The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติศาสตร์ชาติไทยe-book 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebooksakaeo, 2020-05-22 23:56:30

ประวัติศาสตร์ชาติไทยe-book 1

ประวัติศาสตร์ชาติไทยe-book 1

1



คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง“ประวัติศาสตร์ชาติไทย” เอกสาร
ประกอบการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองชดุ น้ี เปน็ การจัดกระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณาการ เพ่ือพฒั นาผู้เรียนให้มที กั ษะ
การเรียนรู้ด้วยตนเองของการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ภายใต้กรอบแนวคิดท่ีว่า สอนให้น้อยลง และ
เรยี นรูใ้ ห้มากขน้ึ (Teach Less – Learn More)

ผู้จัดทามีความคาดหวังว่า เอกสารประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเองนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อ
นักศึกษาในการเรียนรู้ ฝึกทักษะกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้
สงู ข้ึน และหวังว่าเพื่อนครูคงจะสามารถนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน และประยุกต์ใช้ให้
สอดคล้องกบั บริบทของ กศน.ตอ่ ไป



สำรบญั

เร่อื ง หน้ำ

๑ ปฐมบรมกษัตรยิ ์.......................................................................................................................................... 1
๒ กบฏแผ่นดนิ .............................................................................................................................................. 1
๓ พระมหาวีรกษตั รีศรีสุริโยทัย ...................................................................................................................... 2
๔. สงครามช้างเผอื ก ...................................................................................................................................... 3
๕ เสียกรุงครง้ั แรก ......................................................................................................................................... 3
๖ กรรมตามสนอง.......................................................................................................................................... 5
๗ เขมร สันดาลเนรคณุ .................................................................................................................................. 6
๘ พระนเรศวรทรงแสดงฝมี อื ในการรบ .......................................................................................................... 7
๙ ทรงประกาศอิสรภาพ ................................................................................................................................ 8
๑๐ พิธศี รีสจั ปานกาล .................................................................................................................................... 9
๑๑ แพท้ ัง้ อาและหลาน ..... ........................................................................................................................... 9
๑๒ พระแสงดาบคาบคา่ ย ............................................................................................................................ 10
๑๓ สงครามยุทธหัตถี .................................................................................................................................. 10
๑๔ พระสุพรรณกัลยาณี ..... ........................................................................................................................ 11
๑๕ ตกี รงุ หงสาวดีล้างแคน้ ........................................................................................................................... 12
๑๖ การทาศกึ ครง้ั สดุ ท้ายของสมเดจ็ พระนเรศวร ........................................................................................ 13
๑๗ คดิ รุกรานไทยกรรมจงึ ตามสนอง ........................................................................................................... 13
๑๘ ศกึ บางระจนั วีรชนผู้รกั ชาติ .................................................................................................................. 13
๑๙ เสยี กรุงครั้งทส่ี องเพราะกษัตริย์ ............................................................................................................. 14
๒๐ การกู้อสิ รภาพโดยพระเจ้าตากสิน ......................................................................................................... 14
๒๑ สงครามเกา้ ทัพ ...................................................................................................................................... 15
อา้ งอิง : บนั ทกึ กรมหลวงชมุ พรเขตอุดมศักดิ์ ............................................................................................. 16

1

ประวตั ิศำสตรช์ ำตไิ ทย

๑ ปฐมบรมกษัตริย์
“เม่ือกูข้ึนใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจา้ เมอื งฉอดมาท่ีตาก พ่อกูไปรบขุนสามชนหัวซ้าย ขุนสามชน

ขับมาหัวขวา ขุนสามชนเกลื่อนเข้า ไพร่ฟ้าหน้าใส พ่อกูหนีญญ่ายพ่ายจะแจ กูบ่หนี กูขี่ช้างเนกพล กูขับเข้า
ก่อนพ่อกู กูต่อช้างด้วยขุนสามชน ตนกูพุ่งชา้ ง ขนุ สามชน.. ตัวชือ่ มาสเมืองพ่าย ขนุ สามชนพ่ายหนี พ่อกูจึงข้ึน
ชือ่ กู ชื่อพระรามคาแหง เมอ่ื กู พงุ่ ช้างขนุ สามชน ”

ข้อความในหลกั ศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลักท่ี ๑ กลา่ วถึงการชนช้างกับข้าศึกคร้งั แรก ของพอ่ ขนุ รามคาแหง
ขณะมีพระชนมายุได้ ๑๙ พรรษา ทรงร่วมเดินทางไปรบกับ พระบิดา( ขุนศรีอินทราทิตย์) ในการทาศึกกับขุน
สามชน เจ้าเมืองฉอด (อ.แม่สอด จ.ตาก)และได้ชัยชนะ พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์พระร่วง
ซ่ึงเป็น ปฐมบรมกษัตริย์ของไทย ทรงประดิษฐอักษรลายสือไทย และจัดให้มีการปกครอง แบบพ่อปกครองลูก
ตลอดระยะเวลาทีพ่ อ่ ขุนรามคาแหงทรงครองราชย์อยู่ ๔๐ ปี อาณาจกั รสุโขทัยมีความเจรญิ ร่งุ เรอื งอยา่ งสงู สุด

๒ กบฏแผน่ ดิน
“ครั้นสมเด็จพระบรมราชาหน่อ พุทธางกูร ส้ินพระชนม์ด้วยโรคไข้ทรพิษ พระรัฏฐาธิราชกุมาร

พระโอรส วัย ๕ พรรษา อันประสูติจากพระอัครชายาวัย ๑๗ พรรษา เปน็ ผูข้ ้ึนครองราชย์แทนพระไชยราชาผู้
ซง่ึ ดารงพระยศเปน็ พระอุปราช ระหวา่ งน้ันปีพศ.๒๐๗๓ บา้ นเมืองถูกบริหารโดยขุนนางทจุ ริตคือพระยายมราช
บิดาของอัครชายา พระไชยราชาจึงให้สาเร็จโทษพระรัฏฐาธิราชตามราชประเพณีโบราณ และข้ึนครองราชย์
แทน ออกรบปราบปรามหัวเมืองอยู่ตลอดจึงทรงแต่งต้ังพระเฑียรราชาข้ึน เป็นพระอุปราชว่าราชการแทน
พระองค์ท่ีกรุง อโยธยา

ต่อมาพระมเหสีของพระไชยราชา คือท้าวศรีสุดาจันทร์ได้ลักลอบมีความสัมพันธ์แบบชู้สาวกับขุนชิน
ราช ผู้ดูแลหอพระ สมคบลอบวางยาพิษปลงพระชนม์พระไชยราชา พระยอดฟ้า โอรสพระไชยราชา จึงได้ขึ้น
ครองราชย์แทนขณะท่ีมีพระชนม์ ๑๐ พรรษา แต่ต่อมาก็ถูกท้าวศรีสุดาจันทร์ปลงพระชนม์อีกองค์หนึ่ง แล้ว
สถาปนา ขนุ ชินราชข้นึ เปน็ กษตั รยิ ์ทรงพระนามวา่ ขนุ วรวงศา

2

ระหว่างน้ันพระเฑียรราชาได้ทรงผนวชเพื่อเลี่ยงภัย ส่วนพระสุริโยทัยครองพระองค์อยู่ในวัง โดยมี
ขุนพิเรนทรเทพ ขุนอินทรเทพ หมน่ื ราชเส่หานอกราชการ หลวงศรียศ คมุ้ กนั ภัยให้ และต่อมากไ็ ด้รว่ มกันปลง
พระชนม์ ขุนวรวงศา และท้าวศรีสุดาจันทร์ (ข้ึนมามีอานาจเหนือราชบัลลังก์อยุธยา เป็นเวลา ๑ ปี ๒ เดือน
กบั อีก ๔๒ วัน )เสียบหัวประจานไว้ที่วดั แร้ง แลว้ อัญเชญิ พระเฑียรราชาให้ลาสิกขาบทขึ้นครองราชย์แทน ทรง
พระนามวา่ พระมหาจกั รพรรดิ ครองราชย์ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๐๙๑-๒๑๑๑

ในปี ๒๐๙๑ น่ีเอง ที่ทางพม่านาโดยกษัตริย์นามว่า พระเจ้าตะเบงชะเวต้ี ทราบว่ากรุงศรีอยุธยาเกิด
ความวุ่นวายภายใน จึงฉวย โอกาสช่วงนี้คิดจะเข้าตี ได้จัดทัพทหาร ๓ หมื่น ช้างศึก ๓ ร้อย ม้าศึก ๒ พันตัว
ยกทัพเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์เข้าเมืองกาญจนบุรี จับกรมการเมืองมาสอบ ถามจึงทราบว่าหลังจากพระ
มหาจกั รพรรดไิ ด้ขึ้นครองราชย์บ้านเมอื งกส็ งบดี แต่ พระเจา้ หงสาวดีได้ยกทัพมาแล้วจะถอยกลับก็กะไรอยู่ จึง
ขอเข้าไปชานเมืองเพ่ือ ให้ชาวอยุธยาได้เกรงขาม เดินทางเข้าป่าโมกแล้วตั้งค่ายหลวงที่ทุ่งลุมพลีอยู่ ๓ วัน
จากนั้นจึงยกทพั กลับไปกรุงหงสาวดี ”

๓ พระมหำวีรกษตั รศี รสี รุ โิ ยทยั
เม่ือปี พ.ศ. ๒๐๙๑ พระเจ้าตะเบงชเวต้ีได้ยกกองทัพเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ (กาญจนบุรี) ข้าม

แม่น้าเจ้าพระยาบริเวณบ้านโผงผาง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงยกกองทัพออกไปตรวจดูข้าศึกท่ีทุ่งภูเขา
ทอง ทรงเคร่ืองอลังการยุทธและได้ เสด็จทรงช้างต้นพลายแก้วจักรพรรดิเป็นพระคชาธาร มีพระสุริโยทัยเอก
อัครมเหสี เสด็จมาด้วย ทรงใส่ชุดพระมหาอุปราชเสด็จทรงช้างพลายทรงสุริยกษัตริย์เป็นพระ คชาธาร ส่วน
พระโอรส(พระราเมศวรและพระมหินทราธิราช)ได้ทรงช้างต้นพลาย มงคลจักรพาฬและช้างต้นพลายพิมาน
จักรพรรดิตามลาดับ ทางฝ่ายพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ได้ทรงช้างพลายมงคลทวีป และพระเจ้าแปรทรงได้ ทรง
ช้างพลายเทวนาคพินาย(อนึ่ง ช้างของพม่ามีความสูงกว่าของไทยประมาณ ๑ คืบเจ็ดน้ิว) รายละเอียดในการ
รบ จะขอนาข้อความจากพระราชพงศาวดารฉบับราชหตั เลขา ดังนี้

“ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า ได้ขับพระคชาธารเข้าชนช้างกับกองหน้า พระเจ้าหงสาวดี
พระคชาธารเสียทใี ห้หลังข้าศึก พระเจ้าแปรได้ทีจึงขับพระคชาธา ตามไล่ช้างพระมหาจักรพรรดิ พระสุริโยทัย
เห็นว่าพระราชสามีไม่พ้นมือข้าศึกแน่ๆ แล้ว ด้วยทรงพระกตัญญูภาพจึงทรงขับพระคชาธารพลายทรงสุริ
ยกษัตริย์เข้าออก รับ แต่พระคชาธารพระสุริโยทัยเสียทีข้าศึก พระเจ้าแปรจึงฟันด้วยพระแสงของ้าว ถูกพระ
อังสกพระสุริโยทัยขาดจนถึงราวพระถนั ประเทศสิ้นพระชนม์บนคอช้าง .... พระโอรสทั้ง ๒ พระองค์จึงขับพระ
คชาธารเข้าไปกันพระศพสมเดจ็ พระมารดาเข้า พระนคร ” ทรงทายุทธหัตถี ณ สมรภูมิทุ่งมะขามหยอ่ ง ในวัน
อาทติ ย์ ขน้ึ ๖ ค่า เดอื น ๔ ปีวอก พ.ศ. ๒๐๙๑

