1
โครงสรา้ งและหน้าท่ีของเซลล์
สาหรับนักเรยี น
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต ท้ังสิ่งมีชีวิตเดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ที่ประกอบด้วยเซลล์ต่าง ๆ
ทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เซลล์จะทาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัยการทางานร่วมกันของโรง
สร้างตา่ ง ๆ ของเซลล์
ทฤษฎีเซลล์ เสนอโดย ชวันน์กับชไลเดน มีใจความว่า “ส่ิงมีชีวิตท้ังหลายย่อมประกอบไปด้วยเซลล์และ
ผนังเซลลแ์ ละผลิตภัณฑ์ของเซลล์ และเซลลค์ ือหนว่ ยพ้ืนฐานทเ่ี ลก็ ท่ีสุดของสิ่งมีชวี ิตท่ีมีการจดั ระบบ (นั่นคือมี
Oraganuzation)”
โครงสร้างพ้ืนฐานของเซลล์ยูคารีโอตแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ีห่อหุ้มไซโทพลาสซึม และ
นวิ เคลยี ส ซ่งึ ในไซโทพลาซึมจะพบโครงสรา้ งขนาดเลก็ ทีม่ ีลักษณะแตกต่างกันและทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะเรยี กวา่ ออร์
แกเนลล์ (Organelle)
เซลล์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ เซลล์โพรแคริโอต (Prokaryotic call) และเซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic
cell)
1. สิ่งมีชีวิตโพรแคริโอต (Prokaryote) ประกอบด้วยเซลล์ท่ีไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส และออร์แกเนลล์ที่มี
เยอ่ื หมุ้ บริเวณที่ DNA อยู่ในไซโทตลาสซึม เรยี กวา่ นิวคลีออยด์ (Nucleoid) ตัวอยา่ งเชน่ แบคทเี รีย สาหร่าย
สีเขียวแกมนา้ เงิน เปน็ ตน้ (ดงั ภาพท่ี 1 และ2)
ภาพท่ี 1 แบคทีเรยี Bacillus subtillis ภาพที่ 2 สาหรา่ ยสเี ขียวแกมนา้ เงิน (Anabaena sp.)
ท่ีมา: algaeresearchsupply.com ทมี่ า: microbe-canvas.co
By ครูพีต่ น้ โอค๊
2
โพรแครโิ อต (Prokaryote) แบ่งเปน็ 2 กล่มุ คือ
1. Eubacteria ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่อยู่ในสภาพแวดล้อมธรรมดาท่ัวไปทั้งในดิน น้า อากาศ
อาหาร และในร่างกายสิ่งมีชีวิตอื่น และสามารถพบได้ในสิ่งแวดล้อมท่ีค่อนข้างพิเศษ คือ สามารถพบได้ท้ังใน
น้าเค็ม น้าจืด นา้ กร่อย ในธารนา้ แขง็ แหลง่ นา้ พรุ อ้ น (ดงั ภาพท่ี 3)
2. Archeabacteria อาร์เคียแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียท่ีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายเป็นพิเศษ เช่น
ร้อนจัด หรือมีความเป็นกรดหรือเบสสูง หรือบริเวณท่ีมีสารพิษสูงเชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมีเย่ือหุ้ม
เซล์ท่ีแปลกออกไป กลุ่มของอาร์เคียที่สาคัญได้แก่ อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) พบ
