Better Touch Point
ภูมิทศั น์ สิง่ อำนวย อาคารสถานท่ี
สภาพแวดลอ้ ม ความสะดวก
การใหบ้ รกิ าร
หนา้
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี มีพ้ืนที่ 18 ไร่ 2 งาน ตั้งอยู่ใจ
กลางเมืองชลบุรี แวดล้อมไปด้วยส่วนราชการ โรงเรียน โรงพยาบาล
และชุมชน ต่างๆ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี สถานท่ีให้บริการ ครบวงจร
ไม่ว่าจะเป็น ห้องประชุม ห้องพัก และที่จอดรถ ทำให้มีผู้มาใช้บริการ
เป็นจำนวนมาก
Better Touch Point 1
1.1 ดา้ นภมู ทิ ศั น์
ศู น ย์ ศึ ก ษ า แ ล ะ พั ฒ น า ชุ ม ช น ช ล บุ รี
มี ก า ร จั ด ท ำ ป้ า ย แ ผ น ผั ง
ศพช.ชลบุรี บอกจุดต่างๆ
ภายในศูนย์ฯ เม่ือมีผู้มาเยือนเข้ามา
ภายใน ศพช.ชลบุรี ก็จะเห็นป้ายและ
สถานที่ภายใน ศพช.ชลบุรี
ป้ายบอกทางตามจุดต่างๆ
ภายใน ศพช.ชลบุรี
Better Touch Point 2
1.1 ดา้ นภมู ทิ ศั น์
ใ น แ ผ น ผั ง บ อ ก ต ำ แ ห น่ ง
ของ ศพช.ชลบุรี ยังมี
ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ก ำ กั บ ไ ว้
ใ ห้ เ ป็ น ส า ก ล
พื้นที่ภายใน ศพช.ชลบุรี
มี ท า ง เ ท้ า ไ ว้ บ ริ ก า ร ส ำ ห รั บ
เ ดิ น อ อ ก ก ำ ลั ง ก า ย ด้ ว ย
Better Touch Point 3
1.1 ดา้ นภมู ทิ ศั น์
มีการจัดทำป้าย คำขวัญของจังหวัดชลบุรีไว้เป็นจุดถ่ายภาพใต้ตึก
ห อ ป ร ะ ชุ ม พ ร ะ ย า สั จ จ า
1.2 ดา้ น Land mark / จดุ ถา่ ยภาพ
จุ ด ถ่ า ย ภ า พ ห น้ า ท ะ เ ล
หน้าอาคารบรรยาย 2
จุ ด ถ่ า ย ภ า พ เ ข า ชี จ ร ร ย์
ข้างอาคารบรรยาย 1
Better Touch Point 4
1.2 ดา้ น Land mark / จดุ ถา่ ยภาพ
อีกหน่ีงสัญลักษณ์ ของจังหวัด
ชลบุรี คือประเพณีวิ่งควาย
“ชลบุรีเกมส์” มาสคอตสัญลักษณ์กีฬาแห่งชาติ คร้ังท่ี 39 ท่ีจังหวัดชลบุรีเป็น
เจ้าภาพ ซ่ึงต้ังอยู่หลายจุดภายใน ศพช.ชลบุรี
ทุ่ ง ท า น ต ะ วั น
จุ ด ถ่ า ย ภ า พ
ธ ร ร ม ช า ติ ห น้ า
ศ พ ช . ช ล บุ รี
Better Touch Point 5
1.3 ด้านการดูแลส่ิงแวดล้อม
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี มี
การใชท้ รพั ยากรให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ
(Reduce Reuse และ Recycle) โดยการนำ
กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า กลับมาใช้ใหม่
เ พ่ื อ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด
ศพช.ชลบุรี มีการนำยางรถยนต์
เก่า มาทำกระถางปลูกผัก ปลูก
ด อ ก ไ ม้
Better Touch Point 6
1) มกี ารใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
2 เศษใบไมแ้ ละเศษหญา้ สามารถเพมิ่
มลู คา่ ได.้ .เราจงึ ทำเสวยี นเกบ็ ใบไม้ และ
นำใบไมเ้ ศษหญา้ มาทำปยุ๋ จา้ ...
