให้ความรู้ดา้ นอาชพี หรือทางานเปน็ ลกู จ้างคนอืน่ ๆ หรอื ทดลองปฏบิ ัติด้วยตนเองเพอ่ื ให้มีความรู้
ความชานาญ และมปี ระสบการณ์ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ

2.2 กำรวิเครำะห์ตลำด
1. การตลาด เปน็ ปจั จยั ท่สี าคญั มากทสี่ ุดปัจจัยหนึ่ง เพราะหากสนิ คา้ และบรกิ ารทผ่ี ลิตข้ึนไม่เป็นที่นิยมและไม่

สามารถสรา้ งความพอใจให้แกผ่ ูบ้ รโิ ภคได้ ก็ถอื ว่ากระบวนการทง้ั ระบบไม่ประสบผลสาเรจ็ ดงั นั้นการวางแผน
การตลาด ซ่ึงปัจจุบันมีการแข่งขันสูง จึงควรได้รับความสนใจในการพัฒนา รวมทั้งต้องรู้และเข้าใจในเทคนิคการผลิต
การบรรจุและการหีบห่อ ตลอดจนการประชาสัมพนั ธ์ เพ่อื ใหส้ ินคา้ และบริการของเราเป็นที่นิยมของลูกค้ากลุ่ม เป้าหมาย
ตอ่ ไป

2. การจัดการ เปน็ เร่อื งของเทคนคิ และวธิ กี าร จึงตอ้ งรจู้ ักการวางแผนการทางานในเรื่องของตวั บุคคลที่จะ
ร่วมคิด ร่วมทาและร่วมทุน ตลอดจนเคร่ืองมือ เครื่องใชแ้ ละกระบวนการทางาน

3. การเลือกกลุ่มเป้าหมาย เราอาจแบง่ กล่มุ ลูกค้า โดยแบ่งตามอายุ ความชอบ เพศ ระดับ การศกึ ษา การ
เลือกซอ้ื สนิ ค้า ราคา และรสชาติ เปน็ ตน้

4. การวเิ คราะหล์ กู ค้า1) เราตอ้ งร้คู วามต้องการของกล่มุ เป้าหมาย 2) รู้วัตถุประสงค์ในการบริโภคสินค้า 3)
ร้วู ิธีการตัดสนิ ใจซ้อื ของลูกคา้

2.3 กำรลงทุน/แหลง่ เงนิ ทุน
1. ทรัพยากรในท้องถิน่ การสารวจทรพั ยากรท่ีมใี นท้องถ่นิ วา่ สามารถนามาใช้ในการผลิตสนิ ค้า ซึ่งจะชว่ ย

ประหยดั ต้นทุน คา่ ใช้จา่ ย และเป็นการสร้างงานใหค้ นในท้องถน่ิ
2. ทนุ เป็นส่งิ ทีจ่ าเปน็ ปัจจยั พ้นื ฐานของการประกอบอาชพี ใหม่ โดยจะต้องวางแผนและแนวทางการดาเนนิ

ธรุ กจิ ไว้ลว่ งหน้า เพ่อื ที่จะทราบวา่ ต้องใช้เงนิ ทุนประมาณเท่าไร บางอาชพี ใช้เงนิ ทุนนอ้ ยปญั หายอ่ มมนี อ้ ย แตถ่ า้ เป็นอาชีพ
ที่ต้องใช้เงินทนุ มากจะต้องพิจารณาวา่ มที นุ เพยี งพอหรอื ไม่ซึ่งอาจ เปน็ ปัญหาใหญ่ ถ้าไม่พอจะหาแหลง่ เงินทุนจากทใี่ ด
อาจจะไดจ้ ากเงนิ เกบ็ ออม หรือการกูย้ มื จากธนาคาร หรือสถาบันการเงินอ่ืนๆ อย่างไรก็ตาม ในระยะแรกไม่ควรลงทุนจน
หมดเงินเกบ็ ออมหรอื ลงทุนมากเกินไป

3. การประกอบอาชีพจะใชท้ นุ เร่ิมต้นเท่าไหร่
3. แหลง่ เรยี นรู้กำรประกอบอำชพี

แหล่งเรยี นรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูลขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทส่ี นับสนนุ สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นใฝเ่ รียน
ใฝร่ ู้ แสวงหาความรแู้ ละเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองตามอธั ยาศยั อยา่ งกว้างขวางและต่อเน่อื ง เพือ่ เสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รยี นเกดิ
กระบวนการเรยี นรู้ และเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้

สาหรบั แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพกาแฟโบราณมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ให้ผเู้ รยี นไดศ้ กึ ษารปู แบบและวธิ กี ารขาย
จากสถานที่จริง ไดเ้ หน็ รูปแบบการดาเนินกิจกรรมร้านกาแฟโบราณ ที่มีขายในทอ้ งตลาด

นอกจากนี้การได้ศึกษาจากผปู้ ระกอบอาชีพไขเ่ ค็ม ทีป่ ระสบความสาเร็จ จะทาใหผ้ ู้เรียนได้รับการถ่ายทอด
ประสบการณ์ อันจะส่งผลให้เกดิ แนวคิด และแรงบนั ดาลใจในการสร้างอาชีพ

~9~

4. ทศิ ทำงพัฒนำกำรประกอบอำชีพกำรทำขนมเมด็ ขนุน-ฝอยทอง
กอ่ นการกาหนดทศิ ทางพฒั นาการประกอบอาชพี ใดๆ กต็ ามควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ซึ่งมขี อ้ แนะนาดงั นี้
ประกำรแรก ควรเลือกอาชีพท่ีชอบหรือคิดว่าถนัด สารวจตัวเองว่าสนใจ อาชีพอะไร ชอบหรือถนัดด้านไหน มี

ความสามารถอะไรบ้าง ท่ีสาคัญคือต้อง การหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะเหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว
กล่าวคือ พจิ ารณาลกั ษณะงานอาชพี และพจิ ารณาตวั เอง พร้อมทั้งบคุ คลในครอบครัวประกอบกนั ไปด้วย

ประกำรที่สอง จะต้องพฒั นาความสามารถของตวั เอง คือ ตอ้ งศึกษารายละเอยี ดของอาชีพที่จะเลือกไปประกอบ
ถ้าความรู้ความเข้าใจยังมีน้อย มีไม่เพียงพอก็ต้องทาการศึกษา ฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติเพ่ิมเติมจากบุคคล หรือหน่วยงาน
ต่างๆ ให้มีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจในการเร่ิมประกอบอาชีพที่ถูกต้อง เพื่อจะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของผู้มี
ประสบการณม์ าก่อน จักได้เพิ่มโอกาสความสาเรจ็ สมหวงั ในการไปประกอบอาชีพนั้นๆ

ประกำรทส่ี ำม พิจารณาองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น ทาเลที่ตั้งของอาชีพท่ีจะทาไม่ว่าจะเป็นการผลิต การ
จาหน่าย หรือการให้บริการก็ตาม สภาพ แวดล้อมผู้ร่วมงาน พ้ืนฐานในการเร่ิมทาธุรกิจ เงินทุน โดยเฉพาะเงินทุนต้อง
พิจารณาวา่ มีเพยี งพอหรอื ไม่ถ้าไมพ่ อจะหาแหล่งเงินทนุ จากที่ใด

~ 10 ~

ใบควำมรู้

เรือ่ งที่ 2 ทกั ษะกำรประกอบอำชพี ทำขนมเมด็ ขนนุ -ฝอยทอง

การทาขนมเม็ดขนุน -ฝอยทอง ผู้ประกอบการจะทาให้ได้ผลดีต้องขึ้นอยู่ที่การฝึกฝน และการเรียนรู้วิธีการทา รู้จัก
ดัดแปลงตกแต่งรูปแบบชนิดต่างๆ ให้สะดุดตาสะดุดใจต่อผู้พบเห็นทาให้เกิดความอยากรับประทาน เม่ือรับประทานแล้ว
จะต้องตดิ ใจในรสชาติและกลิ่นของอาหารหวาน

