The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

EBOOKหนังสือประวัติศาสตร์ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaweesak8403, 2021-11-28 11:05:42

EBOOKหนังสือประวัติศาสตร์ล่าสุด

EBOOKหนังสือประวัติศาสตร์ล่าสุด

หนังสือ
ประวัติศาสตร์
ตาบลบางริ้น

หนังสือประวัติศาสตร์
ตาบลบางริ้น

ส่วนท่ี1
ข้อมูลพ้ืนฐาน

1.1 ประวตั ความเปน็ มาของตาบล

ตาบลบางร้ิน เป็นตาบลหนึ่งในอาเภอเมือง

ระนอง เริ่มแรกประชาชนในตาบลบางร้ิน ต้อง

โดยสารเรอื ในการสญั จรไปมา และตามทา่ ที่เรือ

เข้ า จ อด จ ะ มีตั ว ร้ิ น เป็ น จ า นว น ม า ก ท า ใ ห้

ชาวบ้านเรียกบริเวณแถวนั้นว่า "บางร้ิน" แบ่ง

การปกครองเป็น 5 หมู่บ้าน มี นายจ๋ย

วัฒนศิริ เป็นกานันคนแรกของตาบล ปัจจุบัน

จังหวัดระนอง ได้ประกาศกาหนดเขตหมู่บ้าน

ใหม่อีกหน่ึงหมบู่ า้ น โดยแยกมาจากหมู่ที่ 1 (บ้าน

บางกลาง) เป็นหมู่ที่ 6 (บ้านบางกลางบน)

ได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองบางริ้น เมื่อ

วันท่ี 2 มีนาคม 2538 มีดอกโกมาซุม เป็นตรา

เครื่องหมายประจา อบต. มี นายนิวัฒน์ จงสัจ

จาเป็นประธานกรรมการบริหารเทศบาลเมือง
บางร้นิ คนแรก เม่อื วนั ท่ี 18 พฤษภาคม 2538
คนตอ่ มา นายสงัด ไทยเจรญิ เทศบาลเมืองบาง
ร้ิ น จั ด ตั้ ง เ ป็ น เ ท ศ บ า ล ต า ม ป ร ะ ก า ศ
กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 29 สิงหาคม
2550 มี นายเทิดศักด์ิคงโต ดารงตาแหน่ง
นายกเทศมนตรตี าบลบางรน้ิ คนแรก

1.2 วสิ ัยทัศน์

บางร้ินน่าอยู่ ประชาชนอยู่ดีมีสุข ชุมชน
เข้มแข็ง ใส่ใจทรัพยากรส่ิงแวดล้อม ส่งเสริม
การท่องเท่ยี ว เชิดชคู ุณธรรม

1.3 ขนาดและท่ตี ง้ั

ที่ตั้ง

เทศบาลเมืองบางริน้ อยู่ห่างจากอาเภอ
เมอื งระนองประมาณ 8 กิโลเมตร และอยหู่ ่าง
จากศาลากลางประมาณ1 กโิ ลเมตร ทางทิศใต้

ติดกับเขตเทศบาลเมอื งระนอง มีถนนเพชร
เกษมตดั ผา่ น

เนอ้ื ท่ี

เทศบาลเมอื งบางรน้ิ มีเนอ้ื ที่ 78.653
ตารางกิโลเมตร หรอื 49,158.125

1.4 ลกั ษณะภูมิประเทศ

สภาพพ้ืนทโี่ ดยท่วั ไปเป็นภเู ขาทางดา้ นทิศ
ตะวนั ออกและมีที่ราบตอนกลาง ทางดา้ นทศิ
ตะวันตกเปน็ ทะเลโดยมพี ้ืนที่เป็นภเู ขาประมาณ
30% ของพ้ืนที่ เป็นท่ีราบและป่าชายเล
ประมาณ
70 % ของพื้นท่ี

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ ตาบลบางนอน และ

ตาบลเขานเิ วศน์

ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลหงาว

ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั ตาบลหาดสม้ แป้น
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ ตาบลปากนา้ และทะเล
อนั ดามนั

1.5 แมน่ ้าสาคัญ

ลานา้ , ลาหว้ ย จานวน 3 สาย
บงึ , หนอง และอื่นๆ จานวน 6 แห่ง

แหลง่ นา้ ท่สี ร้างขน้ึ

ฝาย จานวน 5 แหง่

บอ่ นา้ ตน้ื จานวน 1,726 แห่ง

บอ่ โยก จานวน 6 แห่ง

1.6 ภมู ิอากาศ

ร ะ น อ ง เ ป็ น จั ง ห วั ด ที่ มี ฝ น ต ก ม า ก
เนื่องจากอยู่ทางด้านตะวันตกของประเทศ และ
ติดกับทะเลอันดามัน จึงได้รับอิทธิพลของลม

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูกาลของจังหวัด
ระนองแบง่ ออกเป็น 3 ฤดู คอื

- ฤดฝู น ช่วงเดอื น พฤษภาคม – ธันวาคม
ช่วงทมี่ ีฝนตกชุก คอื ระหวา่ งเดือน
กรกฎาคม – กันยายน
- ฤดูรอ้ น ช่วงเดอื น กมุ ภาพันธ์ – เมษายน
อณุ หภมู อิ ยรู่ ะหว่าง 20.70 – 35.60 องศา
เซลเซียส
- ฤดูหนาว ช่วงเดอื น มกราคม – กุมภาพันธ์
อณุ หภมู ิตา่ ลงเลก็ นอ้ ยประมาณ 19.80-.4.70
องศาเซลเซยี ส

1.7 ทรพั ยากรธรรมชาติ

ดนิ ลักษณะของดินจังหวัดระนอง น้นั ไม่
เหมาะสมกับการเพาะปลูกมากนัก เน่ืองจากมี
ลักษณะเป็นดินตื้น ระบายนา้ เกินไปมีสภาพเป็น
ดนิ เปร้ยี วในบางพื้นที่

ป่าไม้ จงั หวัดระนองมีป่าไมอ้ ยู่2ประเภท

1 ป่ า บ ก เ ป็ น ป่ า ที่ ป ร า ก ฏ ใ ห้ เ ห็ น อ ยู่
โดยท่ัวไป ปี 2547 จังหวัดระนองมีพื้ นท่ีป่า
บก เหลืออยู่ 1,027,508 ไร่ หรือคิดเป็นร้อย
ละ 49.80 ของพ้ืนท่ีจังหวัด เมื่อรวมพ้ืนท่ีป่า
ชายเลนอีกจานวน 156,822 ไร่ แล้วจะมีพ้ืนท่ีป่า
ท้ังสน้ิ 1,184,330 ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.40 ของ
พื้นท่จี ังหวัดทง้ั หมด