2 เรานำปยุ๋ ทเ่ี ราทำเองมาทำดินปลกู
เรานำดินทที่ ำเองมาปลกู ตน้ ไม้ 3
4 และสดุ ทา้ ยศพช.เราแบง่ ปนั ความสขุ
ใหก้ บั ทกุ คน
สขุ ทไี่ ดแ้ บง่ ปนั
Better Touch Point 7
สำนกั งำนไรก้ ระดำษ ระยะเร่ิมตน้
ศพช.ชลบุรี จัดกิจกรรม สำนักงานไร้กระดาษ ในการจัดประชุมประจำเดือน
เจ้าหน้าที่ ศพช.ชลบุรี โดยการนำ Tablet ที่กรมฯ มอบให้ มาจัดกิจกรรมเพื่อลดปริมาณการใช้
กระดาษในการทำวาระ/รายงานการประชุม เป็นการลดการตัดต้นไม้ และเกิดประโยชน์สูงสุด
สง่ เสริมการเป็นข้าราชการยุค 4.0 วิธกี ารคือสง่ วาระการประชมุ และรายงานการประชุม ผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ และนำรายงานการประชุมที่ผ่านความเห็นชอบขึ้นเว็บไซต์ ศพช.ชลบุรี ผลที่ได้รับ
คอื ลดประมาณการใช้กระดาษลงได้รอ้ ยละ 80 ของปริมาณกระดาษทน่ี ำมาจัดทำวาระการประชมุ
ในปที ีผ่ า่ นมาสามารถลดประมาณกระดาษได้ จำนวน 1,781 แผน่ จากการจัดประชุมฯแบบไร้
ระหว่างเดอื น มีนาคม – พฤษภาคม 2564
Better Touch Point 8
นโยบายสง่ เสริมและรักษาสง่ิ แวดล้อมของศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนชลบรุ ี
ศพช.ชลบุรี มีนโยบายในการสง่ เสริม
และรักษาสิ่งแวดลอ้ มภายใน ศพช.ชลบุรี
มีการจัดตั้งฐานบริหารจัดการขยะ เพื่อ
จดั การกบั ขยะภายใน ศพช.ชลบุรี โดยได้
จดั ทำท่ีคดั แยกขยะ เพ่อื ชว่ ยลดปริมาณ
ขยะเพราะเมื่อแยกขยะท่รี ไี ซเคิลได้ จะ
เหลอื ขยะจริงๆ เพื่อนำไปกำจัดน้อยลง
ซ่งึ บางอย่างสามารถขาย และช่วยเพิ่ม
รายได้เลก็ ๆ น้อยๆ ใหฐ้ านนำมาเป็นทนุ
ในการต่อยอด และสรา้ งรายไดใ้ ห้แก่
สมาชิกฐานด้วย
นอกจากนนั้ ยังมีการนำเศษใบไม้
มาทำปุ๋ยหมกั โดยไดจ้ ดั ตัง้ ฐานปุย๋
หมักไม่กลับกอง เพ่ือหมักเศษใบไม้
เมื่อเป็นปยุ๋ แลว้ นำมาใสผ่ ัก ดอกไมใ้ น
ศพช.ชลบรุ ี ชว่ ยลดปริมาณขยะ แทน
การเผาใบไม้ชว่ ยลดปรมิ าณฝุน่ ใน
อากาศ
การทำนำ้ ยาลา้ งจานใชเ้ อง
สว่ นผสมเราใชน้ ้ำหมักชีวภาพ จาก
เปลอื กมะนาว ประโยชน์ของนำ้ หมกั
ชวี ภาพจะช่วยปรับสภาพความเป็น
กรด-ด่าง ให้เป็นกลางในดินและน้ำ
และยงั ชว่ ยย่อยสลายคราบไขมนั ที่
เกาะอยู่ตามท่อระบายนำ้ ทงิ้ ด้วย
Better Touch Point 9
นโยบายการใชผ้ ลติ ภัณฑ์ ทีผ่ ลติ จากวัสดธุ รรมชาติ เป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม
การทำกระถางจากใยมะพรา้ ว ศพช.ชลบรุ ี มกี ารจัดกิจกรรม
การทำกระถางจากใยมะพรา้ ว
- กระถางจากใยมะพรา้ ว วัตถปุ ระสงค์ลดปรมิ าณการใช้
ถงุ พลาสติก กระถางเพาะชำพลาสติก
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชมุ ชน
ร่วมปลูกตน้ ไม้ โดยใช้กระถางจากใย
มะพร้าว ณ บรเิ วณป้ายจุดรวมพล
ศพช.ชลบุรี
Better Touch Point 10
มาตรการประหยัดพลงั งานของศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนชลบรุ ี
แนวทาง/มาตรการประหยดั พลังงาน และทรัพยากร ของศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนชลบรุ ี
ประจำปีงบประมาณ 2564
แนบท้ายประกาศศูนย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนชลบรุ ี เมื่อวนั ที่ 7 กรกฎาคม 2564
รายการ แนวทาง/มาตรการในการประหยดั พลังงาน
ระบบแสงสวา่ ง 1. ปิดไฟในเวลาพักเทีย่ ง หลังเลิกงาน และเม่ือไมม่ กี ารใชง้ าน
2. เปดิ มา่ นหรือหนา้ ตา่ งเพื่อรบั แสงสวา่ งจากธรรมชาติ ลดการเปิดไฟ
3. ใชอ้ ุปกรณแ์ ละหลอดไฟชนิดประหยดั พลังงานทไี่ ดร้ ับการรบั รองมาตรฐาน
ผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม
4. ทำความสะอาดหลอดไฟอยา่ งน้อยปีละ 2 ครง้ั เพอ่ื ขจดั ฝนุ่ ละอองทีท่ ำใหแ้ สงสวา่ ง
นอ้ ยลงและอาจทำใหต้ ้องเปดิ ไฟหลายดวงเพ่ือให้ได้แสงสว่างเท่าเดมิ
Better Touch Point 11
รายการ แนวทาง/มาตรการในการประหยัดพลงั งาน
เครอื่ งปรับอากาศ 5. หมัน่ สงั เกต และตรวจเชค็ อปุ กรณร์ ะบบไฟฟา้ แสงสวา่ งท่ีอยู่ในพืน้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ าน
บ้านพักอาศยั หรือพ้ืนทสี่ าธารณะของศนู ยฯ์ อยเู่ ป็นประจำ หากพบความชำรุดให้
คอมพวิ เตอร์ ดำเนินการซอ่ มบำรงุ เปล่ยี นอุปกรณ์ หรอื แจ้งงานอำนวยการทราบเพอ่ื ดำเนินการใน
สว่ นทเ่ี กี่ยวขอ้ งทันที เป็นการปอ้ งกนั อคั คภี ัย เนอ่ื งจากไฟฟา้ ลดั วงจร
เคร่ืองถา่ ยเอกสาร
กระตกิ น้ำรอ้ น 6. รณรงคส์ ร้างจติ สานกึ ในการประหยดั พลังงานไฟฟา้ แสงสวา่ งอย่างจริงจงั
นำ้ มันเชอ้ื เพลิง
1. การเปดิ -ปิดเครื่องปรบั อากาศตามเวลาทก่ี ำหนด เช้าเปิดเวลา 10.00 น.