ในนาเกลือ เพราะชอบความเค็ม อาร์เคียท่ีชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้าที่มี
อณุ หภูมิสูงกว่า 100oC หรอื ในแหลง่ น้าท่ีเปน็ กรด ทาใหแ้ หล่งน้าที่เปน็ กรดมีสีเขียว อารเ์ คียทีช่ อบอยู่ในท่ีๆไร้
ออกซิเจน เช่นในน้าลกึ ในโคลนและในดินกน้ บอ่ ในทางเดินอาหารสง่ิ มชี ีวิต (ดงั ภาพท่ี 3)
ภาพท่ี 3 โครงสร้าง Eubacteria และArcheabacteria
ท่ีมา: www.seoclearly.com
By ครูพ่ีต้นโอค๊
3
2. ส่ิงมีชีวิตยูคาริโอต (Eukaryote) คือ ส่ิงมีชีวิตท่ีประกอบด้วยเซลล์ท่ีมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส และออร์
แกเนลท่ีมีเยื่อหุ้มหลากหลายชนิด ทาให้เซลล์แบบนี้มีการแบ่งแต่ละส่วนของเซลล์ไปทาหน้าท่ีเฉพาะ
ตัวอยา่ งเชน่ พารามเี ซียม อะมบี า เซลล์เมด็ เลอื ด (ดังภาพที่ 4 และ5)
ภาพท่ี 4 พารามีเซยี ม ภาพที่ 5 อะมีบา
ทมี่ า: topicstock.pantip.com ทมี่ า: www.wikiwand.com
โครงสรา้ งของเซลลส์ ัตว์ (Animal cell structure)
ภาพท่ี 6 โครงสรา้ งของเซลล์สัตว์ (Animal cell structure)
ท่มี า: ทวีศกั ด์ิ เปีย่ มทพั
By ครูพตี่ น้ โอค๊
4
โครงสรา้ งของเซลลพ์ ืช (Plant cell structure)
ภาพท่ี 7 โครงสรา้ งของเซลล์พชื (Plant cell structure)
ทีม่ า: ทวศี กั ด์ิ เปย่ี มทพั
1. ส่วนที่หอ่ หมุ้ เซลล์
1.1 เยื่อหุ้มเซลล์ ((Cell Membrane / Plasma membrane
มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ส่วนใหญ่เป็นสารพวกโปรตีนและไขมัน
มีโครงสร้างแบบ fluid mosaic model ประกอบด้วย c ไขมันพวกฟอสโฟลิพิดสองช้ัน โดยหันส่วนท่ีไม่ชอบ
นา้ (Hydrophobic) ชนกนั และหันส่วนท่ี ชอบน้า (Hydrophilic) ออกข้างนอก (ดงั ภาพท่ี 8)
ภาพที่ 8 Phospholipid bilayer
ที่มา: scimath.org
By ครูพ่ีตน้ โอค๊
5
Cholesterol (เพิ่มความแข็งแรงและยืดหยุ่น) Protein (ทาหน้าที่เป็นช่องทางลาเลียงสารเข้าออกเซลล์
ทาให้เซลล์เกาะติดกัน และเก่ียวกับรูปร่างของเซลล์) Carbohydrate (ทาหน้าที่สื่อสารระหว่างเซลล์ ถ้า
คารโ์ บไฮเดรตจับกับโปรตนี เรยี กวา่ Glycoprotein หรอื ถา้ จบั กบั ไขมันเรียกว่า Glycolipid)
หน้าที่ของเย่ือหุ้มเซลล์ คือ แยกเซลล์ออกจากส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ เซลล์ คัดเลือกสารท่ีจะผ่านเข้า-ออก
จากเซลล์ และเปน็ ส่วนสาคญั สาหรบั การติดต่อระหว่างเซลลด์ ้วยกนั (ดงั ภาพท่ี 9)
ภาพที่ 9 โครงสรา้ งของผนกั เซลล์
ท่ีมา: scimath.org
1.2 ผนังเซลล์ (Cell wall)
พบในพืช ฟังไจ สาหร่าย แบคทีเรีย แต่ไม่พบในเซลล์สัตว์ เซลล์พืชมีผนังเซลล์ล้อมรอบเย่ือหุ้มเซลล์ มี