ประวัตขิ องขนมฝอยทอง ขนมเมด็ ขนนุ

เกิดขึ้นในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดย ดอนญา่ มารี กีมาร์ เดอปิน่า (ทา้ วทองกบี ม้า, พ.ศ.
2202-2265) ลูกครึ่งโปรตุเกส-ญ่ีป่นุ ภรยิ าของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนตนิ ฟอลคอน) ท้าวทองกบี มา้ มีหนา้ ที่
เป็นหัวหน้าหอ้ งเครือ่ งต้นเปน็ ผ้ทู าอาหารเลีย้ งตอ้ นรับคณะราชทูตจากฝรง่ั เศสท่มี าเยือนกรงุ ศรีอยุธยาในสมัยนน้ั มชี าว
โปรตุเกสนาสูตรขนมฝอยทองมาเผยแพร่ให้แกค่ นไทย ซ่ึงตามปกติขนมไทยแทๆ้ จะไมเ่ อาไขเ่ ปน็ ส่วนผสมในการทา ขนม
กันนัก ส่วนใหญจ่ ะเปน็ แปง้ กะทิ นา้ ตาล มะพร้าวมากกว่าอย่างอนื่ เม่อื ชาวโปรตเุ กสเข้ามาค้าขายกับคนไทยในยคุ นัน้ ก็
จะพาแม่บา้ นมาด้วยเลยได้สอนการทาฝอยทองให้แก่คนไทยจนเปน็ ที่ถูกอกถกู ใจทากินจนถึงปจั จุบัน

ขนมเมด็ ขนนุ

ส่วนผสม

1. ไข่เปด็ 20 ฟอง
2. นา้ เชื่อม นา้ ตาลทราย 4 ถว้ ยตวง
3. น้าลอยดอกมะลิ 4 ถ้วยตวง
4. ไสถ้ วั่ เขยี วดิบ 500 กรัม
5. นา้ ตาลทราย 3 ถว้ ยตวง
6. กะทิ 2 ถ้วยตวง
7. มะพร้าวขูดขาว 1 ถ้วยตวง

วธิ ีทำ
1. ถัว่ เขยี วแช่น้าประมาณ 1-2 ชัว่ โมง นาผ้าขาวบางรองลังถงึ นงึ่ ถว่ั ใหส้ กุ โขลกให้ละเอยี ด กวนส่วนผสมไส้ทงั้ หมดใหแ้ หง้
จนปนั้ ได้ ป้นั รูปลักษณะคล้ายกับเมด็ ขนุน วางเรียงใสถ่ าดไว้
2. ตอกไข่ แยกไขข่ าวไข่แดง ใส่ไข่แดงลงบนผา้ ขาวบางรดี เยื้อไข่ออก
3. น้าตาลกบั นา้ ลอยดอกมะลิ ใสก่ ระทะตงั้ ไฟเคยี่ วพอขน้ ใส่ถว่ั ทปี่ ้ันแล้วชบุ ไขแ่ ดงใหท้ ่ัว ใสใ่ นนา้ เชื่อม ยกกระทะน้าเชื่อม
ตง้ั ไฟใหเ้ ดอื ด พอขนมสุกชอ้ นขน้ึ ใส่ถาดพกั ให้เย็น

~ 11 ~

ขนมฝอยทอง
สว่ นผสม
1.ไขแ่ ดงเปด็
2.ไขแ่ ดงไก่
3.นา้ ตาลทราย
4.ใบเตย
5.กลิน่ ดอกมะลิ
6.เทยี นอบขนม

วิธีทำ
1. น้าตาลทราย นา้ ตง้ั ไฟพอเดือดน้าตาลละลาย
2. ยกลงกรองด้วยผา้ ขาวบาง ตง้ั ไฟเค่ยี วตอ่
3. ให้นา้ เช่ือมมีลักษณะไม่ขน้ หรอื ใสเกินไป เหมาะสาหรบั โรยฝอยทอง
4. ตอกไข่ แยกไขข่ าวออกใชแ้ ตไ่ ขแ่ ดง และเก็บน้าไข่ขาวที่ใสไม่เป็นลิม่ เรยี กนา้ ค้างไข่
5. นาไขแ่ ดงใส่ผ้าขาวบางรดี เย่อื ไข่ออก ผสมไข่แดงกับนา้ ค้างไข่ตามส่วน คนให้เข้ากัน
6. เตรยี มกระทะทองใสน่ า้ เชอื่ มเดือด ๆ ไว้ ทากรวยดว้ ยใบตอง หรือใช้กรวยโลหะใส่
7.ไข่แดงโรยในนา้ เช่อื มเดอื ด ๆ ไปรอบ ๆ ประมาณ 20-30 รอบ เสน้ ไข่สกุ ใชไ้ มแ้ หลม
8. สอยขึน้ จากนา้ เชอื่ ม พับเปน็ แพ อบด้วยควันเทียนหลงั จากเยน็ แล้ว

~ 12 ~

ใบควำมรู้

เรือ่ งท่ี 3 กำรบริหำรจัดกำรในกำรประกอบอำชพี กำรทำขนมเมด็ ขนนุ - ฝอยทอง

1. กำรเลือกทำเลท่ีต้ังรำ้ น
1.1 ควำมสำคัญของกำรเลือกทตี่ ง้ั
การตดั สนิ ใจเลือกทาเลทต่ี ้ังเปน็ การตัดสินใจเชงิ กลยทุ ธ์เนื่องจากมีผลกระทบต่อธุรกิจในระยะยาวโดยเฉพาะต่อ

ความไดเ้ ปรียบในเชิงแขง่ ขันทางธุรกิจและจะมีผลต่อความสาเรจ็ ของธุรกิจ ซึ่งผู้ประกอบการต้องพิจารณาถึงกลยุทธ์ท่ีต้ัง
ของธุรกิจทีม่ คี วามสาคญั ตอ่ การดาเนินงาน 2 กลยทุ ธ์สาคญั ได้แก่

1. กลยุทธ์ท่ีต้ังตำมพ้ืนท่ี เป็นแนวทางในการกาหนดให้ ท่ีตั้งแต่ละแห่งรับผิดชอบพื้นท่ีแต่ละส่วนโดยต้องผลิต
สนิ คา้ และบริการทกุ อยา่ งสาหรบั พนื้ ท่นี ้นั ๆ ซง่ึ ธุรกจิ ทเี่ ลือกใชก้ ลยทุ ธ์ที่ตง้ั ตามพ้นื ทีม่ ักเปน็ ธุรกจิ คา้ ปลีก หรือบริการ

2. กลยทุ ธท์ ่ีตัง้ ตำมผลิตภณั ฑ์ เปน็ แนวทางในการกาหนดให้ท่ีตั้งหน่ึงแห่งทาการผลิตสินค้าเพียงหน่ึงอย่าง โดย
ยึดหลักของความสาคญั ของวัตถุดบิ ท่ีมีในพืน้ ที่

1.2 หลักเกณฑใ์ นกำรเลอื กทำเลทตี่ ้ัง
การตดั สนิ ใจเลือกทาเลท่ีตงั้ เป็นกระบวนการที่มคี วามสลับซับซ้อนมากขน้ึ เม่ือโลกกา้ วเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ อีกท้ัง

ธุรกิจขนาดย่อมจานวนมากได้มีการเติบโตขึ้นและได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ดังน้ันผู้ประกอบการควรพิจารณาถึงความ
จาเปน็ ท่ีมลี กั ษณะเฉพาะเจาะจงสาหรบั กจิ การควบคู่กันไปในแตล่ ะสถานการณ์ ดังนี้

1. ควำมพึงพอใจส่วนบุคคล โดยที่ผู้ประกอบการส่วนหน่ึงมักจะพิจารณาตั้งกิจการของตนเองในชุมชนท่ีตน
อาศัยอย่เู ป็นทาเลในการประกอบการ อย่างไรกต็ ามในแง่ของการดาเนินธุรกจิ ไมไ่ ดห้ มายความว่าจะมเี พยี งพื้นท่ีซ่ึงตนเอง
มีความเคยชินเทา่ น้ันท่ีเหมาะสมต่อการต้ังกิจการ เพราะผู้ประกอบการธุรกิจสามารถใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ จากส่ิง
เหล่านไ้ี ด้ ไม่วา่ จะเป็นในด้านภาพลักษณ์ส่วนตัว การได้รับความเชื่อถือ หรือการยอมรับจากสังคม และอาศัยประโยชน์
จากความคุ้นเคย ความสามารถในการอ้างองิ กับบคุ คลตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชนท่เี กี่ยวขอ้ งกับกจิ การของตนมากขึน้

2. ควำมได้เปรียบด้ำนต้นทุน โดยเฉพาะค่าแรงหรือค่าวัตถุดิบในพ้ืนท่ี ท่ีมีต้นทุนในการดาเนินธุรกิจต่า ซึ่งส่ิง
เหล่านี้สะทอ้ นถงึ ค่าใช้จา่ ยในการลงทุนในชว่ งเรม่ิ ต้นของกิจการ ท่จี ะชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลิตใหต้ ่าลง

3. ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรทรัพยำกร เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั้งในระยะส้ัน
และระยะยาว เนือ่ งจากทักษะ ประสบการณ์ของแรงงานจะมีความสมั พนั ธโ์ ดยตรงกับผลติ ผลและคณุ ภาพในกระบวนการ
ผลิตของผลิตภัณฑ์ ความย่ังยืนของแรงงานในท้องถิ่นมีผลกระทบต่ออัตราค่าจ้าง ซึ่งถือเป็นต้นทุนท่ีสาคัญ ซ่ึง
ผู้ประกอบการจะต้องคานึงถึงอยู่เสมอ อีกท้ังแหล่งท่ีตั้งต้องมีความใกล้ชิดกับวัตถุดิบและความสามารถในการขนส่งท่ี
ธรุ กิจตอ้ งมกี ารบริหารจัดการอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4. กำรเข้ำถึงลูกค้ำ ธุรกิจขนาดย่อมยุคปัจจุบันต้องให้ความสาคัญผันแปรแหล่งท่ีต้ังของธุรกิจไปตามประเภท
ของกิจการ เช่น ธุรกจิ คา้ ปลกี และบริการ ตอ้ งมรี ายละเอียดของสถานที่แสดงสินค้า บริการและรูปแบบ ดังน้ัน การเลือก
ทาเลที่ต้ังต้องใกล้ชิดกับลูกค้าและอานวยความสะดวกต่อการเข้ามาติดต่อ และถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของ
กจิ การ

~ 13 ~

ดังน้ัน ในข้ันตอนแรกของเกณฑ์การเลือกทาเลที่ต้ัง ผู้ประกอบการต้องตัดสินใจก่อนว่าจะเลือกดาเนินธุรกิจใน
ชุมชน หมายถึง จงั หวัดหรอื อาเภอ แลว้ จึงทาการตัดสินใจขั้นสุดท้าย คือ การเลือกบริเวณท่ีตั้งจากหลาย ๆ พ้ืนท่ีภายใน
ชมุ ชน ซ่ึงเป็นการระบุถึงตาแหนง่ ของทตี่ ้งั อยา่ งละเอียด

2. กำรจัดและตกแตง่ หนำ้ ร้ำน
ส่วนใหญร่ า้ นขายสนิ ค้ามักจะมีผู้ขาย ซึง่ เปน็ เจ้าของกจิ การเอง หรอื บางรา้ นอาจมกี ารจา้ งพนกั งานขายของ

โดยเฉพาะเพื่อทาหน้าท่ีเอาใจใส่คอยแนะนาให้คาอธิบายตา่ งๆ แก่ลกู ค้า หากเปน็ ร้านขนาดใหญ่มีสินค้าหลายชนดิ ยอ่ ม
ทาใหต้ ้องมพี นักงานขายจานวนมาก

กำรจดั ตกแต่งร้ำนคำ้ มคี วำมสำคัญตอ้ งคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. แสงสว่ำงภำยในร้ำน ควรจัดร้านให้มีความสว่างท่ัวทั้งร้านจากแสงไฟฟ้าที่ร้านได้ติดเอาไว้ แสงสว่าง
ธรรมชาตมิ กั ไม่เพยี งพอและแสงแดดมักทาความเสียหายใหแ้ กส่ นิ ค้า การใช้แสงไฟฟ้าแม้จะมีค่าใช้จ่ายสูงแต่ก็จูงใจลูกค้า
ให้เข้ามาซ้ือสินค้าได้มากกว่าร้านท่ีดูมืดสลัว มุมห้องมืดๆ ก่อนตัดสินใจเร่ืองแสงสว่างควรรู้ว่าค่าไฟฟ้าจะเป็นสักเท่าใด
และใช้ไฟฟ้ากด่ี วงถงึ จะค้มุ ค่ากบั การขายสินคา้ ดว้ ย
2. กำรตกแตง่ สภี ำยนอกและภำยในรำ้ น นอกจากการทาสีรา้ นค้าให้สดใสสวา่ ง สวยงามแลว้ สขี องหีบห่อและ
ตวั สนิ คา้ กส็ ามารถนามาตกแตง่ ใหร้ า้ นคา้ ดูดีขึ้นจะต้องใหผ้ คู้ นเห็นสนิ ค้า ชัดเจนและสวยงาม
3. กำรจัดหมวดหมู่ของขนม ขนมทม่ี ีลักษณะใกลเ้ คยี งกันหรือของท่ใี ชร้ ับประทานร่วมกันจะตอ้ งจัดวางไว้
ด้วยกนั
4. กำรตดิ ป้ำยรำคำสินคำ้ การติดปา้ ยบอกราคาใหช้ ดั เจนพอที่ลกู ค้าจะอ่านได้ เปน็ การให้ความสะดวกกับ
ลกู คา้ ในการตัดสนิ ใจ
กำรจัดวำงสินคำ้ มีความสาคญั ต่อการจูงใจลกู คา้ ให้เลอื กซ้ือสนิ ค้า เพอ่ื ให้สะดวกและเกิดความพงึ พอใจควร
คานึงถงึ สงิ่ ตอ่ ไปนี้
1. ความพงึ พอใจของลกู ค้า
2. จดั สนิ ค้าไว้ในบริเวณท่เี ราจะขาย
3. จัดสนิ ค้าไว้ในระดับสายตาใหม้ ากท่ีสุด
4. จัดสินค้าด้านหนา้ บนช้นั ให้เต็มอยเู่ สมอ
5. ชัน้ ปรบั ระดบั ได้ตามขนาดของสนิ ค้าจะเปน็ การดี
6. การใช้กล่องหนนุ สนิ คา้ ให้ดงู ดงามแม้จะมสี นิ ค้าไมม่ ากนกั
7. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
8. สนิ ค้ามาก่อนตอ้ งขายก่อน เราตอ้ งขายสินค้าเกา่ กอ่ นสินคา้ ใหมเ่ สมอพยายามวางสินค้ามากอ่ นไวแ้ ถวหนา้
เสมอ ควรทาสนิ คา้ ทม่ี าก่อนให้ดูสดใสสะอาดเหมือนสนิ คา้ ใหม่

~ 14 ~

3. กำรคดิ รำคำตน้ ทนุ และกำรวเิ ครำะหจ์ ุดคุ้มทุน
3.1 กำรคิดรำคำตน้ ทุน
1. ราคาวตั ถุดิบทั้งหมด
2. 35 - 50 % ของราคาวัตถุดิบเปน็ ค่าแรงและเช้อื เพลิง (แลว้ แต่ความยากงา่ ย และขน้ั ตอนในการทา)
3. 10% ของราคาวตั ถุดบิ รวมกบั คา่ แรงและเชื้อเพลิง เป็นคา่ เสียหายอ่นื ๆ (ของเหลอื ของทงิ้ )

นา 1 + 2 + 3 เทา่ กับ ตน้ ทุนสุทธิ
กำรคดิ กำไร
การคิดกาไรตามหลกั การทาธรุ กจิ ส่วนใหญ่ควรบวกกาไรท่ี 30 - 40 % จากราคาต้นทุนสุทธิ

3.2 กำรวเิ ครำะห์จดุ คมุ้ ทุน
ในการประกอบธุรกจิ จะตอ้ งคานึงถึงระยะเวลาในการคนื ทนุ โดยสามารถคานวณไดจ้ าก
ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทนุ หาร กาไรสทุ ธิตอ่ เดอื น
= 5,000 / 1,000
= 5 เดือนจึงจะคนื ทนุ

4. กำรขำย
กำรขำย คอื กระบวนการทงั้ ทางตรงและทางอ้อมของการจงู ใจให้ผซู้ อ้ื สนิ ค้า หรือบริการยนิ ยอมกระทาสง่ิ ใด

สิง่ หน่งึ ซ่ึงจะทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางด้านการค้าแก่ผู้ขาย เมื่อผผู้ ลิตสินค้าไปสู่ผู้บริโภค มสี งิ่ ท่คี วรพิจารณา ดงั นี้
1. กำรหำตลำด ควรคานงึ ถงึ ความต้องการของตลาดว่า มีมากน้อยเพียงใด โดยใชว้ ธิ ีสังเกต สอบถามกับคน

รู้จัก เพื่อนบ้าน และผู้ซื้อ กระแสการบริโภคของลูกค้านิยมวุ้นรสชาติแบบไหน รูปแบบของวุ้นให้มีลักษณะโดดเด่น
อย่างไร ต้องการซอื้ เป็นของขวญั ของฝากหรือรบั ประทานในครอบครัว ตลาดควรเป็นตลาดที่มีการซ้ือขายอย่างต่อเน่ือง
เชน่ ตลาดนัด ตลาดคลองถม เป็นต้น ทั้งนี้เพือ่ จะไดต้ รงตามความตอ้ งการของตลาด