ปิดเวลา 16.00 น. (ตามสภาพอากาศและจำนวนผู้ปฏบิ ัติงาน)
2. ปิดเครื่องปรับอากาศทันทเี มื่อไมม่ ีการปฏิบตั ิงาน
3. ตรวจเชค็ สภาพและลา้ งทำความสะอาดตามกำหนด เพื่อยดื อายุการใช้งาน และทำให้
อากาศเยน็ เรว็
4. ตง้ั อณุ หภมู เิ ครื่องปรับอากาศไม่ต่ำกว่าที่ 25 องศาเซลเซียส
5. เปิดหนา้ ตา่ งใหล้ มพัดเขา้ มาในห้องชว่ งทอ่ี ากาศไมร่ อ้ น แทนการเปิด
เครือ่ งปรับอากาศ
6. ตรวจสอบและอดุ รอยรั่วทผี่ นัง ฝา้ เพดาน ประตู ชอ่ งแสง เพื่อปอ้ งกันความเย็น
รั่วไหล
7. ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศอย่เู สมอ อยา่ งนอ้ ย เดือนละ 1 ครง้ั จะช่วย
ประหยดั ไฟฟ้าไดร้ อ้ ยละ 5-7
8. รณรงค์สร้างจติ สานกึ ในการประหยัดพลงั งานไฟฟ้าจาก การใช้เคร่ืองปรับอากาศ
อยา่ งจริงจงั และตอ่ เนอื่ ง
1. ปิดจอคอมพิวเตอร์เมอื่ ไมม่ ีการใชง้ านเกนิ กว่า15 นาที หรอื ตง้ั โปรแกรมพักหน้าจอ
2. ตง้ั เวลาเขา้ standby mode เมือ่ ไมใ่ ชง้ าน 15 นาที
3. ปิดเครื่องคอมพวิ เตอร์และเครอื่ งพิมพ์เมอื่ ไมม่ กี ารใชง้ าน ติดตอ่ กันนานกวา่ 1 ชั่วโมง
และปดิ เครอ่ื งทกุ คร้ังหลังเลกิ การใชง้ านพรอ้ มทั้งถอดปลก๊ั ออก
4. ติดต้งั เครือขา่ ยเช่ือมโยงการทำงานของเครอ่ื งพิมพเ์ พอ่ื ใช้เครอื่ งพมิ พร์ ่วมกัน จะชว่ ย
ลดความส้นิ เปลอื งทั้งด้านพลงั งานและการซ่อมบำรุง
5. รณรงคก์ ารประหยดั พลงั งานไฟฟา้ ของอปุ กรณส์ ำนักงาน อย่างจรงิ จังและตอ่ เนื่อง
ด้วยวิธีการต่างๆ
1. วางเคร่ืองถ่ายเอกสารหา่ งจากผนังอย่างน้อย 15 เซนตเิ มตร
2. ต้งั เวลา energy save mode เม่อื ไมม่ กี ารใช้งาน 5 นาที
3. ปิดเครือ่ งและถอดปลก๊ั เครอ่ื งถ่ายเอกสารทุกคร้งั หลงั เลิกงาน
1. กำหนดเวลาเปดิ - ปดิ กระตกิ น้ำรอ้ น คือชว่ งเช้า 08.30 น.
บ่าย 13.30 น. – 15.30 น.
2. หมัน่ ตรวจเช็คใหอ้ ยู่ในสภาพทพี่ ร้อมใชง้ าน
1. ตรวจเชค็ ลมยางรถยนตท์ ุกคนั อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง
2. ควรดับเคร่ืองยนต์ขณะจอดรถรอเวลา
3. ตรวจเชค็ เครื่องยนตเ์ ป็นประจำ
4. ขบั รถด้วยความเร็วไมเ่ กิน 90 กิโลเมตรตอ่ ชั่วโมง
น้ำประปา 1. ไมเ่ ปิดนำ้ ทงิ้ ขณะลา้ งจาน หรอื อน่ื ๆ
2. ไมเ่ ปดิ รดนำ้ ตน้ ไม้ทง้ิ ไว้ เพราะอาจลมื ปดิ จนนำ้ นองพ้ืนเปน็ เวลาน
3. ใช้นำ้ ในการทำกิจกรรมต่างๆ อยา่ งประหยดั
Better Touch Point 12
รายการ แนวทาง/มาตรการในการประหยดั พลงั งาน
กระดาษและหมึก 4. หม่นั ตรวจสอบ ดูแล รักษา การรว่ั ซึม ของกอ๊ กนำ้ ชกั โครก หากพบการรว่ั ซมึ ใหร้ บี
สิง่ พิมพ์ แกไ้ ข หรอื แจง้ งานอำนวยการดำเนินการในส่วนท่เี ก่ยี วขอ้ ง
มาตรการอ่ืนๆ 1. ลดปรมิ าณการใช้กระดาษ โดยใหด้ ำเนินการดงั น้ี
- ใชก้ ระดาษใชแ้ ล้ว 1 หน้า ทำเอกสารฉบบั รา่ ง หรือเอกสารทไ่ี ม่สำคญั
- เวียนหนงั สอื ในรูปแบบเอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์
- จัดทำวาระการประชุมและรายงานการประชมุ ประจำเดอื นเจ้าหน้าทีศ่ นู ยฯ์ เปน็
ไฟล์อเิ ลก็ ทรอนิกส์
- ถ่ายเอกสารแบบ 2 หนา้
- ตรวจแกไ้ ขเอกสารฉบบั รา่ งบนจอภาพ แทนการตรวจแก้ไขบนเอกสารทพี่ มิ พ์
2. หมึกส่ิงพิมพ์
- ส่งั พิมพเ์ อกสารทไ่ี มส่ ำคญั หรอื ฉบับรา่ ง แบบความละเอยี ดนอ้ ย
- ตรวจเช็คเครื่องถ่ายเอกสาร เคร่อื งพิมพ์ ใหม้ ีสภาพพร้อมใชง้ าน ลดปญั หาความ
ผดิ พลาดในการสง่ั พิมพ์
1. ลดเวลาการใช้ไฟฟา้ ของสำนกั งาน ด้วยการไมป่ ฏิบตั งิ านเกินเวลา 20.00 น
(ยกเวน้ มงี านเรง่ ด่วน) เป็นการประหยดั พลังงานและไมร่ บกวนผู้อยเู่ วรประจำสำนกั งาน
2. ปดิ ไฟ ปดิ พัดลม หอ้ งน้ำหญิงหลงั เลกิ งาน เนือ่ งจากเวรรกั ษาการณ์ภาคกลางคืน
เปน็ ผู้ชาย
3. ปดิ ไฟฟ้าแสงสว่างรอบสระน้ำไมเ่ กินเวลา 20.00 น.