สมเด็จพระมหาจักรพรรดไิ ด้เชิญพระศพพระสุริโยทัย ไปประดิษฐานยังสวนหลวง หลังจากน้ันจึงทรง
พระราชทานเพลงิ ศพ แล้วสร้างพระอารามตรงพระเมรุ โดยมีเจดียใ์ หญ่เรียกว่า ‘ วัดหลวงสบสวรรค์ ’ การศึก
คร้ังนั้นพม่ายังไม่สามารถจะตีไทยได้ และพระมหาจักรพรรดิทรงรับส่ังให้ พระมหาธรรมราชายกทัพของหัว
เมืองทางเหนือลงมาตีทัพพม่าโดยด่วน ทัพพม่าจะ หนีไปทางด่านแม่ละเมา กองทัพไทยก็ไล่ตามมาติดๆเข้าตี
พม่าล้มตายจานวนมาก เกือบจะทันทัพหลวงของพระเจ้าหงสาวดีท่ีเมืองกาแพงเพชร ด้วยเล่ห์กลพม่าจึงได้ ซุ่ม
ทหารไว้สองข้างทางดักรออยู่ พอกองทพั ไทยผา่ นเข้าไปจึงถูกล้อมจับตัวพระมหา ธรรมราชาและพระราเมศวร
ได้ ทางพระมหาจักรพรรดจิ งึ ทรงยอมสงบศึกเพื่อนาทงั้ สองพระองค์กลับมาโดยแลกกับช้างพลายศรีมงคลและ
พลายมงคงทวปี กองทัพพมา่ จึงหนีกลบั ไปได้

พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย ประดิษฐานอยู่บรเิ วณทุ่งมะขามหย่อง หา่ งจากวัดภเู ขาทองไป
ทางทศิ เหนือ (สวนนก) จ.พระนครศรีอยุธยา

3

๔. สงครำมช้ำงเผือก
“เมอื่ ปพี ศ.๒๑๐๖ พระเจ้าหงสาวดไี ด้สง่ เครื่องราชบรรณาการมาถวายสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ เพ่ือ

จะทูลขอชา้ งเผือก ๒ ช้าง(เนอื่ งจากกรุงศรีอยธุ ยามีช้าง เผือกอยู่ ๗ ชา้ ง) นับว่าเป็นกลอุบายเพ่ือจะหาเรื่องยก
ทพั มาตไี ทย ขุนศึกและ เสนาบดีจึงแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเห็นด้วยทจี่ ะประทานช้างเผือก ๒ ช้าง เพ่ือ
ป้องกนั การเกิดศึกสงครามเพราะว่าพระเจา้ หงสาวดีบุเรงนองมีความชานาญ การศึกมาก ฝา่ ยทสี่ องไม่เห็นดว้ ย
ที่จะประทานช้างเผือก(มีพระราเมศวร พระยา จักรี พระสุนทรสงคราม) เพราะจะเป็นการอ่อนข้อให้ ในวัน
ขา้ งหน้าพระเจ้าหงสา วดจี ะต้องเอาไทยเป็นเมอื งขึ้น สรปุ กค็ ือให้หรือไม่ใหก้ จ็ ะตี
สมเด็จพระมหาจกั รพรรดทิ รงมีพระราชดาริไมป่ ระทานชา้ งเผอื ก แล้วมีพระราชสาสน์ตอบกลบั ไปดังน้ี

“ช้างเผือกย่อมเกิดสาหรับบุญบารมีของพระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นเจ้าของ เม่ือพระเจ้าหงสาวดีได้บาเพ็ญ
ธรรมให้ไพบูรณค์ งจะได้ช้างเผือกมาสบู่ ารมีเป็นมั่นคงอยา่ ได้ทรงวิตกเลย” และรับส่ังให้เตรียมไพร่พลพร้อมรบ
อย่างเข้มแข็ง ทางฝ่ายพระเจ้าหงสาวดีได้ยกทัพรวมพลที่เมืองเมาะตะมะ จัดทัพใหญ่ออก เป็น ๕ ทัพ มีเจ้า
เมืองเชียงใหม่ควบคุมกองเรือเสบียง ล่องลงมาถึงเมืองตาก รวมไพล่พลเป็นจานวนประมาณ ๕ แสนคน ส่วน
ทางอยุธยาได้เตรียมพลพร้อมรบและเรือรบจานวนมาก เพ่ือป้องกันการ โจมตีจากทัพหลวงของหงสาวดีทาง
ด่านเจดีย์สามองค์ แตผ่ ิดคาดพมา่ ยกทัพ มาทางดา่ นแมล่ ะเมาเข้าตกี าแพงเพชรได้เมอื งแล้วแยกทัพไปตีสโุ ขทัย
เนื่องด้วยทางสุโขทัยมีกาลังน้อยกว่ามากแต่ก็สู้รบเป็นสามารถในที่สุดก็ถูกยึดเมือง จากนั้นพม่าจึงล้อมเมือง
พิษณุโลก พระมหาธรรมราชาก็ต่อสู้เป็นสามารถเชน่ กัน แต่เกิดไขท้ รพิษขึน้ ในเมอื งและเสบียงอาหารก็หมดจึง
ยอมจานน หลังจากที่พม่าได้หัวเมืองฝ่ายเหนือแล้วจึงบังคับให้พระมหาธรรมราชาและเจ้าเมืองถือน้ากระทา
สัตย์ให้อยใู่ ตบ้ ังคบั ของพมา่ พรอ้ มทั้งส่ังให้ยกทัพตามลงมาเพ่ือตีกรุงศรีฯด้วย

กองทัพพม่ายกมาประชิดเขตเมืองใก้ลทุ่งลุมพลีพระมหาจักรพรรดิทรงให้กองทัพบก เรือ ระดมยิงใส่
พม่าเป็นสามารถ แต่สู่ไม่ได้จึงถอย ทางพม่าจึงยึดได้ป้อมพระยาจักรี(ทุ่งลุมพลี) ป้อมจาปา ป้อมพระยามหา
เสนา(ทุ่งหันตรา) แล้วล้อมกรุงศรีฯอยู่นาน พระมหาจักรพรรดิทรงเห็นว่าพม่ามีกาลังมากการที่จะออกไปรบ
เพ่ือเอาชัย คงจะยากนัก จึงทรงส่ังให้เรือรบนาปืนใหญ่ล่องไปยิงทหารพม่าเป็นการถ่วงเวลาให้ เสบียงอาหาร
หมดหรือเข้าฤดูน้าหลากพม่าคงจะถอยไปเอง แต่พม่าได้เตรียมเรือรบ และปืนใหญ่มาจานวนมากยิงใส่เรือรบ
ไทยพงั เสียหายหมด แล้วตั้งปืนใหญ่ยงิ เขา้ มา ในพระนครทุกวัน ถูกชาวบา้ นล้มตาย บ้านเรอื น วดั เสยี หายมาก
ทางพระเจ้าหงสา วดจี งึ มสี าสนม์ าว่า จะรบตอ่ ไปหรอื ยอมเป็นไมตรี เน่ืองด้วยทางไทยเสียเปรยี บมาก พระมหา
จกั รพรรดจิ ึงทรงยอมเปน็ ไมตรี ทาให้ฝ่ายไทยตอ้ งเสียช้างเผอื กจาก ๒ ช้าง เป็น ๔ ช้าง และทุกปีต้องสง่ ช้างให้
๓๐ เชอื ก พร้อมเงิน ๓๐๐ ชั่ง จับตัวพระยาจักรี ไปเปน็ ตัวประกัน นอกจากน้ียังจะขอเก็บภาษีอากรจากเมือง
มะรดิ ที่ขึ้นกับไทยอีกด้วย ขณะน้นั สมเด็จพระนเรศวรทรงพระชมมายุได้ ๙ พรรษาถูกนาเสด็จไปประทับทกี่ รุง
หงสาวดีเพอ่ื เปน็ องค์ประกันด้วย

๕ เสียกรุงครัง้ แรก
“ปีพศ. ๒๑๑๒ ในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พม่าผู้รุกรานยังพยายามจะ ตีไทยให้ได้ จาก

พงศาวดารไดก้ ล่าวไว้วา่ ถึงแม้บุเรงนองจะเก่งในการศกึ แต่ไม่ เคยรบชนะไทยด้วยการนาทหารเข้าประจญั บาน
เลย แต่จะใช้เล่ห์เหลี่ยมและอุบาย ต่างๆเข้าช่วยเสมอ จงึ ใชว้ ิธที าให้ไทยแตกแยกเป็น ๒ ฝา่ ย โดยพม่ายกพระ
มหา ธรรมราชาให้เป็นใหญ่ทางเหนือ หลังจากพระมหาจักรพรรดิทรงเสด็จออกผนวช พระมหินทราธิราชขึ้น
ครองราชย์และทรงคิดกาจัดพระมหาธรรมราชา จึงส่งสาสน์ ไปถงึ พระไชยเชษฐาผู้ครองกรุงศรีสัตนาคนหตุ ให้
ยกทัพมาตีพิษณโุ ลก ทางพระ มหาธรรมราชาจึงขอทหารจากเมอื งหงสาวดแี ละกรุงศรีฯขึ้นมาช่วยป้องกนั เมือง

4

พระมหินทร์ฯทรงแกล้งส่งพระยาสีหราชเดโชยกทัพไปช่วย แท้จริงแล้วให้ร่วมกับ ทัพพระไชยเชษฐาตี
พิษณุโลก แต่ว่าพระยาสีหราชเดโชแปรพักไปเข้ากับพระมหา ธรรมราชาแล้วทูลความจริงให้ทราบ พระมหา
ธรรมราชาจึงรับส่ังป้องกันเมืองไว้ ประจวบเหมาะกองทพั หงสาวดียกมาช่วยทัน กองทัพพระไชยเชษฐาจงึ ถอย
กลับ เวียงจันทร์ เม่ือเหตุการณ์เริม่ บานปลายพระมหาจักรพรรดิทรงลาผนวช แล้วเสด็จข้ึนครอง ราชย์อกี คร้ัง
ทรงยกทัพขึ้นมาเมืองพิษณุโลก รับพระวิสุทธิกษัตรีพร้อมด้วยโอรส ธิดาของพระมหาธรรมราชา(ขณะนั้นอยู่
กรุงหงสาวดี) ลงมาเป็นองค์ประกนั อยทู่ ี่ กรุงศรอี ยุธยา

ทางพระมหาธรรมราชาเม่ือทราบว่าพระอัครชายาและโอรสธิดาถูกจับเป็นองค์ ประกันก็ทรงวิตกย่ิง
นัก แล้วรีบส่งสาสน์ไปยังพระเจ้าหงสาวดีให้ยกทัพมาตีกรุง ศรีอยุธยารวมท้ังหมด ๗ ทัพ มีกาลังพลร่วม ๕
แสนคน ยกทัพมาทางด่านแม่ ละเมาเข้าเมืองกาแพงเพชร ฝ่ายกรุงศรีอยุธยาเม่ือทราบว่าหัวเมืองทางเหนือ
เป็นของพม่าแล้ว จึงเตรียมรบ อยู่ที่พระนคร นาปืนนารายณ์สังหารยิงไปยังกองทัพพระเจ้าหงสาวดีที่ต้ังอยู่
บรเิ วณทุ่งลุมพลี ถูกทหาร ชา้ ง มา้ ล้มตายจานวนมาก พม่าจงึ ถอยทัพมาตง้ั ท่ีบ้าน พราหมณ์ให้พน้ ทางปืน แล้ว
พระเจ้าหงสาวดีจึงเรียกประชุมการศึก พระมหา อุปราชเห็นสมควรให้ยกทัพเข้าตีไทยทุกด้านเพราะมีกาลัง
มากกว่า แต่พระเจ้า หงสาวดีไม่เห็นด้วยเพราะกรุงศรีอยุธยามีทาเลดีมีน้าล้อมรอบ จึงสั่งให้ตีเฉพาะ ด้าน
ตะวนั ออกเพราะคูเมืองแคบทสี่ ดุ พม่าพยายามจะทาสะพานข้ามคูเมืองแต่ ถูกทหารไทยยิงตายเปน็ จานวนมาก
( ศพแล้วศพเล่าทนี่ าดนิ มาถมสะพาน )

ระหวา่ งการสงคราม สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิทรงประชวรและสวรรคตในเวลา ตอ่ มา พระเจ้าหงสาว
ดไี ด้โอกาสจึงสง่ั ใหท้ หารเข้ามาตพี ระนครด้านตะวันออก พร้อมๆกัน ฝ่ายไทยมพี ระมหาเทพนายกองรักษาด่าน
อย่างเต็มสามารถ ทาให้ พม่าล้มตายจานวนมากจึงถอยข้ามคูกลับไป ไม่ได้ด้วยฝีมือต้องใช้เล่ห์กล พระเจ้าหง
สาวดีจึงถามพระมหาธรรมราชาว่าจะ ทาอย่างไรให้ชนะศึกโดยเร็ว พระมหาธรรมราชาทรงแนะว่าพระยาราม
เป็นแม่ทพั สาคญั ให้ได้ตัวมาการยดึ พระนครจักสาเร็จ จงึ มีสาสนม์ าถงึ พระอคั รชายาว่า

