The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Digital-Assets-มิติใหม่แห่งการลงทุนยุคดิจิทัล e-book

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natticha13rose, 2022-03-24 15:19:54

Digital-Assets-มิติใหม่แห่งการลงทุนยุคดิจิทัล-e-book (3)

Digital-Assets-มิติใหม่แห่งการลงทุนยุคดิจิทัล e-book

คํานาํ

e – book เลม นี้เปนสวนหน่งึ ของรายวิชา 946-412 สมั มนาทางการบญั ชี (Seminar in Accounting)
ซ่ึงทางคณะผูศึกษาไดจัดสัมมนาในหัวขอ “Digital Assets มิติใหมแหงการลงทุนยุคดิจิทัล” ดวยวิธีการศึกษา
คนควาและรวบรวมขอมูลองคความรู โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหความรู และสรางความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับ
สินทรัพยดิจิทัล, กฎหมายท่ีเก่ียวของกับสินทรัพยดิจิทัล, แนวทางปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับDigital Assets
อีกท้งั เพอ่ื เปน แนวทางการตดั สนิ ใจสาํ หรับผูที่อยากลงทุนในสินทรัพยด ิจิทัล

อน่ึง ทางคณะผูศึกษาหวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรู และเปนประโยชนแกผูอานทุก ๆ ทาน และ
ทุกทานสามารถนาํ ความรูที่ไดรบั ไปใชใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตามความคาดหวัง หากมขี อ เสนอแนะ หรอื ขอผิดพลาด
ประการใด ทางคณะผศู กึ ษาขอนอมรบั ความผดิ พลาด เพือ่ เปนผลประโยชนตอ ไป

คณะผศู ึกษา

สารบญั หนา

เรอ่ื ง 1
12
• สินทรพั ยด จิ ทิ ลั 12
• Initial Coin Offering 13
• Initial Public Offering 18
• รูปแบบการลงทุนใน Digital Assets และ Platform 19
• Risk Spectrum 22
• กฎหมายท่เี ก่ยี วของ 25
• ภาษที เ่ี กยี่ วของกับภาษสี ินทรัพยดิจิทลั
• บรรณานกุ รม

1

Digital Assets มติ ิใหมแหง การลงทุนยคุ ดจิ ิทลั

กระแสการลงทุนใน “สินทรัพยดิจิทัล” (Digital Asset)ไดรับความนิยมและมีผูที่สนใจเขาไปลงทุน
เปนอยางมาก มีความเช่ือวาจะสามารถสรางผลตอบแทนไดสูง ในเวลาอันรวดเร็ว แตเน่ืองจากเปนสินทรัพย
เพ่ือการลงทุนเรอ่ื งใหม ทาํ ใหตอ งทําความเขา ใจใหร อบคอบกอ นตัดสนิ ใจลงทนุ

สนิ ทรพั ยดิจทิ ลั

สินทรัพยดิจิทัล หรือ Digital asset เปนหนวยอิเล็กทรอนิกสท่ีแสดงมูลคาเหมือนสินทรัพยท่ัวไปซึ่ง
จับตองไมไดดวยมือเปลา ถูกสรางข้ึนบนระบบหรือเครือขายอิเล็กทรอนิกส แตสามารถซื้อ-ขายแลกเปลี่ยน
ความเปนเจาของได ใจความสําคัญคือการแลกเปลี่ยน ‘ไมตองผานตัวกลาง’ สินทรัพยดิจิทัล ซึ่งทํางานอยูบน
โลกออนไลนแ ละระบบบลอ็ กเชน การทาํ ธรุ กรรมตาง ๆ กจ็ ะถกู บนั ทึกโดยคอมพวิ เตอรและการไมผา นตวั กลาง
กท็ ําใหสามารถเทรดซ้อื -ขายได 24 ช่ัวโมง 7 วัน แบบไมมวี ันหยุด

1. ครปิ โทเคอรเรนซี (Cryptocurrency)

หนวยขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส ที่สรางข้ึนเพ่ือใชเปนส่ือกลางในการแลกเปล่ียนสินคา บริการ หรือ
แลกเปลี่ยนกับสินทรัพยดิจิทัลอื่น ๆ สามารถใชเปนส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการไดหากผูใช
ยอมรบั ระหวางกัน

ปจจุบัน คริปโทเคอรเรนซียังไมถือวาเปน "เงิน" ที่ธนาคารกลางสวนใหญในโลกรับรองวาสามารถใช
ชําระหน้ีไดต ามกฎหมาย (legal tender) มเี พยี งเอลซลั วาดอรที่ยอมรบั บิตคอยนเ ปน สกลุ เงินทีช่ าํ ระหน้ีไดตาม
กฎหมาย)

1.1 คณุ สมบัติเบ้ืองตน ของคริปโทเคอรเรนซี

มีการเขารหัสวิ่งอยูบนระบบที่เรียกวา “บล็อกเชน” มีราคาในการซื้อขายแปรผันตามกลไกตลาดและ
ความตอ งการซื้อขาย ครปิ โทเคอรเ รนซี จึงสามารถทาํ หนา ที่เปน สื่อกลางในการแลกเปลยี่ นมูลคาแบบดจิ ิทัลได
ไมไดมีลักษณะทางกายภาพเหมือน สกุลเงินทั่วไป (Fiat Currency) ของแตละประเทศที่มีการตีพิมพธนบัตร
หรอื เหรียญกษาปณออกมา

2
1.2 บลอ็ กเชน (Blockchain)
บล็อกเชนเปนระบบทคี่ ริปโทฯ ทํางานอยู หรอื เปน เครือขา ยการเก็บขอมูลแบบหนึง่ ทที่ ุกคนสามารถ
เขาถึงและไดรับขอมูลชุดเดียวกัน โดยขอมูลเหลาน้ีจะถูกเก็บอยูในแตละบล็อก (Block) ที่เช่ือมโยงกันบน
เครือขายเหมือนกับหวงโซ (Chain) น่ีจึงเปนเหตุผลหน่ึง ที่ทําใหเราเรียกรูปแบบการเก็บและแชรขอมูลแบบน้ี
วา Blockchain
1.3 ถาพูดถึงคริปโทเคอรเรนซี 2 คําที่ตามมาคือ เหรียญ และ โทเคน ซ่ึงความเปนจริงแลว 2 คํา
แตกตา งกนั เพราะ เหรยี ญ (Coin) กบั โทเคน (Token) คือคนละสว น และทํางานตา งกนั ดว ย

1.3.1 เหรียญ หรอื คอยน
เปนสกุลเงินดิจิทัลท่ีถูกสรางขึ้นมาโดยมีเครือขายบล็อกเชนของตนเอง มักมีบทบาท
เปรียบเสมือนเงินท่ีใชในการแลกเปล่ียน แตอยูในรูปแบบดิจิทัล เหรียญแตละเหรียญจะแตกตางกันในแงของ
ขนาดเครอื ขา ย ปรมิ าณเหรียญ ประสิทธภิ าพการทํางาน
• Cryptocurrency-Non-stable coin

1.KUB
เริ่มกันที่สกุลเงินดิจทิ ัลของ Bitkub น่ันคือ Bitkub Coin หรือ KUB สรางข้ึนโดยบริษัท บิทคับ บล็อค
เชน เทคโนโลยี จํากัด เหรียญ KUB เปนเหรียญหลักของเครือขาย Bitkub Chain ซึ่งเปนเครือขายบล็อกเชน
ที่สรางขึ้นโดยมีเปาหมายท่ีจะเปนโครงสรางพ้ืนฐานใหกับอุตสาหกรรมไทย เพ่ือยกระดับอุตสาหกรรมดวย
บล็อกเชนท่ีมีจุดเดนคือคาธรรมเนียมถูก และสามารถยืนยันธุรกรรมไดอยางรวดเร็ว ตัวอยางโปรเจกตที่สราง
ขึ้นบน Bitkub Chain ไดแก Bitkub NEXT, FANS Token, PUBG NFT รวมถึง Morning Moon Village
น่นั เอง

3

2.DOGE
อานออกเสียงวา “โดชคอยน” เปนหน่ึงในสกุลเงินดิจิทัลที่ใชลงทุนในหลักทรัพยดิจิทัลหรือคริปโท
เคอรเ รนซี สรา งข้ึนโดย แจ็คสัน พาลมเมอร และ บลิ ลี มารคสั โดยเช่ือวา แรกเรมิ่ เปนการสรางเพื่อลอ เลียนบิต
คอยน (Bitcoin) ท่ีกําลังเปนกระแสอยูในขณะน้ัน เพราะชื่อท่ีพาลมเมอรและมารคัสเรียกตัวเองวา
“Shibetoshi Nakamoto” มีความคลายกับช่ือผูกอตั้งบิตคอยน Satoshi Nakamoto Dogecoin มี
จุดประสงคเพื่อใชเปนเงินดิจิทัลหมุนเวียนในระบบคริปโทเคอรเรนซี และตองการสรางใหสกุลเงินน้ีใชงานงาย
กวาบิตคอยน ถึงแมจุดประสงคจะดูเหมือนสรางข้ึนมาเลน ๆ เลียนแบบบิตคอยน แตความนิยมกลับไมเลน ๆ
เลย ทาํ ให Dogecoin กลายเปน สกุลเงนิ ทถ่ี ูกพูดถงึ มากที่สุดในโลกทวติ เตอร

3.UNI
สาย DeFi หรือสาย Yield Farming ตองไมพลาดเหรียญ DeFi ยอดนิยมอันดับ 1 บน Ethereum
อยาง UNI หรือ Uniswap โดย Uniswap ก็คือ Decentralized Exchange (DEX) ท่ีผูใชสามารถแลกเปล่ียน
สกุลเงินดิจิทัลไดโดยไมตองผานตัวกลาง และยังมีระบบ Automated Market Maker (AMM) ที่ดูแลเร่ือง
สภาพคลองของการแลกเปล่ียนไดอยางอัตโนมัติ ลาสุด Uniswap ยังไดอัพเกรดเปน Uniswap V3 ท่ีพัฒนา
AMM ขึ้นไปอีกขั้น และยังมีฟงกชันท่ีผูใชสามารถกําหนดอัตราคาธรรมเนียมไดดวยตัวเอง นอกจากนี้ UNI ก็
เปน เหรยี ญอยใู นซรี ีย Cryptoanimals เสอื้ ยดื ลายพเิ ศษจาก Bitkub ตามโลโกเหรียญท่เี ปน “ยูนิคอรน ”