4. อน่ื ๆ ทจ่ี ะสามารถช่วยประหยดั พลังงานและทรพั ยากร งบประมาณของทางราชการ
Better Touch Point 13
Better Touch Point 14
2.1 ด้านห้องอำนวยการห้องปฏิบัติการ
ศพช.ชลบรุ ี มีการจัดกิจกรรม 5 ส สำนักงานเป็นประจำทกุ สัปดาห์
ทำกจิ กรรม Big Cleaning Day (กิจกรรมวันพัฒนา) เดือนละ 1 ครง้ั
Better Touch Point 15
2.2 ด้านห้องอำนวยการห้องปฏิบัติการ
หอ้ งฝกึ อบรมทเี่ หมาะสมกบั จำนวนผเู้ ขา้ อบรม
หอประชมุ พระยาสจั จา เปน็ หอ้ งฝกึ อบรม ขนาด 250 ทนี่ ง่ั
หอประชมุ พระยาสจั จามีขนาด 500 ตารางเมตร
รองรับผเู้ ขา้ อบรมได้ถงึ 250 ทน่ี ่ัง มีห้องรับรอง
ไว้สำหรับรับรองวิทยากร และแขกผู้มีเกียรติ
และหอ้ งควบคุมเครอ่ื งเสียงแยกต่างหากจาก
หอ้ งประชุม
หอ้ งประชมุ อาคารบรรยาย 1 มีขนาด 446
ตารางเมตร รองรับผู้เขา้ อบรมไดถ้ งึ 120 ที่น่ัง
มหี อ้ งควบคุมเครื่องเสียงแยกตา่ งหากจากห้อง
ประชุม
หอ้ งประชมุ อาคารบรรยาย 2 มีขนาด 446 ตารางเมตร รองรับผูเ้ ข้าอบรมได้ถงึ 70 ที่นง่ั มหี ้อง
รับรองไวส้ ำหรบั รบั รองวิทยากร และแขกผู้มีเกียรติ และหอ้ งควบคุมเครอ่ื งเสียงแยกต่างหากจาก
หอ้ งประชมุ
Better Touch Point 16
จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารับการอบรมและผ้มู าใชบ้ ริการ
ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนชลบุรี จำนวน 5 โครงการ รวมทงั้ ผู้มาขอใช้บรกิ ารหอ้ งฝึกอบรมจาก
หน่วยงานภายนอก ท่ีร่วมให้ข้อมลู ตอบแบบสอบถาม พบว่าผเู้ ข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจตอ่
ขนาดหอ้ ง มีความเหมาะสมกับจำนวนผเู้ ข้าอบรม มคี า่ เฉลีย่ 4.60 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดับความพงึ
(̅ ) พอใจ
1 โครงการพฒั นาพนื้ ทตี่ ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ 4.74 มากทส่ี ุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหวา่ งวนั ที่ 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.66 มากที่สุด
กิจกรรมยอ่ ยท่ี 1.1 สร้างแกนนำขบั เคลือ่ นหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง
ระหว่างวนั ที่ 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหข์ องผู้ฝากเงิน ธ.ก.ส. ชลบุรี วันที่ 30 มนี าคม 2564 4.53 มากท่สี ดุ
4.การประปาส่วนภูมภิ าคเขต 1 วนั ท่ี 3 เมษายน 2564 4.54 มากทส่ี ดุ
5.โครงการฝึกอบรมอาชพี ระยะสั้น (ประชาชนทัว่ ไป) วันท่ี 8 เมษายน 2564 4.54 มากทส่ี ุด
Better Touch Point 17
2.3 ด้านห้องอาหาร
หอ้ งอาหารมสี ภาพพรอ้ มใชง้ าน และเพยี งพอตอ่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร
ศพช.ชลบรุ ี โรงอาหาร
ตติ แอร์ สามารถบรรจุคนได้
ถึง 200 ทน่ี ่ัง แตเ่ นอื่ งจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชือ่ ไวรัสโคโรนา 2019
ศพช.ชลบุรี จงึ งดให้บริการ
หอ้ งอาหารติดแอร์
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ทผ่ี า่ นมา ศพช.ชลบรุ ี
จดั ทร่ี ับประทานอาหาร
สำหรับโครงการฝึกอบรม
เป็นทีใ่ ต้ตกึ หอประชุมพระ
ยาสัจจา สามารถให้บริการ
ไดถ้ ึง 150 ทีน่ ่ัง
Better Touch Point 18
สถานที่รับประทานอาหารใต้ตกึ หอประชุมพระยาสจั จา
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รับการอบรมและผมู้ าใช้บรกิ าร
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบรุ ี จำนวน 5 โครงการ รวมทง้ั ผู้มาขอใช้บรกิ ารจากหน่วยงาน
ภายนอก ที่รว่ มใหข้ ้อมูลตอบแบบสอบถาม พบวา่ ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความพึงพอใจต่อหอ้ งอาหาร
มีความเหมาะสมถูกสขุ ลกั ษณะ มีค่าเฉลี่ย 4.60 อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ
โครงการ คา่ เฉลย่ี ระดับความพงึ
(̅ ) พอใจ
1 โครงการพฒั นาพื้นท่ตี ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ประยุกต์สู่ 4.74 มากที่สุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหว่างวนั ท่ี 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.66 มากที่สดุ
กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สรา้ งแกนนำขบั เคลอ่ื นหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ระหว่างวนั ท่ี 15 - 19 กุมภาพันธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหข์ องผู้ฝากเงนิ ธ.ก.ส. ชลบรุ ี วนั ท่ี 30 มีนาคม 2564 4.54 มากท่สี ดุ