การศึกเกิดจากพระยารามท่ยี ยุ งให้พี่นอ้ งตอ้ งทะเลอะกัน ถา้ ส่งตวั พระยารามมา ให้พระเจา้ หงสาวดจี ะ
ยอมเป็นไมตรี ทางสมเด็จพระมหินทร์ฯ ทรงอ่านสาสน์แล้ว ปรึกษากับข้าราชการต่างๆจึงเห็นสมควรสงบศึก
เพราะผู้คนล้มตายกันมากแล้ว สมเดจ็ พระมหินทร์ฯทรงรับส่ังให้ส่งพระสังฆราชออกไปเจรจาและส่งตัวพระยา
ราม ให้พระเจ้าหงสาวด(ี บเุ รงนอง)เพ่ือเปน็ ไมตรี

แต่พระเจ้าหงสาวดีตบัตสัตย์ไร้สัจจะวาจาไม่ยอมเป็นไมตรี แต่กลับบอกว่าจะต้องยอมแพ้และเป็น
เชลย ทาให้สมเด็จพระมหินทรฯ์ ทรงพิโรธโกรธแคน้ ในการกลบั กลอกของบุเรงนองอย่างมาก

ทรงรับ ส่ังให้ขุนศึกท้ังหลายรักษาพระนครอย่างเข้มแข็ง ทางฝ่ายพม่าก็เห็นว่างานนี้ก็ยัง ตีกรุงศรี
อยุธยาไม่ได้ จงึ ส่งพระมหาธรรมราชามาเกลย้ี กล่อมใหย้ อมแพ้ แต่ถูก ทหารไทยเอาปืนไล่ยงิ จนตอ้ งหนกี ลบั ไป
ด้วยความเจ้าเล่ห์ของพระเจา้ หงสาวดจี ึงคดิ อุบายจะใช้เจา้ พระยาจักรีทจี่ ับตัวได้ ตอนสงครามช้างเผือกเป็นใส้
ศกึ

อนิจจา..พระยาจักรียอมเนรคุณแผ่นดินไทยยอม เป็นไส้ศึกให้พม่า โดยวางแผนจาคุกพระยาจักรีใน
ค่ายด้านตะวันออก แล้วแกล้ง ปล่อยให้หนีในตอนกลางคืน(มเี ครื่องพันธนาการโซล่ ่ามมาดว้ ย) รงุ่ เชา้ พม่าทาที
เป็นตามหาแต่ไม่พบเลยจับตัวผู้คุมมาตัดหัวเสียบไว้ริมแม่น้าเพ่ือให้ไทยหลงกล สมเด็จพระมหินทร์ฯทรงดี
พระทัยที่พระยาจักรีหนีมาได้ จึงทรงแต่งต้ังให้เป็น ผู้บังคับบัญชาการรบแทนที่พระยาราม แผนชั่วร้ายจึงเร่ิม
ข้นึ พระยาจักรไี ด้ใส่ ร้ายให้พระศรีสาวราชว่าเป็นกบฏจึงถูกสาเร็จโทษ นอกจากนี้พระยาจักรียังได้ ย้ายแม่ทัพ
ที่รบเก่งๆเอาไปไว้ในตาแหน่งท่ีไม่สาคัญทาให้การป้องกันพระนคร เริ่มอ่อนแอ แผนชั่วร้ายได้ดาเนินมา ๒
เดือนเม่ือเห็นว่าได้เวลาอันควรพระยา จักรจี ึงให้สญั ญาณแก่พม่าเข้าตีกรุงศรีอยุธยาทกุ ด้าน ในทสี่ ุดไทยจึงเสีย

5

กรุงแก่พม่าเพราะมีใส้ศึกคนขายชาติ (มิได้เสียกรุงเพราะ ความสามารถทางการรบ ) รวมเวลาที่พม่าล้อมกรุง
ศรฯี เอาไว้ ๙ เดอื น

คนทรยศต่อแผ่นดินยังมี พระยาพลเทพอีกหน่ึงคน ตามคาบอกกล่าวของ ชาวกรุงเก่าว่า “ เมื่อพระ
เจ้ากรงุ ศรฯี เห็นว่าทพั เริ่มแตกจึงรับสั่งใหท้ หารปดิ ประตูเมืองและรักษาหน้าที่เชิงเทินเอาไวใ้ ห้มัน่ แต่ทางพระ
ยาพลเทพผู้ทรยศ ได้แอบส่งอาวุธ เสบียงอาหารให้พม่า พร้อมทั้งรับปากว่าจะเปิดประตูเมือง ทางด้าน
ตะวันออกใหเ้ มื่อพม่าบุกเข้าตี ”

๖ กรรมตำมสนอง
หลังจากท่ีไทยได้เสียกรุงแก่พม่าแล้ว (หลังจากพระมหาจักรพรรดิสวรรคต ๕ เดือน) พระเจ้าหงสาวดี

(บุเรงนอง)ได้ให้พระมหาธรรมราชาปกครองกรุงศรีอยุธยา ซ่ึงข้ึนต่อกรุงหงสาวดี การรบคร้ังน้ันถึงแม้จะชนะ
แต่พม่าก็เสียไพล่พลเป็นจานวนมากมาย จึงกวาดต้อนชาวเมืองไปเป็นเชลยจานวนมากเหลือไว้เพียง ๑๐๐๐
คน ส่วนสมเด็จพระมหินทร์ฯและพระญาติรวมทั้งข้าราชการได้ถูกนาตัวไปไว้ยังเมืองหงสาวดี แต่สมเด็จพระ
มหินทร์ฯทรงประชวรและสวรรคตระหว่างทาง พระมหาธรรมราชาได้ขอสมเด็จพระนเรศวรเพื่อมาช่วย
ราชการ ขณะน้ันพระองค์ มีพระชนมายุ ๑๕ พรรษา พระเจ้าบุเรงนองยินยอมแต่ต้องแลกกลับพระสุพรรณ
กลั ยาณซี ึง่ เปน็ พระพี่นางสมเด็จพระนเรศวร โดยนาไปเป็นพระชายาและองค์ประกันแทน

ทางด้านพระยาจักรีผู้ทรยศ ในพงศาวดารได้กล่าวว่า พระเจ้าบุเรงนองได้ให้เป็นเจ้าเมืองพิษณุโลกแต่
ทางพระยาจักรีไม่ต้องการจะขอไปรับราชการท่ีกรุงหงสาวดี ฝ่ายบุเรงนองเล้ียงพระยาจักรีไว้ไม่นานเพราะว่า
พระยาจกั รที รยศแม้กระท่ังแผน่ ดินเกดิ จึงพาลหาขอ้ ผิดกลา่ วโทษเพอ่ื ประหารชีวิตเสีย ( นี่เปน็ กรรมตามสนอง
ในครง้ั ทพ่ี ระยาจกั รใี หร้ า้ ยพระศรีสาวราชน้องยาเธอ จนถูกสาเร็จโทษ )
๗ เขมร สนั ดาลเนรคณุ ....

เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๗๕ ในรัชสมัยพระมหาจักรพรรดิ ( ช่วงเปลี่ยนแผ่นดินจากพระชัย ราชามาเป็นพระ
เทียรราชา หรือพระมหาจักรพรรดิ ) กรุงหงสาวดไี ด้ยกทัพมาตี ไทย ฝ่ายเขมรพระยาละแวกเห็นได้ทจี ึงยกทัพ
เข้ามาทางปราจีนบุรีกวาดต้อนผู้คน กลับไปเขมรจานวนมาก หลังจากพม่ายกทัพกลับไปสมเด็จพระมหา
จักรพรรดิทรง พิโรธมาก จึงทรงรับส่ังใหย้ กทพั ไปถึงเมืองพระตะบองและละแวก พระยาละแวก เหน็ ท่าจะแพ้
ในการศกึ จึงมีราชสาสนม์ ากราบทูลพระมหาจักรพรรดิ จับใจความได้ วา่

“ ข้าพระองค์ผู้ปกครองกัมพูชา มิได้เกรงพระบรมเดชานุภาพท่ีไปกวาดต้อน คนจากปราจีนบุรี ขอ
อย่าทรงพโิ รธยกทัพมาตีเมือง ข้าพเจา้ จะนาเครื่องราชบรรณาการมาถวาย และเป็นข้าพระบาทตราบชั่วกลั ปว
สาน ”

หลังจากน้ัน ๓ วันพระยา ละแวกได้นาเคร่ืองราชบรรณาการพร้อมด้วยนักพระสุโทและนักพระสุทัน
เปน็ ราชบตุ มาเข้าเฝา้ ทางพระมหาจักรพรรดิกท็ รงคลายพิโรธและขอนาโอรสทั้งสองไปเลย้ี ง ดู พระยาละแวก
ก็ยอมจากน้ันก็กวาดต้อนคนชาวปราจีนบุรีกลับคืนมาฝั่งไทย ต่อมาไม่นานญวณได้ยึดเมืองละแวก ไทยจึงส่ง
กองทพั ไปช่วยเพอ่ื ตเี มอื งคนื แต่ทาไมส่ าเร็จ

ในปี พ.ศ. ๒๑๑๓ รัชสมัยพระมหาธรรมราชาหลังจากท่ีไทยเสียกรุงให้แก่พม่าเพียงปีเดียว พระยา
ละแวกจากเขมรได้ถือโอกาสเข้ามาปล้นและตีเมืองนครนา-ยก(ท้ังท่ีเคยให้สัจจะว่าจะขอเป็นข้าพระบาท
กษัตริย์ไทยชั่วกัลปาวสาน) พระมหาธรรมราชาจึงทรงรับสั่งให้ยกทัพไปปราบ ให้ทหารนาปืนจ่ารงค์ยิงไปถูก
พระจาปาธิราชของเขมรตายคาท่ีบนคอช้าง ทัพของเขมรถอยกลับไปแต่ก็ย้อนกลับมาปล้นเมืองอีกหลายคร้ัง
นอกจากน้ีพระยาละแวกยังนาทัพมากวาดต้อนผู้คนแถวจันทบุรี ระยอง ฉะเชิง เทรากลับไปเขมรจานวนมาก
ด้วยความคดในข้องอในกระดูกพระยาละแวกไดย้ ก ทัพมาถึงปากน้าพระประแดงโจมตีเมืองธนบุรีจับชาวเมือง

6

ธนบุรีและนนทบุรีเป็น เชลยจานวนมาก เลยได้ใจรวบรวมคนหมายจะตีกรุงศรีอยุธยา แต่งทัพเรือ ๓๐ ลาเข้า
ปล้นบ้านนายก่าย แต่โชคไม่ดีถกู ปืนใหญ่ของไทยยิงตายเป็นจานวนมาก ฝ่ายเขมรแตกทัพหนีกลับไปทางพระ
ประแดง ( หนีไมห่ นีเปลา่ ยังกวาดตอ้ นผคู้ นแถวสาครบรุ ีกลับไปอีกด้วย เลวจริงๆ )

ในปี พ.ศ. ๒๑๒๙ พระยาละแวกเห็นว่าไทยกาลังสู้ศึกหงสาวดีอยู่ จึงฉวยโอกาสยกทัพเข้ามาตีเมือง
ปราจนี

สมเด็จพระนเรศวรทรงตรสั วา่ “ พระยาละแวกตบตั สัตยอ์ กี แล้ว จึงต้องยกไปปราบให้ราบคราบ ”
ผลการศกึ กองทพั ไทยไล่ตีเขมรไปจนสุดชายแดน ทหารเขมรล้มตายจานวนมาก
ในปี พ.ศ. ๒๑๓๒ หลังจากสมเด็จพระนเรศวรครองราชย์ ทรงปรึกษาข้าราชการว่ากษัตริย์เขมรมีใจ
คิดไม่ซอ่ื เหมอื นพระยาละแวก ชอบซา้ เตมิ ไทยในยามศึกกับพม่า จงึ ทรงมพี ระราชดารทิ จี่ ะยกทัพไปแก้แค้นเอา
โลหติ มาลา้ งพระบาท
ทรงจัดกองทพั ให้ไปตเี มืองปัตบอง เมืองโพธสิ ัตว์ แล้วเขา้ ล้อมเมอื งละแวกเอาไว้ ทรงล้อมเมอื งนานถึง
๓ เดือนยังตีไม่ได้ เสบียงอาหารเร่ิมลดน้อยลงจึงทรงรับส่ังให้ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยาไปก่อน แล้วจะ
เตรียมการมาตีในภายหนา้

๗ เขมร สันดำลเนรคุณ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๗๕ ในรัชสมัยพระมหาจักรพรรดิ ( ช่วงเปลี่ยนแผ่นดินจากพระชัย ราชามาเป็นพระ

เทียรราชา หรือพระมหาจักรพรรดิ ) กรุงหงสาวดไี ด้ยกทัพมาตี ไทย ฝ่ายเขมรพระยาละแวกเห็นได้ทีจึงยกทัพ
เข้ามาทางปราจีนบุรีกวาดต้อนผู้คน กลับไปเขมรจานวนมาก หลังจากพม่ายกทัพกลับไปสมเด็จพระมหา
จกั รพรรดิทรง พิโรธมาก จงึ ทรงรับส่ังใหย้ กทัพไปถึงเมอื งพระตะบองและละแวก พระยาละแวก เห็นท่าจะแพ้
ในการศกึ จงึ มรี าชสาสนม์ ากราบทูลพระมหาจกั รพรรดิ จบั ใจความได้ วา่

