The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการความรู้ (KM) ประจำปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
กระบวนการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยและบริการวิชาการ “กระบวนการทำงานสู่ผลงานวิจัย”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siripon Saenboonsong, 2021-05-14 02:06:02

คู่มือการจัดการความรู้ (KM) คณะครุศาสตร์ 2563 | กระบวนการทำงานสู่ผลงานวิจัย

คู่มือการจัดการความรู้ (KM) ประจำปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
กระบวนการจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยและบริการวิชาการ “กระบวนการทำงานสู่ผลงานวิจัย”

Keywords: KM,EDU

คูม่ ือการดำเนนิ งานการจดั การความรู้

ด้านการผลิตบณั ฑิตและดา้ นการวจิ ัย
ประจำปกี ารศึกษา 2563

“กระบวนการทำงานสู่ผลงานวจิ ยั ”

คณะกรรมการดำเนนิ งานการจดั การความรู้
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา

คูม่ อื การดำเนนิ งานการจดั การความรู้

ด้านการผลิตบณั ฑิตและดา้ นการวจิ ยั
ประจำปีการศึกษา 2563

“กระบวนการทำงานสูผ่ ลงานวจิ ัย”

จากการถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบ
บริหารจัดการงานวิจัย เพ่ือให้อาจารย์คณะครุศาสตร์ได้นำแนวปฎบิ ัตินีไ้ ปใชเ้ พือ่ พฒั นาผลงานทางวชิ าการของ
ตนเองซงึ่ ส่งผลต่อคุณภาพของหลกั สตู รและคณะครศุ าสตร์ คณะผดู้ ำเนนิ การไดใ้ ชว้ ธิ ีการถอดองค์ความรู้ และ
การแลกเปลี่ยนความรู้โดยให้คณาจารย์ท่ีมปี ระสบการณ์ในการพัฒนางานวิจัย มีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่
รวมท้ังมกี ารนำเสนอผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติทีป่ ระสบผลสำเร็จอย่างต่อเน่อื ง รวมทัง้ ยงั มกี าร
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาผลงานวิจัยกับบุคลากรภายนอก ประกอบด้วย อาจารย์มหาวิทยาลัยใน
ระดบั อดุ มศกึ ษา ไดแ้ ก่ คณาจารยจ์ ากคณะวิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการ
จัดการ และผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ได้แก่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน และรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน ร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรผู้ า่ นการประชมุ ในรูปแบบออนไลน์ โดยสามารถสรปุ องค์ความรู้ตามโมเดล 6P มปี ระเด็นดังนี้

ประเดน็ ความรู้ 6 ประเดน็
ประเด็นที่ 1 : การสรา้ งแรงผลกั ดัน (Passion)
ประเด็นที่ 2 : การวิเคราะห์ปญั หา (Problem)
ประเดน็ ท่ี 3 : การเลือกประเดน็ หวั ข้อ (Point)
ประเดน็ ท่ี 4 : การกำหนดแบบแผน (Pattern)
ประเด็นที่ 5 : การวางแผนการดำเนินงาน (Planning)
ประเดน็ ท่ี 6 : การนำเสนอผลงาน (Presentation)

ผลการดำเนนิ การถอดบทเรยี น

ผลการดำเนินการถอดบทเรยี น ผดู้ ำเนนิ การสามารถสรุปองคค์ วามรูไ้ ด้ ดงั น้ี
ประเดน็ ท่ี 1 : การสรา้ งแรงผลกั ดัน (Passion)
กระบวนการสร้างแรงผลักดันเริ่มต้นเปน็ เรื่องสำคัญมาก ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญในการทำวิจัย ในการ
พัฒนางานด้านการวิจัย ซึ่งแรงผลักดันของคนเรามีทั้งภายในและภายนอกโดยทั้งสองส่วนต้องมีความ
สอดคลอ้ งกัน ในส่วนของแรงผลกั ภายในเกิดข้ึนโดยตัวผวู้ ิจัยท่อี ยากจะทำงานวิจยั ในเร่อื งท่ีตนเองสนใจ ตรง
กบั สาขาวิชา มีความชอบ มคี วามถนดั เกดิ จากงานอดิเรกทท่ี ำเป็นประจำ หรอื อาจเกิดจากปัญหาที่พบเจอใน
ชั้นเรียนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสู่งานวิจัย รวมทั้งจากกรอบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ท่ี
กำหนดเวลาไว้ชัดเจนจากแหล่งทุน ผู้วิจัยจึงมีความตั้งใจในการทำงานเพื่อให้งานประสบผลสำเร็จอย่างมี
คุณภาพ สว่ นการสร้างแรงผลกั ดันจากภายนอก ผบู้ ริหารเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดเปา้ หมายในรูปแบบ