4.การประปาส่วนภมู ภิ าคเขต 1 วันท่ี 3 เมษายน 2564 4.45 มากทส่ี ุด
Better Touch Point 19
2.4 ด้านห้องพัก
สภาพหอ้ งพกั พรอ้ มใชง้ าน
หอพกั เรือนพลับพลา จำนวน 34 ห้อง รองรับได้ 102 คน
Better Touch Point 20
หอพักเรอื นธาราชล จำนวน 34 ห้อง รองรับได้ 102 คน
Better Touch Point 21
หอพกั สีฟา้ จำนวน 9 ห้อง 31 คน
Better Touch Point 22
หอพกั สีฟา้ จำนวน 8 ห้อง 29 คน
Better Touch Point 23
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผ้เู ข้ารับการอบรมและผู้มาใชบ้ รกิ าร
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบรุ ี จำนวน 5 โครงการ รวมทงั้ ผู้มาขอใช้บริการจากหนว่ ยงาน
ภายนอก ที่ร่วมให้ข้อมลู ตอบแบบสอบถาม พบว่าผูเ้ ขา้ รับการอบรมมคี วามพงึ พอใจตอ่ ห้องพัก
มคี วามเหมาะสมถูกสุขลกั ษณะ มคี า่ เฉลย่ี 4.60 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดบั ความพงึ
( ̅ ) พอใจ
1 โครงการพฒั นาพ้นื ท่ตี น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ 4.74 มากทสี่ ดุ
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมที่ 1 ระหว่างวันที่ 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.66 มากทส่ี ดุ
กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
ระหว่างวนั ที่ 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. รายงานผลการประเมนิ ความพึงพอใจ ผู้ขอใช้บริการหอ้ งพกั (ประเภทท่ัวไป) 4.40 มากที่สุด
Better Touch Point 24
2.5 ด้านห้องน้ำอาคารฝึกอบรม
สภาพหอ้ งน้ำอาคารฝกึ อบรม
หอ้ งนำ้ หอประชมุ พระยาสจั จา
หอ้ งนำ้ อาคารบรรยาย 1
Better Touch Point 25
หอ้ งนำ้ อาคารบรรยาย 2
จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ รับการอบรมและผมู้ าใช้บริการ
ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนชลบรุ ี จำนวน 5 โครงการ รวมทั้งผู้มาขอใชบ้ รกิ ารจากหนว่ ยงาน
ภายนอก ที่ร่วมใหข้ อ้ มูลตอบแบบสอบถาม พบวา่ ผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามพงึ พอใจต่อหอ้ งนำ้
อาคารฝึกอบรมมีความเหมาะสมถูกสขุ ลักษณะ มีค่าเฉลี่ย 4.54 อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดบั ความพงึ
( ̅ ) พอใจ
1 โครงการพัฒนาพืน้ ที่ต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สู่ 4.74 มากทส่ี ุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหว่างวนั ท่ี 22-26 ธนั วาคม 2564
2 โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.66 มากท่สี ดุ
กิจกรรมยอ่ ยที่ 1.1 สรา้ งแกนนำขบั เคล่ือนหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
ระหว่างวนั ท่ี 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะหข์ องผฝู้ ากเงิน ธ.ก.ส. ชลบุรี วนั ที่ 30 มนี าคม 2564 4.47 มากทีส่ ุด
4.การประปาส่วนภมู ภิ าคเขต 1 วนั ท่ี 3 เมษายน 2564 4.42 มากที่สุด
5.โครงการฝึกอบรมอาชพี ระยะสน้ั (ประชาชนท่ัวไป) วนั ที่ 8 เมษายน 2564 4.42 มากทส่ี ดุ
Better Touch Point 26
2.6 ห้องปฏิบัติศาสนกิจ
มีการจัดสถานที่สำหรับปฏบิ ัติศาสนกจิ (ศาสนาอสิ ลาม) ท่ีหอพักสฟี ้า จำนวน 1 ห้อง
Better Touch Point 27
2.6 ห้องปฐมพยาบาล
1) ห้องปฐมพยาบาล
2) มีเครือ่ งวัดความดัน เครือ่ งช่งั น้ำหนกั พรอ้ มใชง้ าน และอยใู่ กล้บรเิ วณหอ้ งฝกึ อบรม
Better Touch Point 28
3) นอกจากน้ีเรามีการเตรียมความพร้อมบคุ ลากรของเราให้มคี วามรใู้ นเรือ่ งการปฐมพยาบาลและ
การกู้ชีพเบ้ืองต้น
3) มยี าทไี่ มห่ มดอายุการใชง้ าน สำหรับการปฐมพยาบาลและการดูแลสุขภาพเบ้อื งตน้ และมกี าร
ตรวจสอบอยา่ งสม่ำเสมอพร้อมแสดงรายการยาไว้ทีก่ ล่องยาอยา่ งชัดเจน เป็นไปตามมาตรฐาน
SHA
Better Touch Point 29
ดา้ นการใหบ้ รกิ าร
Better Touch Point 30
3.1 ด้านผู้ให้บริการ
บคุ ลากรของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี มีการแตง่ การสภุ าพ เรยี บรอ้ ยและสะอาด
เมื่อเวลามีโครงการอบรม ก็จะแต่งกายดว้ ยชุดท่ีแสดงให้เห็นวา่ เปน็ เจ้าหน้าท่ขี อง ศพช.ชลบรุ ี