2. วิธีกำรจำหน่ำย เม่ือผู้ผลิตลงทุนผลิตสินค้าข้ึนมา ก็เพื่อนาสินค้าออกสู่ตลาด ถ้าผู้ผลิตสามารถเลือก
ช่องทาง ลู่ทางจาหน่ายสินค้าได้อย่างถูกต้อง สินค้าก็จะเข้าถึงลูกค้าได้ง่าย ซึ่งอาจเป็นการจาหน่ายจากผู้ผลิตถึงลูกค้า
โดยตรงด้วยการจัดหาสถานที่สาหรับจาหน่ายสินค้า ที่เป็นหลักแหล่ง มีการจัดวางสินค้าท่ีสามารถนาเสนอสินค้าให้ดู
สวยงามหรอื เป็นผู้ผลิตใหพ้ ่อคา้ คนกลางมารับซอ้ื ไปขายใหก้ ับผบู้ รโิ ภคอกี ตอ่ หน่ึง เพื่อจาหนา่ ยสินค้าได้อย่างท่ัวถึง

3. กำรโฆษณำประชำสัมพนั ธ์ ถือเปน็ ส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้ผูซ้ ือ้ หรอื ลูกค้ารู้จัก เกดิ ความตอ้ งการท่จี ะซื้อ เป็น
วิธีการโน้มน้าวผู้ซ้ือท่ีสาคัญ การโฆษณาประชาสัมพันธ์มีหลายวิธี เช่น ใช้วิธีบอกปากต่อปาก การจัดกิจกรรม
ประชาสัมพนั ธส์ ินค้า การออกรา้ นตามงานเทศกาลต่าง ๆ ของอาเภอหรือจังหวัด การประชาสัมพันธ์ผ่านอินเตอร์เน็ต
โดยสิ่งท่ีเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์อย่างหน่ึง ก็คือ คุณภาพสินค้า เม่ือผู้ซื้อหรือลูกค้าได้ซ้ือสินค้าไปรับป ระทาน มี
รสชาติดี มคี ณุ ภาพ ราคายอ่ มเยา จะเป็นการชว่ ยประชาสัมพันธไ์ ปเอง

~ 15 ~

5. กำรส่งเสรมิ กำรขำย
วัตถุประสงค์สาคัญในการจัดทากำรส่งเสริมกำรขำยน้ันก็เพื่อ เป็นการกระตุ้นยอดขายของกิจการ และ การ

แนะนาสินค้าสู่ลูกค้า ท้ังนี้ยังสืบเน่ืองกับ ความพึงพอใจท่ีดีของลูกค้า ในการบริโภคหรืออุปโภคสินค้า เพื่อการสร้าง
เครือข่ายความเปน็ ไปได้ ในการเลอื กบริโภคหรอื อุปโภคสนิ คา้ นน้ั ๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง ประกอบกับการแนะนาสินค้าโดยอาศัย
ชอ่ งทางแบบปากตอ่ ปากหรือเพื่อนสูเ่ พอ่ื นตอ่ ไป

สรปุ "กำรส่งเสรมิ กำรขำยคือการสนบั สนนุ การสรา้ งราคาสินคา้ เฉพาะเจาะจง/การสรา้ งมูลค่าตราสินค้า
กลยุทธ์ส่งเสริมกำรขำยที่นิยมนามาใช้ในการทาตลาดในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ
ผปู้ ระกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถเลือกนามาใช้ให้เหมาะกับสินค้า เช่น การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ลูกค้าโดยตรง
เพ่อื ต้องการใหล้ ูกค้าซ้ือสนิ คา้ มากข้ึน ผ้ปู ระกอบการก็อาจเลือกใช้วิธกี ารให้ชิมสินค้า การแจกของตัวอย่าง การให้คูปอง
ฯลฯ แตห่ ากต้องการส่งเสริมการขายโดยมุ่งไปที่ตัวแทนจาหน่ายที่เป็นคนกลาง เพ่ือให้บุคคลเหล่าน้ีกระจายสินค้าไปยัง
ลกู คา้ ได้มากขน้ึ กส็ ามารถนาวธิ กี ารสง่ เสรมิ การขายในลักษณะให้ส่วนลดสินค้า การแถมสินค้า การกาหนดเป้าในการซ้ือ
สินคา้ การใหข้ องขวัญพิเศษ มาใช้เป็นแรงจงู ใจ
การใชค้ ปู อง (Coupon) เป็นเครอ่ื งมอื ในการส่งเสริมการขายทีน่ ยิ มใชแ้ พรห่ ลายวิธีหนึ่ง เพราะวิธีน้ีลูกค้าที่ได้รับ
จะถอื วา่ เปน็ การให้ส่วนลดอย่างหนึ่ง วิธีน้ีจะทาให้เกิดแรงจูงใจในการซ้ือสินค้ามากขึ้น เพราะได้ราคาถูก โดยอาจทาให้
ลกู คา้ ที่เคยซอื้ สนิ คา้ อยแู่ ล้ว มคี วามตอ้ งการสินคา้ เพ่ิม หรืออาจได้ลูกคา้ ใหม่ ๆ เข้ามาเพราะมองว่าเปน็ ราคาพิเศษได้
การใช้แสตมป์การค้า การส่งเสริมการขายวิธีน้ี จะกระตุ้นให้ลูกค้าเกิดการซื้อซ้าได้ โดยลูกค้าอาจเกิดความ
ตอ้ งการสะสมแสตมป์ไวแ้ ลกของที่ต้องการ ทาให้ผู้ประกอบการสามารถขายของได้มากขึ้น และอาจมีลูกค้าประจากลุ่ม
หนง่ึ โดยผปู้ ระกอบการสามารถกาหนดเง่อื นไขสินค้าทลี่ กู ค้าสามารถแลกซือ้ ไดต้ ามความเหมาะสม
การลดราคาสนิ ค้า การส่งเสริมการขายด้วยการลดราคาสินค้า เพ่ือจูงใจให้ลูกค้ามาซ้ือสินค้าในช่วงเวลานั้น ซ่ึง
ผปู้ ระกอบการสามารถนาอาหารไทยท่ีต้องการมาจัดรายการพเิ ศษตามช่วงเวลา หรือวัน ใหล้ กู ค้าได้เลือกซื้อได้
อย่างไรก็ตามก่อนท่ีผู้ประกอบการจะเลือกใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายวิธีใด ต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลาย
ประการ เช่น ลกั ษณะของตลาด กลุ่มลกู คา้ เปา้ หมาย อายุ อาชีพ สถานะภาพของกลุ่มลูกค้า ลักษณะของผลิตภัณฑ์
เพราะผลติ ภัณฑ์แตล่ ะประเภทจะมลี กั ษณะเฉพาะท่ีไม่เหมือนกัน รวมทั้งวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ราคาจาหน่าย และส่ิง
สาคัญคืองบประมาณ เพราะการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายในแต่ละครั้งผู้ประกอบการต้องมีเงินทุนพอสมควร ซึ่ง
ผู้ประกอบการตอ้ งพิจารณาอยา่ งละเอยี ดถ่ีถว้ นเพ่ือให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ

6. กำรทำบญั ชรี ำ้ นคำ้ อย่ำงง่ำย
การบญั ชี คอื การจดบันทึกรายการค้าต่างๆ ท่ีเก่ียวกับการรับ-จ่ายเงิน และส่ิงที่มีค่าเป็นเงินไว้ในสมุดบัญชี

อย่างสม่าเสมอ เป็นระเบียบถูกต้องตามหลักการ และสามารถแสดงผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกิจการใน
ระยะเวลาหนงึ่ ได้

การบันทึกรายการและตัวเลข ในรายรับ – รายจ่ายของร้านค้า ถือเป็นส่วนหน่ึงที่ทาให้ผู้ประกอบการค้า
สามารถทราบสภาพการคา้ ของตนเอง ว่าผลการประกอบการนั้นได้กาไรหรือขาดทุน และสามารถนารายการท่ีบันทึกมา
พจิ ารณาไดว้ ่ามีจดุ บกพร่องในส่วนใด และเปน็ ข้อมูลในการตัดสินใจว่าควรจะปรับปรงุ ให้ดีขึ้นอย่างไร

~ 16 ~

ประโยชน์ของกำรทำบญั ชีรำ้ นคำ้ อยำ่ งงำ่ ย
1. ทาให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมและดแู ลรกั ษาทรพั ยากรของกิจการท่ีมอี ยู่ไม่ให้เกิดการสญู หายได้
2. ทาให้ผู้เป็นเจ้าของกิจการสามารถทจ่ี ะได้รบั ข้อมูลทเ่ี พยี งพอเพ่ือนามาใชใ้ นการบริหารงานใหม้ ี

ประสิทธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ
3. ทาใหเ้ จา้ ของกิจการได้ทราบถงึ ผลการดาเนนิ งาน ฐานะการเงิน และการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงินของ

กจิ การได้เป็นระยะ ๆ
4. การทาบญั ชเี ปน็ การรวบรวมสถติ อิ ย่างหนงึ่ ที่ช่วยในการบรหิ ารงาน และให้ขอ้ มูลอันเปน็ ประโยชนใ์ นการ

วางแผนการดาเนินงาน และควบคมุ กิจการใหป้ ระสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย
5. ทาให้บุคคลภายนอกเชน่ เจา้ หนี้ ผู้ลงทนุ เป็นต้น มขี อ้ มูลทางการเงินเพอ่ื นาไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจได้

~ 17 ~

ใบควำมรู้

เรื่องที่ 4 โครงกำรประกอบอำชพี กำรทำขนมเม็ดขนนุ -ฝอยทอง

โครงการอาชีพ เป็นแผนงานหรือเค้าโครงของกิจกรรม งานอาชีพ โดยมีการกาหนดรายละเอียดท่ีต้องปฏิบัติ
อย่างมรี ะบบ มคี วามตอ่ เน่อื งอยา่ งชัดเจนไวล้ ว่ งหนา้ วา่ จะทาอะไร อย่างไร เมือ่ ใด ทใี่ ด และโดยใคร รวมทง้ั การพจิ ารณา
การใช้ทรพั ยากรในการดาเนนิ งานอาชีพ ความคาดหวงั ท่ีจะไดผ้ ลตอบแทนอยา่ งคุ้มคา่

การดาเนินงานอาชีพให้ประสบความสาเร็จ การเขียนโครงการอาชีพ จึงเป็นส่วนงานที่สาคัญ เพราะการ
เขยี นโครงการอาชพี จะช่วยให้การดาเนินงานอาชพี สามารถดาเนินงานไดอ้ ย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ
โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้คุ้มค่า สามารถควบคุม กากับ และตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงาน ผลการ
ดาเนินงานอาชีพได้ ทาให้เกิดความม่ันใจในการบริหารงาน ช่วยให้ความผิดพลาดในการทางานน้อยลง อีกท้ังยังช่วย
ลดการทางานที่ซ้าซ้อน และช่วยควบคุมสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนด
ขน้ึ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนดและภายในทรัพยากร ทีม่ อี ยู่

นอกจากประโยชน์ของโครงการอาชีพ ท่ีมีผลต่อการบริหารจัดการงานอาชีพด้งกล่าวแล้ว โครงการอาชีพ ยังมี
ประโยชนต์ อ่ การนาโครงการไปเสนอขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณจากหนว่ ยงาน สถานบันการเงินท่ีส่งเสริมการดาเนินงาน
อาชีพอกี ด้วย ดงั นน้ั การเขยี นโครงการอาชีพจึงต้องมีวิธี การเขียนโครงการที่ดีจะ ต้องบรรยายสภาพและความจาเป็น
ของสถานการณท์ ี่ทาให้เกดิ โครงการอาชพี มีการกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ท่ีชัดเจน ระบุรายการกิจกรรมต่างๆ ท่ีเป็นไปได้ใน
การดาเนินงานอาชีพเพื่อที่จะให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ มีแนวทางและวิธีการประเมินผล เพื่อให้รู้ถึง
ความสาเรจ็ ของการดาเนินการอาชีพ

ดังนนั้ กำรจัดทำโครงกำรอำชพี จงึ มคี วำมจำเป็นที่ ผเู้ รยี นตำมหลกั สตู รกำรจัดกำรศึกษำอำชพี เพอ่ื กำรมี
งำนทำ ต้องศึกษำเรียนรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติในกำรเขยี นโครงกำรอำชพี ใหด้ ี เหมำะสม และถูกตอ้ ง
ควำมสำคัญของโครงกำรอำชีพ

โครงกำรอำชีพ (PROJECT) หมายถงึ แผนงานท่จี ดั ทาข้นึ อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยกิจกรรมยอ่ ยๆ หลาย
กิจกรรม ท่ีต้องใช้ทรพั ยากรในการดาเนินงานโดยคาดหวงั ผลงานที่คมุ้ ค่า มปี ระโยชน์ แสดงถึงความสามารถทางความคิด
ริเริม่ และสร้างสรรคใ์ นศาสตรข์ องตน มีขั้นตอนในการดาเนินงาน หรือจดุ มงุ่ หมายในการดาเนนิ งานอย่างชดั เจน และ
สามารถนาเสนอผลงานได้อย่างมรี ะบบ (วรี วุธ มาฆะศริ านนท,์ 2542 : 26 – 27 ) โดยมีหลกั สาคัญ คอื

- เป็นงานทเ่ี ปิดโอกาสใหส้ มาชกิ ในทีมงานทุกคน ไดร้ ว่ มกันศกึ ษาค้นควา้ และลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง โดย
อาศัยความรู้ ความสามารถที่ไดศ้ กึ ษามาเปน็ องค์ประกอบในการดาเนินงานภายในระยะเวลาท่กี าหนด

- งานที่ต้องใชค้ วามสามารถ ( Competence ) และภมู ิปญั ญา ( Knowledge / Wisdom ) รวมถึงทกั ษะ
( Skills ) จากหลายๆ คน มารวมกัน เพอื่ ใหเ้ กิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ รวมถงึ สถานการณ์ที่
ไม่ไดค้ าดคดิ ไวก้ อ่ น

- งานทีม่ คี วามซบั ซอ้ นและเก่ยี วข้องกับบุคคลหลายๆ ฝา่ ย ประกอบด้วยกจิ กรรมหลายๆ กิจกรรมมา
ประสานกัน

- เป็นงานท่มี วี ัตถุประสงค์และขอบเขตของงานอย่างชดั เจน ทง้ั นี้ตอ้ งมีกาหนดวนั ทเ่ี ริม่ ตน้ และวนั ท่สี ิ้นสุด

~ 18 ~

- เปน็ งานหรอื กจิ กรรมที่ทาขน้ึ เพ่อื หวงั ผลประโยชนต์ อบแทนทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งน้ีผู้เรยี นเป็นผู้วาง
แผนการดาเนินงานตงั้ แต่การศึกษาคน้ ควา้ การออกแบบ การประดษิ ฐ์ การทดลอง การเก็บข้อมูล ตลอดจน
การแปลผล สรุปผล และเสนอผลงานดว้ ยตนเองภายใต้การดูแล และใหค้ าปรกึ ษาของผ้สู อน หรือ
ผูเ้ ชยี่ วชาญในเร่ืองน้ัน

โครงกำรอำชีพดำ้ นธุรกจิ หรือบริกำร ( Entrepreneurship Project) เป็นโครงการทเี่ ก่ียวกบั การฝึกและสร้าง
ประสบการณเ์ พื่อเตรียมความพรอ้ มในการเปน็ ผู้ประกอบการณ์ในอนาคตโครงการประเภทนเ้ี หมาะสาหรบั ผู้เรียนท่ีมี
ความคิดสรา้ งสรรค์ในการหาข้อมูลหรือชอ่ งทางในการดาเนนิ ธรุ กิจมบี ุคลิกภาพและความรู้ความสามารถ ชอบงานบรหิ าร
ขยัน อดทนต่อปญั หาต่างๆ

ควำมหมำยของโครงกำร
พจนานกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคาโครงการวา่ หมายถงึ "แผนหรือเคา้ โครงการ
ตามท่กี ะกาหนดไว้"โครงการเปน็ ส่วนประกอบส่วนหน่งึ ในการวางแผนพฒั นาซง่ึ ชว่ ยให้เหน็ ภาพ และทิศทางการพัฒนา
ขอบเขตของการท่ีสามารถติดตามและประเมนิ ผลได้
โครงการเกดิ จากลกั ษณะความพยายามที่จะจัดกิจกรรม หรือดาเนินการใหบ้ รรจุวัตถุประสงค์ เพ่ือบรรเทาหรอื ลด
หรือขจัดปญั หา และความต้องการท้งั ในสภาวการณ์ปัจจุบนั และอนาคต โครงการโดยทั่วไป สามารถแยกได้หลายประเภท
เช่น โครงการเพ่ือสนองความต้องการ โครงการพฒั นาท่ัวๆไป โครงการตามนโยบายเร่งดว่ น เปน็ ต้น
องค์ประกอบของโครงกำรอำชีพ
การวางแผนการปฏบิ ัติงาน และประมาณการโครงการ จะต้องจดั ทา เค้าโครงของโครงการ อย่างรดั กมุ และให้
สามารถปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ มอี งคป์ ระกอบดังนี้
1. ชอื่ โครงกำร ควรเป็นข้อความท่กี ะทัดรดั ชัดเจน สอื่ ความหมายตรงกนั
2. ผจู้ ัดทำโครงกำร รายช่ือผู้เรยี นหรือกลุม่ ผูเ้ รยี นทที่ าโครงการน้รี ่วมกนั และชอื่ ครทู ี่ปรกึ ษา
3. หลักกำรและเหตุผล แสดงถงึ ความจาเปน็ หรือเหตุผลที่เลอื กทาโครงการนี้ โดยควรจะกลา่ วถึงประเดน็
ต่อไปนี้