2

ของนโยบายคณะ จดั ระบบให้เออื้ ตอ่ การทำวิจัย ผลักดนั สนับสนุน ให้ครอู าจารย์ดำเนินโครงการพัฒนาไปสู่
การทำงานวิจยั ควรใหม้ กี ารจับคู่กนั ทำวิจยั มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการ มพี ี่เลย้ี งหรือทีมงานในการสร้างสรรค์
งานวิจัยที่ก่อให้ประโยชนส์ ่วนรวมและมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น นอกจากน้ีมีเครือข่าย การจัดกลุ่มเพื่อกระตุน้
และกำกับติดตามการทำวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ อีกทั้งการสร้างความตระหนัก และผู้บริหารให้การ
สนับสนุนจะช่วยให้เกดิ แรงผลกั ดันในการทำวิจัยส่งผลให้ทุกคนไดท้ ำเริ่มทำการวิจยั และทำงานวิจัยไดส้ ำเรจ็
ลุล่วง อีกทั้งผู้บริหารควรมีการวิเคราะห์ปัญหาสาเหตุที่ทำให้อาจารย์ไม่ทำวิจัย การนำนโยบายมาใช้อย่าง
ชดั เจนและจริงจัง เชน่ การกำหนดให้เป็นส่วนหน่งึ ของภาระงาน KPI ในการประเมินการปฏิบัตงิ าน การเป็น
อาจารย์ประจำหลกั สูตร อีกทง้ั การนำผลงานวจิ ัยไปเปน็ ส่วนหนง่ึ ในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดยควรหา
วธิ ีการผลักดนั ทัง้ ภายในและภายนอกเพอื่ ให้ได้ผล โดยเริ่มจากงานเลก็ ๆ งานประจำกอ่ น และทำให้สอดคล้อง
กับสภาพบริบทของงานที่ทำ เช่น งานวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร เพื่อพัฒนาองค์กร เป็นต้น นอกจากน้ี
แรงผลกั ดนั อาจจะมาจากในจิตใจผลพลอยได้จากการทำวิจัย เชน่ การไปนำเสนอผลการวจิ ัยและไดเ้ ท่ยี ว

ด้านงบประมาณสนับสนุนของนักวิจัย มีทั้งงบประมาณภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย นักวิจัย
จะต้องคิดหวั ขอ้ วจิ ัยหรือตั้งประเด็นในการทำวิจยั ใหต้ รงกบั ความต้องการของแหลง่ ทนุ ท่ีจะขอการสนบั สนุน
ควรเป็นงานวจิ ัยในเชิงบรู ณากับศาสตร์อืน่ ๆรว่ มดว้ ย เชน่ อาจารย์ทางนวตั กรรมและเทคโนโลยีร่วมกบั อาจารย์
ทางสังคมศาสตร์ ทง้ั นผี้ วู้ ิจัยไมค่ วรยึดติดเพียงศาสตรข์ องตนเองอย่างเดียว นอกจากน้อี าจจะมีส่วนเก่ียวข้อง
กับค่าตอบแทนทม่ี หาวิทยาลัยสนบั สนนุ เชน่ ค่าตอบแทนในการเผยแพรผ่ ลงานวิจัย เป็นต้น

ประเดน็ สำคญั /เคลด็ ลับความสำเร็จ
1. สร้างแรงผลักดันภายในและภายนอก
2. นำส่ิงทีช่ อบ มีความถนัด หรอื เชย่ี วชาญ ไปพฒั นาเปน็ งานวิจยั
3. ควรทำวจิ ยั รว่ มกัน/สัดส่วนวิจัยกบั เพ่ือนร่วมงาน และบรู ณาการข้ามศาสตร์หรือข้ามสาขาวิชา
4. ค้นหางบประมาณสนบั สนุนจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