เม่ือผู้เข้าอบรมมปี ัญหา หรอื ต้องการความช่วยเหลอื กจ็ ะสามารถทราบได้ว่า ใครคือเจ้าหน้าที่
ของ ศพช.ชลบุรี บา้ ง
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผเู้ ข้ารบั การอบรมและผูม้ าใชบ้ รกิ าร ศูนย์
ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี จำนวน 5 โครงการ รวมทั้งผ้มู าขอใช้บริการจากหนว่ ยงานภายนอก
ท่รี ว่ มให้ขอ้ มลู ตอบแบบสอบถาม พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมคี วามพงึ พอใจต่อกิรยิ า มารยาทและ
การแต่งกายของเจา้ หนา้ ที่ผใู้ หบ้ ริการ/ผ้ปู ระสานงาน มีคา่ เฉล่ยี 4.64 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ
โครงการ คา่ เฉลย่ี ระดับความพงึ
(̅ ) พอใจ
1 โครงการพัฒนาพน้ื ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ 4.75 มากท่ีสุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหว่างวันท่ี 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.72 มากทส่ี ดุ
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
ระหวา่ งวนั ท่ี 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ของผฝู้ ากเงิน ธ.ก.ส. ชลบุรี วันท่ี 30 มีนาคม 2564 4.63 มากทส่ี ดุ
4.การประปาส่วนภมู ิภาคเขต 1 วันที่ 3 เมษายน 2564 4.54 มากที่สดุ
5.โครงการฝึกอบรมอาชพี ระยะสนั้ (ประชาชนทัว่ ไป) วันที่ 8 เมษายน 2564 4.54 มากที่สุด
Better Touch Point 31
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการอบรมและผ้มู าใชบ้ ริการ ศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี จำนวน 5 โครงการ รวมท้ังผมู้ าขอใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก
ท่ีร่วมให้ขอ้ มูลตอบแบบสอบถาม พบวา่ ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความพงึ พอใจต่อความกระตอื รอื ร้นใน
การให้บริการ ของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ/ผู้ประสานงาน มีค่าเฉลี่ย 4.64 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดบั ความพงึ
( ̅ ) พอใจ
1 โครงการพฒั นาพน้ื ทีต่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ประยุกตส์ ู่ 4.78 มากที่สดุ
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหวา่ งวนั ท่ี 22-26 ธนั วาคม 2564
2 โครงการพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.69 มากทสี่ ุด
กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 1.1 สรา้ งแกนนำขบั เคลื่อนหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
ระหวา่ งวันที่ 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ของผู้ฝากเงนิ ธ.ก.ส. ชลบุรี วันที่ 30 มีนาคม 2564 4.57 มากทีส่ ุด
4.การประปาสว่ นภูมิภาคเขต 1 วันที่ 3 เมษายน 2564 4.57 มากทส่ี ดุ
5.โครงการฝกึ อบรมอาชพี ระยะสั้น (ประชาชนทว่ั ไป) วนั ที่ 8 เมษายน 2564 4.57 มากท่ีสุด
Better Touch Point 32
3.2 ด้านฐานข้อมูลผู้ใช้บริการ
◆ ฐานข้อมลู ในการฝึกอบรมที่ศนู ย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนชลบุรี เปน็ ผู้จัด
ฝึกอบรม ข้อมลู ของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ชื่อ - สกลุ ทีอ่ ยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ เป็นตน้
◆ ฐานข้อมูลผู้ขอใชบ้ รกิ ารทว่ั ไป เช่น ห้องพัก ห้องประชมุ สถานท่ีจอดรถ
Better Touch Point 33
3.3 ด้านความปลอดภัย
ดา้ นความปลอดภัย ศพช.ชลบุรี มีการจัดระบบรักษาความปลอดภยั มีการจัดเวร
รกั ษาการณใ์ นวันหยุด และนอกเวลาราชการ
1. จัดทำคำสัง่ แต่งต้งั ผู้ตรวจเวร และผอู้ ยู่เวรรักษาการณ์ประจำศูนย์ศึกษาและ
พฒั นาชุมชนชลบุรี เป็นประจำทุกเดือน
2. มีระบบการรายงานการปฏิบัติงานของผู้อยู่เวร และผู้ตรวจเวร ประจำทุกเดอื น
3. มปี า้ ยแสดงรายชือ่ พร้อมเบอร์โทรศัพท์ผปู้ ฏิบตั ิหน้าที่เวรรักษาการณ์ ชัดเจน
4. มีป้ายจุดรวมพล พรอ้ มบอกเบอร์โทรศัพท์ในกรณีเกดิ เหตุฉกุ เฉนิ
Better Touch Point 34
ศพช.ชลบุรี มีการจัดหาเครอื่ งมือรักษาความปลอดภยั เช่น ถังดับเพลิง ติดตั้งไฟฟ้า
สอ่ งสว่าง ติดตัง้ กล้องวงจรปดิ รายละเอียดดังน้ี
1. มีถงั ดบั เพลิง กระจายอยู่ทกุ อาคาร รวมจำนวน 27 ถัง และมีการตรวจสอบ