หน้าท่ีให้ความแข็งแรง ป้องกันอันตรายและ ช่วยให้เซลล์คงรูปอยู่ได้ ผนังเซลล์พืชมี 2 ชั้น ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
(Primary cell wall) พบมากในเซลลพ์ ืชทกี่ าลงั เจริญเติบโต หรือเซลล์ที่มีชวี ติ ผนังเซลลท์ ุติยภูมิ (Secondary
cell wall) เกดิ ภายหลงั ผนงั เซลลป์ ฐมภมู ิ ถา้ พอกหนาข้นึ จะทาให้เซลล์ตาย เช่น ไฟเบอร์ และเวสเซล
(ดังภาพท่ี 10 และ11)
By ครูพ่ีตน้ โอค๊
6
ภาพที่ 10 ผนงั เซลล์ (Cell wall)
ที่มา: scimath.org
ภาพท่ี 11 ผนังเซลล์ (Cell wall)
ที่มา: scimath.org
ระหว่างเซลล์พืชมีช้ันเชื่อมระหว่างเซลล์เรียกว่า Middle lamella (เกิดขณะมีกระบวนการแบ่งเซลล์)
และระหวา่ งเซลล์พชื สองเซลล์มีช่องเลก็ เปิดสู่เซลลท์ ี่ตดิ กัน เรยี กว่า Plasmodesmata สารสาคญั ในผนังเซลล์
ของพืชและสาหร่าย ส่วนใหญ่ คือ เซลลูโลส (Cellulose) อาจมีลิกนิน และเพคติน ในแบคทีเรียและไซยาโน
แบคทีเรยี (สาหรา่ ยสเี ขียวแกมน้าเงนิ ) ประกอบด้วยสารพวก Peptidoglycan และในฟังไจเปน็ Chitin
** เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่มีสารเคลือบเซลล์ล้อมรอบเย่ือหุ้มเซลล์ ส่วนใหญ่เป็นสารพวกโปรตีน และ
คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ คอลลาเจน อีลาสติน และไกลโคโปรตีน เป็นต้น การเชื่อม (Junctions) ของเซลล์สัตว์มี
By ครพู ต่ี ้นโอค๊
7
3 รูปแบบ คอื Tight junctions, Desmosomes หรอื Anchoring junctions แบะGap junctions (คล้ายกับ
Plasmodesmata ของพืช) (ดังภาพท่ี 12)
ภาพท่ี 12 ผนงั เซลล์ (Cell wall)
ท่มี า: scimath.org
2. ไซโทรพลาสซึม (Cytoplasm)
2.1 ไซโทซอล (Cytosol) / ไซโทพลาสมคิ อินคลชู นั (Cytoplasmic inclusion)
คือส่วนที่เป็นของเหลวในไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) ซ่ึงเป็นส่วนท่ีไม่มีชีวิต เช่น น้า โปรตีน
คารโ์ บไฮเดรต ไขมัน (ดังภาพท่ี 13)
ภาพที่ 13 ไซโทซอล (Cytosol)
ท่ีมา: scimath.org
จากภาพ เปรียบเทียบให้เห็นว่า ถ้ากล่าวถึง Cytoplasm หมายถึง ส่วนที่อยู่นอกนิวเคลียสท้ังหมด ท้ัง
ของเหลวและของแขง็ แต่ถ้ากลา่ วถึง Cytosol หมายถงึ สว่ นของของเหลวท่ีอยู่ใน Cytoplasm เท่านน้ั
By ครูพ่ตี ้นโอค๊
8
2.2 นวิ เคลียส (Nucleus)
เปน็ ส่วนทีม่ สี ารพันธกุ รรมอยู่ มหี น้าทค่ี วบคมุ ลักษณะของสิ่งมชี วี ิตและเมแทบอลิซมึ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในเซลล์
ประกอบด้วยสว่ นต่าง ๆ ดังนี้
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane/Nuclear envelope) มีลักษณะเป็นเยื่อหุ้มสองช้ัน
