The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teerapat_qak, 2021-11-16 06:51:45

ปัญญาประดิษฐ์

ปัญญาประดิษฐ์

AI ปัญญาประดษิ ฐ์
Artificial Intelligence

นายธรี ภทั ร หลาย๊ะ
รหัสนกั ศกึ ษา 6211135020
1143702 วชิ าการพฒั นาและผลิตสือ่ การสอนอิเล็กทรอนกิ ส์
ภาคการศกึ ษาที่ 1

สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์
คณะครศุ าสตร์

มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช

สารบญั 1
2
ระบบปญั ญาประดษิ ฐ(์ AI) 3
ความเปน็ มาของปญั ญาประดษิ ฐ์ 6
แนวคดิ ดา้ นระบบปญั ญาประดษิ ฐ์ 7
นวัตกรรมทใี่ ชป้ ญั ญาประดษิ ฐ์
การทางานของหนุ่ ยนต์

1

ระบบปญั ญาประดษิ ฐ์(AI)

ระบบปญั ญาประดษิ ฐ์ คืออะไร

AI : Artificial Intelligence หรอื
ปญั ญาประดิษฐ์เปน็ ศาสตรแ์ ขนงหน่ึงของ
วทิ ยาศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ ที่เก่ียวขอ้ งกับ
วธิ กี ารทาใหค้ อมพวิ เตอรม์ คี วามสามารถ
คล้ายมนุษยห์ รอื เลยี น แบบพฤติกรรมมนษุ ย์
โดยเฉพาะความสามารถในการคิดเองได้ หรอื
มปี ญั ญาน่นั เอง ปญั ญานม้ี นษุ ยเ์ ปน็ ผู้สรา้ ง
ใหค้ อมพวิ เตอร์ จงึ เรยี กวา่ ปญั ญาประดิษฐ์
มุมมองต่อ AI ท่แี ต่ละคนมอี าจไม่เหมอื นกัน
ข้ึนอยกู่ ับวา่ เราต้องการความฉลาดโดย
คานึงถึงพฤติกรรมทมี่ ตี ่อส่ิงแวดลอ้ มหรอื
คานึงการคิดได้ของผลผลิต AI

2

ความเปน็ มาของปญั ญาประดษิ ฐ์

ปญั ญาประดิษฐ์ได้เรม่ิ การ ศึกษาในปี
ค.ศ.1950 โดยอาจารยจ์ าก ประเทศอเมรกิ า
และองั กฤษ นยิ ามของปญั ญาประดษิ ฐ์ไดถ้ ูก
กาหนดข้ึนในปี 1956 โดย John McCarthy
ได้มกี ารศกึ ษา และพฒั นางานด้าน
ปญั ญาประดิษฐ์และไดม้ ีการตั้งเกณฑ์
ทดสอบเพ่อื ทจ่ี ะระบุวา่ เครอ่ื งจกั รกลหรอื
ระบบคอมพวิ เตอรส์ ามารถคิดได้เหมือน
มนุษยอ์ อกมาโดย Alan Turing นัก
คณติ ศาสตรช์ าวองั กฤษ แต่จนบัดน้ี
เคร่อื งจกั รกลหรอื ระบบคอมพวิ เตอรก์ ็ยงั ไม่
สามารถผ่านเกณฑ์ของ Alan Turing ได้
เลย ณ ปจั จุบนั ระบบปญั ญาประดิษฐ์ยงั ไม่
สามารถสรา้ งคาตอบท่แี ปลกใหม่หรอื คาตอบ
ทมี่ า จากการคิดค้นข้ึนมาใหมข่ องระบบเอง
ได้ เพยี งแต่เปน็ การลอกเลยี นความสามารถ
ของมนุษยไ์ ดเ้ ท่านั้น

3

แนวคิดดา้ นระบบปัญญาประดษิ ฐ์

แนวคดิ การรบั รู้

5 ประการสาหรบั perception
ปัญญาประดิษฐ์
การแทนความรแู้ ละ
การใชเ้ หตผุ ล

representation and
reasoning

การเรยี นรู้

learning

การปฏสิ มั พนั ธอ์ ยา่ ง
เป็นธรรมชาติ

natural interaction

ผลกระทบทางสังคม

Social impact

4

1.การรบั รู้ (perception) – ปญั ญาประดษิ ฐ์
จะเรยี นรผู้ า่ นอปุ กรณ์เซนเซอร์ เชน่
กลอ้ ง ไมโครโฟน เพ่อื น าไปประมวลผล และ
ต้องเขา้ ใจส่ิงท่รี บั รนู้ ้ันดว้ ย
2. การแทนความรแู้ ละการใหเ้ หตุผล
(representation and reasoning) –
ปญั ญาประดิษฐ์สามารถเก็บองค์ความรใู้ น
รปู แบบของตัวแทนความรู้
(knowledge representation) ตัวอยา่ ง
คือ กฎการตัดสินใจจากความรู้
ของผู้เชยี่ วชาญในเร่อื งต่างๆ จากนั้นใช้
ตัวแทนความรทู้ ่ีมีอยนู่ มี้ าหาขอ้ สรปุ โดย
ใชก้ ารอนมุ าน (inference) เชน่
ปญั ญาประดษิ ฐ์มตี ัวแทนความรขู้ องการข้าม
ถนน (ค่มู ือการขา้ มถนน) เม่ือมกี ารรบั
ข้อมูลน าเข้ามา ปญั ญาประดษิ ฐ์ จะไป
ตรวจสอบวา่ ข้อมูลน าเขา้ ตรงกับตัวแทน
ความรใู้ ด (สถานการณ์ตรงกับกฎการ
ขา้ มถนนข้อใดในค่มู อื ) จากนั้นจงึ ตัดสินใจวา่
จะข้ามถนนหรอื ไมข่ ้ามถนน