4

4.KSM
KSM หรือ Kusama คือเครือขายบล็อกเชนท่ีโดดเดนในเร่ืองของ Interoperable หรือการทํางาน
รวมกันระหวางเครือขายบล็อกเชนตั้งแต 2 เครือขายขึ้นไปผานเทคโนโลยีที่เรียกวา Relay Chain Kusama
เปรียบเสมือนพี่นองกับ Polkadot (DOT) เนื่องจากมีผูสรางและชุดคําส่ังพ้ืนฐานเหมือนกัน แต Polkadot
เนนไปทค่ี วามมน่ั คงในการทํางาน ขณะที่ Kusama มกั จะมคี วามเปล่ยี นแปลงและการพัฒนาทรี่ วดเร็วกวา ทาํ
ใหนักพัฒนานยิ มสรางแอปพลเิ คช่ันบน Kusama เพื่อทดสอบการทํางาน และจึงคอยยา ยไปบน Polkadot ใน
ภายหลัง รูหรือไม!? โลโกของเหรยี ญ KSM ก็คือ “นกขมิ้น” จึงเปนอีกหน่งึ ลายในซรี ียเสอ้ื ยืด Cryptoanimals
เชน กัน

5.BAL
อกี หนงึ่ เหรยี ญสําหรบั สาย DeFi กบั เหรียญ BAL หรือ Balancer ซงึ่ ก็คอื Decentralized Exchange
ที่มีระบบ AMM คลายกับ Uniswap แต Balancer โดดเดนในเร่ืองของการปรับแตงที่อิสระยิ่งกวา ผูใช
สามารถสราง Pool เพ่อื วางเหรยี ญใหผ ใู ชค นอื่นเขามาแลกเปลี่ยนและกาํ หนดอตั ราคา ธรรมเนียมไดด ว ยตัวเอง
แต Balancer โดดเดนในเร่ืองของการปรับแตงท่ีอิสระย่ิงกวา ผูใชสามารถสราง Pool เพื่อวางเหรียญใหผูใช
คนอืน่ เขา มาแลกเปลย่ี นและกาํ หนดอตั ราคาธรรมเนยี มไดด ว ยตัวเอง

5

6.XRP
XRP คือเหรียญหลักของเครือขาย RippleNet ท่ีพัฒนาโดยบริษัท Ripple.Inc โดย RippleNet คือ
เครือขายท่ีสรางขึ้นเพื่อการโอนเงินขามประเทศท่ีรวดเร็วและมีคาธรรมเนียมถูก Ripple ยังมีพันธมิตรเปน
บริษัทระดับโลกหลายแหง ไดแก American Express, SBI Remit, Azimo รวมถึง SCB หรือธนาคารไทย
พาณชิ ยของประเทศไทยน่นั เอง

7.ETH
Ethereum สกุลเงินดิจิทัลยอดนิยมอันดับ 2 รองจาก Bitcoin ตนตํารับของเครือขายบล็อกเชนที่
สามารถใช Smart contract ไดอยางมีประสิทธิภาพ และยังเปนเครือขายท่ีมีการ Active ของผูใชท่ัวโลกสูง
ท่ีสุดในตลาดคริปโทเคอรเ รนซี Ethereum มกี ารอพั เกรดลาสดุ ในช่ือ London Hard Fork ทไ่ี ดปรับกลไกการ
จายคาธรรมเนียม โดยคาธรรมเนียมเมื่อจายไปแลว สวนหนึ่งจะถูกทําลาย (เผา) เพื่อลดจํานวนหรียญ ETH ที่
หมุนเวียนอยูในตลาด สงผลใหมีอุปทานเหรียญนอยลง และยังมีการอัพเกรดครั้งใหญอยาง Ethereum 2.0
นักลงทนุ ทว่ั โลกกาํ ลงั เฝา จบั ตา

6

8.ADA
ADA หรือ Cardano ไดรับการยกยองเปนเครือขายบล็อกเชนรุนที่ 3 ท่ีเขามาแกปญหาดาน
Scalability ของเครือขายบล็อกเชนรุนกอนหนาอยาง Bitcoin หรือ Ethereum โดย Cardano ใชระบบ
Consensus Algorithm แบบ Proof-of-Stake จึงทําใหสามารถประมวลธุรกรรมไดเร็วกวาหลายเทาตัว โดย
Cardano ใชร ะบบ Consensus Algorithm แบบ Proof-of-Stake จึงทําใหส ามารถประมวลธุรกรรมไดเรว็
9.Bitcoin
สกุลเงินในรูปแบบของดิจิทัล ถูกสรางข้ึนมาดวยภาษาคอมพิวเตอร ไมมีใครเปนเจาของ Bitcoin ไมมี
รูปรางและไมสามารถจับตองไดเหมือนธนบัตรหรือเหรียญเงินบาท Bitcoin ถูกสรางข้ึนมาดวยกลุมนักพัฒนา
เล็ก ๆ กลุมหน่ึงตลอดจนบริษัทใหญๆท่ัวโลก โดยระบบของ Bitcoin ถูกรันโดยคอมพิวเตอรของผูใชงานท่ัว
โลก โดยใชระบบซอฟตแวรในการถอดสมการคณิตศาสตร Bitcoin ถือเปนสกุลเงินแรกของโลกที่ถูกเรียกวาค
ริปโทเคอเรนซี (cryptocurrency)

บทิ คอยน ใชทาํ อะไรไดบ า ง?
แมวาบิทคอยนจะยังไมไดรับการยอมรับอยางแพรหลายในวงกวาง เมื่อเทียบกับสกุลเงินท่ัวไปอยาง

เงินบาท หรือการใชบตั รเครดิต แตก็มีหลายองคกร ธนาคาร หรือวารานคา ท่ีเร่ิมรบั ชําระเงินดวยบิทคอยนบาง
แลว บิทคอยนย ังมีประโยชนมเม่ือเทียบกับสกุลเงนิ ทว่ั ไป หรอื วาระบบการเงินแบบเดมิ ๆ ไมวาจะเปน

7

ธรุ กรรมระหวา งประเทศ
คุณสามารถใชบิทคอยนโอนเงินไปตางประเทศไดอยางสะดวกและรวดเร็ว โดยปลายทางจะไดรับเงิน
ในเวลาเพียงหน่ึงช่ัวโมง พรอมดวยคาธรรมเนียมที่ตํ่ามาก ๆ แค 0.4% ของจํานวนเงินท่ีทําธุรกรรม แมวา
คาธรรมเนียมอาจจะสูงหรือต่ํากวานี้ได แตกตางกันไปตามผูใหบริการ แตเม่ือเทียบกับวิธีเดิม ๆ ในการทํา
ธุรกรรมระหวางประเทศ ท่ีคุณอาจจะตองรอหลายวันกวาจะไดรับเงิน ตองเดินทางไปโอนเงินที่เคานเตอรดวย
ตวั เอง อกี ท้ังยงั ตอ งเสียคาธรรมเนียมหลายรอยบาท บทิ คอยนก็ถอื ไดวา เปน ทางเลอื กทด่ี ีเลยทีเดียว

ซือ้ สินคาและบริการ
อยางท่ีเราไดเกร่ินกันเอาไว วาในปจจุบันอาจจะยังมีรานคาจํานวนไมมากท่ีรับการชําระเงินดวยบิท
คอยน แตคุณก็สามารถใชบิทคอยนแทนเงินสดในการซื้อสินคาและบริการตาง ๆ ทั้งทางออนไลนและรานคา
ท่ัวไปไดเรียบรอยแลว บริษัทยักษใหญอยาง Microsoft ก็ไดเริ่มรับบิทคอยนมาเปนเวลาหลายป โดยคุณ
สามารถตรวจสอบรานคาทีร่ บั Bitcoin ไดที่ Use The Bitcoin

สะสมทรัพย
ราคาของบิทคอยนอาจจะยังมีความผันผวนอยูมาก เชนเม่ือวันที่ 13 มีนาคมท่ีผานมา บิทคอยนราคา
ตกลงไป 30-40% ในคืนเดียว ในชวงสถานการณ COVID-19 ท่ีตลาดหุน ราคาน้ํามัน และราคาทองก็มีความ
ผันผวนเชนกัน แตในบางประเทศท่ีคาเงินของตัวเองไมคอยม่ันคง เชน เวเนซูเอลา ท่ีมีภาวะเงินเฟอข้ันรุนแรง
ทาํ ใหเ งินลา นอาจจะเหลือมูลคาเปนศนู ยไดใ นขามคืน จนคนตอ งหอบเงินเปนกระสอบ ๆ เพือ่ ไปซื้อขา วแคจ าน
เดียว บิทคอยนกย็ ังคงเปนทางเลือกท่ีดีในการเกบ็ สะสมเงนิ

เทรดคา เงิน
อยา งทีเ่ ราทราบกนั ดีวา ราคาของบทิ คอยนม ีความผนั ผวนตลอดเวลา ทําใหการเทรดบทิ คอยนนัน้ เปน
อีกหนึ่งในทางเลือกที่ดีเพ่ือการทํากําไรของนักลงทุน การเทรดบิทคอยนน้ันก็ไมตางอะไรจากการเทรดหุน คุณ
ซ้ือในราคาตํ่าและขายในเวลาตอมาเม่ือราคาบิทคอยนสูงข้ึน แตเมื่อเทียบกับหุนแลว บิทคอยนมีการ
เปลี่ยนแปลงของราคาบอยคร้ังมากกวา และอาจจะมีความผันผวนในระยะส้ันมากกวา ซ่ึงทําใหนักลงทุนมี
โอกาสในการทํากาํ ไรมากกวาเชน กนั