ประเดน็ ที่ 2 : การวเิ คราะห์ปญั หา (Problem)

ขนั้ ตอนแรกของกระบวนการทำวิจัย คือ การวิเคราะหป์ ัญหา สว่ นใหญ่อาจเรมิ่ จากปัญหาในหอ้ งเรียน
ศาสตร์ สาขาที่สอน ความเชีย่ วชาญ ส่งิ ที่ต้องการรู้ แมแ้ ต่ขอ้ เสนอแนะจากงานวจิ ัยที่เราสนใจ รวมทงั้ ประเด็น
ปัญหาที่เกิดจากการทำงานในเชงิ พื้นท่ีที่ได้มีการทำงานเชิงบูรณาการข้ามศาสตร์ งานวิจัยร่วมระหวา่ งสาขา
หรือการพัฒนานวัตกรรม มีการร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้กันและกนั อย่างเช่น อาจารย์คณะครศุ าสตร์กับครใู น
โรงเรียนสาธิต หรอื การทำงานร่วมกนั ของอาจารย์ตา่ งมหาวทิ ยาลัย นอกจากนผี้ วู้ จิ ัยสามารถสืบค้นประเด็น
ปัญหาทางอินเทอร์เน็ตท้งั ข้อมลู เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ แต่ตอ้ งมีแหลง่ อา้ งองิ ทนี่ ่าเชื่อถอื สามารถเขียนเรียบ
เรียงระบุเกยี่ วกับความหมายความสำคญั ของปัญหางานวิจยั ของตนเองให้ชัดเจนอันจะส่งผลใหร้ ับการจัดสรร
ทุนวิจัยและทำงานได้อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ปัญหาตอ้ งมคี วามสำคัญ มีความเร้าใจท่ีจะหาคำตอบ ปัญหา

3

ควรจะเป็นปัญหาเชิงรุก เช่น ปัญหาที่ต้องได้รบั การแก้ไขปรับปรงุ ปัญหาที่หากไม่ป้องกนั ไว้อนาคตอาจจะ
เกดิ ปัญหา หรืออาจจะเปน็ ปญั หาเชิงพัฒนาจะทำให้หน่วยงานองค์กรเรามีคณุ ภาพมากขน้ึ จึงควรมีโคช้ คอยให้
คำปรกึ ษาเก่ียวกบั ปัญหาในการวจิ ยั เพ่ือให้ปญั หานน้ั เป็นปัญหาทนี่ ่าค้นหาคำตอบ นอกจากน้อี าจจะคน้ ปญั หา
จากการอ่านงานวิจัยที่สนใจหลายๆ แหล่ง จะเห็นช่องวา่ งขององคค์ วามรู้ ซึ่งจะเปน็ ท่ีมาปัญหาของงานวิจยั
ของเรา นอกจากน้กี ารบริการวิชาการก็จะเป็นแรงผลกั ดนั ใหต้ อ้ งทำการวิจัยเพอื่ ให้คุ้มคา่ ในการลงพื้นท่ีและจะ
ทำให้เหน็ ถงึ ปัญหาทจ่ี ะทำวจิ ัย

ประเดน็ สำคญั /เคลด็ ลบั ความสำเรจ็
1. คน้ หาปัญหาจากงานประจำตามท่ถี นัด เชน่ งานสอน งานบรกิ ารวิชาการ เปน็ ต้น
2. นำผลจากบรกิ ารวิชาการมาพฒั นางานวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป
3. พิจารณาจากขอบเขตของแหลง่ ทนุ ท่ขี อ
4. ศึกษาจากข้อเสนอแนะงานอ่ืนทเ่ี กี่ยวข้อง