2 ป่าชายเลน จังหวัดระนองอยู่ติดกับ
ทะเลอันดามัน ชายฝ่ ังมีน้าทะเลท่วมถึง ทาให้
เกิดสภาพป่าอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า ป่าชาย
เลน เป็นป่าท่ีมีสภาพทางนิเวศน์วิทยาที่สาคัญ
มากเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้าวัยอ่อน มีไม้ท่ี
สาคัญ ได้แก่ โกงกางปรง ถ่ัว ตะบูน ประสัก
แ ล ะ อื่ น ๆ จ า ก ภ า พ ถ่ า ย ด า ว เ ที ย ม
ปี 2546 จังหวัดระนองมีพื้นที่ป่าชายเลนท่ีคง
สภาพประมาณ 158,301.25 ไร่ คิดเป็น 8.09
% ของพ้ืนท่ีจังหวัด แต่ในปี 2547 มีเนื้อที่ป่า
ช า ย เ ล น เ ห ลื อ อ ยู่ 156,822 ไ ร่ คิ ด เ ป็ น ร้ อ ย
ละ 7.61

แหล่งนา้

แหล่งนา้ ท่สี าคัญของจังหวัดระนองมี
แมน่ า้ ลาคลองท่เี กดิ จากเทอื กเขาทางดา้ นทิศ
ตะวนั ออกเป็นสว่ นใหญ่ มีลักษณะเป็นทางนา้
สายสน้ั ๆ ไหลลงสู่ทะเลอันดามนั ทางด้านทิศ
ตะวนั ตก

1.8 การคมนาคม

มีถนนสายสาคัญ ดงั น้ี

- ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 4 (ถนนเพชร
เกษม)

- ทางหลวงจงั หวัด หมายเลข 4080 (เทศบาล
เมอื ง - สะพานปลา)

- ถนนภายในหมบู่ า้ นเป็นถนนลกู รงั ลาดยาง
และคอนกรตี

การโทรคมนาคม

- ทที่ าการไปรษณยี โ์ ทรเลข จานวน 1 แหง่

- สถานีโทรคมนาคม อนื่ ๆ จานวน 2 แห่ง

(สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย, สถานี
วิทยโุ ทรทศั น์ ช่อง 11)

ประวัติความเป็นมาใน
ตาบลบางริ้นท้ังหมด 6
หมู่บ้าน

หมู่ท่1ี บ้านบางกลาง

ประวตั หิ มู่บา้ น (บา้ นบางกลาง)

บ้านบางกลางมีลาคลองขนาดใหญ่ ใน
อดีตชาวบ้านในหมู่บ้านเดินทางสัญจรไปมาโดย
เรือ มีท่าเรือและท่าข้าม เมื่อเดินทางมาถึง
บ ริ เ ว ณ น้ี ก็ มั ก ไ ด้ เ ว ล า พั ก ก ล า ง วั น ซ่ึ ง เ ป็ น
เส้นทางท่ีอยู่ช่วงก่ึงกลางระหว่างตาบลบาง
นอนและตาบลบางข้ึน จึงเรียกหมู่บ้านนี้ว่า
" บ้ า น บ า ง ก ล า ง " ผู้ น า ห มู่ บ้ า น ใ น อ ดี ต เ ป็ น
ผู้ใหญ่บ้านจะได้รับการแต่งตั้งโดยวิธีการยกมือ
ต่ อ ม า เ ป็ น ก า ร ล ง ค ะ แ น น เ สี ย ง แ ท น ม า จึ ง ถึ ง

ปัจจุบันนี้ปัจจุบันบ้านบางกลางมี นางเสาวนีย์
บุตรเพชร เป็นผ้ใู หญ่บ้านคนปัจจบุ นั
ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1. นางเสาวนยี ์ บตุ รเพชร
ผู้ใหญบ่ ้าน หมายเลขโทรศัพท์ 0873883953
2.นายศิลป์ชยั เรอื งโรจน์
ผูช้ ว่ ยผู้ใหญ่บา้ นฝ่ายรักษาความสงบ
หมายเลขโทรศัพท์ 0895942343
3.นายสมบรู ณ์ นอ้ ยจนั ทร์
ผ้ชู ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้านฝา่ ยปกครอง หมายเลข
โทรศัพท์ 0957951867

4.นางสาวสมฤทยั อดุ มสาย

ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง
หมายเลขโทรศัพท์ 0883804865

5.รายชอ่ื สมาชกิ องการบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
นายวริ ัช อ๋ยุ เตก็ เค่ง
นายวโิ รจน์ ดเี ลสิ

หมทู่ ่2ี บ้านบางรน้ิ

ประวัติหมทู่ 2ี่ (บ้านบางร้ิน)
ชอ่ื บางริ้น เดมิ การสญั จรไปมาของ

ประชาชนในตาบลส่วนใหญใ่ ชก้ ารเดินทาง
จะตอ้ งขา้ มคลองหรือเรยี กวา่ บาง บริเวณนั้นจะ
มตี วั รนิ้ ลักษณะคล้ายยุงอยเู่ ป็นจานวนมาก
ผคู้ นท่เี ดนิ ทางมากับเรือพอถงึ คลองหรอื บาง
นั้น ก็จะถกู ตวั ริ้นกดั คน จงึ เรียกกันตอ่ มาวา

"บางริน้ " อนั เป็นทม่ี าของชื่อ หม่บู า้ นบางร้ิน
จนถงึ ทกุ วันนี้

ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1 นายมาโนช สรศิลป์

ผใู้ หญ่บา้ น / กานนั หมายเลขโทรศัพท์
0813679011

2 นางสาวศิริวรรณ สรศิลป์

ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้านฝ่ายปกครอง
หมายเลขโทรศัพท์ 0872719638

3 นายธรี สวุ ฒั น์ ผยองศักด์ิ

ผู้ช่วยผูใ้ หญ่บ้านฝ่ายปกครอง
หมายเลขโทรศัพท์ 0955347092

4 นายอมรศักด์ิ แซโ่ งว้

ผใู้ หญบ่ า้ นฝ่ายรกั ษาความสงบ
หมายเลขโทรศัพท์ 0954125569

5 นายมานพ สยามรฐั

แพทย์ประจาตาบล
หมายเลขโทรศัพท์ 0857897510

6 นายจกั รทพิ ย์ จรี ะพิวฒั น์

สารวัตรกานนั
หมายเลขโทรศัพท์ 0818919223

7 นายเชดิ ชยั ดวงแป้น

สารวัตรกานัน
หมายเลขโทรศัพท์ 0878916947

หมทู่ ่ี 3 บ้านพรรง้ั

ประวัติหมทู่ ่ี 3 (บา้ นพรรงั้ )