นอกจากนี้ยังมีกลุมคนที่เราเรียกกันแบบไมเปนทางการวา Hodlers ที่มาจากคําวา Holder แบบท่ี
สะกดผิดนั่นเอง คํานี้มีที่มาจาก เม่ือหลายปกอนตอนท่ีบิทคอยนราคาตกลงอยางรุนแรง มีชายคนหน่ึงใน
อินเทอรเน็ตโพสวาตัวเองจะ HODL ก็คือ Hold (ถือครอง) แบบสะกดผิด เขาบอกวาจะไมขายอยางแนนอน
แตอินเทอรเน็ตดันชอบความสะกดผิดนี้ จนกลายเปนมีม (Meme) ดังในชั่วขามคืนและเปนศัพทเฉพาะวงการ
ในที่สุด กลุม Hodlers น้ีเชื่อวา บิทคอยนจะเปนท่ีนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งหมายความวาราคาของบิทคอยนก็
จะเพ่ิมมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ เชน กนั ทําให Hodlers ซอ้ื บิทคอยนเก็บไวใ นระยะยาวเปนการออมเงนิ อีกทางน่นั เอง

8

• Cryptocurrency-Stable coin
- Tether (USDT)

เปนเหรียญท่ีมีเสถียรภาพ ซ่ึงเปนสกุลเงินดิจิทัลประเภทหนึ่งซ่ึงมีจุดมุงหมายเพื่อใหการประเมิน
มูลคาของสกุลเงินดิจิทัลมีเสถียรภาพ Tether ถูกใชโดยนักลงทุน crypto ท่ีตองการหลีกเล่ียง
ความผันผวนท่ีรุนแรงของ cryptocurrencies อ่ืน ๆ ในขณะท่ีรักษามูลคาภายในตลาด crypto
ในเดือนเมษายน 2019 อัยการสูงสุดแหงนิวยอรกกลาวหาวาบริษัทแมของ Tether ปกปดความ
สูญเสียจํานวน 850 ลานดอลลารโ ทเคน Tether ซื้อขายภายใตสญั ลักษณ USDT
- USD Coin (USDC)
คือ สกุลเงินดิจิทัลชนิดหนึ่งที่ใชเรียกเหรียญท่ีมีราคาคงที่ (stablecoin) คุณสามารถแลกUSD
Coin ในอัตรา 1 เหรยี ญ ตอ US$1.00 ไดเ สมอ

1.3.2 โทเคน (Token)

เปนสินทรัพยดิจิทัลท่สี รางข้ึนมาบนเครอื ขายบล็อกเชนอื่น ๆ อีกทอดหนึ่ง ไมมีเครือขายเปน
ของตัวเอง ซึ่งมีฟงกชันการใชงานท่ีแตกตางกันออกไป โดยโทเคน (Token) ถูกสรางขึ้นมาโดยการ
เขียนสัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract) เพ่ือสราง dApps (Decentralized Application) หรือ DeFi
(Dencetralized Finance) ซึ่งผูสรางสามารถเลือกเครือขายบล็อกเชนในการสรางไดดวยตนเอง เชน
Ethereum หรือ Binance Smart Chain เปนตน

2. โทเคนดจิ ิทลั (Digital Token)

หนวยขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สรางขึ้นเพื่อกําหนดสิทธิของบุคคลในการรวมลงทุน (investment
token) หรือสิทธิในการไดมาซึ่งสินคาและบริการหรือสิทธิอื่น ๆ (utility token) ตามที่ไดตกลงกับผูออกโท
เคน แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ

1. โทเคนดิจิทัลเพ่ือการลงทุน (investment token) เปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ่ึงถูกสราง
ขึ้นบนระบบหรือเครือขายอิเล็กทรอนิกส และ ใหสิทธิแกผูถือในการเขารวมลงทุนใน
โครงการหรือกิจการใด ๆ ของผูที่ดําเนินการออกโทเคนนี้ คือการซ้ือโทเคนประเภทนี้
เราจะรูแนช ัดวา ใครออกโทเคน และเงนิ ที่เราลงทนุ ไปจะเอาไปใชก ับโปรเจกตอะไร และ
จะมีการจา ยผลตอบแทนอยางไรบาง

9

o Aspen Coin
 ถือเปนนวัตกรรมในการลงทุนท่ีสรางสรรคโดยการนํา “การถือครองกรรมสิทธ์ิใน
Aspen Resort มาแตกเปนหนวยลงทุน” และเปดใหบุคคลทั่วไปสามารถรวมลงทุน
และเปนเจาของกรรมสทิ ธิไ์ ดต ามสัดสว นที่กําหนด (แตไมมีสทิ ธอิ อกเสียงเพ่ือกําหนด
ทิศทางการดําเนินงานของบริษัท) ดังนั้น Aspen Coin จึงเปนหลักทรัพย หรือ
Financial Securities ประเภทหนงึ่ ทมี่ มี ูลคาและกอใหเ กดิ สทิ ธิตาง ๆ ทางกฎหมาย
และผูที่ถือครองยอมมีกรรมสิทธิ์ ซึ่งแตกตางจากรูปแบบการระดมทุนแบบ Project
Base ทผี่ ูระดมทนุ ไมไดประสงคจ ะกอ นติ ิสัมพนั ธในเชิงกรรมสทิ ธกิ์ ับผลู งทนุ

2. โทเคนดิจิทัลเพ่ือการใชประโยชน (utility token) เปนขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ่ึงถูกสรางขึ้น
บนระบบหรือเครือขายอิเล็กทรอนิกส ที่ ‘ใหสิทธิแกผูถือในการไดมาซึ่งสินคา บริการ หรือสิทธิอื่นใด
ท่ีเฉพาะเจาะจง’ เชน ใหสิทธิในการเขาถึงแพลตฟอรมหรือโครงการ หรือ นําไปใชแลกสินคาใน
แพลตฟอรม หรอื โครงการดงั กลาว ซึ่งแบง ออกเปน utility token แบบพรอ มใช และไมพ รอมใช

o Ethereum
 คือ เครือขาย Blockchain ที่เปนแพลตฟอรมใหเหลานักพัฒนาสามารถสรางแอพ
พลเิ คชนั แบบกระจายศนู ย หรอื Dapps (Decentralized Application) Ethereum
ถูกสรางข้ึนโดย Vitalik Bulletin และเปดตัวในป 2015 โดยเขาเคยเปนผูรวมกอต้ัง
เว็บไซต Bitcoin Magazine

o BNB
 BNB หรือ Binance Coin เปนสกุลเงินดิจิทัลชนิดหนึ่งในตลาดคริปโทเคอรเรนซี
เปดตวั ในป 2017 โดยผสู รางคอื “Binance” ซงึ่ เปนแพลตฟอรมซอ้ื ขายแลกเปล่ียน
สกุลเงินดิจิทัลท่ีใหญท่ีสุดในโลกที่หลายคนนาจะรูจักเปนอยางดี BNB เปนโทเคน
(Token) ที่แตเดิมทํางานบนฐานระบบบล็อกเชนของ Ethereum และภายหลัง
Binance มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงมาใชระบบบล็อกเชนของตนเองคือ “Binance
Chain” หรือ BEP2 ที่ถูกสรางข้ึนใหมเพื่อรองรับการสราง Token ตาง ๆ แทน
Blockchain อื่น ๆ และอํานวยความสะดวกในการประมวลผลการซ้ือขายที่รวดเร็ว
และยังมีความกระจายศูนย ทาํ ใหม ีความปลอดภัยและนาเชือ่ ถอื

10

เริม่ ตนลงทนุ กบั DeFi ตอ งเตรยี มตัวอยา งไร
วันน้ีเราจะมาเลาคราว ๆ วาหากคุณตองการจะลงทุนใน DeFi น้ันมีอะไรบางท่ีคุณควรจะรูบาง ซึ่ง
แมวา DeFi จะใหผลตอบแทนคอนขางดี แตวามันก็ไมใชอะไรที่คนที่ขาดความเขาใจในกระบวนการและความ
เสีย่ งจะเขา มาลงทนุ กับมนั ในบทความนเ้ี ราจะรวบยอดสง่ิ ทีค่ ุณตอ งรูเกีย่ วกับ “การลงทนุ ใน DeFi” ครับ

ทุกวันน้ีมีคนมากมายท่ีลงทุนใน Cryptocurrency โดยที่ทําแคซื้อผานกระดานแลกเปลี่ยนและท้ิงมัน
ไวในน้ัน ซึ่งหากคุณตองการจะลงทนุ ใน DeFi คุณจะตองมี Wallet เปนของตัวเอง คุณตองศึกษาเร่ืองการโอน
Cryptocurrency คา ธรรมเนยี มแตละคร้ัง Network ของ Blockchain แตละชนิด

11

รจู ักวธิ ีเก็บ Cryptocurrency ใน Wallet แตล ะแบบใหป ลอดภัย

เนื่องจากในการลงทุน DeFi นั้นคุณจะตองใช Wallet ของตัวเอง ซ่ึงมันอาจจะมีการใชงานท่ียากกวา
การที่คณุ ซอื้ ขายในตลาดแลกเปล่ยี น ทีส่ ําคัญกวา น้ันคือการเก็บใน Wallet คือการที่สนิ ทรพั ยเปน ของคุณและ
คณุ ตอ งรับผิดชอบมนั ดว ยตวั เอง ถาคณุ รกั ษามันไวไมด มี โี อกาสท่ีคณุ จะเสยี มนั ไปได

ดังน้ันคณุ ตอ งศกึ ษา Wallet แตละประเภท ทําความรจู กั Public key, Private key, รวมไปถึง Seed
และ Passphrase การเก็บรกั ษา การแบง สนิ ทรพั ยลงในหลาย ๆ กระเปาเพอื่ ลดความเส่ยี ง และหากคุณลงทนุ
ดว ยเงินจาํ นวนมาก คณุ ควรจะหา Hardware Wallet มาใชง าน

12

ICO : Initial Coin Offering

การระดมทุนแบบดิจิทัลดวยการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ผานระบบบล็อกเชนตอสาธารณชน โดยผู
ระดมทุนจะเปนผูออกโทเคนดิจิทัล มาแลกกับเงินดิจิทัล (cryptocurrency) การระดมทุนดวย ICO สรุป
สาระสาํ คญั ไดด งั นี้