ประเด็นที่ 3 : การเลือกประเด็นหัวขอ้ (Point)
การเลอื กประเดน็ หัวขอ้ ไดม้ กี ารอธิบายไว้วา่ นักวิจัยได้เลือกจากศาสตร์ความเชี่ยวชาญ ความทนั สมัย
มีความน่าสนใจ จากปัญหาในการทำงานในชัน้ เรียน ปัญหาที่เกิดจากการสอนของครูในปัจจุบัน ประเด็นท่ี
สอดคลอ้ งกับการสอนในมหาวิทยาลยั อย่าง PLC หรอื STEM ซ่ึงสามารถนำไปใช้ในกระบวนการทำงานและ
การบริการวิชาการ รวมทั้งเลือกจากหน่วยงานเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยงานที่ทำความร่วมมือกัน หน่วยงานที่
สนับสนุนทุนการวิจัย เป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือกหัวข้อในส่วนที่เราสามารถแก้ปัญหาได้ และสามารถ
ดำเนินการไดจ้ ริง และชว่ ยกันระดมความคดิ ในการตั้งหัวข้อให้น่าสนใจ ชัดเจนและตรงประเดน็ นอกจากนี้พบ
ประเดน็ ปัญหาจากการเรยี นการสอนและปญั หาจากการทำงาน หรอื จากการลงพ้ืนท่ี เพ่ือนำมาสกู่ ารหาวธิ กี าร
แก้ไขปัญหาเพื่อพัฒนานวัตกรรมแก้ไขปัญหานั้นได้อย่างไร เช่นประยุกต์ใช้เทคนิคการสอนใหม่ๆ หรือ
เทคโนโลยีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ อีกทั้งจากการวิเคราะห์ปัญหาเราจะได้สาเหตุและแนวทางแก้ไข
ซ่งึ เรามาจัดอนั ดับความสำคัญจำเป็นของปัญหาท่ีต้องไดร้ ับการแก้ไขซึ่งเราจะนำมาสู่การเลือกปัญหาที่สำคัญ
มคี วามถนัดตรงกับศาสตร์ของเรา และทันสมยั และค้นควา้ หลกั การ แนวคิด และทฤษฏีที่เกี่ยวข้องประกอบ
เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิดความซำ้ ซ้อนในการกำหนดประเดน็ หัวข้อ อีกทง้ั ถา้ เป็นทางสายวทิ ยาศาสตรจ์ ะเน้นดูความพรอ้ ม
ของเครื่อมอื อุปกรณ์/ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีภายในคณะหรือสถานที่ใกลเ้ คียงสามารถเริม่ ต้นทำอะไรได้
บ้าง แลว้ จะปรบั หัวขอ้ วิจัยใหเ้ ขา้ กับเครื่องมอื อุปกรณ์/โปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ี หรืออาจจะใช้ความร่วมมือ
จากเครอื ขา่ ยโรงงานอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ
ประเด็นสำคญั /เคลด็ ลับความสำเร็จ
1. เลือกประเด็นหวั ข้อวิจัยจากการวเิ คราะหป์ ญั หาการวิจยั
2. กำหนดหัวขอ้ วิจัยให้สอดคล้องกับความต้องการ/ความสนใจของตนเอง
3. กำหนดประเดน็ จากความถนัดในศาสตรข์ องตนเอง
4. ดูทศิ ทางความทันสมยั ในปัจจบุ ัน

4

ประเด็นที่ 4 : การกำหนดแบบแผน (Pattern)
การกำหนดแบบแผนการวิจยั เป็นองค์ประกอบสำคัญของการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเรจ็

