The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสังคมวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by a little more Kindness, a little less Judgment, 2020-10-27 13:38:54

The Elderly's Weekly

หลักสังคมวิทยา

LDERLY'S

WEEEKLY
E

Group member

Elderly's weekly

table
of contents

ภาพรวม 03 14 12
01 สถานการณ์

ผสู้ งู อายุใน
ประเทศไทย
01 สวสั ดกิ ารและ
ยุทธศาสตรข์ อง
ผสู้ งู อายุ

03 ชนชนั ล่าง
03 กลาง

03 บน

03 คนนอก 31 23
50 69
03 Special
column

03 Synthesis

Elderly's weekly

www.Elderlyweekly.co.th

ภาพรวมสถานการณ์ผู้สูงอายุ
ในประเทศไทย

Aging Society Completed Aged Society Super Aged Society

ปจจุบัน ประเทศไทยถือเปนสงั คมผู้สงู อายุ (Aging Society) ตามคํานยิ ามขององค์การสหประชาชาตเิ ปนที

เรยี บร้อยแล้ว นนั คือ ประเทศไทยมสี ัดส่วนผู้สูงอายุเกนิ รอ้ ยละ 10 ของประชากรทังประเทศ โดยในป พ.ศ. 2558
ประเทศไทยมีประชากรทมี ีอายุสูงกว่า 60 ป สงู ถึงร้อยละ 15.6 ของประชากรทังประเทศ หรอื 10.42 ล้านคน และ
จะกา้ วเขา้ สูก่ ารเปนสังคมผ้สู งู อายโุ ดยสมบรู ณ์ (Completed Aged Society ) เมือมีสดั สว่ นผู้สงู อายุมากกวา่
รอ้ ยละ 20 ในป พ.ศ. 2563 ทงั นีประเทศไทยจะกา้ วสกู่ ารเปนสังคมสงู วยั ระดบั สดุ ยอด (Super Aged Society)
ในป พ.ศ. 2578 ซงึ ประชากรทีสูงอายุจะมสี ัดสว่ นมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทงั หมด นอกจากนี จากขอ้ มลู
การสาํ รวจการทาํ งานของผสู้ งู อายุในประเทศไทยของสาํ นกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ ป พ.ศ. 2558 ยงั พบวา่ ผ้สู ูงอายุ
ชาวไทยทที าํ งานมสี ดั สว่ นอย่รู อ้ ยละ 36.3 หรอื คดิ เปนแรงงานสงู อายุ จาํ นวน 3.78 ล้านคน ในคอลัมน์นีจะกล่าว
ถึงภาพรวมสถานการณ์ผสู้ ูงอายุในประเทศไทย เกยี วกับลกั ษณะทางประชากรของผู้สงู อายุ

ภาพที 1

10

7.5 สํานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือสาร ได้จัดทาํ เอกสารการสาํ รวจประชากรสงู อายุในประเทศไทย
5 พ.ศ. 2557 ซงึ เปนการสาํ รวจขอ้ มูลระดบั ประเทศโดยมีการจัดทํา
มาอยา่ งต่อเนืองเปนประจําทุก 3 ป นบั ตงั แต่ ป พ.ศ. 2540
2.5 รายงานฉบบั ล่าสดุ นี ถือเปนการสํารวจครังที 5 โดยมีการรวบรวม
ขอ้ มลู พรอ้ มกันทวั ประเทศ ช่วงมิถุนายน-สิงหาคม 2557 พบว่า
0 2550 2555 2560 ประชากรสงู อายุของประเทศไทยมจี ํานวนเพิมขนึ อย่างต่อเนอื ง
2540 ในรอบ 10 ปทผี ่านมา อัตราผูส้ ูงอายเุ พิมขนึ จากร้อยละ 6.8
ในป พ.ศ. 2540 เปน ร้อยละ 14.9 ในป พ.ศ. 2560 โดยตัวเลข
การสาํ รวจในป พ.ศ. 2560 มีผู้สงู อายุจาํ นวน 10,014,705 คน
จาํ แนกเปนเพศหญิง คดิ เปนร้อยละ 54.9 หรอื 5,499,890 คน
และเพศชาย รอ้ ยละ 45.1 หรอื 4,514,815 คน ดังแสดงในภาพที 1

หญิง ชาย

ELDERLY'S WEEKLY 1

AGE DISTRIBUTION

13.6% ภาพที 2 3 เมอื จาํ แนกผสู้ งู อายุตามชว่ งอายุ สามารถจาํ แนกได้
29.9% กล่มุ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผสู้ ูงอายวุ ัยตน้ (อายุ 60-69 ป)
56.5% กลุม่ ผสู้ งู อายวุ ยั กลาง (อายุ 70-79 ป) และ
กลุ่มผสู้ ูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปขนึ ไป)

โดยในปพ.ศ. 2560 พบวา่ ประเทศไทยมีผสู้ งู อายุ
ในกลุ่มวยั ตน้ สูงถึงรอ้ ยละ 56.5 ส่วนประชากรสงู อายุ
ในกลุ่มวัยปลายมสี ัดส่วนนอ้ ยทีสุด คิดเปนร้อยละ 13.6
ดงั ภาพที 2