ในอดีตกาลนานมาแล้ว มีผู้เฒ่าผู้แก่ได้
เล่าขานสืบทอดกันมาหลายช่ัวอายุคนถึงความ
เป็นมาของ บ้าน “พอนร้าง” เดิมคนไทยเชื้อ
สายจีนมาตั้งบ้านเรือนอาศัยซึ่งเป็นทางผ่านอยู่
ในปัจจุบันน้ีประมาณ ๕-๖ครัวเรือน ในสมัยน้ัน
มีนายสุก นางเกราะ ไม่ทราบนามสกุล ซ่ึงเป็น
บุคคล ท่ีคนในหมู่นั้นให้ความเคารพนับถือต่อมา
ไดม้ ไี ด้มชี าวจีนซึ่งเรียกว่า “อง้ั ย”่ี ไดท้ าการออก
ปล้นกลางคืน ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านทุกคนเมื่อถึง
เวลากลางคืนจะพาไปกันไปหลบซ่อนที่โคนต้นไม้
ซ่ึงมีพอนไม้เป็นท่ีหลบซ่อนกาบังแต่พอนานๆ
เข้าก็ไม่ปลอดภัยอยู่ดี นายสุกจึงได้ชวนเพ่ือน
บ้านอพยพหาที่อยู่ใหม่จากหมู่บ้านในปัจจุบันนี้
ในทางทิศตะวันตกประมาณ๑,๕๐๐๐ เมตร ซ่ึงมี
หนองนา้ ขนาดใหญ่มปี ลาอาศัย ชุกชมมาก จึ ง

ไดต้ ัง้ บา้ นเรือน ณ ตรงน้นั อย่ไู ด้ไม่นานนัก นาย
สกุ และนางเกราะถูกจระเข้กัดตาย

แต่บางคนเล่าว่า ไอ้โขงกัด ได้สร้างความ
เศรา้ โศกเสียใจให้แก่เพื่อนบ้านอย่างมาก และได้
ตั้งช่ือ หนองน้าน้ีว่า “หนองตาสุกและนายาย
เกราะ” มาจนถึงทุกวันนี้ ต่อมาการพัฒนาทาง
สัง ค ม เ ป ล่ี ย น แป ล ง ไ ป โ จ รผู้ ร้ า ย ไ ม่ ชุก ชุม
ชาวบ้านท่ีเหลือก็อพยพมาอยู่ท่ีเดิมและมีผู้อื่นที่
เข้ามาอยู่ใหม่อีกมีความเจริญมากข้ึน ไม่มีโจร
ผู้ร้าย ไม่ต้องอาศัยพอนไม้เป็นกาบังหลบซ่อน
อีกต่อไป จึงได้เรียกชอ่ื บ้านนี้ว่า “บ้านพอนร้าง”
คงอาจจะเป็นเพราะภาษาหรืออย่างไรไม่ทราบ
คาว่าร้างกับร้ัง ภาษาพ้ืนบ้านใช้ความหมายเป็น
คาเดียวกัน จึงได้ขนานนามบ้านนี้ว่า “บ้านพร
รงั้ ” ในปัจจบุ ันนี้

บคุ คลสาคญั ในอดตี

นายหดี ไมท่ ราบนามสกลุ
เป็นผูบ้ ริจาคท่ดี นิ ให้กับกระทรวงธรรมการ

(กระทรวงศึกษาธกิ ารในปัจจบุ นั ) สรา้ งโรงเรียน
บ้านพรรั้ง เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๗๙-๒๔๘๒
โดยมคี รใู หญช่ ือ่ นายเพิ่ม ชศู รี เป็นครใู หญค่ น
แรกของโรงเรยี นบ้านพรรั้ง

สถานทส่ี าคญั ทางประวตั ศิ าสตร์

ในอดตี มีถา้ ชอ่ื “ถา้ เจก็ ”(ถา้ จนี ) แตใ่ น
ปัจจุบันนีไ้ ดถ้ ูกเหมอื งแร่ดบี ุกทาลายไปหมดแล้ว

ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1. นายพันธเดช พรดั รกั ษา

ผ้ใู หญบ่ ้าน
หมายเลขโทรศัพท์ 08 1728 0786

2. นายอากร คงทอง

ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญ่บา้ น
หมายเลขโทรศัพท์ 09 0170 4639

3.นายมานพ คงชานาญ ผู้ช่วย

ผู้ใหญ่บ้าน หมายเลขโทรศัพท์ 08 3176

9094

4. นางสมใจ รถแกว้ ผชู้ ว่ ย

ผู้ใหญ่บา้ น หมายเลขโทรศัพท์ 08 1045

5155

หมทู่ ี่ 4 ระนองพัฒนา

ประวัติความเป็นมาของหม่ทู ี4 (บา้ นระนอง
พัฒนา)

เดิมหมู่ท่ี 4 ตาบลบางร้ิน ข้ึนอยู่กบั หมู่ท่ี
1 ตาบลบางรน้ิ ซงึ่ ตอ่ มาในปี พ.ศ.2518 มกี าร
แบ่งแยกเขตพื้นที่ ซง่ึ ขณะนน้ั จังหวดั ระนองมี
นโยบายการพัฒนาหมู่บา้ นใหส้ วยงาม เปน็
ระเบยี บ มีการแบง่ แยกหมู่บา้ น จงึ ไดต้ ้งั ชอ่ื ว่า
หมูบ่ ้าน “บ้านระนองพัฒนา” เป็นพื้นทร่ี าบรมิ
คลอง ชมุ ชนขนาดเลก็ ตดิ ตอ่ กับเทศบาลเมอื ง
และมบี างสว่ นตดิ กบั บรเิ วณป่าชายเลน มพี ้ืนที่
ท้งั หมด 420,500 ไร่ หรือ 0.6728 ตาราง
กิโลเมตร จานวนประชากรรวมทั้งส้นิ 4,167 คน
ชาย 2,074 คน หญงิ 2,093 คน มีผู้สูงอายุ
รวมทงั้ สน้ิ 410 คน มี1,969 ครวั เรอื น โดยมี
นายประดิษฐ์ ตันหยง ดารงตาแหนง่ ผูใ้ หญ่บ้าน
คนแรก ตงั้ แต่ พ.ศ.2518 ใน พ.ศ.2522 นาย
สมภพ สายทอง ไดต้ ้งั โรงงานกะเทาะเปลอื ก