ซง่ึ การเลือกแบบแผนการวจิ ัยนนั้ ควรสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์การวิจยั หรอื เป้าหมายของการวิจยั ออกแบบ
เคร่ืองมือวัดทเี่ หมาะสมและมคี ุณภาพ มีการกำหนดและเลอื กกลุ่มตวั อย่างได้อย่างเหมาะสม ควรกำหนดกลุ่ม
ตัวอย่างที่สามารถเข้าถึงได้ และมีการกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการตามแผนงานที่ชัดเจน นอกจากนี้
เพอ่ื ใหง้ านวิจัยมีความนา่ เชื่อถือมากข้ึน ควรออกแบบการวิจัยโดยใช้วิธีวิทยาการท่ีหลากหลายท้ังเชิงปริมาณ
และเชิงคุณภาพ หรือการออกแบบการวิจัยแบบ R&D มีการแบ่งเป็นส่วนในการวิจัย ในส่วนแรกเป็นการ
สำรวจความตอ้ งการ หลังจากนน้ั เอาผลการสำรวจมาพฒั นาเป็นเครื่องมือหรือเป็นนวัตกรรม การพัฒนาต้อง
ผ่านกระบวนการหรือระเบียบวิธีการ หลังจากนั้นนำผลที่ได้ ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง และทำการวิเคราะห์ผล
ออกมา เป็นต้น นอกจากนี้การทบทวนวรรณกรรมก็เป็นส่วนสำคัญ เพราะช่วยให้ผู้วิจัยมีข้อมูลที่เพียงพอ
สำหรับการออกแบบการวจิ ัยได้อย่างชดั เจน และรัดกุมมากย่ิงขึ้นในทุกๆขั้นตอน นอกจากนี้ควรคำนึงถึงว่า
เครื่องมือในการวิจยั ควรออกแบบอย่างไรให้มคี วามน่าเชื่อถอื และมีความเช่ือม่ัน อีกทั้งวางแผนจัดสรรเวลา
และมีวินัยในกำกับตนเองในการทำวิจัยให้เป็นไปตามแผนการวิ จัยที่กำหนดและตอบตามที่วัตถุปร ะสงค์
กำหนด นอกจากนคี้ วรพิจารณาถึงการดำเนนิ งานตามแผนในการขอจรยิ ธรรมวิจัยในมนษุ ย์

ประเด็นสำคัญ/เคล็ดลับความสำเร็จ
1. กำหนดแบบแผนการวจิ ัยให้สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย
2. กำหนดแบบแผนการวิจัยให้ชัดเจน ออกแบบเครื่องมือที่เหมาะสมน่าเชื่อถือ และทบทวน
วรรณกรรมอยา่ งรดั กมุ
3. กำหนดเวลาและการทำตามแผนท่วี างไวใ้ หล้ ลุ ่วง

ประเด็นที่ 5 : การวางแผนการดำเนนิ งาน (Planning)
กระบวนการการวางแผนการดำเนินงานเปน็ ส่งิ สำคัญในการพัฒนาผลงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จ
น้นั ควรเริม่ จากการกำหนดกรอบเวลาทีช่ ดั เจน เช่น การใช้ตาราง Gantt Chart กำหนดปฏทิ ินการดำเนนิ งาน
ระบุรายละเอียดของแผนงานที่ตอ้ งดำเนนิ การให้ชดั เจน การวางแผนงานอย่างเป็นลำดับขน้ั ตอน เนอ่ื งจากใน
แต่ละกระบวนการของงานวิจัยต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ เช่น การเตรียมโครงร่าง การขอทนุ และ
การดำเนินการเก็บข้อมูลให้เป็นไปตามเวลา และการขอจริยธรรมงานวิจัย การสร้างเครื่องมือ ซึ่งต้องใช้
ระยะเวลาในการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ ในบางงานวิจัยต้องใช้เครื่องมือเฉพาะทางต่าง ๆ ต้องคำนึง
เวลาการผลิต หรือการสั่งซื้อ เพราะอาจล่าช้ากว่าแผนที่กำหนดได้ รวมทั้งการวางแผนการตีพิมพ์เผยแพร่
ผลงานวิจัย TCI-1 และ TCI-2 เป็นต้น ซึ่งเปน็ สิ่งสำคญั ทีต่ ้องวางแผนกรอบเวลา และขั้นตอนการดำเนนิ การ
รวมทั้งคอยกำกับเวลาให้เป็นไปแผนที่วางไว้ นอกจากนี้การสร้างวินยั ในตนเอง เป็นสิ่งที่สำคัญที่ชว่ ยให้การ
ดำเนนิ งานนนั้ สำเรจ็ บรรลุตามเป้าหมายท่ีวางไว้ นอกจากน้ีควรการปฏบิ ัติงานตามระยะเวลาของแหลง่ เงินทุน
และมีวินัยในตนเองแต่สิ่งที่สำคัญที่ควรปฏิบัติยืดถือ คือ จรรยาบรรณในการทำวิจัย ถ้าหากไม่ได้ทำตาม

5

กฎระเบียบวิธีของการวิจัย ผลงานของเราไปใช้นั้นก็จะทำให้เกิดโทษกับผู้ที่นำผลงานไปใช้ ประโยชน์
ถา้ ผลการวิจัยนน้ั บิดเบ้ียวหรอื ผิดเพี้ยน อาจสง่ ผลกับองค์ความรู้ที่เกิดขนึ้