3.1 สภาพที่เป็นจริง ปัญหา เหตุการณ์
3.2 สิ่งทค่ี วรจะเปน็ สภาพทตี่ อ้ งการ ความมงุ่ หวงั
3.3 สาเหตุทท่ี าให้ไมเ่ ปน็ ไปตามความมงุ่ หวงั
3.4 ถ้าเปน็ ปญั หา ปัญหาน้มี ีความรุนแรงเพยี งใด ถ้าปล่อยไว้จะเกดิ ผลเสยี อย่างใด
3.5 มวี ิธีแก้ไขอะไร ควรจะมีหลายๆ วิธี ทาไมจึงเลือกวธิ ีน้ี
3.6 ถ้าแกไ้ ข หรอื ดาเนนิ การแลว้ จะส่งผลดีอย่างไร
3.7 ประโยชน์ทไี่ ดจ้ ะคุ้มคา่ เพยี งใด ฯลฯ
4. วัตถุประสงค์ ควรเป็นจดุ ม่งุ หมายที่สามารถวดั ได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม หรอื กลา่ วถงึ สิง่ ท่ีตอ้ งการใหเ้ กดิ ขน้ึ
หลงั จากทาโครงการนี้แล้ว โดยไม่จากดั วธิ ที า
5. เปำ้ หมำย ควรระบุเปา้ หมายให้ชัดเจนว่าจะเกิดอะไรขึ้น กับใคร จานวนเทา่ ไรและคณุ ภาพของสิ่งน้นั จะเปน็
อยา่ งไร

~ 19 ~

6. แนวควำมคิดในกำรออกแบบโครงกำร เขียนในลกั ษณะแผนภาพประกอบคาบรรยายหรือบอกหลกั การ /
ทฤษฏีท่ีใช้ในการทาโครงการ หรอื ทเ่ี กย่ี วข้องโดยยอ่ ควรมเี อกสารอ้างอิง

7. แหลง่ ควำมรู้ อาจจะเปน็ เอกสาร ตารา บุคคล หรือสถานท่ที ีผ่ ู้เรียนจะสามารถศึกษาหาความรเู้ พอื่ ใหก้ าร
ปฏิบตั ิโครงการนัน้ บรรลจุ ดุ มุ่งหมาย

8. งบประมำณและทรพั ยำกร ควรระบรุ ายชื่อวสั ดุอปุ กรณท์ ่ีสาคัญ แหล่งทีจ่ ะหาได้ ราคาจาหนา่ ยในปัจจบุ ัน
และ รวมงบประมาณคา่ ใช้จ่ายทง้ั หมดใหด้ ูดว้ ย

9. วธิ ดี ำเนินงำน ควรจะมีลาดับข้นั ตอนท่ีถูกต้อง เหมาะสม สมเหตุสมผล เปน็ ไปตามกระบวนการของการ
ทางานนัน้ ๆ กจิ กรรมตามวิธดี าเนนิ การจะต้องสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้ และแต่ละขน้ั ตอนของการ
ดาเนนิ งานใหร้ ะบุ วัน เดอื น ปี ทจี่ ะทางานในแต่ละข้นั ตอนด้วย

10. กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผล ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นวา่ จะประเมินผลอยา่ งไร ที่จะให้ครทู ีป่ รกึ ษาทราบความก้าวหน้า
ของงาน เพือ่ การปรับปรงุ แกไ้ ข

11. ระยะเวลำและสถำนทดี่ ำเนินกำร
12. ผลที่คำดวำ่ จะได้รบั ให้ระบผุ ลที่จะเกิดขึ้นเม่ือเสร็จสนิ้ โครงการ เป็นทัง้ ผลทไี่ ดร้ บั โดยตรงและผลพลอยได้
หรือผลกระทบจากโครงการที่เปน็ ผลในดา้ นดี ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั น้จี ะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์และเปา้ หมาย
13. กำรประมำณกำรโครงกำร ( Project Estimating )เปน็ การกาหนดรายละเอียดสาคญั สาหรบั การใช้
ทรพั ยากรอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกบั การวางแผนดาเนินงานของโครงการ เชน่ ประมาณการดา้ นกาลังคน
ด้านระยะเวลา ด้านเคร่ืองมอื วัสดุ – อุปกรณ์ และเงินงบประมาณตลอดโครงการ การประมาณการโครงการ สามารถใชเ้ ป็น
ขอ้ มลู สาหรบั การเตรียมหาเงินทนุ ในการดาเนนิ การโครงการได้ ซ่งึ แหล่งเงนิ ทุนของการทาโครงการโดยทว่ั ไปไดม้ าจาก 2
แหล่ง คอื แหล่งเงินทุนภายใน เช่น จากกลุ่มผู้ทาโครงการ จากสถานศึกษา และแหล่งเงินทุนภายนอก เช่น สถาน
ประกอบการ และ บคุ คลที่สนใจ หรือได้ประโยชน์จากการทาโครงการนัน้ โดยผู้วางแผนโครงการควรต้องคานงึ ถงึ หลกั
สาคญั 4 ประการ ไดแ้ ก่

13.1 ควำมประหยัด ( Economy ) : การเสนองบประมาณโครงการจะต้องเปน็ ไปโดยมีความประหยดั
กลา่ วคือ ใชท้ นุ หรือทรัพยากรทุกชนิดตามสมควร แตผ่ ลของการดาเนนิ โครงการเปน็ ไปดว้ ยดี และมีคุณภาพ

13.2 ควำมมีประสทิ ธภิ ำพ (Efficiency) : โครงการทุกโครงการจะตอ้ งมีคณุ คา่ เป็นท่ียอมรับและทกุ คนมี
ความพึงพอใจในผลงานท่ีเกิดขน้ึ

13.3 ควำมมีประสิทธผิ ล (Effectiveness) : โครงการทุกโครงการจะต้องดาเนินงานเปน็ ไปตาม
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้

13.4 ควำมยุตธิ รรม (Equity) : การจัดสรรทรัพยากรทกุ ชนิด หรอื การใชจ้ ่ายทรัพยากรจะต้องเป็นไปตาม
เกณฑ์ทไ่ี ด้กาหนดไว้ทง้ั นเ้ี พื่อใหท้ กุ ฝ่ายปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง คลอ่ งตัว และมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุด

~ 20 ~

14. เสนอโครงกำรเพ่อื ขออนุมัติ
เมอ่ื วางแผนและเขียนเค้าโครงของโครงการ ซ่ึงแสดงถึงความพร้อมในการดาเนินโครงการแล้ว ผู้เรยี นตอ้ งร่วมกนั
นาขอ้ มลู หรือรายละเอียดทไ่ี ด้ศกึ ษามา พรอ้ มแผนการดาเนินงานนาเสนอตอ่ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา / คณะกรรมการโครงการ
เพือ่ พจิ ารณาขออนุมัติดาเนินงานโครงการ

15. วิธีกำรนำเสนอโครงกำร
15.1 ควรนาเสนออย่างเป็นข้ันเปน็ ตอน เปน็ ลาดับไม่วกวน
15.2 ควรเร่ิมตน้ โดยกล่าวสรุปภาพรวมของท้ังโครงการ วา่ เก่ียวกบั เรื่องอะไร ใช้งบประมาณและเวลา
15.3 อยา่ งไร และท่ีสาคญั ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั จากโครงการนัน้ มอี ะไรบา้ ง
15.4 สื่อประกอบในการนาเสนอจะต้องชัดเจนและชวนให้ติดตาม
ในระหวา่ งการนาเสนอ ควรใช้คาพดู ทีผ่ ฟู้ ังสามารถจะเขา้ ใจได้ง่ายๆ พูดชดั ถ้อยชดั คา กริ ยิ าท่าทางประกอบท่ี

เหมาะสม
15.5 ควรสรุปในตอนท้ายการนาเสนออีกคร้งั ว่าโครงการน้ีมีทางเลือกดาเนนิ การแบบใด ความคุ้มค่าอยทู่ ่ีไหน