เม็ดมะมว่ งหมิ พานต์ และไดป้ ิดตัวลงไปเมอื่ พ.ศ.
2540 เนือ่ งจากพิษเศรษฐกิจต้มยาก้งุ
คงเหลือไว้เพียงข้นั ตอนการคดั เมล็ดขาว แปร
รปู เมล็ด ตอ่ มา นายเล็ก กองอาษา ได้ดารง
ตาแหน่งผใู้ หญบ่ ้านคนที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2551
ถึง พ.ศ.2554 และตอ่ มานางนพรัตน์ กองอาษา
ไดด้ ารงตาแหน่งผใู้ หญบ่ า้ นคนท่ี 3 ตงั้ แต่ พ.ศ.
2554 จนถงึ ปัจจุบัน ใน พ.ศ.2560 ไดม้ กี าร
จดั ตั้งกองทนุ ยา เกิดข้ึนเพ่ือใหม้ ไี ว้ขายคนใน
ชุมชน พ.ศ.2561 ได้มกี ารรวมกลุม่ กนั ทากระเป๋า
ลกู ปัด ตดั เย็บ/ปักผา้ และใน พ.ศ.2563 ไดม้ ี
การทายาหม่องสมนุ ไพร โดยมีวทิ ยากรมาอบรม
ให้ความรู้แกช่ าวบ้าน

ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1.นางนพรตั น์ กองอาษา
ผูใ้ หญ่บา้ น หมายเลขโทรศัพท์
0817375577

หมทู่ ่ี 5 บ้านแพใหม่

ประวัตคิ วามเป็นมาของหม่ทู ี่5 (บ้านแพใหม)่

ชุมชนหมู่บ้านแพใหม่ ต.บางร้ิน อ.เมือง เป็น
หมู่บ้านที่มีการแยกตัวออกจากหมู่ที่ 1 (ปัจจุบัน
จะเป็นหมู่ที่ 1 และหมู่ท่ี 6ของปากน้าบางส่วน)
ในสมัยอดีตหมู่บ้านยังไม่มีท่ีพักที่แน่นอน ไม่มี
ถนนสาหรับเดินทาง หากจาเป็นต้องเดินทาง
เพ่ือทาธุระท่ีสะพานปลา ก็จะต้องเดินทางด้วย
การนั่งเรือจากชุมชนท่าด่าน โดยจะผ่านเหมือง
แร่หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า เหมืองเสียงไทย(ซึ่ง
เ ป็ น บ ริ ษั ท ก อ บ ชั ย ) ต่ อ ม า ไ ด้ มี เ จ้ า ห น้ า ที่
หนว่ ยงานรัฐท้ังอาเภอ และจังหวัด ได้มีแนวคิด
แยกหม่ทู ่ี 1 เนื่องจากหมู่ท่ี 1 เป็นหมู่บ้านที่มีเน้ือ
ที่ขนาดกว้าง ไม่สามารถดูแลอย่างครอบคลุม
ดังนั้นได้มีการถมดินเพ่ือสาหรับสร้างถนน โดย
การนาดินลูกกวาด ลูกทรายมาถมพอใช้เป็น
ทางผา่ นให้ได้ก่อนและด้านหลังของเหมืองเสียง
ไทยไดม้ เี รือดูดทราย จึงใช้เรือดดู ทรายดงั กล่าว

ดูดทรายถมทับด้านบน จึงได้มีถนนลูกรังและ
คลองที่มีเรือดูดทรายอยู่ ชาวบ้านเรียกว่า
คลองสุ่ย เม่ือตอนแยกหมู่บ้านใหม่ๆ มีชาวบ้าน
แถวสะพานปลาและหมู่ท่ี 1เขา้ มาอาศัย โดยมเี ถ้า
แก่เรือได้มีการสร้างแพปลาริมคลองสุ่ยขึ้นมา
เป็นแพแรก และเมื่อตอนสร้างเสร็จชาวบ้าน
เรียกว่า แพใหม่ ต้ังแต่น้ันมาไม่ว่าจะหน่วยงาน
รัฐ เอกชนหรือแม้แต่ชาวบ้านต่างก็พู ดเป็น
เสียงเดียวกันว่า หมู่บ้านแพใหม่ มาจนถึง
ปัจจุบนั

ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1.นายกติ ตวิ ตั ร ฝอยทอง
ผใู้ หญบ่ า้ น
หมายเลขโทรศัพท์ 0887528809

2.นางสาวลกั ษณา ฝอยทอง
ผ้ชู ่วยผู้ใหญ่บา้ นฝ่ายปกครอง
หมายเลขโทรศัพท์ 0945935453

3.นายอมร พิพัฒนพงศ์สนิ
ผชู้ ่วยผูใ้ หญบ่ า้ นฝ่ายปกครอง
หมายเลขโทรศัพท์ 0629299980

4.นายจาเนยี ร รสสคุ นท์
ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ ้านฝ่ายรักษาความปลอดภยั
หมายเลขโทรศัพท์ 0815365268

หมทู่ ่ี 6 มิตรภาพ

ประวัติความเป็นมาของหมู่ที่6 (บ้านมติ รภาพ)

เดิมหมู่ท่ี 6 ตาบลบางร้ิน ข้ึนอยู่กับหมู่ท่ี 1
ตาบลบางร้ิน ซ่ึงต่อมามีการแบ่งแยกเขตพ้ืนที่
ซึ่งขณะน้ันจังหวัดระนองมี นโยบายการพัฒนา
หมู่บ้านให้สวยงาม เป็นระเบียบ มีการแบ่งแยก
หมบู่ า้ น จึงไดต้ ัง้ ชือ่ ว่า หม่บู า้ น “บา้ นมิตรภาพ”

ทาเนยี บบคุ คลสาคญั

1. นายสุขสนั ต์ นนทโิ กมล
ผูใ้ หญ่บ้าน
หมายเลขโทรศัพท์ 0831753128

2. นายไกรศร เงาศิลป์ชัย
ผชู้ ว่ ยผใู้ หญบ่ ้าน
หมายเลขโทรศัพท์ 0904674818

ส่วนท่2ี

โครงสร้างของชมุ ชน

1.1 ดา้ นการเมอื งดา้ นการปกครอง

1.ดา้ นการเมอื ง/การปกครองของตาบลบางร้นิ

บา้ นบางกลาง ผู้ใหญบ่ า้ น
หมทู่ ี่ 1 นางเสาวนยี ์ บุตเพชร
บ้านบางรน้ิ ผใู้ หญบ่ ้าน
หมทู่ ี่ 2 นายมาโนช สรศิลป์
บา้ นพรรง้ั ผู้ใหญ่บ้าน
หมู่ท่ี 3 นายพันธเดช พรดั รกั ษา
บ้านระนอ’ ผใู้ หญบ่ ้าน
พัฒนา หม่ทู ี่ 4 นางนพรตั น์ กองอาษา
บา้ นแพใหม่ ผู้ใหญบ่ ้าน
หมทู่ ่ี 5 นายกติ ตวิ ตั ร ฝอยทอง
บา้ นบางกลาง ผู้ใหญ่บ้าน
บน หมูท่ ่ี 6 นายสขุ สันต์ นนทโิ กมล