กลุ่มผู้สูงอายุวัยต้น สดั ส่วนผสู้ ูงอายกุ ลมุ่ ตา่ ง ๆ จําแนกตามช่วงอายุ ของประชากรสูงอายุ
กลุ่มผู้สูงอายุวัยกลาง ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2560
กลุ่มผู้สูงอายุวัยปลาย

จังหวัดทมี ีจํานวนผสู้ ูงอายมุ ากทีสุดและน้อยทีสุด 5 ลําดับแรก ในป พ.ศ. 2560

1,250,000 50,000
1,000,000 40,000
30,000
750,000 20,000
500,000 10,000
250,000
0
0

ก ุรงเนทคพรมราหาชนสีคมรา
เชียงใหม่

ุอบลขรอานชแธ ่าก ีนน
แม่ ่ฮอรงะสนออนง

ตราด
ส ุมทรสงคสราตูมล

จงั หวัดทมี จี ํานวนผ้สู ูงอายมุ ากทีสุด จังหวดั ทีมีจํานวนผสู้ ูงอายุน้อยทีสุด

INFORMATION BY DEPARTMENT OF OLDER PERSONS
ELDERLY'S WEEKLY 2

สิ ท ธิ แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร ผู้ สู ง อ า ยุ

ผูส้ ูงอายมุ ีสิทธไิ ดร้ ับการคุม้ ครอง การส่งเสริม และการสนับสนนุ

ในด้านตา่ ง ๆ ดงั นี

ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

ผสู้ งู อายไุ ดร้ ับการจดั ช่องทางพิเศษเฉพาะ เพือใหผ้ ู้สูงอายุไดร้ บั การบริการ
ทีสะดวก รวดเรว็

1 ด้านการศึกษา การศาสนา และขอ้ มูลขา่ วสาร

ผู้สงู อายุได้รับจดั ศูนย์การเรยี นรู้ในชุมชนและให้มีหลกั สตู รการศึกษาเกียวกับ
ผสู้ งู อายุ ตังแตก่ ารศึกษาขนั พืนฐานถงึ ขนั อุดมศึกษาอยา่ งตอ่ เนือง

2ทงั ในระบบนอกระบบและตามอธั ยาศัย

ด้านการประกอบอาชพี ฝกอาชพี ทีเหมาะสม

ผูส้ ูงอายุไดร้ ับข้อมูล คาํ ปรกึ ษา ขา่ วสารตลาดแรงงาน การจดั หางาน รบั สมัครงาน

3 การอบรมและฝกอาชพี โดยมศี ูนยก์ ลางขอ้ มลู ทางอาชพี และตําแหน่งงานสาํ หรับ
ผู้สงู อายเุ ปนการเฉพาะ ทีสาํ นัก งานจดั หางานทุกแห่ง
ด้านการพฒั นาตนเอง การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสงั คม
การรวมกล่มุ ในลักษณะเครอื ขา่ ยชุมชน

ผ้สู ูงอายุได้รับการสง่ เสริมและสนับสนุนกลมุ่ หรอื ชมรมผสู้ งู อายุ ให้มีสว่ นร่วม

4ในกิจกรรมทางสังคมภายในชมุ ชนหรือระหวา่ งชุมชน และส่งเสริมการใช้
5 ศักยภาพผู้สงู อายุ

ด้านการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในอาคาร สถานที
ยานพาหนะ บรกิ ารสาธารณะอืน

ผสู้ ูงอายไุ ด้รับการจดั สภาพแวดลอ้ มทเี หมาะสมสาํ หรบั ผูส้ งู อายุ การดูแล
ชว่ ยเหลือจากเจ้าหน้าที และการบรกิ ารสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั รวมทงั
การจัดพาหนะอํานวยความสะดวกสําหรบั ผ้สู งู อายุ

ด้านการลดหยอ่ นค่าโดยสาร และการอํานวยความสะดวก
ในการเดินทางโดยบรกิ ารขนสง่ สาธารณะ

ผู้สงู อายไุ ดร้ บั การลดคา่ โดยสารคร่ึงราคา (ไมร่ วมคา่ ธรรมเนียม)

6ตลอดวัน และยกเวน้ คา่ โดยสารในวันผู้สูงอายแุ ห่งชาติวันที 13 เมษายน
ของทุกป และจดั จดั ทนี งั สาํ รองเปนการเฉพาะ
หมายเหตุ ผูส้ ูงอายุตอ้ งแจ้งและแสดงบตั รประจาํ ตัวประชาชนตอ่ เจา้ หน้าที

ELDERLY'S WEEKLY 3 กอ่ นซือตัวโดยสารบริการขนส่งสาธารณะ

ด้านการยกเวน้ ค่าเขา้ ชมสถานทีของรฐั

ผสู้ งู อายุได้รบั การยกเว้นคา่ เขา้ ชมสถานทีของรฐั เชน่ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ
อุทยานแหง่ ชาติ อุทยานประวตั ิศาสตร์ เปนต้น