1. ผูซื้อไดรับเปน " ดิจิทัลโทเคน " แสดงสิทธิไดหลากหลาย เชน สิทธิในสวนแบงจากรายได
หรอื การใชบ ริการ

2. อาจมีเพยี งแนวคดิ หรือแผนธุรกจิ ไมม ีขอ มลู ในอดดี
3. เปนชอ งทางใหผ ูระดมทุนและผลู งทุนมาเจอกนั โดยไมอาศยั ตวั กลาง
4. อาจระดมทนุ ไดจ ากผลู งทนุ ทวั่ โลก
5. มี whitepaper และอาจเปด เผยรหสั ตน ทาง (source code) ของสญั ญาอัจฉรยิ ะ
6. อยรู ะหวา งวางแนวทางการกํากับดูแลสาํ หรับการออกดิจิทัลโทเคนทเ่ี ปนสว นแบงรวมลงทนุ
7. สวนใหญเปนธุรกรรมขามประเทศจึงอาจมีขอ จํากัด ดานความคุมครองและการเยียวยาตาม

กฎหมาย

IPO : Initial Public Offering

การเสนอขายหุนท่ีออกใหมของบริษัทมหาชนจํากัดตอประชาชนในคร้ังแรก IPO เปนหน่ึงในวิธีการท่ี
จะไดมาซึ่งเงินทุน แตการท่ีธุรกิจจะตัดสินใจนําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ นั้น มีสิ่งสําคัญท่ี
จะตองพิจารณาในเบ้ืองตน 3 อยาง ไดแก Growth, Need of Funds และ Sustainability สรุปสาระสําคัญ
ไดด ังนี้

1. ผูซ ้ือไดร ับเปน "หนุ " ทําใหผถู ือมสี ทิ ธิออกเสียงและไดร ับเงนิ ปน ผล
2. บริษัททาํ ธุรกจิ อยแู ลว มฐี านะการเงนิ และผลการดําเนนิ งาน
3. เสนอขายหนุ ผา นตวั กลางอยางผูจัดจาํ หนายหลกั ทรัพย
4. สวนใหญเปน ผลู งทนุ ภายในประเทศที่บรษิ ัทระดมทนุ
5. มหี นงั สอื ช้ีชวน/งบการเงนิ ท่รี ับรองโดยทป่ี รึกษาทางการเงินและผสู อบบัญชี
6. มีเกณฑกาํ กับดแู ลทง้ั กอนและหลังการเสนอขาย
7. ไดรับความคมุ ครองตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย

13

รูปแบบการลงทุนใน Digital Assets และ Platform

การลงทุนในสินทรัพยดิจิทัล (Digital Assets) ไดรับความนิยมและมีผูท่ีสนใจลงทุนมากข้ึนเรื่อย ๆ
เพราะตองการไดผ ลตอบแทนสูงในเวลาอันส้นั แตย ังคงเปน เรอื่ งใหมท่ผี ูลงทนุ ควรศึกษาและทาํ ความเขาใจใหด ี
กอน โดยวันนี้ SCB 10X จะพาไปรูจ กั กับรูปแบบการลงทนุ Digital Assets ท่ีพบบอ ย

‘สนิ ทรพั ยดจิ ิทลั ’ (Digital Assets) ที่เปน ท่รี จู กั กนั ในประเทศไทย มี 2 ประเภท คือ คริปโตเคอรเ รนซี
(Cryptocurrency) หรือสกุลเงินดิจิทัลท่ีรูจักกันดี และรวมถึงเหรียญดิจิทัล (Crypto Token) หรือเรียกอีก
อยางหนึ่งวา โทเคนดิจิทัล (Digital Token) หมายถึงหนวยขอมูลอิเล็กทรอนกิ สที่สรางขึน้ เพื่อกําหนดสิทธิของ
บคุ คลในการรวมลงทุน (Investment Token) หรือสิทธิในการไดม าซ่งึ สินคา และบริการหรือสทิ ธิอืน่ ๆ (Utility
Token) ตามท่ีไดต กลงกับผูออกโทเคน ซ่งึ อาจเสนอขายโทเคนผานกระบวนการ Initial Coin Offering (ICO)

 รูปแบบการลงทุนใน Digital Assets
Yield Farming - เปนการสรางผลตอบแทนจากการนําสินทรัพยหรือเหรียญท่ีเรามีไปฝากไวใน

Liquidity Pool ของ DeFi Platform หรือ Decentralized Exchanges (DEXs) เพื่อใหไดผลตอบแทนพรอ ม
กับเปนการเสริมสภาพคลองใหกับ DeFi Platform ท่ีเลือกลงทุน ซ่ึงผูลงทุนจะไดผลตอบแทนจาก
คาธรรมเนียมที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนกันบน Liquidity Pool และโดยสวนใหญผูลงทุนจะไดรับ
Governance Token ซ่ึงหมายถึง Token ประจําของ DeFi Platform หรือ DEXs นั้นๆ อีกดวย ซึ่งแตละ
Platform จะมีเงอ่ื นไขและรายละเอียดทแ่ี ตกตางกนั ไป

Mining - Mining หรือการขุด เปนกระบวนการหนึ่งของ Digital Assets อยางเชน Bitcoin หรือ
Ethereum ที่ถูกขุดขึ้นมาใหมกอนเขาสูการหมุนเวียน (Circulation) ในระบบเศรษฐกิจของโลก Crypto โดย
ยังคงเปน องคป ระกอบสําคัญของการบาํ รงุ รกั ษาและการพัฒนาเครือขา ย Blockchain สว นการขดุ มีวิธกี ารโดย
ใชคอมพิวเตอรในการแกปญหาทางคณิตศาสตรทมี่ ีความซบั ซอ นสูง ซึ่งตองมี GPU (หนวยประมวลผลกราฟก )
หรือชปิ เซตคอมพวิ เตอรท ี่ออกแบบมาเพ่ือการขดุ ท่เี รียกวา ASIC (Application-Specific Integrated Circuit)

14

Staking - เปนการลงทุนท่ใี ชท รัพยากรเพียงเล็กนอยหากเทยี บกับ Mining ทีต่ องใชไฟฟาและอุปกรณ
คอมพิวเตอรตางๆ โดย Staking เปนรูปแบบการลงทุนที่ใหความสําคัญไปที่การชวยสนับสนุนความปลอดภัย
และการดําเนินงานของเครือขาย Blockchain หรือผูลงทุนมีสวนรวมเปนผูตรวจสอบธุรกรรมโดยการวางเงิน
หรอื เหรียญค้ําประกนั

Staking เปนการวางเงินทุนหรอื เหรียญใน Crypto Wallet หรือ Platform ที่รองรับการ Stake หรือ
ใหเห็นภาพคือ การถือเหรียญใน Cryptocurrency Wallet เอาไวเพื่อรับผลตอบแทน สวนใหญจะทําการ
Stake ไดโดยตรงจาก Crypto Wallet หรือ Exchange ทีร่ องรับ

 Trading หรอื การซอ้ื ขาย

- Spot trading
เปนกระบวนการในการซ้ือขายสินทรัพยดิจิทัล หรือธุรกรรมท่ีเกิดขึ้นในตลาดซ้ือขายทันที โดยท่ี
สินทรัพยดิจิทัลอยางเชน Bitcoin จะถูกโอนโดยตรงระหวางผูเขารวมตลาด (ผูซ้ือและผูขาย) และการซ้ือขาย
ในตลาด Spot ผูลงทุนจะไดเปนเจาของเหรียญน้ัน ๆ อยางเชน หากซ้ือ Bitcoin ก็จะได Bitcoin มาอยูใน
Wallet ของตน จากน้ันผูลงทุนก็สามารถเลือกวิธีการทํากําไรไดดวยตนเอง ไมวาจะขายทํากําไรระยะสั้นหรือ
เกบ็ เหรียญไวเก็งกาํ ไรในระยะยาว

- Leverage
เปนการยืมสินทรัพยในจํานวนที่มากขึ้นกวาที่มีอยูจากระบบเพื่อการเทรดในสินทรัพยนั้น ๆ มีความ
แตกตางกับการซ้ือขายปกติซ่ึงมีสวนทําใหไดรับความนิยมมากในชวงไมก่ีปที่ผานมา โดยการลงทุนวิธีน้ีจะชวย
ใหผูลงทุนเขาถึงเงินทุนไดในจํานวนมากขึ้น หรือกลาวอีกนัยหน่ึง เปนการเปดโอกาสใหนักลงทุนทํากําไรได
มากกวาปกติเมื่อทาํ การเทรดสาํ เรจ็ ซึง่ ในกรณีทขี่ าดทุนกจ็ ะขาดทุนมากกวาปกตเิ ชนกนั

การลงทุนแบบเนนคุณคา Value Investment: VI - เปนกลยุทธการลงทุนที่เกี่ยวของกับการเลือก
สินทรัพยหรือหุนท่ีเหมือนวาจะมีการซ้ือขายนอยกวามูลคาที่แทจริง หรือหมายถึงลงทุนโดยการประเมินมูล
คาท่ีแทจริงของสินทรัพยท่ีจะลงทุน ซึ่งนักลงทุนท่ีลงทุนแบบเนนคุณคาจะพยายามคนควาหาขอมูลของ
สนิ ทรัพยทพี่ วกเขาคดิ วา ตลาดประเมนิ คาสินทรัพยน นั้ ต่ําเกนิ ไป อยา งไรก็ตาม อาจเปน เร่อื งยากทจ่ี ะใชกลยุทธ
การลงทุนแบบเนนคุณคาในตลาด Crypto เนื่องจากไมมีงบการเงิน (Financial Statements) ใหดู แตใน
ตลาด Crypto ก็มีปจจัยพ้ืนฐานเฉพาะของบริษัทที่นักลงทุนสามารถดูเพื่อศึกษาและทําความเขาใจไดเชนกัน
วา แตล ะโครงการทาํ อะไรบาง