ทาเนียบ ผใู้ หญบ่ า้ น หมทู่ ่ี 1 บ้านบางกลาง (
อดีต - ปัจจบุ ัน )

ชื่อ – สกุล วนั ทด่ี ารง วันที่สิน้ สดุ การ
ตาแหนง่ ดารงตาแหน่ง
1.นายอภิรักษ์ 7 สงิ หาคม 6 สงิ หาคม
เย็นวตั ร 2537 2542
2.นายสขุ สนั ต์ 21 สงิ หาคม 20 สงิ หาคม
นนทิโกมล 2542 2547
3.นายจริ วรรต 15 กนั ยายน 2 สงิ หาคม
สังขเ์ สือ 2550 2555
นาย 22 สิงหาคม 21 พฤศจิกายน
จริ วรรต สงั ข์ 2555 2560
เสอื (สมัยท่ี 2)
4.นางเสาวนยี ์ 14 ธันวาคม ปัจจุบัน
บุตรเพชร 2560

ทาเนียบ ผ้ใู หญบ่ า้ น หมูท่ ่ี 2 บ้านบางรนิ้ (อดตี
- ปัจจุบัน )

ชอ่ื – สกุล วนั ทด่ี ารง วนั ทีส่ ้ินสดุ การ
ตาแหนง่ ดารงตาแหน่ง
3 สงิ หาคม
1.นายนิวฒั น์ จง 4 สิงหาคม 2540
14 สิงหาคม
สัจจา 2535 2545
22 ตุลาคม 2551
2.นายสงัด ไทย 15 สงิ หาคม
ปัจจุบนั
เจรญิ 2540

3.นายบรรยงค์ 23 ตลุ าคม

ชว่ ยณรงค์ 2546

4.นายมาโนช สร 19

ศิลป์ พฤศจกิ ายน

2551

ทาเนยี บ ผูใ้ หญ่บา้ น หม่ทู ่ี 0 พรรัง้ ( อดีต -
ปัจจบุ ัน )

ช่อื – สกลุ วนั ท่ีดารง วนั ที่สิน้ สดุ การ
1.นายอดุ ม ขาวดี
ตาแหน่ง ดารงตาแหน่ง
2.นายอนนั ต์
เกียงเตียด 15 14 พฤศจกิ ายน

3.นายนิมติ ร แสง พฤศจกิ ายน 2539
ทอง
2534
4.นายพันธเดช
พรดั รักษา 15 14 พฤศจิกายน

พฤศจิกายน 2555

2550

12 5 กุมภาพันธ์

ธันวาคม 25 2563

55

27 กุมภาพันธ์ ปัจจบุ ัน

2563

ทาเนยี บ ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ท่ี 4 บา้ นระนองพัฒนา
( อดีต - ปัจจบุ ัน )

ชอ่ื – สกุล วนั ที่ดารง วันทส่ี น้ิ สดุ การ
ตาแหนง่ ดารงตาแหน่ง
1.นายประดษิ ฐ์ 1 เมษายน 31 มนี าคม
ตนั หยง 2524 2529
2.นายเลก็ กอง 15 สิงหาคม 14 สิงหาคม
อาษา 2546 2551
นายเลก็ กอง 27 สิงหาคม 1 มกราคม
อาษา ( สมัยที่ 2 2551 2555
)
3.นางนพรตั น์ 17 มกราคม ปัจจบุ ัน
กองอาษา 2555

ทาเนยี บ ผู้ใหญ่บา้ น หม่ทู ่ี 5 บา้ นแพใหม่ (
อดีต - ปัจจบุ นั )

ชอื่ – สกุล วันทีด่ ารง วันทส่ี ้นิ สดุ การ
ตาแหน่ง ดารงตาแหน่ง

1.นายเหิม 15 เมษายน 14 เมษายน

ฝอยทอง 2537 2542

2.นายสมจติ ร 29 เมษายน 28 เมษายน

พรหมทอง 2542 2547

3.นายปัญญา หนู 6 กรกฎาคม 5 กรกฎาคม

เชียร 2542 2547

นายปัญญา หนู 19 กรกฎาคม 18 กรกฎาคม

เชยี ร ( สมัยท่ี 2 2547 2552

)

4.นายกติ ติวัตร 14 พฤศจิกายน ปัจจุบนั

ฝอยทอง 2558

ทาเนียบ ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ที่ 6 มิตรภาพ ( อดีต
- ปัจจบุ ัน )

ช่อื – สกลุ วนั ท่ีดารง วันที่สิ้นสดุ
ตาแหน่ง การดารง
1.นายสขุ สนั ต์ ตาแหนง่
นนทโิ กมล 29 มิถุนายน 28 มิถนุ ายน
นายสขุ สันต์ 2547 2552
นนทิโกมล ( 21 กรกฎาคม ปัจจุบัน
สมยั ท่ี 2 ) 2552

1.2 เขตการปกครอง ตาบลบางรนิ้ แบ่ง
เขตการปกครองออกเป็น 6 หมูบ่ า้ น
ได้แก่

ปัจจบุ ันเทศบาลเมืองบางร้ิน แบง่ การปกครอง
เป็น 6 หมู่บา้ น

ชอื่ หมู่ จานวนพ้ืนที่ ตร.กม
หมู่บา้ น ที่ 11.7123
31.0483
ไร่ 29.7453

บา้ นบาง 1 7,320.188 0.6728

กลาง

บ้านบาง 19,405.188
2

ริ้น

บา้ นพร 18,590.813
3

รั้ง

บา้ น
ระนอง 4 420.500
พัฒนา

บ้านแพ 5 2,305.00 3.688
ใหม่ 6 1,116.438 1.7863
78.653
บา้ นบาง
กลางบน

รวม 6หมบู่ า้ น 49,158.125

1.3 ดา้ นประชากร

สถิติประชากรจากทะเบยี นบ้าน
ข้อมลู ของตาบลบางริ้น อาเภอเมอื งระนอง
ของเดือนธนั วา พ.ศ.2559