5

3.การเรยี นรู้ (learning) – ปญั ญาประดิษฐ์
ทีใ่ ชอ้ ลั กอรทิ ึมการเรยี นรขู้ องเครอ่ื ง
(machine learning) จะเรยี นรจู้ ากขอ้ มูล
ขนาดใหญ่ (Big Data) โดยสรา้ ง
ตัวแบบ (model) จากขอ้ มูลฝึกสอน
(training data) ทมี่ นษุ ยน์ าเข้าไป หรอื
เปน็ ขอ้ มูลจากเครอ่ื งจกั รท่สี รา้ งขอ้ มูล
ฝกึ สอนเองได้ เชน่ การพฒั นาตัวแบบ
ปญั ญาประดษิ ฐ์เพ่อื ใชจ้ าแนกเพศจาก
รปู ภาพใบหน้าคน โดยอาศัยขอ้ มูลฝกึ สอนที่
เปน็ รปู ใบหนา้ คนเพศชาย-หญงิ จานวน
มากๆ
4. การปฏิสัมพนั ธอ์ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ
(natural interaction) –
ปญั ญาประดิษฐ์ต้องเขา้ ใจปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง
มนุษยก์ ับมนษุ ย์ เพ่อื สรา้ ง
ปญั ญาประดิษฐ์ใหม้ ปี ฏิสัมพนั ธก์ ับมนษุ ยไ์ ด้
อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ
5. ผลกระทบทางสังคม (social impact) –
ปญั ญาประดษิ ฐ์ต้องค านึงถึง
จรยิ ธรรม (ethics) ความปลอดภัย
(security) และความเปน็ ส่วนตัว
(privacy) เน่ืองจากปญั ญาประดิษฐ์อาจ
ตัดสินใจหรอื ท าในสิ่งท่ีส่งผลกระทบต่อ
มนษุ ยไ์ ด้

6

นวตั กรรมท่ใี ชป้ ัญญาประดษิ ฐ์

7

การทางานของหนุ่ ยนต์

การทางานของหนุ่ ยนตแ์ บง่ ออกเปน็ 3 สว่ น คือ

สว่ นพลงั งาน สว่ นระบบจกั รกล ส่วนของระบบ
ควบคุม

8

ระบบพลงั งาน
การใหพ้ ลังงานกับหนุ่ ยนต์ เราสามารถนา
พลงั งานหลายๆรปู แบบมาใช้ เชน่ พลงั งานไฟฟา้
พลังงานไฟฟา้ สามารถใชง้ านไม่ยาก และสามารถ
เปล่ยี นเปน็ พลงั งานอ่นื ๆได้ เชน่ เปลีย่ นจากพลงั งาน
ไฟฟา้ มาเปน็ พลังงานกล เปลยี่ นจากพลงั งานไฟฟา้ มา
เปน็ พลังงานแสง เปลย่ี นเปน็ พลังงานเสียง และ

เปลีย่ นเปน็ พลงั งานความรอ้ น

9

ระบบจกั รกล
หนุ่ ยนต์แต่ละยคุ แต่ละรนุ่ จะมกี ารพฒั นา
อยา่ งไม่หยดุ ยงั้ ซ่งึ มีการเลยี นแบบการเคล่อื นไหว
ของมนษุ ยแ์ ละสัตวต์ ่างๆ แต่มนษุ ยแ์ ละสัตวแ์ ต่ละ
ชนดิ มกี ารเคล่อื นทีแ่ ตกต่างกัน ดังนนั้ การท่จี ะทาให้
การเคล่อื นไหวของสัตวต์ ่างๆอยใู่ นหนุ่ ยนต์ตัวเดยี ว
ถือเปน็ เร่อื งทยี่ าก เพราะการออกแบบกลไกต่างๆ
จะต้องสอดคลอ้ งกับการเคล่ือนไหวนน้ั ๆไป

หุ่นยนตจ์ าก
ภาพยนตร์
ทรานสฟ์ อรเ์ มอร์ส

10

ระบบควบคมุ
ระบบนจ้ี ะทาหน้าท่ีสง่ั งานกลไกต่างๆให้
เคล่อื นไหวหรอื หยุดนิ่งได้ ระบบควบคมุ จะ
แบง่ ออกเป็นสามส่วน คือ สว่ นประมวลผล
สว่ นหนว่ ยความจา และส่วนของความคิด

ที่มา

หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
(วิทยาการคานวณ) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบนั ส่งเสริมการ
สอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

Artificial Intelligence


Click to View FlipBook Version