“ ข้าพระองค์ผู้ปกครองกัมพูชา มิได้เกรงพระบรมเดชานุภาพที่ไปกวาดต้อน คนจากปราจีนบุรี ขอ
อย่าทรงพโิ รธยกทัพมาตีเมือง ขา้ พเจา้ จะนาเครื่องราชบรรณาการมาถวาย และเป็นข้าพระบาทตราบชว่ั กัลปว
สาน ”

หลังจากนั้น ๓ วันพระยา ละแวกได้นาเครื่องราชบรรณาการพร้อมด้วยนักพระสุโทและนักพระสุทัน
เปน็ ราชบตุ มาเขา้ เฝ้า ทางพระมหาจักรพรรดิก็ทรงคลายพโิ รธและขอนาโอรสทั้งสองไปเล้ียง ดู พระยาละแวก
ก็ยอมจากนั้นก็กวาดต้อนคนชาวปราจีนบุรีกลับคืนมาฝ่ังไทย ต่อมาไม่นานญวณได้ยึดเมืองละแวก ไทยจึงส่ง
กองทัพไปชว่ ยเพอื่ ตเี มืองคนื แต่ทาไมส่ าเรจ็

ในปี พ.ศ. ๒๑๑๓ รัชสมัยพระมหาธรรมราชาหลังจากท่ีไทยเสียกรุงให้แก่พม่าเพียงปีเดียว พระยา
ละแวกจากเขมรได้ถือโอกาสเข้ามาปล้นและตีเมืองนครนา-ยก(ทั้งท่ีเคยให้สัจจะว่าจะขอเป็นข้าพระบาท
กษัตริย์ไทยช่ัวกัลปาวสาน) พระมหาธรรมราชาจึงทรงรับสั่งให้ยกทัพไปปราบ ให้ทหารนาปืนจ่ารงค์ยิงไปถูก
พระจาปาธิราชของเขมรตายคาท่ีบนคอช้าง ทัพของเขมรถอยกลับไปแต่ก็ย้อนกลับมาปล้นเมืองอีกหลายคร้ัง
นอกจากนี้พระยาละแวกยังนาทัพมากวาดต้อนผู้คนแถวจันทบุรี ระยอง ฉะเชิง เทรากลับไปเขมรจานวนมาก
ด้วยความคดในข้องอในกระดูกพระยาละแวกได้ยก ทัพมาถึงปากน้าพระประแดงโจมตีเมืองธนบรุ ีจับชาวเมือง
ธนบุรีและนนทบุรีเป็น เชลยจานวนมาก เลยได้ใจรวบรวมคนหมายจะตีกรงุ ศรีอยุธยา แต่งทัพเรือ ๓๐ ลาเข้า
ปล้นบ้านนายก่าย แต่โชคไม่ดีถูกปืนใหญ่ของไทยยิงตายเป็นจานวนมาก ฝ่ายเขมรแตกทัพหนกี ลับไปทางพระ
ประแดง ( หนไี มห่ นเี ปลา่ ยังกวาดตอ้ นผ้คู นแถวสาครบุรีกลับไปอกี ด้วย เลวจรงิ ๆ )

ในปี พ.ศ. ๒๑๒๙ พระยาละแวกเห็นว่าไทยกาลังสู้ศึกหงสาวดีอยู่ จึงฉวยโอกาสยกทัพเข้ามาตีเมือง
ปราจนี

7

สมเดจ็ พระนเรศวรทรงตรัสวา่ “ พระยาละแวกตบัตสัตยอ์ กี แลว้ จงึ ต้องยกไปปราบให้ราบคราบ ”
ผลการศึกกองทพั ไทยไล่ตเี ขมรไปจนสดุ ชายแดน ทหารเขมรลม้ ตายจานวนมาก
ในปี พ.ศ. ๒๑๓๒ หลังจากสมเด็จพระนเรศวรครองราชย์ ทรงปรึกษาข้าราชการว่ากษัตริย์เขมรมีใจ
คดิ ไม่ซอ่ื เหมอื นพระยาละแวก ชอบซา้ เติมไทยในยามศึกกบั พมา่ จึงทรงมพี ระราชดาริทจี่ ะยกทัพไปแกแ้ ค้นเอา
โลหิตมาลา้ งพระบาท
ทรงจัดกองทัพให้ไปตเี มอื งปตั บอง เมืองโพธิสัตว์ แล้วเข้าล้อมเมืองละแวกเอาไว้ ทรงล้อมเมอื งนานถึง
๓ เดือนยังตีไม่ได้ เสบียงอาหารเริ่มลดน้อยลงจึงทรงรับสั่งให้ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยาไปก่อน แล้วจะ
เตรยี มการมาตใี นภายหนา้

๘ พระนเรศวรทรงแสดงฝีมือในกำรรบ
ปีพ.ศ.๒๑๑๗ พระเจ้าหงสวาดีบุเรงนองส้ินพระชนม์ ราชบุตรชื่อมังเอิญหรือมังไชยสิงห์ ได้ขึ้น

ครองราชย์ต่อพระนามว่าพระเจ้านันทบุเรง ตามธรรมเนียมประเพณีแล้วบรรดาประเทศราชที่เป็นเมืองข้ึน
จะต้องเดินทางไปถวายบังคมกษัตริย์องค์ ใหม่แสดงความจงรักภักดีรวมท้ังไทยด้วย แต่ว่าเมืองคังมเี จ้าฟ้าไทย
ใหญ่เป็นผคู้ รองนครไม่เดินทางมาร่วม หมายถึงกระด้างกระเดืองคิดแขง็ เมอื ง ทางพระเจ้านันทบุเรงได้สง่ั ให้ยก
ทพั ไปปราบเมืองคัง เพ่อื แสดงอานาจบารมี โดยมกี ารจดั ทัพเป็น ๓ กองทัพคือ ๑ กองทพั พระมหาอุปราช เป็น
โอรสของพระเจ้านันทบุเรง มีช่ือเดิม มังสามเกียด หรือมังกะยอชะวา ๒ กองทัพพระสังกะทัต เป็นราชบุตร
ของพระเจ้าตองอู มีชื่อเดิม นัดจินหน่อง ๓ กองทัพสมเด็จพระนเรศวร เป็นโอรสของพระมหาธรรมราชา
กษัตริย์ไทย เมืองคังมีทาเลอยู่บนเขาทางขึ้นก็เป็นซอกเขา ยากต่อการเข้ายึด เริ่มการศึกทาง พระมหาอุปราช
เขา้ ตกี ่อนและแพล้ งมา ครัง้ ทสี่ องให้พระสงั กะทัตเขา้ ตีก็ไมส่ าเร็จ

ตอ่ ไปเป็นหน้าท่ีของสมเด็จพระนเรศวร ดว้ ยทรงพระปรีชาสามารถจึงตีเมืองคงั ได้สาเร็จและจบั ตวั เจ้า
ฟ้าไทยใหญ่มาถวายพระเจ้านันทบุเรงอีกด้วย การศึดครั้งน้ีสร้างความอับอายให้พระเจ้านันทบุเรงมาก เพราะ
ต้องการใหร้ าชโอรสชนะ

8

ใช่แต่เรื่องการศึกเท่านั้นในยามว่างก็มีการนาไก่ชนมาตีกนั ระหว่างไก่ของสมเด็จพระนเรศวรและพระ
มหาอปุ ราช ผลคอื ไกช่ นของพระนเรศวรตชี นะทาเอา
พระมหาอุปราชเสียหนา้ จึงตรัสว่า “ ไก่เชลยตัวนี้เก่งจรงิ หนอ ” พระนเรศวร ทรงได้ยนิ ดังน้นั จงึ ตรัสกลบั ไปว่า
“ ไก่ตัวนี้อย่าว่าแต่จะพนันเอาเดิมพันเลย ถึงจะชนเอาบ้านเอาเมืองก็ได้ ” ( ถ้าลาดับเหตุการณ์ต้ังแต่สมัยที่
สมเด็จพระนเรศวรทรงขับไลเ่ ขมร การตีเมืองคัง ได้สาเร็จ จนถงึ การชนไก่ จะเหน็ ว่าสมเดจ็ พระนเรศวรทรงมี
พระบารมเี หนอื กวา่ ทางฝ่ายพมา่ มากนัก )

๙ ทรงประกำศอิสรภำพ
ปีพ.ศ.๒๑๒๖ พระเจ้าอังวะคิดแข็งเมืองไม่ยอมข้ึนต่อหงสาวดี พระเจ้านันทบุเรงได้ สั่งให้ประเทศราช

(เมืองแปร ตองอู เชียงใหม่ ลาว และกรุงศรีฯ)ยกทัพไปปราบ สมเด็จพระนเรศวรทรงรอโอกาสท่ีจะแข็งเมือง
อยู่เช่นกัน จึงทรงเดินทัพช้าๆเพ่ือรอ ฟังผลการรบ ถ้าทางหงสาวดีชนะก็จะทรงกวาดต้อนคนไทยกลับกรุงศรี
อยุธยา แต่ถ้าทางหงสาวดแี พ้ก็จะทรงยกทัพไปตซี า้

แต่ว่าทางหงสาวดีก็ไม่ไว้ใจสมเด็จพระนเรศวรอยู่แล้วจึงคิดจะกาจัด โดยสั่งให้พระยาเกียรติและพระ
ยารามซ่งึ เปน็ มอญไปรบั เสดจ็ พระนเรศวรทเ่ี มืองแครง รอตขี นาบหลังจากทท่ี ัพพระมหาอปุ ราชเข้าโจมตี

ด้วยพระบารมีของสมเด็จพระนเรศวรทาให้พระยาเกียรติและพระยารามนาความ เข้ามาปรึกษามหา
เถรคันฉ่องพระอาจารย์ พระมหาเถรคันฉ่องจงึ นาเร่ืองกราบทลู สมเด็จพระนเรศวรและเล่าความจริงทงั้ หมดท่ี
ทางหงสาวดคี ิดไมซ่ ่ือ สมเด็จพระนเรศวรทรงเรียกประชุมแมท่ ัพนายกอง นิมนตพ์ ระมหาเถรคนั ฉ่องพร้อมดว้ ย
พระยาท้ังสองเข้าร่วมประชุมพร้อมเพรียงกัน แล้วทรงเล่าเรื่องท่ีพระเจ้านันทบุเรงคิดไม่ซื่อจะหลอกฆ่า
พระองค์ เวลาในการประกาศอิสรภาพได้มาถึงแล้ว

สมเดจ็ พระนเรศวรทรงหล่งั น้าลงเหนือแผ่นดินด้วยสุวรรณภิงคาร(นา้ เตา้ ทอง) ทรงประกาศแก่เทพยดา
ต่อหน้าท่ีประชุมว่า " ตั้งแต่วันนี้ กรุงศรีอยุธยาขาดทางไมตรีกับกรุงหงสาวดี มิได้เป็นมิตรต่อกันดังแต่ก่อน
สบื ไป " พระราชพธิ ีน้ีเกิดข้ึนในวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๑๒๗ ณ.เมืองแครง จากน้ันพระองค์ ทรงมีดารัสถามชาว
มอญท่ีอยู่ในเมืองแครงว่าจะอยู่ข้างไทยหรือพม่า ส่วนมากจะอยู่ข้างไทยแล้วทรงรับส่ังให้จัดทัพเพ่ือไปตีเมือง
หงสาวดี

สมเด็จพระนเรศวรทรงยกกองทัพข้ามแม่น้าสะโตง จวนจะถึงหงสาวดีก็ทราบข่าวว่าพระเจ้าหงสาวดี
รบชนะพระเจา้ อังวะ และกาลังยกทัพกลับกรุงหงสาวดี สมเดจ็ พระนเรศวรทรงคิดพจิ ารณาแล้วว่า การจะตีหง
สาวดีคร้ังน้ีคงไม่สาเร็จ จึงให้ทหารเท่ียวไปกระจายข่าวบอกชาวไทยที่ถูกพม่ากวาดต้อนมาให้เดินทาง กลับ
เมืองไทยได้จานวนหมืน่ เศษ สมเด็จพระนเรศวรทรงให้ชาวบ้านข้ามแม่น้า สะโตงไปจนหมด แล้วพระองค์ทรง
อยู่คมุ กองหลงั ข้ามแม่น้าสะโตงเป็นชุดสดุ ท้าย(แสดงถงึ ความเป็นผนู้ าท่ยี อดเย่ยี มและกลา้ หาญมาก)