สภาพความพร้อม และเขยา่ นำ้ ยาเป็นประจำทกุ 3 เดือน จุดติดตั้งถงั ดับเพลิงมีดงั นี้
• หอพักเรือนพลับพลา จำนวน 10 ถงั
• หอพักเรือนธาราชล จำนวน 10 ถัง
• อาคารบรรยาย 1 จำนวน 1 ถัง
• อาคารบรรยาย 2 จำนวน 2 ถัง
• หอประชมุ พระยาสัจจา จำนวน 3 ถงั
• อาคารโรงอาหาร จำนวน 1 ถัง
2. ไฟฟา้ สอ่ งสวา่ งท้งั ศูนย์ จำนวน 1,890 ดวง
ข้อมูลจากการสำรวจการใชพ้ ลงั งาน ปี 2564
- ไฟทาง จำนวน 73 ดวง
- อาคารอำนวยการ จำนวน 370 ดวง
- อาคารบรรยาย 1 จำนวน 122 ดวง
- อาคารบรรยาย 2 จำนวน 223 ดวง
- หอประชุมพระยาสจั จา จำนวน 208 ดวง
- หอพักเรอื นพลับพลา จำนวน 328 ดวง
- หอพักธาราชล จำนวน 328 ดวง
- หอพักสีฟ้า จำนวน 64 ดวง
- หอพักสีชมพู จำนวน 93 ดวง
- อาคารโรงอาหาร จำนวน 81 ดวง
Better Touch Point 35
3. กล้องวงจรปิด ตวั ควบคุม 1 ตวั กลอ้ ง 12 ตัว
• หอพักเรือนพลับพลา ตัวควบคุม 1 ตัว กลอ้ ง 12 ตวั
• หอพกั เรือนธาราชล ตัวควบคุม 1 ตัว กล้องกระจายจุดต่างๆ 8 ตัว
• อาคารอำนวยการ
Better Touch Point 36
4. สัญญาณกริ่งเตือนภยั ทุกอาคาร
5. และไฟส่องสว่างฉกุ เฉนิ กรณีไฟดบั หอพักเรือนพลบั จำนวน 6 ตวั และหอพักเรือนธาราชล
จำนวน 6 ตวั
6. มีลำโพงท่สี ามารถแจ้งสถานการณท์ ี่ห้องพัก หอพกั เรือนพลบั พลา และหอพักธาราชล
Better Touch Point 37
3.4 ด้านคุณภาพอาหาร
ในดา้ นคณุ ภาพอาหาร อาหารวา่ ง และเครื่องดื่ม ศพช.ชลบุรี มกี าร
ควบคมุ คณุ ภาพอาหาร และปริมาณท่ีเหมาะสม รวมถงึ สถานทีใ่ นการประกอบอาหาร
ด้วย เพอ่ื ใหถ้ ูกสุขลักษณะ
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรมและผู้มาใชบ้ รกิ าร ศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี จำนวน 2 โครงการ รวมท้ังผมู้ าขอใช้บริการจากหน่วยงานภายนอก
ที่ร่วมให้ข้อมลู ตอบแบบสอบถาม พบวา่ ผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามพงึ พอใจต่อคณุ ภาพอาหาร
มคี า่ เฉล่ีย 4.62 อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดบั ความพงึ
(̅ ) พอใจ
1 โครงการพัฒนาพ้ืนทตี่ น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม่ประยุกต์สู่ 4.75 มากทีส่ ุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมที่ 1 ระหวา่ งวนั ท่ี 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.48 มาก
กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง
ระหวา่ งวันท่ี 15 - 19 กุมภาพันธ์ 2564
Better Touch Point 38
ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ไดร้ ับการรับรองมาตรฐาน Amazing
Thailand Safety & Health Administration (SHA) ประเภทการจัดกิจกรรม/จัดประชุม/โรง
ละคร/โรงมหรสพ เรยี บรอ้ ยแล้ว หมายเลขสถานประกอบการเลขท่ี I0122
Amazing Thailand Safety and Health Administration (SHA) เป็นโครงการความ
ร่วมมือของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) และ
กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพและหน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การท่องเที่ยวเป็นส่วนหน่ึ ง
ของมาตรการควบคุมโรค ทำให้นักทอ่ งเทยี่ วท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศได้รับประสบการณ์ท่ีดี
มคี วามสุข และมั่นใจในความปลอดภัยด้านสุขอนามัย จากสนิ ค้าและบริการทางการท่องเที่ยวของ
ประเทศไทย โดยนำมาตรการความปลอดภัยด้านสาธารณสุขผนวกกับมาตรฐานการให้บริการที่มี
คุณภาพของสถานประกอบการ เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัส
COVID-19 และยกระดับมาตรฐานสินค้าและบรกิ ารทางการทอ่ งเทีย่ วของไทย
Better Touch Point 39
3.5 ด้านฐานการเรียนรู้
1. ศพช.ชลบุรี ได้มีการจัดทำฐานการเรียนรู้ที่สามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ
ดังน้ี
ฐานปยุ๋ หมกั ไม่กลบั กอง ฐานปุย๋ มลู ไสเ้ ดอื น (มิสเตอรม์ ุดดิน)
ฐานคนมีไฟ ฐานคนหัวเหด็
ฐานสวนแนวตง้ั ฐานคนมนี ้ายา
Better Touch Point 40
ฐานคยี โ์ ฮล ฐานคนรักษส์ ุขภาพ
ฐานคนรักษแ์ มโ่ พสพ ฐานคนรักษป์ ่ า
ฐานไมด้ อกไมป้ ระดับ ฐานสวนคนเมอื ง
Better Touch Point 41
2. ศพช.ชลบุรี ได้จัดทำแหล่งการเรียนรู้ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ (อพ.สธ.)