โดยระหว่างเย่ือหุ้มช้ันนอกและชั้นในมีช่องว่างเรียกว่า Perinuclear space ที่เยื่อหุ้มมีช่อง Nuclear pore
กระจายอย่รู อบนิวเคลียส และมไี รโบโซมเกาะอยรู่ อบนอก
2. สารพันธุกรรม คือ DNA ซึ่งจับอยู่กับโปรตีน ขดกลายเป็นเส้นไยโครมาทิน (Chromatin) และ
จะขดส้ัน พร้อมทงั้ เป็นแทง่ โครโมโซมเมื่อเกดิ การแบง่ เซลล์
3. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เป็นก้อนอยู่ในนิวเคลียส สารที่พบในนิวคลีโอลัส คือ RNA ไรโบโซม
กบั โปรตีน มหี น้าที่สงั เคราะห์ไรโบโซม ขณะแบง่ เซลล์จะสลายไป และสรา้ งข้นึ ใหม่เม่ือแบง่ เซลลเ์ สรจ็
4. นิวคลีโอพลาสซึม (Nucleoplasm) คือบริเวณที่เหลือภายในนิวเคลียส มีสารพวก เอนไซม์ท่ีใช้
สงั เคราะห์ RNA DNA และ Coenzym (ดังภาพท่ี 14)
ภาพที่ 14 โครงสร้างของนิวเคลยี ส
ทม่ี า: scimath.org
2.3 ออรแ์ กเนลล์ (Organelle)
สว่ นที่มชี วี ิตในไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) โดยจะมีหน้าที่เฉพาะอยา่ งในเซลล์ จาแนกตามลักษณะการมี
เย่อื หุ้ม ได้ดังน้ี
2.3.1 ออร์แกเนลล์ (Organelle) กลุ่มที่ไม่มเี ยอ่ื หุ้มเซลล์
1. ไรโบโซม (Ribosome) ทาหน้าท่ีสังเคราะห์โปรตีน ประกอบด้วยหน่วยย่อย (Subunit)
สองหน่วย แต่ละหน่วยย่อยมีชนิดของ RNA ไรโบโซมกับโปรตีนที่แตกต่างกัน พบบริเวณเย่ือหุ้มนิวเคลียส
By ครพู ต่ี น้ โอ๊ค
9
(Nuclear membrane) บน RER (สรา้ งโปรตนี สง่ ออกนอกเซลล์ ) อยู่ใน Cytosol (สรา้ งโปรตนี ใช้ในเซลล)์ ใน
Mitochondria และ Chloroplast (สร้างโปรตนี ใช้เองใน Mitochondria และ Chloroplast ตามลาดบั )
- ใน Prokaryotic cell ไรโบโซมมีขนาด 70S หน่วยยอ่ ยใหญ่ขนาด 50S และหนว่ ยยอ่ ยเล็ก ขนาด 30S
- ใน Eukaryotic cell ไรโบโซมมขี นาด 80S หน่วยย่อยใหญข่ นาด 60S และหนว่ ยย่อยเล็กขนาด 40S
** S = Svedberg unit of sedimentation coefficient ซ่งึ เป็นค่าความเรว็ ในการตกตะกอน (ดังภาพ
ที่ 15)
ภาพที่ 15 โครงสร้างของไรโบโซม
ท่มี า: scimath.org
2. Cytoskeleton เส้นใยโปรตีนซ่ึงมีบทบาทสาคัญในการทาให้เกิดรูปร่างเซลล์ การ
เคลื่อนที่ทั้งของเซลล์และออร์แกเนลภายในเซลล์ การแบ่งเซลล์ มี 3 ชนิด โดยแต่ละชนิดมีขนาดและโปรตนี ท่ี
เปน็ สว่ นประกอบต่างกนั (ดงั ภาพที่ 16)
- ไมโครทบู ูล (Microtubule) เกดิ จากโปรตีน Tubulin มีลกั ษณะเปน็ ท่อกลวง พบในไซ
โทซอล (Cytosol) ใตเ้ ย่อื หุ้มเซลล์ เปน็ ส่วนประกอบของ เซนทริโอล (Centriole) แบซอลบอดี (Basal body)
เส้นใยสปินเดิล (Spindle fiber) ซเี ลีย (Cilia) และแฟลกเจลลา (Flagella) (ดังภาพท่ี 17)
- Intermediate filament เกิดจากโปรตีนหลายชนิดขึ้นอยู่กับหน้าที่ เช่น โปรตีน