15

ซ่ึงพื้นฐานสําคัญในการพิจารณาโครงการใน Cryptocurrency ไดแก White paper, Community,
ความสําเร็จและแผนงาน รวมถึงในตลาด Crypto เริ่มมีจํานวน ICO (Initial Coin Offering) ท่ีเขามาในพ้ืนที่
น้ีเพิ่มมากขึ้น ทําใหผูเช่ียวชาญดาน Crypto สามารถไดทาํ ความเขา ใจไดดีขึ้นวาโครงการที่ประสบความสําเร็จ
ควรมีลกั ษณะเปน อยางไร

 ตัวชวยลดความเสีย่ งในการลงทุน จัดการ Pain Point ของนักลงทุนดา น DeFi

นอกจากความรูตาง ๆ ในดา นการลงทนุ ทค่ี วรศึกษาใหดีแลว การมตี วั ชว ยที่ดแี ละจดั การปญหาตา ง ๆ
ทเี่ ปนอุปสรรคในการลงทุนกม็ ีความสําคญั

นักลงทุนใน Digital Asset หรือดาน DeFi โดยเฉพาะผูที่ทํา Yield Farmimg ซึ่งพบปญหาท่ีจะตอง
เขาใชงานหลากหลายแพลตฟอรมเพ่ือดูพอรตที่ไปลงทุน โดยปกตินักลงทุนจะลงทุนในหลาย Protocols หรือ
หลายฟารม และหลาย Chain อีกท้ังยังเก็บ Digital Assets อยูใน Wallet มากกวา 1 ที่ ซึ่งกระจัดกระจาย
และยากตอการบริหารจัดการสินทรัพยที่มีอยูเพื่อการลงทุน เม่ือตองการวางแผนการลงทุนก็ตองรวบรวม
สินทรัพยที่มีแบบ Manual เชน บันทึกลงในโปรแกรม Excel ทําใหเสียเวลาและตองใชความรอบคอบสูง
รวมถงึ นกั ลงทุนไมสามารถตัดสนิ ใจลงทุนไดท นั ที ในขณะที่การลงทุนในตลาด DeFi เปนการลงทนุ ที่แขง ขนั กับ
เวลาท่นี ักลงทนุ ตอ งซ้อื ขายเร็ว

ดังน้ัน การท่ีไดเห็นทรัพยสินท่ีมีอยูท้ังหมดภายใน Platform เดียว สามารถชวยอํานวยความสะดวก
ใหกับนักลงทุนไดเปนอยางดี ยกตัวอยางเชน Ape Board ท่ีเปน Platform รวบรวมพอรตการลงทุนใน DeFi
แสดงผลในรูปแบบ Dashboard เพื่อดูรายละเอียดการลงทุนของทุก Chain ท่ีไดฟารมไวในแตละ Protocol
ไดในที่เดียว มาพรอมกับมีฟเจอรที่โดดเดนอีกมากมายที่ชวยใหผูลงทุนตัดสินใจลงทุนไดอยางรวดเร็วและ
แมนยาํ

ขัน้ ตอนการลงทนุ ใน Cryptocurrency

• Step 1 : รจู ักเทคโนโลยี Blockchain

เปนระบบการทํางานที่อยูเบ้ืองหลัง สกุลเงินดิจิทัล หรือเปนระบบท่ีทําใหการโอนสกุลเงินดิจิทัล
เกิดข้ึนได ซึ่งความโดดเดนจริง ๆ ของเทคโนโลยีบล็อกเชนอยูตรงที่เคาเปนระบบที่ไมมีตัวกลาง หรือองคกร
ใด ๆ ควบคมุ จงึ ทําใหก ารทําธรุ กรรมดว ยสกลุ เงนิ ดิจทิ ัลนัน้ มีความโปรงใส

16

• Step 2 : รจู ักเหรยี ญดจิ ิทลั ตาง ๆ

แบงเหรียญดิจิทัลออกเปน 3 กลุม ไดแ ก

1. Bitcoin : เปนสกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั แรกของโลก ทสี่ ามารถใชแ ลกเปลี่ยนกนั ไดอ ยางอสิ ระผา นระบบ
Blockchain

2. Altcoin : คําวา Altcoin มาจากการรวมกันของคําวา 'Alternative' ท่ีแปลวาทางเลอื ก และ
'Coin' ที่แปลวาเหรียญ สรุปวามันก็คือเหรียญทางเลือกจากบิทคอยนน่ันเอง โดยแตละ
เหรียญจะมีคุณสมบัติแตกตางกันออกไป เชน เปนสกุลเงิน เปนแพลตฟอรม Smart
Contract ซึ่งปจจบุ นั Altcoin ทว่ั โลกมีมากกวา ถึง 5,000 สกุลดวยกนั !

3. Stable Coin : เปนเหรียญทถ่ี ูกตรึงไวกับสกลุ เงินทีจ่ ับตองได เชน เงินบาท เงินดอลลาร โดย
มีอตั ราสวน 1:1 เชน 1 USDT เทา กับ 32 ดอลลาร

• Step 3 : รูจัก White Paper

ทําใหรูวัตถุประสงคในการสรางเหรียญที่เราจะลงทุน อีกท้ังยังชวยใหเรารูวาเหรียญท่ีเราจะลงทุนนั้น
สรางดวยกลไกอะไร มีความตองการซื้อ (Demand) และความตองการขาย (Supply) เปนอยางไร เพ่ือท่ีเรา
จะไดต ดั สินใจไดวา จะลงทุนในเหรียญนนั้ ดหี รอื ไม

• Step 4 : รขู อดี ขอ เสยี ของตลาด Cryptocurrency

ขอ ดี

- ใชเ งนิ ลงทุนเริ่มตน นอย มเี งินแค 10 บาท ก็สามารถลงทนุ ได
- สามารถถอื ครองเหรยี ญเปน หนว ยยอยได
- สามารถเทรด หรอื ซื้อ-ขาย ไดตลอด 24 ชวั่ โมง ไมมวี นั หยุด
- สภาพคลอ งสงู สามารถฝาก-ถอน เงินไดต ลอดเวลา

ขอเสยี

- ราคามีความผันผวนสงู มาก แนน อนวา ความเส่ยี งกส็ งู มากเชน กัน
- มีโอกาสที่เงินตนจะลดลงหรือสูญเสียเงินตนไดมากถึง 80% แตในทางตรงกันขาม ถาเรามี

ความรูเรื่องการวิเคราะหกราฟทางเทคนิค และรูจักตลาดคริปโทฯเปนอยางดี โอกาสท่ีเราจะ
ไดก ําไรจากตลาดก็มากถงึ 80% เชน กนั เรียกไดวา เปน สินทรัพยที่ High Risk - High Return
- บางประเทศยังไมมกี ฎหมายรองรับ

17

• Step 5 : เลอื กเวบ็ เทรด Cryptocurrency ที่ชอบ

เลือกเว็บเทรดที่ไดรับใบอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
หรอื ก.ล.ต. แลวเทา น้ัน

• Step 6 : หัดวิเคราะหกราฟทางเทคนิค

ส่งิ ทม่ี ือใหมต อ งรเู กี่ยวกราฟทางเทคนิคมาให ดังนี้

- กราฟแทงเทียน (Candlestick Chart)
- Time Frame (TF)
- แนวโนมการเคล่ือนที่ของราคา (Trend) ไดแก แนวโนมขาขึ้น (Uptrend), แนวโนมขาลง

(Downtrend) และแนวโนม เคลื่อนท่ไี ปดานขาง (Sideway)
- ปริมาณการซื้อขาย (Volume)
- แนวรบั -แนวตาน (Support & Resistance)
- อินดิเคเตอร (Indicator) พ้ืนฐานตา ง ๆ เชน EMA, RSI, MACD
• Step 7 : รูจ ักควบคุมความเสย่ี งและบริหารเงินลงทุน

การควบคุมความเสยี่ งตองรจู ักการ Stop Loss และ Cut Loss

- Stop Loss คือ การขายสินทรัพยเมื่อเห็นวากําไรเริ่มลดลง เชน ตอนนี้เราทํากําไรได 50%
แตจู ๆ ราคาของสินทรัพยก็เริ่มลดลงจนทําใหกําไรของเราลดลง เราก็ตองตัดสินใจขายทันที
เพอื่ ไมใ หกาํ ไรของเราลดลงไปมากกวานี้

- Cut Loss คือ การขายสินทรัพย เพ่ือปองกันไมใหขาดทุนมากขึ้นไปอีก เชน ตอนน้ีเรา
ขาดทุนอยู 10% เราก็ตองตดั สนิ ใจขายขาดทนุ ทันที เพอ่ื ปองกันไมใ หมันขาดทนุ ไปมากกวานี้

การบริหารเงนิ ลงทุน

- ควรใชเ งินเยน็ ในการลงทนุ ไมค วรไปกเู งนิ หรอื ยมื เงนิ คนอ่นื มาลงทุน
- แบง เงนิ 10-20% ของเงินเดอื นมาลงทนุ ไมค วรใชเงนิ ทัง้ หมดท่ีมีมาลงทุน
- ซ้อื เหรยี ญแค 60% ของจํานวนเงินท่ีนํามาลงทุน สวนเงนิ ท่เี หลอื จะเกบ็ ไวในกรณฉี กุ เฉนิ เชน

เก็บไวซ้ือเหรียญเดมิ เพ่อื เฉลยี่ ตนทุนลง หรอื นาํ ไปลงทนุ ตอในเหรียญอ่นื ๆ

18

Risk spectrum

 วิธกี ารและความถใ่ี นการซ้ือหรอื ขาย Higher risk
1.ธุรกรรมท่ีไมสามารถติดตามไปยงั blockchain ได
Lower risk 2.ธุรกรรมที่ไมส ามารถกระทบยอดเปน เงินสด
1.ธุรกรรมทตี่ ดิ ตามไปยัง blockchain ได 3.การขายบอยครงั้ โดยนติ บิ คุ คล
2.ธุรกรรมที่สามารถกระทบยอดเปนเงนิ สด
3.การขายไมบอ ยนกั โดยนติ บิ ุคคล

 วธิ ีการรกั ษา Higher risk
1.ผูดูแลบุคคลท่สี ามที่ขาดแคลนของความโปรง ใส
Lower risk
1.การดแู ลตนเอง 2.สินทรัพยดิจิทัลท่ีอยูในเสียงประกาศสาธารณะท่ี
2.สนิ ทรัพยด ิจทิ ัลทีถ่ ือตามเสียงประกาศสาธารณะ ยังถอื สินทรัพยดจิ ิทัลของผูอืน่