ทรัพยากรตา่ งๆ ทจี่ าเป็นตอ้ งใชจ้ ะมอี ะไรและประโยชนท์ ่ีจะได้รับเป็นอยา่ งไร

ในกำรเขยี นโครงกำร ควรจะมขี ้นั ตอนในการเขยี นอยา่ งนอ้ ยประกอบไปด้วย
1. ช่ือโครงการ
2. หลกั การและเหตุผล
3. วัตถปุ ระสงค์
4. เป้าหมาย
5. วธิ ดี าเนนิ การ
6. ระยะเวลาดาเนินการ
7. งบประมาณ
8. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ
9. หน่วยงานทีใ่ ห้การสนบั สนุน
10. การประเมินผล
11. ผลประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ

ลักษณะของโครงกำรที่ดี
1. มีรายละเอียด วัตถุประสงค์ และเป้าหมายทีช่ ัดเจน สามารถดาเนินงานได้ หรือมคี วามเปน็ ไปได้
2. รายละเอยี ดของโครงการต้องเก่ียวเน่อื งสมั พันธก์ นั กล่าวคอื วัตถปุ ระสงคต์ อ้ งสอดคล้องกับปัญหาหรือ

หลักการ และ เหตุผล วิธีการดาเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป็นต้น สามารถตอบคาถามได้ว่าทาอะไร
ทาเพื่ออะไร ทาท่ีไหน ทาเมื่อไร ทาอย่างไร ทาเท่าไหร่ ใครรับผิดชอบ และทากบั ใคร ใครเป็นผู้ทีไ่ ด้รบั ประโยชน์

3. รายละเอยี ดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย และสามารถดาเนินการตามโครงการได้
4. โครงการต้องกาหนดข้นึ จากขอ้ มูลทม่ี ีความเป็นจรงิ และเปน็ ขอ้ มลู ที่ได้รับการวเิ คราะห์อยา่ งรอบคอบแลว้

~ 21 ~

5. มรี ะยะเวลาในการดาเนนิ งาน กลา่ วคอื จะต้องระบุถงึ วนั เวลาท่เี รม่ิ ต้น และ วันเวลาแลว้ เสร็จท่ีแน่ชดั
6. เปน็ โครงการที่ปฏิบัติได้และสามารถติดตามและประเมนิ ผลได้

กำรวำงแผนและกำรเขียนโครงกำร
ควำมหมำยของกำรวำงแผน
มผี ใู้ ห้คาจากัดความของการวางแผนไวห้ ลายลกั ษณะ เช่น กำรวำงแผน คือ การมองอนาคตการเล็งเห็น
จดุ หมายที่ตอ้ งการ การคาดปัญหาเหล่านนั้ ไวล้ ว่ งหนา้ ไว้อยา่ งถกู ต้อง ตลอดจนการหาทางแกไ้ ขปญั หาต่างๆเหล่าน้ัน
กำรวำงแผน เป็นการใช้ความคิดมองจนิ ตนาการตระเตรยี มวิธกี ารต่างๆ เพ่ือคัดเลือกทางที่ดีท่ีสุดทางหนึ่ง กาหนด
เปา้ หมายและวางหมายกาหนดการกระทานน้ั เพื่อให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปตามจดุ ประสงค์ท่ีตงั้ ไว้
กำรวำงแผน เป็นกิจกรรมอย่างหนงึ่ ที่เกี่ยวกับการกาหนดสิ่งที่จะกระทาในอนาคต การประเมินผลของสิง่ ท่กี าหนดว่า
จะกระทาและกาหนดวธิ ีการทจ่ี ะนาไปใช้ในการปฏบิ ตั ิ
ถ้าจะกล่าวโดยสรุป การวางแผนก็คือการคิดการหรือกะการไวล้ ว่ งหนา้ ว่าจะทาอะไร ทาไม ทาที่ไหน เม่อื ไร
อย่างไร และใครทา การวางแผนจงึ เปน็ เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกับอนาคต การตัดสินใจและการปฏิบัติ
ควำมสำคัญของกำรวำงแผน
ถ้าจะเปรียบเทียบระบบการศกึ ษากบั คน การวางแผนกเ็ ปรียบเสมือนสมองของคน ซง่ึ ถ้ามองในลกั ษณะนีแ้ ล้ว
การวางแผนกม็ คี วามสาคญั ไม่นอ้ ยทีเดียว เพราะถ้าสมองไม่ทางานสว่ นอ่นื ๆของรา่ งกาย เชน่ แขน ขา ก็จะทาอะไรไมไ่ ด้
หรอื ถ้าคนทางานไม่ใช้สมอง คือทางานแบบไมม่ ีหัวคิดลองนกึ ภาพดกู ็แลว้ กนั ว่าจะเปน็ อยา่ งไร คนทุกคนต้องใช้สมองจงึ จะ
ทางานได้ ระบบการศกึ ษาหรือการจดั การศกึ ษาเช่นเดียวกนั ต้องมีการวางแผน คือ อย่างน้อยต้องมคี วามคิด การ
เตรียมการว่าจะจดั การศึกษาเพอ่ื อะไร เพ่ือใคร อยา่ งไร

ประโยชน์ของกำรวำงแผน
1. การวางแผนเปน็ เคร่อื งช่วยใหม้ ีการตดั สนิ ใจอย่างมหี ลักเกณฑ์ เพราะไดม้ กี ารศึกษาสภาพเดมิ ในปัจจุบันแลว้
กาหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซ่ึงไดแ้ กก่ ารตัง้ วัตถปุ ระสงค์ หรอื เป้าหมาย แลว้ หาลทู่ างที่จะทาให้สาเรจ็ ตามท่มี งุ่ หวัง นัก
วางแผนมีหนา้ ทจี่ ดั ทารายละเอียดของงานจัดลาดับความสาคญั พรอ้ มทั้งขอ้ เสนอแนะท่ีควรจะเปน็ ต่างๆ เพอ่ื ใหผ้ มู้ ีหน้าท่ี
ตดั สนิ ใจพจิ ารณา
2. การวางแผนเป็นศนู ยก์ ลางประสานงานเชน่ ในการจดั การศึกษาเราสามารถใช้การวางแผนเพอ่ื ประสานงาน
การศึกษาทุกระดบั และทกุ สาขาให้สอดคล้องกนั ได้
3. การวางแผนทาให้การปฏิบตั งิ านตา่ งๆเป็นไปโดยประหยัดมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล เพราะการวางแผน
เป็นการคดิ และคาดการณ์ไวล้ ่วงหนา้ และเสนอทางเลอื กทจี่ ะก่อใหเ้ กดิ ผลทดี่ ที ี่สุด
4. การวางแผนเป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหารเพือ่ ตดิ ตามตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของฝ่ายตา่ งๆ
ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายที่ต้องการ