Keratin พบใน ผม ขน เขา เป็นตน้ Tonofilament เกิดจาก โปรตนี Cytokeratin ทาหน้าท่ีต่อตา้ นตอ่ แรงกด
พบทเ่ี ย่อื บุผวิ (ดงั ภาพท่ี 17)
- ไมโครฟลิ าเม้น (Microfilament) เกิดจากโปรตนี แอคติน (Actin) เกย่ี วข้องกับรูปร่าง
เซลล์ การหดตวั ของกลา้ มเน้ือ โดยทางานร่วมกับโปรตีน Myosin การไหลของไซโทพลาสซมึ (Cyclosis) การ
ยน่ื เท้าเทียม (Pseudopodium) การแบง่ ไซโทพลาซมึ ของสตั ว์ (Cytokinesis) (ดงั ภาพที่ 17)
By ครูพต่ี น้ โอค๊
10
ภาพที่ 16 Cytoskeleton
ท่มี า: scimath.org
ภาพที่ 17 ประภท Cytoskeleton
ทม่ี า: scimath.org
3. เซนทริโอล (Centriole) ประกอบด้วยไมโครทูบูล (Microtubule) อยู่กันเป็นกลุ่ม กลุ่ม
ละ 3 อัน (Triplet) จานวน 9 กลุ่ม (9 triplets) เซนทริโอล สองอันวางตั้งฉากกัน เรียกว่า เซนโทรโซม
(Centrosome) ทาหน้าท่สี รา้ งเส้นใยสปินเดิ้ล (Spindle fiber) เพ่ือยดึ และดึงโครโมโซม พบในเซลลส์ ัตว์ โปร
โตซัว ราบางชนดิ แตไ่ มพ่ บในพชื ข้นั สูง (Higher plant) พวกไม้ดอกและ Gymnosperm และฟงั ไจสว่ นใหญ่
(ดงั ภาพท่ี 18)
By ครูพ่ีตน้ โอ๊ค
11
ภาพท่ี 18 โครงสรา้ งของเซนทรโิ อล (Centriole)
ทม่ี า: scimath.org
2.3.2 ออร์แกเนลล์ (Organelle) ที่มเี ย่อื หมุ้ ช้ันเดียว
1. เอนโดพลาสมคิ เรติคลู มั (Endoplasmic Reticulum-ER) --> Endoplasmic = ภายใน
ไซโทพลาสซมึ /Reticulum = ร่างแห , โดยกระจายเปน็ รา่ งแหอยใู่ นไซโทพลาสซมึ และอาจเชอื่ มต่อกบั เยื่อหุ้ม
นิวเคลียสหรือเย่ือหุ้มเซลล์ แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ ชนิดขรุขระ (Rough Endoplasmic Reticulum-RER) มีไรโบ
โซมเกาะบนเยื่อหุ้ม ER และชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum-SER) ไม่มีไรโบโซมเกาะบนเย่ือ
ห้มุ ER (ดงั ภาพท่ี 19)
1.1 Rough Endoplasmic Reticulum-RER เก่ียวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีน โดย
โปรตีนที่สังเคราะห์ได้ถูกส่งเข้าสู่ช่องลูเมน (Lumen = ช่องว่างภายในท่อ/ถุง ER) และหลุดออกเป็นถุงเล็ก ๆ
(Vesicle) เพื่อส่งต่อไปยัง Golgi complex นอกจากน้ันยังเก่ียวข้องกับการเปล่ียนโปรตีนเป็นไกลโคโปรตีน
(โปรตนี + คาร์โบไฮเดรต) และสามารถขนส่งโปรตนี ไปยังส่วนต่าง ๆ ในไซโทพลาสซึม หรอื ออกนอกเซลล์
1.2 Smooth Endoplasmic Reticulum-SER เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ไขมัน
ฟอสโฟลิพิด เสตียรอยด์ ฮอร์โมนเพศ และคอเลสเตอรอล เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต และ
การกาจัดสารพิษ (Detoxification)
By ครพู ่ตี น้ โอค๊
12