 การประเมนิ และการวดั มูลคา

Lower risk Higher risk

1.ตลาดซือ้ ขายสินทรพั ยด จิ ทิ ัล 1.ตลาดท่ไี มเ คล่ือนไหวสําหรบั สนิ ทรัพยดจิ ิทลั

2.ตลาดสินทรัพยดิจิทัลท่ีมีการกําหนดราคาท่ี 2.ตลาดสินทรัพยดิจิทัลที่ไมมีการกําหนดราคาท่ี

โปรง ใส โปรงใส

3.การกําหนดราคาโดยตลาดที่มกี ารควบคมุ 3.การกําหนดราคาโดยตลาดที่ไมมีการควบคุม

 คียสว นตัวและความปลอดภัยทางไซเบอร

Lower risk Higher risk

1.คยี สวนตัวไดรบั การดแู ลใน Cold Storage 1.คียส ว นตัวเก็บไวในทีเ่ ก็บขอมลู รอ น

2.ซอฟตแวรกระเปาสตางคหลากหลายเซ็นดวยการ 2.ซอฟตแวร Wallet ท่ีอนุญาตใหผูลงนามเพียงคน

เขา รหัสท่ีแข็งแกรง เดียวอนมุ ตั กิ ารทาํ ธรุ กรรม

19

 ประเภทสนิ ทรพั ย/ Blockchain

Lower risk Higher risk

1.สินทรัพยดิจิทัลที่เติบโตเต็มท่ีและใชกันอยาง 1.ครบกําหนดนอยลงและการทําธุรกรรมนอยลง

แพรหลายมากขนึ้ ใน blockchain

2.นักพัฒนาโคดจํานวนมาก การเขารหัสเปน 2.นักพัฒนาโคดจํานวนนอย การเขารหัสไมเปด

โอเพนซอรส แหลงทีม่ า

3.โหมดตรวจสอบความถูกตองที่ไมเก่ียวของ 3.โหมดตรวจสอบความถูกตองจํานวนนอยหรือ

จาํ นวนมาก การควบคมุ ไมก ระจาย

4.สินทรัพยดิจทิ ลั ควบคมุ โดยสัญญาอจั ฉริยะ

5.โทเคนท่ีไดร ับการสนบั สนนุ จากสินทรพั ย

กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง

พระราชกําหนดการประกอบธรุ กจิ สินทรัพยด ิจิทลั พ.ศ. 2561

ผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัล หมายถึง ผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลที่ไดรับใบอนุญาตประกอบ
ธุรกิจสินทรัพยด ิจิทลั แตทั้งน้ีมิใหหมายความรวมถงึ ผปู ระกอบธุรกิจสนิ ทรัพยดิจทิ ัลทเี่ ปนธนาคารพาณิชยต าม
กฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิคตามกฎหมายวาดวยการประกันชีวิต บริษัทหลักทรพั ย
ตามกฎหมายวาดวยหลกั ทรพั ยและตลาดหลักทรพั ย ดังตอไปนี้

1. ศนู ยซือ้ ขายสนิ ทรพั ยด จิ ทิ ัล (Digital Asset Exchange)

หมายถึง ศูนยซื้อขายสินทรัพยดิจิทัล หรือ ศูนยกลางหรือเครือขายใด ๆ ที่จัดใหมีข้ึนเพ่ือการซื้อขาย
หรือแลกเปล่ียนสนิ ทรพั ยด จิ ิทัล โดยการจบั คหู รือหาคูส ญั ญาให หรอื การจัดระบบหรืออํานวยความสะดวกใหผู
ซึ่งประสงคจ ะซอื้ ขายหรือแลกเปล่ียนสินทรัพยดจิ ิทัลสามารถทําความตกลงหรอื จับคูกนั ได โดยกระทําเปนทาง
คา ปกติ แตทง้ั น้ไี มรวมศนู ยกลางหรือเครือขายในลกั ษณะที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกําหนด

2. นายหนา ซอ้ื ขายสินทรพั ยด จิ ิทลั (Digital Asset Broker)

หมายถึง นายหนาซ้ือขายสินทรัพยดิจิทัล หรือ บุคคลซ่ึงใหบริการหรือแสดงตอบุคคลทั่วไปวาพรอม
จะใหบริการเปนนายหนาหรือตัวแทน เพื่อซ้ือขายหรือแลกเปล่ียนสินทรัพยดิจิทัลใหแกบุคคลอื่นโดยกระทํา
เปนทางคาปกติและไดรับคาธรรมเนียมหรือคาตอบแทนอ่ืน แตไมรวมถึงการเปนนายหนาหรือตัวแทนใน
ลักษณะทีค่ ณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกาํ หนด

20

3. ผคู า สินทรัพยด ิจิทัล (Digital Asset Dealer)

หมายถึง ผูคาสินทรัพยดิจิทัล หรือ บุคคลซ่ึงใหบริการหรือแสดงตอบุคคลท่ัวไปวาพรอมจะใหบริการ
ซื้อขายหรือแลกเปลย่ี นสนิ ทรัพยดิจิทัลในนามของตนเองเปนทางคาปกติ โดยกระทํานอกศนู ยซอ้ื ขายสนิ ทรพั ย
ดจิ ทิ ลั แตไมร วมถึงการใหบ ริการในลักษณะตามท่คี ณะกรรมการ ก.ล.ต. ประกาศกําหนด

4. คณุ สมบัตขิ องตัวกลางในการซือ้ ขายสนิ ทรัพยด จิ ิทลั

• มีการจัดการความเสย่ี งท่รี ัดกุม
• กรรมการและผูบรหิ ารไมมีลกั ษณะตอ งหาม
• มีระบบปอ งกนั ความขดั แยงทางผลประโยชน
• คํานึงถึงความปลอดภัยทางไซเบอรและทดสอบการเจาะระบบงานทกุ ป

5. หนาทีข่ องตวั กลางในการซ้ือขายสินทรัพยดจิ ิทลั

1) ระบุตัวตนของลกู คา (KYC) และปรับปรงุ ขอมูลใหเปน ปจ จุบนั
2) ตอ งเปดเผยขอมลู

o เง่อื นไขการใหบ รกิ าร
o ชองทางการตดิ ตอ
o สิทธแิ ละหนา ทขี่ องลกู คา
o ความขัดแยง ทางผลประโยชน (ถา มี)
3) มีบุคลากรทีม่ คี วามรูใ หคาํ แนะนํา ไมท าํ ใหล กู คาสาํ คัญผดิ ไมเรง รัดการตดั สินใจ
4) ประเมนิ ความเหมาะสมในการลงทนุ ของลูกคา (Suitabuility test)
5) มีขอตกลงกบั ลกู คา เร่ืองความรับผดิ ชอบตอ ความเสยี หายจากการใหบ รกิ าร
6) Broker หรือ Dealer ตอ งใหบรกิ ารการลงทนุ ที่ไดรบั เงอื่ นไขท่สี ุดตามกลไกตลาด

6. สาระสําคญั และขอ กฎหมาย

หมวด 1 บทท่วั ไป

- หลักทรัพยตามกฎหมายหลกั ทรัพย ฯ ไมอยภู ายใต พ.ร.ก น้ี
- หากผูเสนอขายโทเคนดิจิทัลหรือผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลจะรับคริปโทเคอรเรนชี ใหรับได

เฉพาะท่ีไดมาจากการซื้อขายแลกเปล่ียน หรือที่ไดฝากไวกับผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลที่
ไดรบั อนุญาตตาม พ.ร.ก นี้เทา น้นั

21

หมวด 2 การกาํ กบั และควบคุม

- คณะกรรมการ ก.ล.ต มีหนาท่ีและอํานาจวางนโยบายเก่ียวกับการสงเสริมและพัฒนาตลอดจน
กํากับและควบคุมสินทรัพยดิจิทัล และผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัล รวมถึงการออกและเสนอ
ขายโทเคนดิจิทัล

หมวด 3 การเสนอขายโทเคนดิจทิ ัลตอ ประชาชน
- การเสนอขายโทเคนดิจทิ ลั ตอ ประชาชนตองไดร ับอนญุ าตจากสํานักงาน ก.ล.ต และเสนอขายผาน

ผูใหบริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal) ท่ีไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ก.ล.ต
- ผูเสนอขายโทเคนดจิ ิทัลตองเปนบริษทั จํากดั หรอื บรษิ ทั มหาชนจาํ กดั

หมวด 4 ธุรกิจสนิ ทรัพยดจิ ิทัล

- ผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลตองไดรับการอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคล่ัง
(รมว.) ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
เง่ือนไขในการประกอบธุรกิจที่ คณะกรรมการ ก.ล.ต ประกาศกาํ หนด

- ในกรณีท่ีผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลมีการเก็บรักษาทรัพยสินของลูกคาตองจัดทําบัญชี
ทรัพยสินของลูกคาแยกแตละราย และเก็บรักษาแยกออกจากทรัพยสินของตน โดยทรัพยสินนั้น
ยังคงเปน ทรพั ยส ินของลกู คา

หมวดที่ 5 การเลิกประกอบธุรกิจ การเพิกถอนการอนุญาตประกอบธุรกิจ และการหามการทํา
ธุรกรรม

- กําหนดหลกั เกณฑการเลกิ ประกอบธุรกจิ และการเพิกถอนการอนญุ าตประกอบธรุ กิจและการเพิก
ถอนการอนุญาตประกอบธุรกจิ สินทรัพยดิจิทัลเพ่ือคุมครองประโยชนของผูลงทุน โดน รมว. ตาม
ขอ เสนอแนะของคณะกรรมการ ก.ล.ต มอี าํ นาจส่งั เพิกถอนการอนุญาต