ขณะนัน้ พระมหาอปุ ราช(มงั สามเกยี ด)ได้จัดทัพตดิ ตามมาให้
สรุ กรรมาเป็นกองหน้า แล้วมาทันกันที่แม่น้าสะโตงซ่ึงมีความกว้างประมาณ ๔๐๐ เมตร ทางพม่าก็ยิงปืนข้าม
มาแตไ่ มถ่ กู

สมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยู่บนคอช้างริมแม่นา้ ทรงประทับพระแสงปืนยาว ๙ คืบหรือ ๒ เมตร
๒๕ เซนติเมตร (แลว้ ทรงอธฐิ านถ้าการ กชู้ าติสาเร็จขอให้ยงิ ถูกขา้ ศกึ ) ทรงยิงไปถูกสุรกรรมาตายอยบู่ นคอช้าง
ทาใหพ้ มา่ เกรงกลวั และถอยทัพกลบั ไป

พระแสงปืนต้นน้ีมีนามว่า “ พระแสงปืนต้นข้ามแม่น้าสะโตง ” หลังจากน้ันสมเด็จพระนเรศวรทรง
เสด็จกลับกรุงศรีอยุธยา พร้อมด้วยพระมหาเถรคันฉ่องและพระยาเกียรติ พระยาราม และชาวมอญ โดย

9

เดินทัพผ่านหัวเมืองมอญแล้วเข้าด่านเจดีย์สามองค์มาจนถึงกรุงศรีอยุธยา ทรงปูนบาเหน็จให้กับพระยามอญ
ท้ังสอง และทรงแต่งตงั้ พระมหาเถรคันฉ่องเป็นพระสังฆราชอีกด้วย

สมเด็จพระนเรศวรทรงราชสมภพท่ีเมืองพิษณุโลก เมื่อปีเถาะ พ.ศ.๒๐๙๘ เป็นราชโอรสของสมเด็จ
พระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรี ทรงมีพระพี่ นางสุพรรณกัลยาณี และพระอนุชาสมเด็จพระเอกาทศ
รถ

๑๐ พธิ ศี รสี จั ปำนกำล
หัวเมืองทางเหนือเมืองกาแพงเพชรมีกองทัพพม่า แม่ทัพช่ือนันทสูราชสังครา ควบคุมอยู่ สมเด็จพระ

นเรศวรทรงเกณฑ์ไพล่พลจากหัวเมืองเหนือ เพ่ือเตรียม รบกับพม่าแต่ว่ามีอยู่สองเมืองท่ีไม่ยอมเข้าร่วมคือ
สวรรคโลกและพิชัย เพราะพระยาสวรรคโลกเห็นว่าสมเด็จพระนเรศวรมีไพล่พลน้อยกว่าหงสาวดีมากนัก จึง
เอาตัวรอดไม่ยอมร่วมทัพด้วย แตก่ ลับรวมไพล่พลท้ังสองเมืองเข้าไว้ในเมืองสวรรคโลกตั้งมั่นคอยรับการโจมตี
จากทางกรุงศรอี ยุธยา เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบวา่ พระยาสวรรคโลกและพระยาพิชัยตั้งตน เป็นกบฏ
พระองค์จึงทรงรับส่ังให้รวมพลกองทัพที่บ้านด่านลานหอย เดินทัพมาถึงสุโขทัยทรงให้ตั้งพลับพลาประทับอยู่
บรเิ วณขา้ งวัดศรชี ุม เนอื่ งด้วยไทยยงั ไมเ่ ปน็ นา้ หนงึ่ ใจเดียวกัน

พระองค์จึงทรงจัดให้มีพิธีศรีสัจปานกาลให้ตักน้ากระพังโพยศรีที่ถือว่าเป็นน้าศักดิ์สิทธิ์ อันมีสมเด็จ
พระร่วงมาทาน้าพระพิพัฒน์- สัตยาให้แม่ทพั นายกองและไพล่พลถือน้าทาสตั ย์ว่าจะต่อสู้ข้าศึกเพื่อกอบกู้บ้าน
เมอื งไทยใหเ้ ป็นอสิ รภาพ

เสร็จพิธีสมเดจ็ พระนเรศวรทรงยกทพั ไปสวรรคโลกเพื่อปราบกบฏ ทรงให้โอกาศพระยาท้ังสองโดยส่ง
ข้าหลวงไปร้องบอกว่าให้ออกมารับผิดเสีย พระองค์จะทรงอภัยให้ แต่พระยาทั้งสองไม่ยอมซ้ายังตัดหัวของ
ข้าหลวงท่ีซ่ือสัตย์โยนออกมาอีก ทาให้สมเด็จพระนเรศวรทรงพิโรธมาก ทรงรับสั่งให้ตีเมืองสวรรคโลกให้ ได้
หลงั จากท่ตี ีเมอื งได้แลว้ ทรงรบั สั่งใหจ้ บั ตัวพระยาสวรรคโลกและพระยาพชิ ัย มาประหารชวี ติ ทนั ที

๑๑ แพ้ท้งั อำและหลำน .....
ปี พ.ศ.๒๑๒๗ หลังจากที่สมเด็จพระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพได้ ๗ เดือน พระเจ้าหงสาวดีนันท

บุเรงจึงจัดทัพสองทัพให้ยกมาตีไทย ทัพแรกมีพระยาพสิม (เป็นพระเจ้าอาของพระเจ้าหงสาวดี)คุมกาลังสาม
หม่ืนโดยยกมาทางด่านเจดยี ์สาม องค์ ทพั ที่สองมีเจา้ เมืองเชียงใหม่ชอ่ื มังนรธาชอ่ ราชอนุชา ยกทัพบกและเรือ
มา จากเชียงใหม่มีกาลังพลหน่ึงแสน กองทัพพระยาพสิมยกเข้ามาถึงเมืองกาญจนบุรี(ถึงก่อนทัพเจ้าเมือง
เชียงใหม่) สมเด็จพระนเรศวรทรงให้พระยาจักรียกทัพเรือไปยิงปืนใหญ่ดักข้าศึกแถวๆเมือง สุพรรณบุรี ทัพ
พม่าถูกปืนใหญ่แตกพ่ายหนีไปอยู่บนเขาพระยาแมน เจ้าพระยาสุโขทัยยกทัพไปเขาพระยาแมน เข้าตีทัพพระ
ยาพสมิ แตกพา่ ยหนี กระเจงิ เจา้ พระยาสุโขทัยจงึ สงั่ ให้ตามบดขยีข้ า้ ศกึ จนถึงชายแดนเมอื งกาญจนบุรี หลังจาก
ทัพพระยาพสิมแตกพ่ายหนีกลับไปได้สองอาทิตย์ กองทัพพระยาเชียงใหม่ได้เดินทัพมาถึงชัยนาท โดยท่ีไม่
ทราบข่าวการพ่ายแพ้ของพระยาพสิมจึงส่ง แม่ทัพและทหารจานวนหนึ่งมาต้ังค่ายที่ปากน้าบางพุทรา ทาง
สมเด็จพระนเศวรทรงรับสั่งให้พระราชมนูยกทัพไปตีข้าศึกที่ปากน้าบางพุทรา เมื่อไปถึงพระราชมนูเห็นว่า
กาลังน้อยกว่ามาก(พม่ามีอยู่หน่ึงหม่ืนห้าพันคน ไทยมีสามพันสองร้อยคน) จึงแต่งกองโจรคอยดักฆ่าพม่าจน
เสียขวัญถอยกลับไปชยั นาท สดุ ทา้ ยทัพพมา่ จงึ ถอยกลับไป

10

๑๒ พระแสงดำบคำบค่ำย
ปี พ.ศ.๒๑๒๙ สมเด็จพระนเรศวรทรงสร้างวีรกรรมอย่างชายชาติทหารที่มีความ กล้าหาญเหนือฝ่าย

พม่าหลายครั้ง เนื่องด้วยทางพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงยังไม่เข็ดหลาบในความพ่ายแพ้ จึงประ ชุมกองทัพ
จานวนสองแสนห้าหมื่นคนยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในช่วงต้นเดือนยี่ ข้าวในนายังเกี่ยวไม่เสร็จ สมเด็จพระ
นเรศวรจึงรับสั่งให้เจ้าพระยากาแพงเพชร ยกทัพออกไปป้องกันชาวนาที่กาลังเก่ียวข้าว พอทัพพม่าของพระ
มหาอุปราชยก ทัพมาถึงก็ให้ทัพม้าเข้าตีจนทัพเจ้าพระยากาแพงเพชรแตกพ่ายหนีเขา้ เมอื ง สมเดจ็ พระนเรศวร
ทรงพิโรธอย่างมาก เพราะไทยไม่เคยแตกพ่ายแพ้ต่อข้าศึก อาจทาให้ทหารขวัญเสีย พระองค์และสมเด็จเอกา
ทศรถทรงเสด็จลงเรือพระที่นั่งออกไปรบทันที (สมเด็จพระเอกาทศรถทรงถูกกระสุนปืนแต่ไม่เป็นอะไร เพียง
แค่ฉลองพระองค์ขาดเท่าน้ัน) ผลปรากฏว่าทรงยึดค่ายคืนมาได้ สมเด็จพระนเรศวรทรงรับส่ังประหารชีวิต
เจ้าพระยากาแพงเพชร แต่โชคดที ีพ่ ระบดิ าสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาทรงขอชีวิตเอาไว้ การศึกคร้งั น้ีพม่าหมาย
หมน้ั จะตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาใหไ้ ด้ แต่ดว้ ยความแขง็ แกร่งของทหารไทยจึงรกั ษาท่มี นั่ เอาไวไ้ ด้เสมอ

วรี กรรมของสมเดจ็ พระนเรศวรในการศึกมีดงั นี้ ทรงเสด็จออกปล้นค่ายพม่าซึ่งเป็นทัพหน้าของหงสาว
ดี ข้าศึกแตกพ่ายถอยหนี พระองค์จึงไล่ตีมาจนถึงค่ายหลวงของพระเจ้าหงสาวดี ทรงเสด็จลงจากม้าคาบพระ
แสงดาบแล้วนาทหารปีนบันไดข้ึนกาแพงข้าศึก แต่ถูกพม่าใช้หอกแทงตกลงมาข้างล่างหลายคร้ัง จึงทรงเสด็จ
กลับพระนคร พระแสงดาบนี้มนี ามว่า “ พระแสงดาบคาบค่าย ”

ในพงศาวดารกล่าวว่า พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบการกระทาอันห้าวหาญของสมเด็จพระนเรศวร จึง
ทรงตรัสว่าถ้าพระนเรศวรออกมาอีกจะต้องจับพระองค์ ให้ได้ถึงแม้ว่าจะใช้ทหารมากมายเพียงใด จึงวางแผน
ให้ลักไวทามูนาทหารจานวนหน่ึงหมื่นคนไปดักจับ แน่นอนสมเด็จพระนเรศวรทรงออกไปปล้นค่ายหลวงพม่า
อีก พมา่ จึงใช้ทหารจานวนน้อยเขา้ ลอ่ ใหพ้ ระองค์ไลต่ ี เข้ามาจนถงึ บรเิ วณที่ ลกั ไวทามซู มุ่ รออยู่

ลักไวทามูจะเข้ามาจับพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรจึงใช้พระแสงทวนแทงลักไวทามูตายทันที แต่
พระองค์ยังถูกล้อมอยู่และสู้กับทหารพม่า จานวนมากนานร่วมช่ัวโมง จนทัพไทยตามมาทันจึงเสด็จกลับพระ
นครได้

สุดท้ายกองทัพหงสาวดีบอบช้าจากการสู้รบกับไทยอย่างมาก จึงถอยทัพกลับไปเช่นเดิม นี่เป็นสิ่งท่ี
แสดงให้เห็นถงึ พระบารมแี ละทรงพระปรชี ายิง่ ทางดา้ นการรบของสมเด็จพระนเรศวร

๑๓ สงครำมยทุ ธหัตถี
ปี พ.ศ. ๒๑๓๓ สมเด็จพระมหาธรรมราชาพระบิดาสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรทรงข้ึนครองราชย์มี

พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ทางพระเจ้านันทบเุ รงยังคิดจะปราบปรามไทยให้ได้ จงึ จัดทัพให้พระมหาอุปราชายก
ทัพหลวงมีกาลังพลสองแสนคน ยกทัพมาทางด่านเจดีย์สามองค์ สมเด็จพระนเรศวรทราบข่าวจึงทรงใช้กลศึก
ในการรบเพราะมีทหารน้อยกว่ามาก สั่งให้กองทัพซุ่มรออยแู่ ล้วแต่งทัพน้อยออกไปล่อข้าศึก ทางฝ่ายพระมหา
อุปราชาเห็นดังน้ันจึงประมาทยกทัพเข้าไล่ตีจนมา ถึงบริเวณท่ีทัพไทยซุ่มรออยู่จึงได้รบพุ่งกันด้วยสามารถ
จนถงึ ขนั้ ตะลุมบอน ทัพพม่าแตกพา่ ยหนกี ระเจดิ กระเจงิ ทพั ไทยไล่ตามมาตดิ ๆเกือบจะจับพระมหาอุปราชาได้