ภาพที่ 19 โครงสรา้ งของเอนโดพลาสมคิ เรตคิ ูลมั
ที่มา: scimath.org
2. กอลจิ คอมเพล็กซ์ (Golgi Complex / Golgi body / Golgi apparatus) พบครั้งแรก
โดย นายคามิลโล กอลจิ (Camillo Golgi) มีลักษณะเป็นถุงแบนเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เรียกแต่ละถุงว่า
ซิสเทอร์นี มีหน้าท่ีเก่ียวข้องกับการหลั่งสาร (Secretion) ซ่ึงเป็นสารที่สร้างจาก ER และมีการเปล่ียนแปลง
เพ่ือให้เหมาะสมพร้อมท่ีจะปล่อยออกนอกเซลล์ ด้วยวิธี Exocytosis นอกจากนั้นยังทาหน้าท่ีเปล่ียนเอนไซม์
ในไลโซโซม (Lysosome) ให้พร้อมใช้งาน ทาหน้าท่ีสังเคราะห์สารพวกพอลีแซ๊กคาไรด์ ท่ีเป็นส่วนประกอบ
ของผนังเซลล์และสารเคลือบเซลล์สัตว์ เก่ียวข้องกับการสร้างเซลล์เพลท (Cell plate) ในกระบวนการแบ่งไซ
โทพลาซึม (Cytokinesis) ของเซลลพ์ ืช (ดงั ภาพท่ี 20)
ภาพที่ 20 โครงสร้างของกอลจิ คอมเพลก็ ซ์
ท่มี า: scimath.org
By ครพู ีต่ ้นโอค๊
13
3. ไลโซโซม (Lysosome) ลักษณะเป็นถุงมีเยื่อหุ้มช้ันเดียวขนาด 0.1-1 ไมครอน ภายใน
บรรจุเอนไซม์ ย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน กรดนิวคลีอิค (พบเอนไซม์ประมาณ 60 ชนิด) ทางานได้ดีที่
สภาพเป็นกรด (pH ประมาณ 5) ทาหน้าท่ีย่อยสารประกอบภายในเซลล์ อาหาร เช้ือโรคท่ีเข้าสู่เซลล์ ออร์
แกเนลล์ท่ีอายุมาก (Autophagy) และย่อยเซลล์ตัวเอง (Autolysis) ซึ่งพบในช่วงที่มีการเจริญ เช่น การสร้าง
นิว้ มือ นว้ิ เท้า ถ้ารา่ งกายขาดเอนไซมข์ องไลโซโซมจะทาให้เกิดโรคพอมพี (Pompe’ disease) คอื ขาดเอนไซม์
ย่อยไกลโคเจน จงึ ทาใหส้ ะสมที่ตบั และกลา้ มเนอื้ มากเกนิ ไป (ดังภาพที่ 21 และ22)
ภาพท่ี 21 ไลโซโซม (Lysosome)
ที่มา: scimath.org
ภาพที่ 22 โครงสรา้ ง ไลโซโซม (Lysosome)
ท่ีมา: scimath.org
4. เพอรอกซิโซม (Peroxisome) เป็นถุงกลม รูปไข่ มีเย่ือหุ้มช้ันเดียว ภายในบรรจุเอนไซม์
ที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึม เช่น Oxidase, Catalase ช่วยสลาย H2O2ซ่ึงเป็นพิษ ให้กลายเป็น H2O + O2
พบในเซลล์พืช ตับและไต เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของไนโตรเจน ไขมัน พีวรีน เพอรอกซิโซมสามารถเพิ่ม
By ครูพ่ีต้นโอ๊ค
14
จานวนได้คล้ายไมโตคอนเดรยี โดยมีการสรา้ งโปรตีนและไขมนั ทีส่ าคัญของเพอรอกซิโซมท่ีไซโทซอลก่อน และ
สารเหลา่ นจ้ี ะถกู สง่ ไปยังเพอรอกซโิ ซมกนั เกา่ เมือ่ เพอรอกซโิ ซมกันเกา่ โตเต็มที่ก็จะแบ่งจากหน่ึงเปน็ สอง
(ดงั ภาพท่ี 23)
ภาพท่ี 23 โครงสร้างของเพอรอกซโิ ซม (Peroxisome)
ท่มี า: scimath.org
5. แวคิวโอล (Vacuole) มีลักษณะเป็นถุง เย่ือหุ้มชั้นเดียว เรียกว่าเยื่อหุ้มว่า โทโนพลาสต์