- รมว. โดยความเห็นชอบของ ครม. มีอาํ นาจประกาศหา มผูประกอบธรุ กิจทําธุรกรรม/สั่งระงับการ
ดาํ เนินกจิ การหรอื การดําเนนิ การ ในกรณีท่กี ารทาํ ธุรกรรม การดาํ เนินกจิ การ หรอื การดําเนนิ การ
ใดอาจสงผลกระทบตอเสถียรภาพของระบบการเงินหรือระบบเศรษฐกิจของประเทศอยางมี
นยั สําคัญ

หมวดที่ 6 การปอ งกันการกระทําอนั ไมเปน ธรรมเกี่ยวกับการซอ้ื ขายสินทรพั ยด ิจิทลั

- กําหนดบทบัญญัติเพื่อปองกันมิใหมีการกระทาํ อันไมเ ปนธรรมเก่ียวกับการเสนอขายโทเคนดจิ ทิ ลั
หรือการซอ้ื ขายหรือแลกเปลย่ี นสินทรัพยด ิจิทัล

22

หมวดที่ 7 พนักงานเจา หนา ที่

- กําหนดอํานาจของพนักงานเจาหนาท่ี และใหพนักงานเจาหนาท่ีเปนเจาพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญา

หมวดท่ี 8 โทษทางอาญา

- กาํ หนดโทษทางอาญา

หมวดท่ี 9 มาตรการลงโทษทางแพง

- กําหนดมาตรการลงโทษทางแพง

บทเฉพาะกาล

- ผูประกอบธุรกิจสินทรัพยดิจิทัลท่ีไดประกอบธุรกิจอยูในวันกอนวันที่ พ.รก. นี้ใชบังคับตองยื่นคํา
ขออนุญาตภายใน 90 วันนับแตวันท่ี พ.ร.ก นี้มีผลใชบังคับเพื่อไมใหกระทบตอการดําเนินธุรกิจ
ของผปู ระกอบท่ีไดมกี ารดําเนินการอยกู อ นแลว

ภาษีท่ีเกีย่ วของกบั ภาษสี นิ ทรัพยด ิจิทลั

1. ขอ กฎหมายปจจุบนั

1) พระราชกําหนดสินทรพั ยดจิ ิทัล
2) ประมวลรัษฎากร(พระราชกาํ หนดแกไขเพมิ่ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั 19) พ.ศ.2561)
• ภาษเี งนิ ได
- มาตรา40(4)(ซ)เงินสวนแบงของกําไรหรือผลประโยชนอ่ืนใดในลักษณะเดียวกันที่ไดจากการถือหรือ
ครอบครองโทเคนดจิ ิทลั
- มาตรา 40(4)(ฌ)ผลประโยชนที่ไดรับจากการโอนคริปโทเคอรเรนซีหรือโคเทนดิจิทัลท้ังนี้เฉพาะซึ่งตี
ราคาเปนเงินไดเกินกวาทีล่ งทนุ
• ภาษเี งนิ ไดห ัก ณ ท่ีจาย
- มาตรา 50(2)(ฉ)ใหบุคคลหา งสวนบรษิ ทั สมาคม หรอื คณะบุคคล
- ผูจายเงินได พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ซ) และ (ฌ)หักภาษีเงินไดไวทุกคราวท่ีจายในอัตรารอยละ
15ของเงนิ ได

23

• VAT
- สนิ ทรพั ยดิจิทัลถอื เปน บรกิ ารอิเล็กทรอนกิ สจึงอยใู นบังคบั ตองเสียภาษีมลู คาเพิ่มตามมาตรา 77/2
- การเสนอพระราชฎีกา ยกเวน VAT สําหรับธุรกรรมที่กระทําผาน Exchange ท่ีอยูภายใตการกํากับ

ดูแลของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยรวมถึงสินทรัพยดิจิทัลท่ีออก
โดยธนาคารแหง ประเทศไทย
• ภาษีเงนิ ได
- การจัดประเภทเงินได : ระบุประเภทเงินไดใหครอบครุมกําไร/รายไดจากการโอน/ผลประโยชนอื่นใด
ทเี่ กดิ จากสินทรัพยดิจทิ ลั
- การคํานวณตนทุนโดยใชวิธีที่มาตรฐานการบัญชีรับรอง : คํานวณตนทุนโดยใชวิธีเขากอนออกกอน
หรือวิธีตน ทนุ ถวั เฉลย่ี เคล่ือนที่
- การวดั มลู คาสินทรพั ยดิจิทัล : วัดมลู คา ณ เวลาที่ไดมาหรอื ราคาถัวเฉลยี่ ในวันทไี่ ดมา
- การเสนอกฎกระทรวง สามารถนําผลขาดทุนมาหักลบกับกําไรในปภาษีเดียวกัน สําหรับการโอน
สินทรัพยดิจิทัลท่ีกระทําผาน Exchange ท่ีอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการ
กาํ กบั หลักทรัพยแ ละตลาดหลกั ทรพั ย
• ภาษีเงินไดหกั ณ ท่ีจา ย

การพิจารณาองคป ระกอบการหักภาษี ณ ทจ่ี า ย ดงั นี้

1. สามารถระบุตัวตนผรู บั เงินได และ

2. ทราบจาํ นวนเงนิ ไดท ่ีตอ งหัก ณ ที่จาย

2. ขอเสนอเชิงนโยบายซึ่งตอ งพจิ ารณารวมกับหนวยงานอน่ื ๆ

หนวยงานและสมาคมท่ีเก่ียวของรมกันหารือแนวทางเชิงนโยบาย ในอนาคตในประเด็นตาง ๆ เพื่อ
รวบรวมแกไ ขกฎหมายท่จี าํ เปน อาทิ

1) เสนอแกไ ขประมวลรัษฎากรมาตรา 50 ทเี่ ก่ยี วกับภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย
2) เสนอแกไขกฎหมายใหเปล่ียนประเภทการจัดเก็บภาษีมูลคาเพ่ิมเปนภาษีธุรกิจเฉพาะ (Financial

transaction tax) สําหรบั สนิ ทรพั ยด จิ ทิ ัลท่มี ีลักษณะเชนเดียวกับหลกั ทรพั ย

3. การกาํ หนดรูปแบบของภาษเี งนิ ได ภายใตกฎหมายปจจุบัน ทางกรมสรรพากรไดม แี นวทาง ดังน้ี

1. การจัดเงินไดใหชัดเจน โดยระบุประเภทเงินไดและผลประโยชนใหครอบคลุมกําไร /รายไดจากการ
โอน/ผลประโยชนอ ันใดจากสินทรพั ยดจิ ิทัล

24

2. วิธีการคํานวณตนทุนโดยใชวิธีมาตรฐานการบัญชีรับรอง โดยสามารถทําได 2 วิธี คือ วิธีเขากอนออก
กอน (FIFO) หรือวิธีตนทุนถัวเฉลี่ยเคล่ือนท่ี (Moving Average Cost) โดยสามารถเปลี่ยนวิธีคํานวณ
ในปถ ัดไปได

3. การวดั มูลคาสนิ ทรพั ยดิจทิ ัล ณ เวลาทีไ่ ดม า หรือราคาถัวเฉลี่ยในวนั ทไ่ี ดม ากรมสรรพากรมีแนวทางใน
การคําเนินการผอนปรนภายใตกฎหมายปจจุบัน แบงออกเปนในเร่ืองของภาษีเงินได ภาษีหัก ณ ที่
จา ย และภาษมี ูลคา เพม่ิ มีรายละเอียด ดังนี้
1) การคํานวณภาษีเงินไดพึงประเมิน (กําไร) นั้น ทางกรมสรรพากรจะดําเนินการเสนอใหมีการ
ออกกฎกระทรวงเพื่อใหสามารถนําผลขาดทุนมาหักกลบกับกําไรไดในปภาษีเดียวกัน ซ่ึงผู
ประกอบธุรกิจท่ีอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และ
ตลาดหลกั ทรพั ย (ก.ล.ต) เทา น้ันจะสามารถเขารว มเง่อื นไขได
2) ภาษีหัก ณ ท่ีจายน้ัน กรณีธุรกรรมท่ีกระทําอยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงาน
คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต) จะไมสามารถระบุตัวตนผูรับ
เงิน และไมทราบจํานวนเงินไดท่ตี องหัก ณ ท่จี าย
3) ภาษีมูลคาเพ่ิม กรมสรรพากรใหยกเวน VAT สําหรับธุรกรรมที่กระทําภายใตการกํากับดูแล
ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และสินทรัพย
ดจิ ิทลั ทอ่ี อกโดยธนาคารแหง ประเทศไทย

คํานวณภาษคี ริปโท สาํ หรับบคุ คลทวั่ ไป
การรับรูเปนเงินไดเพ่ือ คํานวณภาษีคริปโท การเปลี่ยนคริปโทเคอรเรนซีหรือโทเคนดิจิทัลท่ีถืออยูไป

เปนเงินสด สินคา บริการ หรือแมแตเปลี่ยนเปนเหรียญคริปโทสกุลอื่น ๆ ใด รวมถึง Stable coin เชน USDT
จะตองรับรูเปนเงินได ณ วันและเวลาท่ีแลกเปลี่ยน แมวาจะไมมีการถอนเงินสดออกมาจาก Wallet หรือโอน
เขา บญั ชีธนาคารเลยกต็ าม

หลักการคํานวณกําไรเพ่ือเสียภาษีคริปโท การคํานวณกําไรจะคํานวณเปน “รายธุรกรรม” ทุกครั้งท่ี
ขายหรือแลกเปล่ียนโดยคํานวณจาก “ราคาขาย-ตนทุนของแตละธุรกรรม = กําไรเพ่ือเสียภาษีคริปโท” ดังน้ัน
ผูเสียภาษีจงึ จําเปนตองเขา ใจวิธคี ิดตน ทุน และราคาขาย ของแตละธุรกรรมเพ่ือใหสามารถคํานวณภาษีคริปโท
ได

25

บรรณานุกรม

กรมสรรพากร. (2565). สรปุ เกณฑภ าษีสนิ ทรัพยดจิ ิทลั ลา สดุ ของกรมสรรพากร. สบื คนเม่ือ 7 มนี าคม 2565,
จาก https://www.thestandard.co/digital-asset-tax