ประเดน็ สำคญั /เคล็ดลับความสำเร็จ
1. การกำหนดกรอบเวลาทีช่ ดั เจน เช่น การใชต้ าราง Gantt Chart
2. การวางแผนงานอย่างเปน็ ลำดบั ขนั้ ตอน
3. มีวนิ ัยในตนเอง

ประเดน็ ที่ 6 : การนำเสนอผลงาน (Presentation)
การนำเสนอผลงาน ประเด็นการพิจารณาประการแรก คือ การเลือกแหล่งตีพิมพ์ให้สอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายของการพัฒนางานวิจัย เช่น ทำงานวิจัยเพื่อการยื่นขอผลงาน ควรเลือกตีพิมพ์เผยแพร่ผลใน
วารสารในฐาน 1 หรอื ในวารสารฐานอ่ืนทเ่ี ทยี บเท่าหรอื สงู กว่า ประการทสี่ อง ข้อกำหนดของแหลง่ ทุน ซึ่งใน
บางแหล่งทนุ กำหนดเงือ่ นไขของแหลง่ ตพี ิมพ์ เช่น ต้องตีพมิ พใ์ นวารสารฐาน 2 ข้ึนไป เป็นต้น ประการท่ีสาม
การตรวจสอบคุณภาพของงานวิจยั เพอ่ื กำหนดแหล่งตพี มิ พใ์ ห้เหมาะสมตอ่ ไป ประการทีส่ ี่ การสร้างบันดาลใจ
โดยการเลือกไปนำเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ อาจกำหนดเลือกนำเสนอประเทศที่สนใจ จะเป็นการ
เปดิ มุมมองใหม่ ๆ เพ่ือนำประเด็นมาต่อยอดงานวิจยั ต่อไปได้ อีกท้งั การนำเสนอผลงานน้ันข้ึนอยู่กับงานวิจัย
ชน้ิ นัน้ มีจดุ มุ่งหมายอะไร จะนำเสนอเพอ่ื ขอตำแหนง่ วชิ าการหรือขอเลอ่ื นตำแหน่ง หรอื นำเสนอเพอ่ื ตามเกณฑ์
วิจยั หรือนำเสนอตามสญั ญางาน นอกจากนี้ขนึ้ อยู่กบั ระดับของแหลง่ ท่ีตีพิมพ์นำเสนอผลงานใหส้ อดคล้องกับ
เป้าหมายของแหล่งทุน และเป้าหมายของแหล่งตีพิมพ์ ซึ่งผลการวิจัยที่นำไปเผยแพร่ควรเป็นผลที่ตอบตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจัยผลที่เกิดขึ้นจริงๆจากการทำวิจัยอย่างครบถ้วน เพื่อให้ผู้ใช้ได้นำผลการวิจัยไปใช้
ประโยชน์อย่างต่อเนื่องได้ นอกจากนี้ในงานวิจัยหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรมต่าง ๆ
สามารถนำไปเผยแพร่ตอ่ ยอดไปสูก่ ารจดสทิ ธิบัตร หรืออนสุ ทิ ธบิ ตั รได้ สามารถถา่ ยทอดไปสหู่ น่วยงาน/ชมุ ชนได้
ประเด็นสำคัญ/เคล็ดลับความสำเรจ็
1. การเลือกแหลง่ ตีพมิ พใ์ หส้ อดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
2. นำเสนอหรือเผยแพร่ผลงานตามขอ้ กำหนดของแหลง่ ทุน
3. เลือกเผยแพร่ผลงานในวารสารฐาน TCI 1 หรอื 2 หรือนานาชาติ
4. เลือกเผยแพร่ผลงานในการประชุมวชิ าการระดับชาติ หรือนานาชาตติ ามเกณฑ์ กพอ.
5. การตรวจสอบคณุ ภาพของงานวิจยั ก่อนการเผยแพร่
6. ต้งั เปา้ หมายของการเผยแพร่ แล้วดำเนินการไปสเู่ ปา้ หมาย