ตาบล/แขวง ชาย หญงิ รวม
ตาบลบางรน้ิ 11,355 11,652 23,007
หมู่1 บา้ น บาง 2,781 3,046 5,827
กลาง
หมู่2 บ้านบาง 1,616 1,686 3,302
รน้ิ
หมู่3 พรร้ัง 725 645 1,370
หมู่4 ระนอง 2,122 2,039 4,215
พัฒนา
หมู่5 แพใหม่ 2,243 2,304 4,547
หมู่6บางกลาง 1,868 1,878 3,746
บน(มติ รภาพ)

1.4 ด้านการศึกษา /ดา้ นศาสนา

1. ดาเนินการและร่วมมือกับหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ
ตดิ

2. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม กานัน
ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อปพร. ตารวจบ้าน กลุ่ม
สตรี กล่มุ เยาวชน กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ กลุ่ม อสม. ให้
เขา้ มามีส่วนร่วมในการพัฒนาเทศบาล

3. ส่งเสริมการศึกษา กีฬา และพัฒนาศูนย์เด็ก
เล็กใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐาน

4. ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมศาสนา
วัฒนธรรม อนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี
ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ อันดงี ามให้คงอย่ตู ่อไป

5. ส่งเสริม สนับสนุนการสังคมสงเคราะห์
พั ฒนาคุณภาพชีวิต เด็กสตรี คนชรา คน

พิ การ ผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์และ
ผ้ดู ้อยโอกาส

1.5 ความเช่อื ประเพณแี ละพิธีกรรม

เดือนมกราคม วันขึ้นปีใหม่ตักบาตรข้าวสาร
อ า ห า ร แ ห้ ง แ ก่ พ ร ะ ภิ ก ษุ ส ง ฆ์ -จั ด ง า น วั น เ ด็ ก
แห่งชาติ

เดอื นเมษายน จัดงานสวดกลางบ้าน พระสงฆ์
สวดเจริญพระพุ ทธมนต์ 3 คืน -สงกรานต์
สรงนา้ พระ รดนา้ ขอพรผ้สู ูงอายุ

เดือนกรกฎาคม จัดพิธีแห่เทียนพรรษา ถวาย
เงิน ข้าวสารอาหารแห้งและของใช้แก่พระภิกษุ
สงฆ์

เดือนสิงหาคม วันแม่แห่งชาติ ร่วมกันพัฒนา
หมู่บ้ าน ร่วม กิจ กร รมเ ทิด พร ะเก รีย ติกั บ
เทศบาลเมืองระนอง

เดือนตุลาคม วันออกพรรษา ร่วมจัดพุ่มเงิน
ถวายเงิน ข้าวสาร อาหารแห้งแกพ่ ระภิกษุสงฆ์

เดือนพฤศจิกายน ร่วมจัดงานวันลอยกระทง
กิจกรรม 6 หมู่บ้านกับเทศบาลเมอื งบางรนิ้

เดือนธันวาคม วันพ่อแห่งชาติ ร่วมกันพัฒนา
หมู่บา้ น ร่วมกิจกรรมเทิดพระเกรียตกิ บั เทศบาล
เมอื งระนอง

สว่ นท่3ี

โครงสรา้ งเศรษฐกิจและอาชีพ

1. สภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมของ
จงั หวัดระนอง

มีสาขาหลักคือการเกษตรกรรม การล่า
สตั ว์ และการป่าไม้ ซ่งึ เป็นสาขานาในโครงสร้าง
การผลิตของจังหวัด สาขาการผลิตท่ีทารายได้
ให้แก่จังหวัดมากท่ีสุด คือ การเกษตรกรรม
รองลงมา คือ สาขาการประมง และสาขาการ
ขายส่งการขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ
การล่าสัตว์ฯ สาหรับการเกษตรกรรมในส่วน
ของการทานาของจังหวัดระนอง ส่วนมากจะ
ปลูกข้าวพันธุ์พื้นเมือง ปลูกเพ่ือการบริโภคเป็น
ส่วนใหญ่ และพ้ืนที่ปลูกข้าวมีแนวโน้มลดลง
เร่ือย ๆ เกษตรกรปรับเปล่ียนพื้นที่นาไปปลูก
พื ชที่มีรายได้และผลตอบแทนท่ีสูงขึ้น เช่น
ปาล์มนา้ มัน

โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง จั ง ห วั ด
ระนอง โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดระนอง
ประกอบด้วยการผลิตภาคการเกษตร มีมูลค่า
เท่ากับ 9,414 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
41.5 และการผลิตภาคนอกเกษตร มีมูลค่า
เท่ากับ 13,273 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 58.5
และมีโครงสร้าง 5 อันดับแรก ซึ่งเป็นตัว
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจในจังหวัด พิจารณาจาก
ตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคา
ประจาปี (Gross Provincial Product At
Current Market Price) พบว่าเศรษฐกิจของ
จงั หวดั ระนองขึน้ อย่กู ับสาขา ดงั น้ี

1.1 สาขาเกษตรกรรม การลา่ สตั ว์ และ
การป่าไม้ สดั สว่ นรอ้ ยละ 24.0

1.1 ยางพารา สัดส่วนรอ้ ยละ 38.9

1.2 ปาล์มนา้ มัน สัดสว่ นรอ้ ยละ
23.6

1.0 กาแฟ สดั ส่วนรอ้ ยละ 13.2

ไม้ผลของจังหวัดระนอง ท่ีปลูกมา ก
ได้แก่ มังคุด ทุเรียน ลองกอง เป็นไม้ผลท่ีทา
รายได้ให้เกษตรกรสูงกว่าข้าวนาปี และพื้นที่
ปลูกมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ เช่นกัน เน่ืองจาก
ก า ร จั ด ก า ร ดู แ ล ข อ ง ไ ม้ ผ ล ใ น จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง
คอ่ นข้างย่งุ ยาก มกี ารลงทนุ สูง ผลผลติ ไม่คงที่
ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและศัตรูพืช ประกอบ
กับราคาผลผลิตไม่แน่นอน ทาให้เกษตรกรปรับ
ลดพื้นที่ไปปลูกพืชท่ีมีการจัดการดูแลรักษาง่าย
ให้ผลตอบแทนเร็ว เช่น ปาล์มน้ามัน ยางพารา
เป็นตน้