Better Touch Point 42
3. ศพช.ชลบุรี มีหลักสูตรการฝึกอาชีพท่ีทันสมัย ใหบ้ ริการแก่ประชาชน
ท่วั ไป ดงั นี้
วนั ที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ศพช.ชลบรุ ี ให้บรกิ ารสอนฝึกอาชีพแกป่ ระชาชนท่วั ไปหลกั สูตรตดั ผมชาย
วนั ท่ี 10 มนี าคม 2564 ศพช.ชลบรุ ี ให้บรกิ ารสอนฝึกอาชพี แกป่ ระชาชนทว่ั ไปจำนวน 3 หลกั สูตร คอื
1. สลัสโรลและนำ้ สลัดครมี ซฟี ูต๊ 2. วุ้นแฟนซี 3. คอนเฟลค็ คาราเมล
Better Touch Point 43
วนั ท่ี 8 - 9 เมษายน 2564 ศพช.ชลบรุ ี ใหบ้ รกิ ารสอนฝกึ อาชพี แก่ประชาชนทั่วไปหลกั สูตรมาลัยกรรบิ บ้นิ
จำนวน 2 รุ่น
วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2564 ศพช.ชลบรุ ี ให้บริการสอนฝึกอาชพี แกป่ ระชาชนทั่วไปหลกั สูตรตัดผมชาย
Better Touch Point 44
ด้านส่ิงอำนวยความสะดวก
Better Touch Point 45
1. ศพช.ชลบุรี มีจักรยานไว้บริการสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและผู้มาใช้
บรกิ ารท่ี ศพช.ชลบรุ ี จำนวน 13 คนั
2. ศพช.ชลบุรี มีรม่ ไวบ้ ริการสำหรบั ผูเ้ ข้ารบั การอบรมและผู้มาใช้บริการ
ที่ ศพช.ชลบรุ ี จำนวน 48 คัน
Better Touch Point 46
3. ศพช.ชลบรุ ี มเี ครอ่ื งออกกำลงั กายไวบ้ รกิ ารสำหรบั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม
และผมู้ าใชบ้ รกิ ารท่ี ศพช.ชลบรุ ี
Better Touch Point 47
4. ศพช.ชลบรุ ี มีสญั ญาณ INTERNET เพอื่ ใหบ้ รกิ ารสำหรบั ผเู้ ขา้ รบั การ
อบรมและผมู้ าใชบ้ รกิ ารที่ ศพช.ชลบรุ ี ครบคลมุ ทว่ั พนื้ ที่
จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม และผู้มาใช้บริการศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชน พบว่าผู้เข้ารับการอบรม/ผู้ใช้บริการ มีความพึงพอใจการบริการ wifi ที่ใช้
งานได้ภายในห้องฝกึ อบรมมีค่าเฉล่ีย 4.58 อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ โดยอา้ งองิ จากแหลง่ ข้อมลู ดงั นี้
โครงการ คา่ เฉลยี่ ระดับความพงึ
(̅ ) พอใจ
1 โครงการพฒั นาพ้ืนทต่ี น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยกุ ต์สู่ 4.78 มากทส่ี ุด
“โคก หนอง นา” โมเดล กิจกรรมท่ี 1 ระหว่างวนั ท่ี 22-26 ธันวาคม 2564
2 โครงการพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4.69 มากทส่ี ดุ
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขบั เคลื่อนหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
ระหวา่ งวนั ท่ี 15 - 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
3. สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ของผู้ฝากเงนิ ธ.ก.ส. ชลบรุ ี วันที่ 30 มีนาคม 2564 4.57 มากท่ีสุด
4.การประปาสว่ นภูมิภาคเขต 1 วันที่ 3 เมษายน 2564 4.57 มากที่สุด
5.โครงการฝึกอบรมอาชีพระยะส้นั (ประชาชนทั่วไป) วนั ที่ 8 เมษายน 2564 4.57 มากที่สุด
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ได้ดำเนินการพัฒนาและยกระดบั มาตรฐานการ
ให้บริการ : Better Touch Point เพื่อให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี มีมาตรฐาน
ในการให้บริการ ด้านอาคาร สถานที่ ภูมิทัศน์สภาพแวดล้อม และสิ่งอำนวยความสะดวก
ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อนมาตฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ประจำปี 2564 และยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เกิดมาตฐานที่มี
ประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ รกิ าร
Better Touch Point 48