~ 22 ~

ประเภทของแผน แบง่ ตามระยะเวลา แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. แผนพฒั นาระยะยาว (10 - 20 ปี) กาหนดเคา้ โครงกวา้ งๆ วา่ ประเทศชาตขิ องเราจะมที ิศทางพฒั นาไปอยา่ งไร
ถา้ จะดึงเอารัฐธรรมนญู และ/หรอื แผนการศกึ ษาแห่งชาตมิ าเป็นแผนประเภทนี้กพ็ อไปได้ แตค่ วามจรงิ แผนพัฒนาระยะยาว
ของเราไมม่ ี
2. แผนพัฒนาระยะกลาง (4 - 6 ปี) แบง่ ชว่ งของการพฒั นาออกเปน็ 4 ปี หรอื 5 ปี หรอื 6 ปี โดยคาดคะเนว่า
ในชว่ ง 4 - 6 ปี นี้ จะทาอะไรกันบา้ ง จะมีโครงการพัฒนาอะไร จะงบประมาณใชท้ รัพยากรมากนอ้ ยเพยี งไร แผนดังกล่าว
ไดแ้ กแ่ ผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินน่ั เองในสว่ นของการศึกษาก็มีแผนพัฒนาการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ไมใ่ ช่แผน
การศกึ ษาแห่งชาติ)ในเร่ืองของการเกษตรก็มแี ผนพฒั นาเกษตร เป็นต้น
3. แผนพัฒนาประจาปี (1 ปี) ความจริงในการจดั ทาแผนพัฒนาระยะกลาง เช่น แผนพฒั นาการศกึ ษาได้มกี าหนด
รายละเอยี ดไว้เป็นรายปอี ย่แู ล้ว แตเ่ นอ่ื งจากการจดั ทาแผนพัฒนาระยะกลางได้จดั ทาไวล้ ่วงหน้า ข้อมูลหรือความต้องการ
ที่เขียนไว้อาจไม่สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จริงในปัจจุบัน จึงต้องจัดทาแผนพัฒนาประจาปีข้นึ นอกจากน้นั วิธีการ
งบประมาณของเราไม่ใช้แผนพัฒนาระยะกลางขอตงั้ งบประมาณประจาปี เพราะมีรายละเอยี ดน้อยไป แตจ่ ะตอ้ งใช้
แผนพฒั นาประจาปี เปน็ แผนขอเงนิ
4. แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี (1 ป)ี ในการขอตัง้ งบประมาณตามแผนพัฒนาประจาปใี นข้อ 3 ปกตมิ ักไม่ได้ตามท่ี
กระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆขอไป สานกั งบประมาณหรือคณะกรรมาธิการของรฐั สภามักจะตัดยอดเงินงบประมาณทสี่ ว่ น
ราชการต่างๆขอไปตามความเหมาะสมและจาเป็นและสภาวการณ์การเงินงบประมาณของประเทศทจ่ี ะพึงมภี ายหลังทีสว่ น
ราชการตา่ งๆ ได้รบั งบประมาณจรงิ ๆแล้ว จาเป็นท่ีจะต้องปรบั แผนพฒั นาประจาปที ่จี ัดทาข้ึนเพอ่ื ขอเงินใหส้ อดคลอ้ งกบั เงนิ
ทไ่ี ดร้ ับอนมุ ตั ิ ซ่งึ เรียกว่าแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีข้ึน
แผนท่ีกลา่ วมาแลว้ ข้างต้นนั้นเปน็ แผนท่ใี ช้ในหน่วยงานราชการทัว่ ไป สาหรับแผนที่ใช้ในวงการธุรกจิ เรยี กว่า
แผนธุรกจิ หรือ Business Plan ซ่ึงเป็นแผนการดาเนินงานของธุรกจิ หรอื โครงการหนึง่ ๆ ที่จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการ
ดาเนนิ ธรุ กิจทง้ั ในระยะส้ัน 1–3 ปี และในระยะยาว 3–5 ปี อันประกอบไปด้วยการวิเคราะหถ์ ึงผลกระทบตอ่ ธรุ กิจทั้ง
ทางด้านมหภาค (Macro Analysis) และจุลภาค (Micro Analysis) การวิเคราะหธ์ ุรกจิ ของโครงการในแงม่ มุ ตา่ งๆ ท้ัง
ทางดา้ นการตลาด ทางด้านการดาเนินงาน ทมี ผ้บู ริหาร และทางด้านการเงนิ เพือ่ เปน็ การประเมนิ ความเป็นไปไดข้ อง
โครงการ และเปน็ กรอบในการดาเนนิ ธุรกจิ แนวทางการพฒั นาธรุ กิจในอนาคต
การเขียนแผนธรุ กิจ เป็นส่งิ สาคัญอยา่ งหนึ่งและเป็นมาตรฐานในการทาธรุ กิจสมัยใหม่ แม้กระท่ังการขอกู้เงิน
หรอื การขอสินเชื่อจากธนาคารเพ่อื นาเงนิ มาลงทนุ การขอเงินจาก Venture Capital หรือการใช้เงินลงทุนของตนเองก็
ดี เน่ืองจากจะทาให้เจ้าของกิจการ ผู้ร่วมธุรกิจ หรือธนาคารได้เห็นภาพรวมของโครงการ รวมถงึ การ

ประเมนิ ความเปน็ ไปได้ของโครงการต่างๆ วา่ มคี วามเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด จะให้ผลคุ้มทุนเมื่อใด มี
ความสามารถในการชาระหน้ีหรือไม่ ก่อนท่ีจะเริ่มต้นลงทุนในโครงการนั้นๆ จริง โดยแผนธุรกิจนอกจากจะเป็นการ
ประเมินความเป็นไปไดข้ องโครงการแล้ว ยังเปน็ แผนงานและแผนควบคมุ การดาเนนิ งานของธรุ กจิ นั้นๆ ไดอ้ ีกทางหน่ึง

~ 23 ~

ลกั ษณะของแผนธรุ กจิ ท่ดี ี ต้องประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ดงั นี้
1. บทสรุปผบู้ ริหำร (Executive Summary) เพือ่ ให้ผบู้ ริหารหรอื ผพู้ จิ ารณาแผน ได้ทราบภาพรวมท้ังหมดของ
โครงการ และผลตอบแทนท่ีได้รบั จากการลงทุน
2. โครงสรำ้ งอตุ สำหกรรมของบริษัท (Industry Analysis) บอกถงึ ภาพรวมของอุตสาหกรรมของโครงการ
วิสยั ทัศน์ ภารกจิ และวตั ถุประสงคข์ องโครงการ
3. กำรวเิ ครำะห์ตลำด (Marketing Analysis) เปน็ การวเิ คราะหถ์ งึ ปจั จัยภายนอก ปจั จัยภายใน สภาพการแขง่ ขนั
ในตลาด การกาหนดตลาดเปา้ หมาย การวางตาแหนง่ ผลิตภณั ฑ์ พฤติกรรมผู้บรโิ ภค และการประมาณการยอดขายสนิ ค้า
และบรกิ าร
4. แผนกำรตลำด (Marketing Plan) การกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ท้งั ทางด้านสินคา้ และบริการ ราคา ชอ่ ง
ทางการจดั จาหนา่ ย การสอ่ื สารทางการตลาด การบรหิ ารการขาย และการรบั ประกนั สินค้าและบริการ
5. แผนกำรพัฒนำในอนำคต (Improvement Plan) แผนงานการพัฒนาสนิ คา้ และบรกิ ารของบรษิ ทั ในอนาคต
6. แผนกำรปฏบิ ตั ิงำน (Operation Plan) กลยุทธก์ ารดาเนินงาน สถานท่ีต้ัง แผนการดาเนนิ งาน
7. โครงสร้ำงองคก์ ร (Organization Plan) แผนผงั องค์กร ทีมงานหลักในการบริหาร และหนา้ ท่ีความ
รบั ผดิ ชอบของหน่วยงานตา่ งๆ
8. ควำมสำมำรถในกำรทำกำไรของธุรกิจ (Business Profit) นโยบายทางการเงนิ สมมตฐิ านการเงิน งบกาไร
ขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เงนิ ลงทนุ และผลตอบแทน อตั ราส่วนทางการเงนิ การวเิ คราะหค์ วามอ่อนไหวของผลการ
ดาเนนิ งาน การวเิ คราะหจ์ ดุ คุ้มทุน
นอกจากนส้ี ถานประกอบการหรือผทู้ าธุรกิจจะต้องจัดทาแผนธุรกจิ แล้ว ยงั จะตอ้ งมีแผนอืน่ ๆ ประกอบการ
ดาเนินงานธุรกิจของตนเองอีกดว้ ย เพื่อสร้างความม่นั ใจใหก้ บั ตนเอง และแหลง่ เงนิ ทุน แผนเหลา่ น้ัน ไดแ้ ก่
1. แผนกำรดำเนินงำน (Gantt Chart) แผนภาพระยะเวลาของการดาเนนิ งานในช่วงเวลาต่างๆ (Time Frame)
2. แผนกำรควบคมุ (Controlling Plan) แผนควบคมุ การดาเนินการเพือ่ ให้เป็นไปตามแผนงานท่ีวางไว้
3. แผนฉกุ เฉนิ (Emergency Plan) แผนสารองหากการดาเนนิ งานไมเ่ ป็นไปตามแผนทไี่ ด้วางไว้ หรือแผนการ
แก้ไขปัญหาท่อี าจจะเกดิ ขึน้ ได้ในอนาคต

~ 24 ~

คณะผ้จู ดั ทำ

ทป่ี รกึ ษำ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอวงั น้าเย็น
นางอารีย์ ลิม้ วัฒนกิตติ รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอวังสมบูรณ์

ผเู้ ชีย่ วชำญด้ำนเนอ้ื หำ/ภูมปิ ัญญำ วิทยากร
1. นางสาวพรอษุ า สุขสมวฒั น์

คณะทำงำน ครูอาสาสมัครฯ
1. นางประนอม แสงศิลป์

2. นางกรวภิ า สรอ้ ยยงั สขุ ครูอาสาสมคั รฯ

3. นายสมบูรณ์ วงั โส ครู กศน.ตาบล

4. นางสาวปญั ชลดิ า สวุ รตั น์ ครู กศน.ตาบล

5. นางสาวปยิ าพัชร แป้นจนั ทร์ ครู กศน.ตาบล

6. นายสจุ นิ ต์ แช่มชื่น ครู กศน.ตาบล

7. นายสุรเดช คากุนา ครูศนู ย์การเรยี นชุมชน

8. นางอารรี ัตน์ ทวีสิน ครผู ู้สอนคนพกิ าร

9. นางสาวภัชราพร สมสกุลชัย เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งสมุด

ผจู้ ัดทำรปู เลม่ ครู กศน.ตาบล
นางสาวปยิ าพชั ร แป้นจันทร์

~ 25 ~


Click to View FlipBook Version