(Tonoplast) ของเหลวในถุงเรียกว่า เซลล์แซพ (Cell sap) แวคิวโอลเกิดจากการหลุดขาดของ ER หรอื Golgi
Complex มีหน้าที่หลากหลายโดยถ้ามีอาหารสะสมอยู่เรียกว่า Food vacuole ถ้าทาหน้าที่ในการรักษา
สมดุลน้า (พบในโปรตีสน้าจืด) เรียกว่า Contractile vacuole ในพืชมีแวคิวโอลขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์
เรยี กวา่ Central vacuole มหี น้าทสี่ ะสมสารต่าง ๆ (ดังภาพท่ี 24 และ25)
ภาพท่ี 24 Contractile vacuole ภาพท่ี 25 Central vacuole
ท่ีมา: scimath.org ทีม่ า: scimath.org
By ครูพต่ี ้นโอ๊ค
15
3.3.3 ออร์แกเนลลท์ ่ีมีเย่ือหมุ้ 2 ชั้น
1. ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) มีเย่ือหุ้ม 2 ช้ัน โดยเยื่อหุ้มช้ันในย่ืนเข้าไป (เรียกว่า
Cristae) ในช่องว่างภายในไมโตคอนเดรียซ่ึงมีของเหลวอยู่ (เรียกว่า Matrix) ซึ่งบรรจุเอนไซม์สาหรับการ
หายใจระดับเซลล์, Ribosome (ขนาด 70s), DNA, RNA จงึ สามารถสงั เคราะห์โปรตนี และจาลองตัวเองโดยไม่
ต้องอาศัยนวิ เคลียส (Semiautonomous organelle) ไมโตคอนเดรยี ทาหน้าที่สรา้ งและสะสมสารพลังงานสูง
(ATP = Adenosine triphosphate) (ดงั ภาพท่ี 26)
ภาพที่ 26 โครงสร้างของไมโตคอนเดรีย (Mitochondria)
ท่ีมา: scimath.org
2. พลาสติด (Plastids) มี 3 ชนดิ
2.1 Chloroplast พลาสติดสีเขียว มีรงควัตถุ (Pigment) ซึ่งสามารถจับพลังงานแสง
และเปล่ยี นเป็นพลังงานเคมีได้ ทาหน้าทใ่ี นกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) เยอื้ ห้มุ ด้านใน
ย่ืนพับไปมาซ้อนกันเรียกท้ังหมดว่า Thylakoid membrane ซึ่งบนเยื่อหุ้ม Thylakoid จะมีสารสี/รงควัตถุ
(Pigment) โดยเย่ือหุ้มนี้ซ้อนเป็นชั้นคล้ายเหรียญ เรียกว่า Granum แต่ละช้ันเช่ือมด้วย Stroma ซ่ึงบรรจุ
เอนไซม์สาหรับสังเคราะห์ด้วยแสง, RNA, DNA และ Ribosome (70s) จาลองตัวเองได้เช่นเดียวกับไมโตคอน
เดรยี (ดังภาพที่ 27)
ภาพที่ 27 โครงสรา้ งของ Chloroplast
ท่ีมา: scimath.org
By ครูพีต่ น้ โอค๊
16
2.2 Chromoplast เป็นพลาสตดิ สอี น่ื ๆ เช่น สแี ดงในพรกิ
2.3 Leucoplast เป็นพลาสติดสีขาว ทาหน้าท่ีเก็บแป้งที่ได้จากกระบวนการ
สงั เคราะหด์ ้วยแสง พบในเซลล์ในส่วนทใ่ี ช้สะสมอาหารเช่น มนั ฝร่งั มนั เทศ (ดังภาพที่ 28)
ภาพที่ 28 โครงสร้างของพลาสตดิ
ทม่ี า: scimath.org
ทั้งไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ มีลักษณะบางประการคล้ายกับเซลล์โปรคาริโอต
(แบคทีเรยี และไซยาโนแบคทีเรย) คือ มสี ารพนั ธุกรรม และRibosome (ขนาด 70s) ทาใหน้ ักวิทยาศาสตร์เช่ือ