เหตุการณ์ครง้ั นั้นสร้างความอัปยศอดสูให้พระเจ้านนั ทบเุ รงอยา่ งมาก เพราะว่ายกทัพไปหลายแสนยัง
แพก้ ลบั มา จึงทรงให้แกต้ ัวใหมอ่ ีกครง้ั คราวนี้พระมหาอุปราชานากองทัพทหารจานวนสองแสนสีห่ ม่ืนคนหมาย
จะชนะศึกคร้ังนี้ ประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๑๓๕ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบว่าพม่าจะยกทัพใหญ่มาตี
ไทยอีกแล้ว จงึ ทรงเตรียมไพล่พลมีกาลังหน่ึงแสนคน เดินทางออกจากบ้านป่าโมกไปสุพรรณบุรีข้ามน้าตรงท่า
ทา้ วอู่ทอง และตงั้ ค่ายหลวงบรเิ วณหนองสาหร่าย

11

รุ่งเช้าของวันจนั ทรเ์ ดอื นยี่ แรม ๒ คา่ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเด็จพระนเรศวร และสมเดจ็ พระเอกา
ทศรถทรงพระองค์เครื่องพิชัยยุทธ สมเด็จพระนเรศวรทรงช้างนามเจ้าพระยาไชยานุภาพเป็นคชาสาร ทาง
สมเดจ็ พระเอกาทศรถทรงชา้ งนามเจ้าพระยาปราบไตรจักรเป็นคชาสาร

ชา้ งทรงของทัง้ สองพระองคน์ ้นั เปน็ ชา้ งชนะงาท่ีกาลงั ตกมัน ในระหว่างการรบจึงว่งิ ไล่ตามพม่าหลงเข้า
ไปในแดนพม่า จะมีเพียงทหารรักษาพระองคแ์ ละจตุลงั คบาลเท่านั้นที่ติดตามไป ช้างทรงของสองพระองคห์ ลง
เขา้ ไปลึกประมาณรอ้ ยเส้น และ ตกอย่ใู นวงลอ้ มขา้ ศึก

ดว้ ยพระปฏิพาณไหวพริบของสมเด็จพระนเรศวรทรงเห็นว่าเป็นการเสียเปรียบข้าศึก จึงได้ทรงท้าทาย
ใหพ้ ระมหาอุปราชาออกมาชนชา้ งทายทุ ธหัตถี เพอื่ เปน็ เกียรติในการรบแกไ่ พลพ่ ล

พระมหาอุปราชาได้ยินดังน้ันจึงทรงช้างพลายพัทธกอเข้าชนเจ้าพระยาไชยานุภาพเสียหลัก พระมหา
อุปราชาทรงฟันด้วยพระแสงของ้าว แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบ่ียงหลบทันจึงฟันถูกพระมาลาหนังขาด
จากนั้นเจ้าพระยาไชยานุภาพชนพลายพัทธกอเสียหลักสมเด็จพระนเรศวรทรงฟันด้วยพระแสงของ้าวถูกพระ
มหาอุปราชา เข้าที่ไหล่ขวาสิ้นพระชนม์อยู่บนคอช้าง ( เป็นการชดใช้กรรมสมัยท่ีพระเจ้าแปรฟันพระแสงขอ
งา้ วถกู พระสรุ โิ ยทยั ส้นิ พระชนม์ชพี )

ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถก็ทรงฟันเจ้าเมืองจาปะรีเสียชีวิตเช่นกัน ทหารพม่าเห็นว่าแพ้แน่แล้วจึงใช้
ปนื ยิงใสส่ มเด็จพระนเรศวรทรงได้รบั บาดเจ็บ ทันใดน้ันทพั หลวงไทยตามมาช่วยทันจึงรับทั้งสองพระองค์กลับ
พระนคร พมา่ กย็ กทัพกลบั ไป

สถานทท่ี ายทุ ธหตั ถี ปัจจุบนั คือ ตาบลดอนเจดยี ์ หา่ งจากหนองสาหร่าย ๑๐๐ เสน้ จ.สพุ รรณบุรี
ชา้ งเจ้าพระยาไชยานุภาพไดร้ ับพระราชทานนามวา่ เจา้ พระยาปราบหงสาวดี
พระแสงของา้ วได้พระราชทานนามว่า เจ้าพระยาแสนพลพ่าย
พระมาลาหนังท่ีถกู ฟนั ขาดไดพ้ ระราชทานนามว่า พระมาลาเบยี่ ง
สมเด็จพระนเรศวรทรงรับสั่งให้สร้างเจดีย์ใหญ่ชื่อ “ เจดีย์ชัยมงคล” ในวัดใหญ่ชัยมงคล จ.
พระนครศรอี ยุธยา เพ่อื เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รติยศทท่ี รงทายุทธหัตถีชนะ

๑๔ พระสพุ รรณกลั ยำณี .....
คงยังจากันได้ท่ีมีการแลกองค์ประกันระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับพระสุพรรณกัลยาณีพระพ่ีนาง

ประมาณปีพศ.๒๑๑๒ หลังจากท่ีสมเด็จพระนเรศวรทรงทายุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชาแล้ว พระเจ้านันท
บุเรงได้ทราบข่าวว่าโอรสสิ้นพระชนม์ก็พระพิโรธอยา่ งมาก ได้ลงโทษทัณฑ์แก่แมท่ ัพนายกอง และพระสุพรรณ
กัลยาณี ดังหลักฐานจากพงศาวดารดงั นี้
คาใหก้ ารขนุ หลวงหาวัด (พระเจา้ อทุ ุมพร)

“ พระเจา้ นันทบุเรง(เดิมชื่อมังไชย สิงหราช) รบั ส่งั ใหเ้ พชรฆาตนาเสนามอญรวมทง้ั เจด็ ชัว่ โคตร เอาไม้
ลาทาตับเข้าแล้วปิง้ ไฟให้ตายท้ังเจ็ดช่ัวโคตร ยงั ไม่หนาใจ พระเจ้านันทบุเรงเสด็จเขา้ วงั เหน็ พระพ่ีนางสุพรรณ
กัลยาณีบรรทมให้พระโอรสเสวยนมอยู่ ด้วยความเห้ียมโหดผิดมนุษย์ จึงฟันด้วยพระแสงถูกพระพี่นางและ
โอรส และลูกในครรภ์อีกหนง่ึ พระองคส์ ิน้ พระชนม์ทนั ที ”
คาใหก้ ารจากชาวกรุงเก่า

“ พระเจ้านันทบุเรงรับสั่งให้นาตัวแม่ทัพนายกองที่ไปรบครั้งนั้นมาใส่ย่างไฟให้ตายทั้งเป็น (โหดผิด
มนุษย์จริงๆ) แล้วเข้าพระตาหนักของพระพี่นางสุพรรณกัลยาณีใช้พระแสงฟันพระพี่นางกับพระธิดา
สิ้นพระชนมค์ ามือ ”

12

ก่อนที่พระพ่ีนางสุพรรณกัลยาณีจะถูกปลงพระชนม์ ได้ทรงมีรับส่ังให้พระองค์จันทร์ช่วยนาพระเกศา
ของพระพ่ีนางไปมอบให้สมเด็จพระนเรศวร และไม่นานลางสังหรณ์ของพระพี่นางก็เป็นจริง หลังจากท่ีพระพ่ี
นางทรงส้ินพระชนม์แล้ว พระองค์จันทร์ได้แอบหนีจากเมืองหงสาวดีพร้อมด้วยทหารมอญคนหน่ึง ( ทางหง
สาวดีได้จัดพิธีศพให้พระพี่นางอย่างสมเกียรติ และปิดข่าวการส้ินพระชนม์ไม่ให้ไทยทราบ ส่วนพระเจ้านันท
บเุ รงผู้เหี้ยมโหดก็เป็นบ้าเสยี สติไป ) พระพี่นางมีพระชันษา ๔๑ พรรษาขณะสนิ้ พระชนม์ องค์จนั ทร์ทรงหนมี า
ทาง อาเภอปายและหยุดพักท่ีกระท่อมแห่งหน่ึง ทหารพม่าตามมาทันจึงเผากระท่อมและฆ่าผัวเมียเจ้าของ
กระท่อมผู้ให้ทพ่ี ักพิงตายทั้งคู่ พม่าคิดว่าองค์จันทรค์ งจะตายในกองเพลงิ แล้วจึงกลับเมือง องคจ์ ันทรแ์ ละทหาร
มอญใช้เวลาเดนิ ทางจากกรุงหงสาวดีจนถึงกรุงศรีอยธุ ยารวมเวลา ๓ เดือนเศษ ครั้นถึงพระนครก็กราบทูลเรอื่ ง
การสนิ้ พระชนมข์ องพระสุพรรณกัลยาณใี หท้ ราบ บรรยากาศในราชวังแห่งกรงุ ศรีอยุธยามีแตค่ วามโศกเศร้าย่ิง
นัก

สมเด็จพระนเรศวรทรงพระพิโรธอย่างมากทรงมีรับสั่งให้เตรียมไพล่พลเพื่อยกทพั ไปตีกรุงหงสาวดีจับ
ตัวนนั ทบเุ รงเจ้าผโู้ หดเหี้ยม ตดั หวั แล้วนาเลอื ดมาลา้ งตีน เซน่ สรวงดวงวิญญาณพีก่ ู

หลังจากท่ีพระแม่เจ้าพระวิสุทธิกษัตริย์(พระมารดของสมเด็จพระนเรศวร ) ได้ทรงทราบข่าวการ
ส้นิ พระชนม์ของพระพน่ี างกท็ รงโศกเศรา้ และประชวรลง ไม่เกนิ ๓ เดอื นกท็ รงสวรรคต

สมเด็จพระนเรศวรทรงรับสั่งให้สร้างพระเจดีย์บรรจุพระอัฐิพระสุพรรณกัลยาณี พระพี่นางที่วัดน้าฮู
อาเภอปาย จ.แม่ฮ่องสอน พร้อมท้ังสร้างพระพุทธรูปองค์หน่ึงนามว่า พระพุทธรูปอุ่นเมือง เพ่ืออุทิศส่วนกุศล
ถวายใหพ้ ระพ่ีนาง

๑๕ ตกี รงุ หงสำวดีลำ้ งแคน้
หลังจากจัดการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระแม่เจ้า สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพไปตีกรุงหงสาวดี

ในปี พ.ศ. ๒๑๓๘ ทรงนากาลังพลประมาณหน่ึงแสนสองหมื่นคนเข้าไปล้อมเมืองหงสาวดีเอาไว้นาน ๓ เดือน
ยงั ตีไมไ่ ด้ ทรงทราบข่าววา่ พระเจา้ แปร พระเจา้ องั วะ และพระเจ้าตองอยู กทัพมาชว่ ยกรุงหงสาวดี สมเด็จพระ
นเรศวรจึงยกทัพกลับพระนคร ผ่านมา ๔ ปี พ.ศ.๒๑๔๒ สมเด็จพระนเรศวรทรงจัดกองทัพเตรียมยกไปตีกรุง
หงสาวดีอีกคร้งั ทางเมืองยะไข่และตองอทู ราบจึงเข้ามาสวามภิ ักด์ิ แต่กลบั มพี ระรูปหนึ่งชอื่ มหาเถรเสยี มเพรียม
ได้ยุยงให้พระเจ้าตองอูกบฏต่อไทย โดยเข้าตีหงสาวดีก่อนแต่ตีไม่สาเร็จจึงล้อมเมืองเอาไว้ ทางหงสาวดีทราบ
ข่าวว่าสมเด็จพระนเรศวรทรงปราบกบฏมอญได้ จึงเปิดประตูเมืองรับพระเจ้าตองอูพร้อมท้ังมอบ อานาจใน
การปกครองและบัญชาการรบให้ด้วย พระเจ้าตองอูจึงคิดจะหาพรรคพวกโดยยกราชธิดาของพระเจ้าหงสาวดี
ให้พระเจ้ายะไข่เพ่ือให้กองทัพยะไข่ช่วย ต่อสู้กับกองทัพไทย(ไร้สัจจะเหมือนสมัยพระเจ้าบุเรงนอง) จากนั้น
พระเจ้าตองอู จึงนาตัวพระเจ้าหงสาวดีไปไว้ยังเมืองตองอู สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพมาถึงหงสาว ดี ทรง
ทราบวา่ พระเจ้าหงสาวดีหนไี ป อยูเ่ มืองตองอกู ็ทรงผดิ หวังมาก จึงสั่งให้เผาเมืองหงสาวดีท้ิงเสียแล้วยกกองทัพ
ไปล้อมเมอื งตองอู เน่อื งจากตองอูเปน็ เมอื งใหญ่มปี อ้ มปราการแข็งแกร่ง ซ้ามคี ู เมอื งทีก่ ว้างและลึกอกี ต่างหาก