ไม้ยืนต้นของจังหวัดระนองท่ีสาคัญและ
ทารายได้ให้กับจังหวัดระนอง ได้แก่ กาแฟ
ยางพารา มะม่วงหิมพานต์ และปาล์มน้ามัน ซึ่ง
พื้นที่ปลูกมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะ
พ้ืนท่ีปลูกปาล์มน้ามัน และยางพารา ส่วนพื้นท่ี
ปลูกกาแฟ มีแนวโน้มท่ีลดลงโดยเกษตรกร
ปรับเปลยี่ นไปปลูกปาลม์ นา้ มนั และยางพารา

ด้านการปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพท่ีทา
ร า ย ไ ด้ ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร ข อ ง จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง ดี
พอสมควร จังหวัดระนองเป็นจังหวัดท่ีผลิตโค
/ กระบือ สุกร ไก่เน้ือ และไข่ไก่ เลี้ยงประชากร
ภายในจงั หวดั และสามารถสง่ ขายต่างจงั หวดั

1.2 สาขาประมง สดั ส่วนร้อยละ 17.5
9.1 การทาฟารม์ เลีย้ งกงุ้ สดั ส่วน

ร้อยละ 45.5
9.9 การประมงนา้ ลึกและประมง

ชายฝ่ งั สัดส่วนรอ้ ยละ 44.1
9.0 การทาฟารม์ เลี้ยงปลา สัดส่วน

ร้อยละ 1.5

ดา้ นการประมงทะเล จงั หวัดระนองมีทะเล
อาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่า ซ่ึงเป็นแหล่ง
สัตว์น้าที่ยังอุดมสมบูรณ์มาก จึงมีเรือประมง
ไทยจานวนมากเขา้ ไปทาการประมง ซึ่งสว่ นใหญ่
ใช้ท่าเทียบเรือประมงในจังหวัดระนองขนถ่าย
สิ น ค้ า สั ต ว์ น้ า แ ต่ มี บ า ง ส่ ว น ใ ช้ ท่ า เ ที ย บ
เรือประมงในจังหวดั ภูเก็ต จงั หวัดตรัง เป็นต้น

1.3 สาขาการขายสง่ การขายปลีก การ
ซอ่ มแซมยานยนต์

สัดส่วนร้อยละ 13.0

จักรยานยนตข์ องใชส้ ่วนบุคคล และของใช้ใน
ครวั เรอื น –

การขายปลกี สัดสว่ นร้อยละ 63.5

3.1 การขายส่ง สดั สว่ นรอ้ ยละ 27.6

3.9 การซ่อมแซม สดั สว่ นรอ้ ยละ 8.9

อุตสาหกรรมการผลิตท่ีสาคัญในจังหวัด
ระนอง ส่วนใหญ่เป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่
ต่ อ เ น่ื อ ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ม ง ร อ ง ล ง ม า คื อ
อุตสาหกรรมหมวดขนส่ง และอุตสาหกรรม
หมวดไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ และส่วนใหญ่
โรงงานอุตสาหกรรมเหล่านี้ตั้งอยู่ในเขตอาเภอ
เมือง เนื่องจากเป็นเขตท่ีมีความเจริญและมี
ความสะดวกหลายประการ เช่น การคมนาคม
การสาธารณูปการต่าง ๆ

โ ด ย ก า ร ค้ า ใ น จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง จ ะ มี
โ ค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ต ล า ด ข อ ง จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง มี
ลั ก ษ ณ ะ ไ ม่ ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น ม า ก นั ก ลั ก ษ ณ ะ
โครงสร้าง การตลาดจะเป็นตลาดสินค้าอุปโภค
และตลาดสินค้าเกษตร ซึ่งลักษณะการซื้อขาย
ประกอบดว้ ย

1. จากผู้ผลิต (เกษตรกร) ไปสู่ผู้บริโภค
หรือผู้ค้าปลีกโดยตรง ซึ่งผู้ผลิตจะนาสินค้ามา

จาหน่าย ให้กับผู้บริโภคโดยตรง ส่วนใหญ่จะ
เป็นสินค้าประเภทผักต่าง ๆ ไมผ้ ลและสัตวน์ า้

2. จากผู้ผลิต (เกษตรกร ขายให้กับผู้รับ
ซื้อท้องถิ่น โดยผู้รับซื้อจะเข้าไปเก็บ รวบรวม
สินค้าจาก) เกษตรกร แล้วนาไปขายต่อให้กับ
ผู้ ค้ า ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ห รื อ ผู้ ค้ า จั ง ห วั ด ใ ก ล้ เ คี ย ง
จากผ้ผู ลติ (เกษตรกร) จะนา สินค้ามาจาหน่าย
ให้กบั ผ้คู ้าระดบั จังหวดั ผู้ค้าระดับจังหวัดจะเก็บ
รวบรวมและคัดขนาด คุณภาพชนิดสินค้า และ
จัดส่งไปจาหน่ายต่างจังหวัดต่อไป เช่น สินค้า
สัตว์นา้ ทะเล

แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ต ล า ด ซ้ื อ ข า ย สิ น ค้ า จั ง ห วั ด
ระนองจะเป็นไปในรูปแบบ ดังน้ี

“ตลาดสินค้าเกษตรและสัตว์น้า” จัดเป็น
ตลาดทีม่ ีความสาคญั เป็นลาดบั แรกของจังหวัด
ระนอง เนื่องจากจังหวัดระนองมีการผลผลิต
ทางการเกษตรท่ีหลากหลาย ได้แก่ ยางพารา
กาแฟ ปาล์มน้ามัน มะม่วงหิมพานต์ ไม้ผล

( ทุ เ รี ย น เ ง า ะ มั ง คุ ด ล อ ง ก อ ง ม ะ พ ร้ า ว
จาปาดะ ส้มโอ ส้มเขียวหวาน) หมากและ ข่า
เหลือง ส่วนด้านการตลาดจะมีพ่อค้าคนกลาง
มารับซื้อในพ้ืนที่จังหวัดระนอง และเกษตรกร
บางส่วนก็นา ผลผลิตไปขายเองที่จังหวัด
ใกล้เคียง เช่น อาเภอเมืองชุมพร และอาเภอ
หลังสวน จงั หวัดชุมพร ส่วนสินค้า ประมงสัตว์
นา้ ทะเลนั้น เรือประมงจะนาขึ้นฝ่ ังท่ีท่าเทียบเรือ
ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ส ะ พ า น ป ล า แ ล ะ แ พ ป ล า เ อ ก ช น
ในเขตอาเภอเมือง โดยจะมีพ่อค้ามารับซ้ือสัตว์
สั ต ว์ น้ า ท ะ เ ล ถึ ง ท่ า เ รื อ แ ล้ ว จั ด ส่ ง ไ ป
กรุงเทพมหานคร และอาเภอหาดใหญ่ จังหวัด
สงขลา เพ่ือส่งจาหน่ายต่อตลาดต่างประเทศ
หรือจาหนา่ ยต่อให้กบั ผู้บริโภค