ว่า ไมโตคอนเดรียและคลอโรพลาสต์เคยเป็น พวกเซลล์โปรคาริโอต แล้วเข้าไปอาศัยอยู่ในเซลล์ยูคาริโอต จน
กลายเปน็ Organelle ในเซลล์ยคู าริโอต เรยี กว่า ทฤษฎี Endosymbiosis (ดังภาพที่ 29)
ภาพท่ี 29 วิวัฒนาการของ
ไมโทคอนเดรียและ
คลอโรพลาสต์
ทีม่ า: scimath.org
By ครพู ต่ี น้ โอ๊ค
17
ประเภทของเซลลแ์ บ่งตามการมีของนวิ เคลยี ส
เซลลส์ องประเภท Prokaryotic cell Eukaryotic cell
Nuclear membrane ไมม่ ี มี
นวิ เคลยี สและสารพันธกุ รรม ไม่มีนิวเคลียส มีโครโมโซม 1 แท่ง เกิดจาก มวิ เคลยี สและโครโมโซมหลายแทง่ เกดิ จาก
DNA + โปรตีนที่ไม่ใช่ Histone อาจพบ DNA + โปรตนี Histone
Plasmid (DNA วงแหวนใน Cytoplasm)
Cellular respiration เกดิ ท่ี Mesosome (เยอื่ หุ้มชนั้ ท่ีหมุ้ เขา้ มา) เกิดที่ Mitochondria
Photosynthesis เกดิ ท่ีสว่ นของเย่ือเซลล์ทม่ี ี Chlorophyll เกดิ ใน Chloroplast ทีม่ ี Chlorophyll
Organelle ไมม่ ี Nucleolus, Centriole, มี Organelle ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
Cytoskeleton, Organelle มี 70s ของหน้าที่เซลล์ มี 80s ribosome อาจมี
ribosome ถา้ มี Flagellum จะไมใ่ ช่ Cilia หรือ Flagellum ท่ีเกิดจากโปรตนี
Tubulin และไมใ่ ช่ 9+2 Tubulin
ตวั อย่างเชน่ Bacteria และCyanobacteria ฟงั ไจ, โพรทสิ ต์, พชื และสตั ว์
เพมิ่ เติมความรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................ ..................................
................................................................................................ ..............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................... ...............................................
เอกสารอา้ งองิ
คลังความรู้SciMath. ม.ป.ป. เซลลแ์ ละการทางานของเซลล์. ค้นเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2562, จาก
http://www.scimath.org/lesson-biology/item/6937-2017-05-15-13-01-38
จริ ัสน์ เจนพาณิชย.์ 2552. BIOLOGY for high school students. กรงุ เทพ: บูมคัลเลอร์ไลน์.
สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2560. หนังสอื เรียนรายวิชา
เพ่มิ เตมิ ชีววิทยา มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่ม 1. กรงุ เทพฯ: สกสค.ลาดพรา้ ว
Bowbunwalak. 2554. เซลลแ์ ละทฤษฎีของเซลล์. คน้ เมื่อวันท่ี 28 มกราคม 2562, จาก
https://bowbunwalak.wordpress.com/2011/11/29/%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B
8%A5%E0%B8 %8C-cell-and-cell-theory/
By ครพู ี่ต้นโอค๊