พระองค์ทรงตรัสว่า “ หากกูตีตองอูแล้วจับไอ้นันทบุเรงมาเซ่นดวงวิญญาณของพ่ีกูไม่ได้ ก็จะไม่เข้า
พระนคร ”

ทรงลอ้ มเมอื งอยู่ ๒ เดือนเสบียง อาหารเรมิ่ หมด ไข้ปา่ ก็มาก ทหารเจ็บป่วยหลายคนจึงทรงสง่ั ถอยทัพ
และพระองคก์ ม็ ไิ ดเ้ สด็จเขา้ ไปในพระบรมมหาราชวังนานร่วม ๓ ปี

13

๑๖ กำรทำศกึ ครัง้ สดุ ทำ้ ยของสมเด็จพระนเรศวร
ในปี พ.ศ.๒๑๔๗ พม่าเกิดการแตกแยกข้ึนเม่ือโอรสพระเจ้าตองอู(นัดจินหน่อง) ลอบวางยาพษิ ใหพ้ ระ

เจ้าหงสาวดสี ิ้นพระชนม์ เมอื งอังวะจงึ ยกทพั มาตีหัวเมืองท่ีอยู่ทางเหนอื ของไทย
สมเด็จพระนเรศวรทรงขัดเคืองเป็นย่ิงทรงจัดกองทัพใหญ่ มีกาลังพลหนึง่ แสนคนยกไปตีอังวะ ทรงให้

พระอนุชาสมเด็จพระเอกาทศรถยก ทัพไปทางเมอื งฝาง ส่วนพระองค์ยกทัพมาทางเมืองหาง
หรือจะสิ้นบุญบารมีจอมกษัตริย์นกั รบ สมเด็จพระนเรศวรทรงพระประชวรเป็นฝีหัวระลอกขึ้นบรเิ วณ

พระพักตร์รามเป็นบาดทะพิษ ทรงรับสั่งให้ทหารไปเชิญเสด็จ พระอนชุ าสมเด็จพระเอกาทศรถมาเฝ้าพระองค์
ได้ ๓ วัน สมเดจ็ พระนเรศวรก็ ทรงสวรรคต ณ เมืองหาง

รวมเวลาทพี่ ระองค์ทรงตรากตราการศกึ สงครามเพื่อ กอบกชู้ าติบา้ นเมืองเป็นเวลา ๒๐ ปี (ต้ังแต่ พ.ศ.
๒๑๒๗ - ๒๑๔๗ ) เราชาวไทย ซึ่งเป็นลูกหลาน เหลน ของพระองค์ทา่ นจึงควรภาคภมู ิใจที่ได้เกดิ มาเป็นลกู ไทย
ชาตินกั รบ

๑๗ คดิ รุกรำนไทยกรรมจงึ ตำมสนอง
ในปี พ.ศ. ๒๓๐๐ พม่าถูกมอญเข้ายึดครองอยู่ใต้อานาจถึง ๗ ปี แต่มีพรานป่าชาวพม่าช่ือมังอองไจ

ยะ รบชนะมอญและยึดเมืองคืน มังอองไจยะจึงตั้งตนข้ึนเป็น กษัตริย์พม่าชื่อ พระเจ้าอลองพญา ประมาณปี
พ.ศ. ๒๓๐๒ ด้วยความชอบรุกรานบ้านเมอื งผู้อ่ืนพระเจ้าอลองพญาจึงจัดทัพมาตีไทย (เพราะทราบว่ากาลัง
ทหารของไทยช่วงน้นั อ่อนแอ) ทางด่านสิงขร ประจวบฯ เพชรบุรี กาญจนบุรี มุ่งเข้าส่กู รุงศรี อยุธยา ทางพม่า
เลยได้ใจทีจ่ ะตเี อากรงุ ศรีอยธุ ยาใหไ้ ด้

พระเจ้าอลองพญาสั่งให้ ตั้งปืนใหญ่ยิงเข้ามาในพระนคร โดยเป็นคนจุดไฟยิงปืนใหญ่เองแต่ปืนใหญ่
ระเบดิ ถกู พระเจา้ อลองพญาอาการสาหสั (กรรมสนอง)

พมา่ จงึ ถอยทพั กลบั มาทางดา่ น แม่ละเมา และพระเจ้าอลองพญาสิ้นพระชนมท์ ีเ่ มอื งตาก
ในปี พ.ศ. ๒๓๐๖ เม่ือพระเจ้ามังระได้ขน้ึ ครองราชยต์ ่อจากพระบิดาท่ีส้ินพระชนม์จากปืนใหญ่ ด้วย
สายเลือดของผู้รุกรานจึงจัดทัพมาตีไทย ให้แม่ทัพมังมหานรธา ยกทัพมาตีทวาย ตะนาวศรี ระนอง ชุมพร
ประจวบฯ จนถึงเพชรบุรี แต่ทัพไทย นาโดยพระยาตากสินหรือพระเจ้ากรุงธนบุรี และพระยาพิพัฒน์โกษาได้
ตอ่ ส้กู บั พม่าเปน็ สามารถจนทพั พม่าแตกพ่ายหนกี ลบั ไป

๑๘ ศึกบำงระจนั วรี ชนผรู้ ักชำติ
ในปี พ.ศ. ๒๓๐๘ พระเจ้ามังระคิดจะตีกรุงศรีฯให้ได้ จึงส่งกองทัพซึ่งมีเนเมียวสีหบดีและมัง

มหานรธาเป็นแม่ทัพ ( ฝ่ายไทยพระเจ้าเอกทัศน์ข้ึนครองราชย์ต่อจาก พระอนุชา พระบิดาคือ สมเด็จพระเจ้า
บรมโกศ

ก่อนท่ีพระบิดาจะสวรรคตได้ทรง ดารัสไว้ว่า “ เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรี (พระเจ้าเอกทัศน์ หรือ
ขุนหลวงขเี้ รอื้ น) น้ันโฉดเขรา ไรส้ ตปิ ัญญา ถา้ ได้ครองแผ่นดินจะทาให้แผ่นดินเกิดภัยพบิ ัติ จึงมีรับสั่งใหไ้ ปบวช
เสียอย่ามายุ่งราชการแผน่ ดิน ” )

ท่ีเมืองวิเศษชัยชาญมีคนไทยชื่อ นายแท่น นายโชติ นายอิน นายเมือง นายดอก (บ้านกลับ) นายทอง
แก้ว(บ้านโพธ์ิทะเล) ได้ช่วยกันสู้กับพม่าและฆ่าพม่าตายไป ๒๐ คน แล้วหนีมาที่บ้านบางระจัน ได้ร่วมกับ
ชาวบา้ นบางระจันนิมนต์พระสงฆ์พระอาจารย์ธรรมโชติ(วดั เขานางบวช)มาปลุกเสกคาถาอาคมให้หนังเหนียวมี
กาลังใจสู้ ศึกกบั พม่า

14

ชาวบา้ นรวมกนั ได้ประมาณ ๔๐๐ คน มีหวั หนา้ คือ ขนุ สรรค์ พนั เรือง นายทองเหมน็ นายจันทรห์ นวด
เข้ยี ว และนายทองแสงใหญ่ พมา่ ยกทัพมาตถี ึง ๗ คร้งั ดว้ ยกนั ก็มอิ าจเอาชนะชาวบ้านบางระจนั ได้

แต่บังเอิญมีชาวมอญชื่อสุกี้(เป็นมอญท่ีอาศัยอยู่ในไทย) ขันอาสารบกับไทย ใช้วิธีใจเย็นสู้กับชาวบ้าน
เพราะรู้ว่าชาวบ้านใจร้อน รบกันอยู่นานชาวบ้านก็มีใบบอกไปถึงกรุงศรีฯ เพื่อขอปืนใหญ่และกระสุนปืนแต่
ได้รับการปฏิเสธ เพียงแต่ส่งนายกองมาช่วยดู ชาวบ้านจึงช่วยกันนาเศษทองเหลืองท่ีเรี่ยไรมาได้มาหล่อปืน
ใหญ่ ๒ กระบอก แตว่ า่ ปนื ร้าวใชง้ านไม่ได้

สุกี้เห็นว่าไทยเริ่มอ่อนแอจึงให้ขุดอุโมงค์เข้าไปใก้ลค่ายบางระจันแล้วเอาปืนใหญ่ตั้งหอสูงระดมยิงใส่
คา่ ยจนค่ายแตก ทาใหไ้ ทยตอ้ งเสียค่ายบางระจนั แกพ่ มา่ ( พร้อมด้วยเลือดเนอ้ื ของวีรชนชาวบางระจนั )

ค่ายบางระจันถูกพมา่ ตแี ตกในวันจันทร์ เดือน ๘ แรม ๒ คา่ ปีจอ พ.ศ. ๒๓๐๙ รวมระยะเวลาทวี่ รี ชน
ชาวบางระจนั ต่อสูน้ านถึง ๕ เดอื น

ดว้ ยวรี กรรมนี้รัฐบาลไทย จึงกาหนดให้วนั ที่ ๔ กมุ ภาพนั ธ์ เป็น
“ วนั วรี ชนค่ายบางระจนั ”
๑๙ เสยี กรุงครั้งทส่ี องเพรำะกษตั ริย์

ความเดิมหลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงสวรรคตก็ได้ให้เจ้าฟ้ากรมขุนพรนิมิตข้ึนครองราชย์พระ
นามวา่ พระเจา้ อุทมุ พร ทรงครองราชย์ได้เดือนเศษจะตอ้ งอุปสมบท

จึงให้เจ้าฟ้ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีขึ้นครองราชย์ต่อพระนามว่า พระเจ้าเอกทัศน์หรือชาวบ้านเรียกขุน
หลวงขเี้ รือ้ น

เม่ือพระเจ้าเอกทัศน์ข้ึนครองราชย์ก็เกิดลางร้ายต่างๆซึ่งอาจจะเป็นลางบอกเหตุให้เสียกรุงดังพระ
ดารสั ของพระบดิ า

พม่ายกทัพเข้าประชิดพระนคร แม่ทัพไทยสั่งต้ังปืนใหญ่ยิงปะทะพม่าแต่กลับถูกส่ังห้าม เพราะเกรงว่า
สนมในวงั จะตกใจเสียงปืนใหญ่ (นลี่ ะหนาท่เี ขาว่าอย่าใหค้ นไม่ดมี อี านาจ)

ในที่สดุ พม่าเรมิ่ จุดไฟเผารากกาแพงเมอื งจนพังลงมา และเริม่ บุกเข้ายึดพระนครได้ในวันที่ ๙ เมษายน
พ.ศ.๒๓๑๐ เวลาสองทุ่มเศษ พม่าใช้เวลาล้อมเมอื งอยู่ นาน ๑๔ เดือน

กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยอยูน่ านถึง ๔๑๗ ปี หรอื เป็นเพราะชะตา

๒๐ กำรกู้อสิ รภำพโดยพระเจ้ำตำกสิน
หลังจากที่พม่าเข้ายึดพระนครกรุงศรีอยุธยาได้แล้ว ทหารพม่าก็กระทาตัวดั่งโจรป่าจุดไฟเผาวัดวา

อาราม ราชวัง ปราสาทราชมนเทียร ปล้นเอาทรัพย์สินแกว้ แหวนเงินทอง จับชาวบ้านมาทรมานเพอ่ื สอบถาม
ท่ีซ่อนทรัพย์สินไว้ท่ีใด นอกจากน้ีทหารพม่ายังเอาไฟสุมหลอมเอาทองคาที่ห่อหุ้มองค์พระพุทธรูปในวิหาร
หลวงวดั พระศรสี รรเพชรกลบั ไปดว้ ย(น่คี ือการปลน้ เมอื งมใิ ช่การทาศึกสงครามอย่างอาจหาญ)

สมเดจ็ พระเจ้าตากสินไดร้ ่วมรบขณะกรุงศรีฯถูกพม่าเข้าตี ก่อนทีจ่ ะเสียกรุงประมาณ ๓ เดอื นพระเจ้า
ตากสินได้ส่ังยิงปืนใหญ่โดยไม่ได้รับอนุญาตจากขา้ ราชการฝ่ายใน (ที่ประจบสอพลอ)จึงถูกภาคทัณฑ์ และทรง
เห็นทหารไทยในขณะนนั้ สูร้ บอย่างขาดกลวั ย่งิ ทาให้พระองคท์ รงทอ้ พระทัยมาก จึงรวบรวมทหารได้ ๕๐๐ คน
เมื่อย่าค่าก็เดินทางออกจากค่ายวัดพิชัย ตีฝ่าทัพพม่าหนีไปทางด้านทิศตะวันออก (บ้านโพธ์ิสาวหาญ) เดินทัพ
ลงมาทางบ้านพรานนกแขวงเมืองปราจนี บรุ ี กต็ อ้ งรบกบั พม่าเป็นระยะๆ