กรงุ เทพธุรกิจ. (2565). คริปโทเคอรเรนซี คอื อะไร ทําความเขา ใจครปิ โทฯ แบบเรง ดว นใน 5 ขอ. สืบคน เมือ่ 7
มีนาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business

กรุงเทพธรุ กจิ . (2564). รูจ กั "Ethereum" สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ัลอนั ดบั สองของโลก. สบื คนเมอ่ื 7 มีนาคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com/business

กรงุ เทพธรุ กิจ. (2565). ครปิ โทเทรนดท ศิ ทางกํากับดแู ลในตางประเทศ. สบื คนเมอ่ื 7 มนี าคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/127935

กรงุ เทพธรุ กิจ มีเดยี จาํ กัด. (2564). Ethereum. สบื คน 7 มีนาคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com

กรงุ เทพธุรกิจ มเี ดีย จาํ กัด. (2564). BNB. สืบคน 7 มีนาคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com

กรุงเทพธรุ กิจ มเี ดยี จาํ กดั . (2564). Aspen coin. สบื คน 7 มีนาคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com

คณะกรรมการกํากับหลกั ทรพั ยและตลาดหลักทรพั ย. (2565). ผปู ระกอบธุรกิจสนิ ทรพั ยดจิ ิทลั . สืบคนเมื่อ 6
มนี าคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Pages/LawandRegulations/DigitalAssetBusiness.aspx

ดํารงเกียรติ มาลา. (2565). สรรพากรแจงชอ งกรอกขอ มูลเงินไดจ ากคริปโตเคอรเรนซใี นแบบย่นื ภาษไี มใ ชเ ร่ือง
ใหม ท่ผี านมาอยูใ นสว นคําอธิบาย. สืบคนเมื่อ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://thestandard.co/cryptocurrency-income-data-

บรษิ ทั บตั รกรงุ ไทย จาํ กดั (มหาชน). (2563). Doge (Dogecoin). สบื คน 7 มีนาคม 2565,
จาก https://www.ktc.co.th

26

บริษทั ศูนยรบั ฝากหลกั ทรัพย (ประเทศไทย) จาํ กัด. (2565). บรกิ ารรบั ฝากหลักทรัพย. สืบคนเม่อื 6 มนี าคม
2565, จาก https://www.set.or.th/tsd/th/service/service2a.html

ปย ะบตุ ร บุญอรามเรอื ง. (ม.ป.ป.). ปญ หาทางกฎหมายเก่ียวกับการเขา ถึงสินทรพั ยด จิ ิทลั และพัฒนาการท่ี
เกยี่ วของ. สืบคน เมอ่ื 7 มีนาคม 2565, จาก
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tulawjournal/article/download/243729/168655/

สุรีย ศิลาวงษ. (2564). รจู กั "BNB" หรือ "Binance Coin" เหรียญสกุลดงั พรอมเหตผุ ลทีค่ วรจับตามอง.
สืบคน เม่ือ 7 มนี าคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business

สํานกั งานคณะกรรมการกาํ กบั หลักทรพั ยแ ละตลาดหลักทรัพย. (2565). ผปู ระกอบธรุ กจิ สนิ ทรพั ยดจิ ทิ ลั .
สืบคนเมอื่ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Pages/LAWANDREGULATIONS/DIGITALASSETBUSINESS

สํานกั งานคณะกรรมการกํากบั หลกั ทรัพยและตลาดหลกั ทรพั ย. (2564). แนวทางการกาํ กับดแู ลสินทรัพย
ดิจทิ ลั ของ ก.ล.ต. กบั มมุ มองของตางประเทศ. สบื คน เมือ่ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Template3/Articles/2564/181264.pdf

สาํ นักงานคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ ละตลาดหลักทรัพย. (2561). สรปุ สาระสาํ คัญของพระราช
กาํ หนดการประกอบธรุ กจิ สนิ ทรัพยด ิจทิ ลั . สบื คน เม่ือ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Documents/DigitalAsset/digitalasset_summary.pdf

สาํ นักงานคณะกรรมการกํากบั หลกั ทรัพยและตลาดหลกั ทรัพย. (2561). รเู ขารูร ะวังรเู ทาทนั สนิ ทรพั ยด ิจิทลั .
สืบคนเมื่อ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Documents/DigitalAsset/DigitalAssetInvestment-Guide.pdf

สาํ นกั งานคณะกรรมการกํากบั หลกั ทรัพยแ ละตลาดหลักทรพั ย. (2564). แนวทางการพจิ ารณาลกั ษณะ
สินทรพั ยดจิ ทิ ลั . สืบคน เม่อื 7 มีนาคม 2565, จาก
https://www.sec.or.th/TH/Documents/DigitalAsset/DA-guideline-DA.pd

สาํ นกั งานกํากับหลกั ทรพั ยและตลาดหลักทรัพย. (2565). Digital asset. สบื คนเม่ือ 7 มนี าคม 2565,
จาก https://www.trinitythai.com/en/Service/Digitalasset/14

27

สาํ นกั งานเศรษฐกิจการคลัง. (2561). พระราชกาํ หนดการประกอบธุรกจิ สนิ ทรัพยดจิ ทิ ัล พ.ศ. 2561. สืบคน
เมื่อ 30 มกราคม 2565, จาก https://www.fpo.go.th/main/getattachment/News/Press-
conference/8711/infographic-ประกอบแถลงขา ว-พรก-สนิ ทรพั ยด จิ ิทลั -15052561-
final.pdf.aspx

สํานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2561). พระราชกาํ หนดการประกอบธรุ กิจสินทรพั ยด ิจทิ ัล พ.ศ. 2561.
สบื คนเมือ่ 30 มกราคม 2565, จาก
http://web.krisdika.go.th/lawChar.jsp?head=3&item=3&process=showTitleOfLaw&id

อฏั ฐท องใหญ อศั วานันท. (2565). สนิ ทรพั ยดิจทิ ัล คอื อะไร เขาใจการลงทุนงายๆภายใน 5 นาที. สืบคนเมือ่ 7

มนี าคม 2565, จาก https://techsauce.co/tech-and-biz/se-digital-crypto-token-
investment

Altcoin. (2564). เหรยี ญ MATIC (Polygon Chain) คืออะไร ? มโี ปรเจคอะไรนา สนใจบา ง. สบื คน เม่อื 7
มีนาคม 2565, จาก https://www.flowsapp.com

Blockdit. (2565). บทิ คอยน. สืบคน เม่ือ 24 มีนาคม 2565, จาก https://www.blockdit.com/

CEO. (2022). Validator, สบื คน เมอื่ 6 มนี าคม 2565,
จาก https://www.ceochannels.com/dictionary-v/validator

Coinbase. (2565). USD Coin (USDC). สืบคน 7 มีนคาม 2565,
จาก https://www.coinbase.com

Kasamsak Wongsanin. (2564). Coinlist ประกาศลสิ ตเ หรยี ญ Avalanche (AVAX) แลว เม็ดเงินนับลาน

ดอลลารเ ตรยี มไหลเขา. สืบคน เมอื่ 7 มนี าคม 2565, จาก
https://siamblockchain.com/2021/12/26/avalanche-avax

KUDUN AND PARTNERS. (2564). การเสยี ภาษเี งนิ ไดกับสนิ ทรพั ยด ิจทิ ลั ของประเทศไทย. สบื คนเมอื่ 7
มนี าคม 2565, จาก https://www.kap.co.th/thought-leadership/tax-law-on-digital-asset-
in-thailand

28

MGR Online. (2565). PROEN รว มเปน Validator Node ของ Bitkub Chain เรม่ิ Q2 น้ี. สบื คน เมือ่ 5
มีนาคม 2565, จาก https://mgronline.com/stockmarket/detail/9640000048542

Narisara Suepaisal. (2565). Digital Asset คืออะไร?. สบื คนเมื่อ 7 มนี าคม 2565,
จาก https://www.thematter.co/futureverse/futureword- digital-asset

Nattapon Nimakul. (2565). ปรชั ญาการออกแบบ Ethereum 2.0 ดว ยระบบ Validation. สบื คน เมื่อ 5
มีนาคม 2565, จาก https://medium.com/kulapofficial/ปรัชญาการออกแบบ-ethereum-2-0-
ดว ยระบบ-validation-cca52496e17d

ONEPUNCH. (2565). อยากลงทนุ ใน “Cryptocurrency” ตองเรม่ิ ยงั ไง?. สืบคน เมอ่ื 7 มนี าคม 2565,
จาก https://www.wongnai.com/articles/investing-in-cryptocurrency

Posttoday. (2565). สรรพากรชีช้ ัดจัดเก็บภาษีสนิ ทรพั ยดิจทิ ลั ตามกฎหมายกาํ หนด. สืบคนเม่ือ 7 มนี าคม
2565, จาก https://www.posttoday.com/finance-stock/news

Siam Blockchain. (2565). Bitcoin. สืบคน เม่ือ 7 มนี าคม 2565,
จาก https://siamblockchain.com/bitcoin

Siam Blockchain Copyright. (2565). Bitcoin. สบื คน 7 มนี าคม 2565,
จาก https://siamblockchain.com/bitcoin

THE STANDARD. (2565). สรุปภาษีคริปโตแมแ ตสายขุดกต็ องเสีย สว น ‘ผูซื้อเหรยี ญ’ และ ‘รานคา ทรี่ ับ’ สอ
ตองทาํ หนา ทห่ี ัก ณ ทจี่ า ย 15% นาํ สง สรรพากร. สืบคน เมอ่ื 7 มีนาคม 2565, จาก
https://thestandard.co/cryptocurrency-tax-summary

TODAY Bizview. (2565). สรปุ ภาษีครปิ โต สรรพากรจะใหเ อาขาดทุนหักลบกาํ ไรได และยกเวนหักภาษี ณ ท่ี
จาย15%. สืบคน เมื่อ 7 มีนาคม 2565, จาก https://workpointtoday.com/cryptocurrency-tax

TrueID. (2565). Tether (USDT). สบื คน 7 มนี าคม 2565,
จาก https://news.trueid.net

Zipmex. (2563). บทิ คอยน คืออะไร. สบื คนเมอ่ื 24 มนี าคม 2565, จาก https://zipmex.com/


Click to View FlipBook Version