“ตลาดสินค้าอุปโภค” ตลาดสินค้าอุปโภค
บริโภคส่วนใหญ่อยู่ในย่านตลาดเทศบาลเมือง
ระนองตั้งอยู่บริเวณใจกลางเมืองระนอง เป็น
ศูนย์กลางจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคที่สาคัญ

ท้ังประเภทขายส่งและขายปลีกศู นย์กลาง
การค้าและการตลาดทีส่ าคญั

ใ น ส่ ว น สิ น ค้ า น า เ ข้ า แ ล ะ สิ น ค้ า ส่ ง อ อ ก
รายการสาคัญ สินค้านาเข้าในจังหวัดระนอง
ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าท่ีจาเป็นต่อการครองชีพ
ซึ่งไม่สามารถผลิตได้เอง หรือผลิตได้น้อยไม่
เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภคภายใน
จังหวัด โดยมีสินค้านาเข้าที่สาคัญคือ ข้าวสาร
จะนาเข้ามาจากภาคกลาง ภาคเหนือ และภาค
ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ วั ส ดุ ก่ อ ส ร้ า ง แ ล ะ
เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า จ ะ น า เ ข้ า ม า จ า ก
กรุงเทพมหานคร สินค้าท่ีจาเป็นต่อการครอง
ชีพต่าง ๆ เช่น สบู่ ยาสีฟนั ผงซักฟอก น้ามัน
พืช น้าตาลทราย และเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม และ
ยารักษาโรค เป็นต้น สินค้าส่งออกเป็นสินค้าที่
ผลิตในจังหวัดระนองและส่งออกไปจาหน่ายยัง
จังหวัดใกล้เคียง ตลาดกรุงเทพฯ และตลาด
ต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร สินค้า

ประมง และผลิตภัณฑ์ สัตว์น้า เช่น สัตว์น้า
ทะเลแช่แขง็ ทงั้ ปลา ปู กุ้ง และปลาป่น เป็นตน้

ซึ่ ง ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ ก า ร ค้ า ส่ ว น ใ ห ญ่
ของจงั หวัดระนอง เป็นธุรกจิ ขนาดเล็กประกอบ
กับสินค้าอุปโภคบริโภคท่ีนาเข้ามาจาหน่ายใน
จังหวัด ผู้ประกอบการค้าจะนาไปเก็บสินค้า
สาเร็จรูป (Stock) ไว้จาหน่ายเพียงระยะสั้นๆ
ในโกดังเก็บของผู้ประกอบการเท่าน้ัน หรือ
แ ม้ แ ต่ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค้ า ช า ย แ ด น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น
สนิ ค้าเพ่ือการส่งออกหรือนาเข้าจากต่างประทศ
เมื่อผู้ประกอบการได้รับสินค้าจะรีบส่งต่อสินค้า
เหล่าน้ันออกไปจากครอบครองทันที จึงแทบจะ
ไม่มีความจาเป็นท่ีจะต้องใช้สถานที่เก็บรักษา
สนิ ค้าขนาดใหญ่อยา่ งเช่นคลังสินค้าแต่อย่างใด
จังหวัดระนองจึงไม่มีคลังสินค้าที่จัดตั้งขึ้นตาม
ก ฎ ห ม า ย จ ะ มี ก็ เ พี ย ง แ ต่ โ ก ดั ง สิ น ค้ า ข อ ง
ผู้ประกอบการค้าบางประการเท่าน้ัน และจะมี
องค์กรภาคเอกชนท่มี บี ทบาทในการกาหนดแนว
ทางการพัฒนาการค้าของจังหวัดรวมถึงมีส่วน

ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจที่
สาคัญ คือ หอการค้าจังหวัดระนอง สภา
อุตสาหกรรมจังหวัด สมาคมประมงระนอง
ชมรมโรงน้าแข็ง สมาคมจ้างธุรกิจการค้าผ้า
สาเร็จรูป สมาคมผู้ค้าปลีกและค้าส่ง สมาคม
ส่งเสริมการเล้ียงสัตว์ ชมรมผู้ส่งออกจังหวัด
ระนอง สมาคมพ่อค้าท่าเมืองเรืองราษฎร์ เป็น
ตน้

2.ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนของดขี นึ้ ช่อื ในตาบล
บางรน้ิ

2.1 ผลติ ภณั ฑส์ ินค้า OTOP แบรนด์ รริน

กลุม่ หมู่บ้านน้าแร่พรร้ัง หมู่3 ตาบล บาง
รน้ิ อาเภอเมือง กลุ่มหมู่บ้านน้าแร่พรร้ังนั้นเกิด
มาจาก กรมพัฒนาชุมชนโดยทางกรมเป็นผู้
แ น ะ น า ใ ห้ ช า ว บ้ า น พ ร ร้ั ง นั้ น ใ ห้ หั น ม า ท า สิ น ค้ า
OTOP และทางกรมพัฒนาจะเป็นผู้แนะแนวการ
สอนทาสินค้าท้ังหมด โดยจะให้คนภายในชุมชน

เข้ามาอบรมฝึกการทาสินค้า เพื่อต่อยอดรายได้
ให้กับหมู่บ้านและตนเอง โดยกลุ่มหมู่บ้านน้าแร่
พ ร รั้ ง นั้ น ไ ด้ มี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า OTOPภ า ย ใ ต้
แบรนด์รริน กล่มุ หมูบ่ ้านนา้ แร่พรรั้งไดม้ กี ารเร่ิม
จดั กลมุ่ เร่ิมเม่ือปี พ.ศ.2557 โดยมีสมาชกิ เร่ิมที่
50โดยมีประธาน คือ คุณ วราภรณ์ เชาวนะ
ทางกล่มุ หมบู่ ้านนา้ แร่พรร้ังจะมีการทาสินค้าและ
ไปวางจาหน่ายตามแหล่งท่องเท่ียวต่าง ๆ เช่น
OTOPสนามกฬี า,เดินทางไปจดั บธู ทต่ี ่างจังหวัด
ตามเมืองทองธานีและก็มีการวางตามตลาด
นดั -ถนนคนเดิน จากกลุ่มหมู่บ้านนา้ แร่พรรั้งได้
ข า ย สิ น ค้ า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ OTOPจ ะ ไ ด้ ก า ไ ร ปั น ผ ล
ประมาณ50,000บาทตอ่ ปี


Click to View FlipBook Version