ในวนั จนั ทร์ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือนยี่ ปีจอ พ.ศ. ๒๓๐๙ กองทัพของพระเจ้าตากเดินทางมาถึงเมอื งระยอง
ตั้งค่ายมั่นอยู่ที่วัดลุ่มเขตบ้านท่าประดู่ จากน้ันก็ทราบข่าวว่ามีเจ้าเมืองข้าราชการบางคนในเมืองระยองจะคิด
กบฏปล้นค่าย พระเจา้ ตากสินจึงสงั่ ให้ดับไฟในค่ายแล้วดักรอจนพวกกบฏบุกเข้ามา ทหารของเพราะเจ้าตากก็

15

สู้รบจนชนะ จากนั้นจึงส่งหนังสือไปยังพระยาจันทบุรเี พื่อขอเสบียง แต่กลับไม่ได้รับความร่วมมอื พระเจา้ ตาก
ทรงยกทพั ไปตีขุนรามหมื่นซ่องที่เมืองแกลงแตกทัพหนไี ปอยู่ จันทบุรี แล้วพระองค์ได้ยกทัพเข้าตีเมืองชลบุรีซึ่ง
มีนายทองอยู่ นกเล็กเป็นใหญ่อยู่ ทางนายทองอยู่เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงยอม พระเจ้าตากทรงแต่งต้ังให้นายทองอยู่
เปน็ พระยาอนรุ าฐบุรเี จ้าเมอื งชลบุรี ทางพระยาจันทบุรีคิดจะกาจัดพระเจ้าตากจึงออกอุบายให้พระสงฆ์ ๔ รูป
เปน็ ทูตเชญิ พระเจา้ ตากเข้าเมอื งจันทบรุ ี ด้วยเดชะบุญมีคนหวงั ดแี อบมาบอกว่าเป็น กลลวงของพระยาจนั ทบุรี
พระเจา้ ตากจงึ ไมเ่ ขา้ เมอื งทรงยกทัพมาอยู่ที่ริมเมือง ทรงมองเห็นวา่ กองทพั เมอื งจันทบุรเี ข้มแข็งมากการท่ีจะตี
หกั เอาเมืองคงยากยิง่ จงึ ทรงสร้างขวญั กาลงั ใจใหท้ หารโดยสั่งวา่

“ หลังจากกินขา้ วเยน็ แลว้ ใหท้ บุ หม้อขา้ วท้งิ ใหห้ มด เราจะไปกินข้าวเช้าในเมืองจนั ทบุรี ”
เวลาประมาณตีสามพระเจ้าตากขึ้นช้างพังคิรีบัญชร พุ่งเข้าชนประตูเมืองและยิงปืนเป็นสัญญาณให้
ทหารสู้รบ ประตูเมืองพังลงทหารของพระเจ้าตากเข้ายึดเมืองจันทบุรีได้สาเร็จ ส่วนพระยาจันทบุรีก็หนีไปอยู่
เมืองบันทายมาศ พระเจ้าตากได้ยกทัพไปตีเมืองตราด และเริ่มต่อเรือรบจานวนมาก สะสมอาวุธมากมาย
เตรียมเอาไว้ ฤดูฝนล่วงไปสามารถต่อเรือได้ ๑๐๐ ลามีกาลังทหารไทย และจีนสี่พันเศษ พวกชาวบ้านมาแจ้ง
แกพ่ ระเจา้ ตากวา่ พระยาอนุราฐบรุ ี (นาย ทองอยู่ นกเล็ก) เป็นโจรปล้นเรือสินคา้ พระเจา้ ตากจึงสง่ั ใหป้ ระหาร
ชวี ติ เสีย
พระเจ้าตากยกทัพเรือออกจากจันทบุรีมุ่งเข้าสู่ปากน้าเจ้าพระยา นายทองอินเป็น คนไทยท่ีพม่าให้
รกั ษาเมอื งธนบรุ ีไว้ไดแ้ จ้งขา่ วให้สกุ แี้ ม่ทัพพม่าทราบว่า พระเจ้าตากไดย้ กทพั มาแลว้
พระเจ้าตากทรงตีเมอื งธนบุรีไดแ้ ลว้ สงั่ ประหารนายทองอนิ คนไทยทข่ี ายชาติทนั ที
เสร็จแล้วจึงยกทัพไปกรุงศรีอยุธยา ทางฝ่ายพม่านายทัพสุกี้ได้ต้ังมั่นอยู่ที่ค่ายฟากตะวันตก พระเจ้า
ตากให้ทหารยกทัพเข้าตีค่ายฟากตะวันออกก่อน เมื่อตีได้ค่ายแล้วจึงจัดเตรียมบันไดไว้พาดปีนค่ายฟาก
ตะวนั ตก รอเวลาจนร่งุ เชา้ สัง่ ใหต้ คี ่ายพม่ารบกันจนถึงเท่ียง แม่ทพั สกุ ี้ถกู ฆ่าตายในการรบ ทหาร
ไทยเขา้ ยึดค่ายโพธ์ิสามตน้ ของพมา่ ได้ ในวันที่ ๖ พฤศจกิ ายน พศ.๒๓๑๐ รวมเวลากเู้ อกราช ๖ เดือน

๒๑ สงครำมเกำ้ ทัพ
ผ่านมา ๑๘ ปีหลังจากท่ีไทยเป็นเอกราช ในปี พ.ศ. ๒๓๒๘ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า

จุฬาโลก พม่าคิดจะตีไทย(อีกแล้ว)โดยมีพระเจ้าปดุงซ่ึง เป็นกษัตริย์ได้ ๓ ปีส่ังให้ยกกองทัพมาถึง ๙ ทัพรวม
ไพร่พลได้ ๑๔๔,๐๐๐ คน หวังจะตีไทยให้จงได้ ทางฝ่ายไทยรวบรวมกาลังพลได้เพียง ๗๐,๐๐๐ คนซึ่งจะเห็น
วา่ นอ้ ยกวา่ พมา่ คร่ึงหนึ่ง

แต่ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯทรงให้กองทัพไปต้ังรบอยู่บริเวณทุ่งลาดหญ้า
จ.กาญจนบุรี กรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาท ทรงให้นาปืนใหญ่และปืนปากกว้างอย่างยิงด้วยท่อนไม้เป็น
กระสนุ ไปตัง้ เรียงยงิ ใสห่ อรบพม่าหักและพังลงมา ทาให้พมา่ ล้มตายเปน็ จานวนมาก

ทรงจัดตั้งกองโจรโดยมพี ระยาสหี ราชเดโชชัย พระยาท้ายน้าและพระยาเพชรบุรี คุมทหารไปซ่มุ ดกั ตัด
เสบียงพม่า แต่วา่ พระยาทัง้ สามทาการอ่อนแอไม่มใี จสู้ศกึ กรมพระราชวังบวรฯจงึ ทรงดารัสให้ประหารชีวิตทั้ง
๓ คนเสยี แลว้ ตงั้ ให้พระองค์เจา้ ขุนเณรคมุ ทหารจานวน ๑๘,๐๐๐ คนไปเป็นกองโจรซุ่มอยู่ท่ีลานา้ แควไทรโยค

ด้วยความฉลาดของกรมพระราชวังบวรฯ จึงคิดอุบายให้แบ่งกองทัพทหารออกไปนอกค่ายในเวลา
กลางคืน พอรุ่งเช้าให้ถือธงทิวเดินทัพเข้ามาในค่าย ได้สร้างความคร่ันคร้ามให้พม่าอย่างย่ิงเพราะคิดว่าไทยมี
กาลงั มากมาย

16

รอเวลาจนเห็นว่าพม่าเริ่มอ่อนแอ-อดอยากกองทพั ไทยจึงเข้าตที ัพท่ี ๔และ ๕ ของพมา่ จนพา่ ย ยับหนี
กลับไป ทางพระเจ้าปดุงทราบข่าวการพา่ ยแพ้ของทัพท้ังสองจึงถอยทัพไป ยังเมอื งเมาะตะมะ ส่วนทัพที่เหลือ
ของพมา่ ก็ถกู กองทพั ไทยตีแตกจนหมดส้ิน ( แสดงให้เห็นว่าถึงแมจ้ ะมีกาลงั คนมากมาย แตไ่ ร้ซึ่งสติปัญญากพ็ บ
กบั ความ พา่ ยแพไ้ ด้เช่นกัน )

หลังจากนั้น ๑ ปี พ.ศ. ๒๓๒๙ พม่าก็ยกทัพมาแสนกว่าคนต้ังค่ายท่ีท่าดินแดง และสามสบ จ.
กาญจนบุรี (นี่คือสันดานของผู้รุกราน) สมเด็จพระพุทธยอดฟา้ ฯ ทรงให้จัดกองทัพหกหม่ืนคนไปตีพม่า รบกัน
อยู่ ๓ วนั ไทยตีคา่ ยพมา่ ได้ พมา่ กแ็ ตกพ่ายหนีกลับไป

จากตรงน้ี ๔๐ ปี พม่าต้องรบกับอังกฤษ ในปี พ.ศ. ๒๓๖๘ กรรมตามสนองพม่าแพ้อังกฤษ และตก
เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษตราบแสนนาน ถ้าได้ศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติไทยในอดีตแล้ว จะเห็นว่าเราเป็น
ชาติที่รักความสงบไม่ชอบรุกรานใคร ตรงข้ามกับพม่าซ่ึงได้รุกรานไทยมานานตลอดระยะ เวลา ๔๕๐ ปี (ด้วย
กรรมบันดาล ทกุ วันน้ปี ระเทศของเขากย็ ังมแี ตค่ วามวนุ่ วายไมส่ น้ิ สดุ )

หยดเลือด หยาดน้าตาของคนไทยตอ้ งหล่ังลงแผ่นดินมากเพียงใด วีรชนของไทยทีไ่ ดเ้ สียสระชวี ิตเลอื ด
เนื้อ เพ่ือรักษาแผ่นดินผืนน้ีเอาไว้ให้ลูกหลาน ได้อยู่เย็นเป็นสุขตราบเท่าทุกวันนี้ ฉะน้ันเราทุกคนจึงเป็นหนี้
บุญคุณอนั ใหญ่หลวงนี้ ขอจงทดแทนคณุ ของแผ่นดินตั้งแต่บดั น้ี

วนั จันทร์เดอื นย่ี แรม ๒ ค่า ปีมะโรง พ.ศ. ๒๑๓๕ เป็นวันท่ีสมเด็จพระนเรศวร ทรงทายทุ ธหัตถีชนะ
พระมหาอปุ ราชา รัฐบาลไทยจึงกาหนดใหว้ ันท่ี ๒๕ มกราคม ของทุกปีเป็นวันกองทัพไทย

วันท่ี ๓ กุมภาพนั ธข์ องทุกปเี ป็นวันทหารผ่านศึก ถ้าเราไม่มที หารผเู้ สยี สระเหล่านี้ ก็คงไม่ได้อยู่เป็นสุข
เช่นทุกวนั นี้ อยา่ ลมื วรี ชน วีรบุรษุ และวรี สตรีเหลา่ นี้

"กู กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ ผู้เป็นโอรสของพระปิยะมหาราช ขอประกาศให้พวกมึงรับรู้ไว้ว่า
แผ่นดินสยามนบ้ี รรพบุรุษได้เอาเลือด เอาเนือ้ เอาชีวติ เข้าแลกไว้ ไอ้อมี ันผใู้ ดคิดบังอาจทาลายแผ่นดนิ ทาลาย
ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ คอื กระทาการทุจริตก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อส่วนรวม จงหยุดการกระทานั้น
เสยี โดยเร็ว กอ่ นที่กจู ะสัง่ ทหารผลาญสิ้นทั้งโคตรให้หมดเสนียดของแผน่ ดินสยาม อันเปน็ ทีร่ ักของกู

ลูกหลานท้ังหลาย แผ่นดินใดให้เรากาเนิดมา แผ่นดินใดที่ให้ซุกหัวนอน ให้ความร่มเย็นเป็นสุข มิให้
อนาทรร้อนใจ จงซื่อสัตย์ต่อแผน่ ดนิ น้ัน

อำ้ งอิง : บันทกึ กรมหลวงชุมพรเขตอดุ มศกั ดิ์

17


Click to View FlipBook Version