6

ภาคผนวก

ภาพการประชุมคณะกรรมการดำเนนิ งานตามแผนการจดั การความรู้

การสรา้ งและแสวงหาความรู้ การจดั การความรดู้ า้ นการวิจยั
คร้งั ท่ี 1 วันที่ 10 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00-15.00 น. แบบออนไลน์

ประเดน็ ที่ 1 : การสร้างแรงผลกั ดนั (Passion)
ประเด็นที่ 2 : การวิเคราะหป์ ญั หา (Problem)

7

8

ครั้งท่ี 2 วันที่ 17 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00-15.00 น. แบบออนไลน์
ประเดน็ ที่ 3 : การเลือกประเดน็ หัวข้อ (Point)
ประเดน็ ที่ 4 : การกำหนดแบบแผน (Pattern)

9

10

ครงั้ ท่ี 3 วนั ที่ 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เวลา 13.00-15.00 น. แบบออนไลน์
ประเดน็ ท่ี 5 : การวางแผนการดำเนนิ งาน (Planning)
ประเดน็ ท่ี 6 : การนำเสนอผลงาน (Presentation)

11

12

การจัดการความรู้ (เปดิ เวที) แบบออนไลน์
โครงการการจัดการความรู้ (KM) เพอื่ พฒั นาและถา่ ยทอดองคค์ วามร้สู ่กู ารปฏบิ ัติ
วนั พุธท่ี 21 เมษายน 2564

13

14

คณะดำเนินงาน | การจัดการความร้ดู า้ นการวิจยั ทปี่ รกึ ษา
1. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.สุวนติ ย์ รงุ่ ราตรี ประธานกรรมการ
2. ผชู้ ่วยศาตราจารย์ เสาวลักษณ์ ประมาน รองประธาน
3. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ศิรพิ ล แสนบญุ สง่ กรรมการ
4. ผูช้ ่วยศาตราจารย์ ดร.ปยิ ะธิดา ทองอรา่ ม กรรมการ
5. อาจารย์ ดร.พัชนี บญุ รัศมี กรรมการ
6. อาจารย์รุ่งทวิ า สุภานันท์ กรรมการ
7. อาจารย์เนตรนิภา เจยี มศกั ดิ์ กรรมการ
8. อาจารย์กติ ติภพ มหาวนั กรรมการและเลขานกุ าร
9. อาจารย์ ดร.อัจฉราพรรณ กนั สุยะ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ
10. นางสาวทพิ วรรณ เกดิ เรณู

รายนามผ้เู ชี่ยวชาญ | การจัดการความรดู้ ้านการวิจัย 6. ผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร.บริบรู ณ์ ชอบทาํ ดี
แลกเปลยี่ นเรียนร้ภู ายใน 7. ผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร.ประวทิ ย์ ประมาน
1. ผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร.อมรรตั น์ สน่ันเสยี ง 8. ผู้ช่วยศาตราจารย์จนั จริ า หาวชิ า
2. ผชู้ ่วยศาตราจารยว์ ัชรินทร์ เสมามอญ 9. อาจารย์ศิรริ ัตน์ ชาวนา
3. อาจารย์ ดร.กงิ่ สร เกาะประเสริฐ 10. อาจารย์รักษมน ยอดมงิ่
4. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.สุภทั รา คงเรือง
5. อาจารย์ศักดา จันทราศรี

แลกเปล่ยี นเรยี นร้ภู ายนอก (เปดิ เวท)ี

1. นางธณญั ญา โพธ์ิศรี ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวัดกลาง (ปากกรานสามคั ค)ี

2. นายอัครพล พลู สวัสดิ์ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนพระอนิ ทรศ์ ึกษา (กล่อมสกลุ อทุ ศิ )

3. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.อมรรตั น์ สนน่ั เสยี ง

สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ คณะครศุ าสตร์

4. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ประดนิ ันท์ เอี่ยมสะอาด

รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

5. ผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร.นฤมล อนสุ นธิ์พฒั น์

สาขาวชิ าการพัฒนาชมุ ชนและสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

6. อาจารย์ ดร.เมธารัตน์ จันตะน

สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การคา้ สมยั ใหม่คณะวิทยาการจดั การ

15


Click to View FlipBook Version