7ด้านการชว่ ยเหลือผสู้ งู อายุ ซงึ ได้รบั อันตรายจากการถกู ทารุณกรรม
8 หรอื ถกู แสวงหาประโยชนโ์ ดยมชิ อบด้วยกฎหมายหรอื ถกู ทอดทิง

ผู้สูงอายุไดร้ บั การใหค้ ําแนะนํา ปรกึ ษา และให้ความชว่ ยเหลือ และในกรณผี ู้สงู อายุ
ทถี กู ทารุณกรรม แสวงหาประโยชน์โดยมชิ อบดว้ ยกฎหมาย และถกู ทอดทิง จะไดร้ ับการช่วยเหลือตาม
ประกาศกระทรวงการพัฒนา สงั คมและความมันคงของมนุษย์

การให้คําแนะนาํ ปรกึ ษา ดําเนนิ การอืนทีเกียวขอ้ งในทาง
คดี และในทางการแก้ไขปญหาครอบครวั

9ผ้สู ูงอายไุ ดร้ บั การให้คาํ แนะนาํ ปรึกษา และใหค้ วามชว่ ยเหลือ และกรณี

ผู้สูงอายุทีถูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชนโ์ ดยมิชอบด้วยกฎหมาย
และถกู ทอดทงิ จะได้รับการช่วยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนา

10สงั คมและความมนั คงของมนษุ ย์
ด้านการชว่ ยเหลือด้านทีพกั อาศัย อาหารและ
เครอื งนงุ่ ห่มให้ตามความจาํ เปนอยา่ งทัวถึง

ผสู้ งู อายไุ ดร้ ับกรณีผ้สู งู อายทุ เี ดือดร้อนจะได้รบั การ
ชว่ ยเหลือตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั คงของมนุษย์ เรืองการจดั ทพี ักอาศัย
อาหาร เครืองนุ่มหม่ ให้ผ้สู ูงอายตุ ามความจําเปนอย่างทัวถึง

ด้านการชว่ ยเหลือเงินเบยี ยงั ชพี

ผู้สงู อายุซึงมคี ุณสมบตั ติ ามหลกั เกณฑ์ สญั ชาติไทย ไมเ่ ปนผไู้ ด้รับ

11สวสั ดกิ ารหรือสทิ ธิประโยชนอ์ ืนใดจากหนว่ ยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรอื

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ (อปท.) ทีได้จดั ให้อย่างเปนประจาํ จะไดร้ ับการ
ชว่ ยเหลอื เงินเบยี ยงั ชพี เปนรายเดือนตลอดชีวติ
โดยแบง่ ตามช่วงอายุแบบขนั บันได ดงั นี

อายุ 90 ปขึนไป จะได้รบั เดือนละ1,000บาท
อายุ 80 – 89 ป จะไดร้ ับเดอื นละ 800 บาท
อายุ 70 – 79 ป จะได้รบั เดอื นละ 700 บาท
อายุ 60 – 69 ป จะไดร้ บั เดอื นละ 600 บาท

ELDERLY'S WEEKLY 4

12 การสงเคราะห์ในการจดั การศพตามประเพณี

ผสู้ ูงอายุมีคุณสมบัติตามหลกั เกณฑ์
(1) มีอายุเกินหกสิบปบริบรู ณข์ นึ ไป
(2) มสี ัญชาติไทย

(3) ผสู้ ูงอายอุ ย่ใู นครอบครัวทยี ากจนตามขอ้ มลู ความจาํ เปน

พืนฐานของกรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย

(4) ไม่มีญาติ หรือมญี าตแิ ตม่ ฐี านะยากจนไม่สามารถจดั การ

ศพตามประเพณีได้ ผู้สูงอายุยากจนและไมไ่ ด้รับการสํารวจ

ขอ้ มูลความจาํ เปนพืนฐานของกรมการพัฒนาชุมชน

กระทรวงมหาดไทย ให้หนว่ ยงานราชการทีเกยี วข้องเปนผอู้ อก

หนงั สอื รับรอง จะได้รับการชว่ ยเหลอื รายละ 2,000 บาท

การจดั บรกิ ารสถานทีท่องเทียว การจดั กิจกรรมกีฬา
และนนั ทนาการตามทีคณะกรรมการผสู้ งู อายุแห่งชาติ

ประกาศกําหนด

13ผ้สู ูงอายไุ ด้รบั การจัดกิจกรรมโครงการสําหรบั ผู้สูงอายุ
การบรกิ ารตรวจสขุ ภาพ และการทดสอบสมรรถภาพทางรา่ งกาย

สิทธิและสวสั ดิการผสู้ ูงอายุ

14 (ด้านศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม) การจดั บรกิ าร
เพอื อํานวยความสะดวกด้านพพิ ธิ ภัณฑ์ โบราณสถาน
หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ และการจดั กิจกรรมด้าน
ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ตามทีคณะกรรมการ
ผสู้ งู อายุแห่งชาติประกาศกําหนด

ผ้สู ูงอายไุ ด้รบั การจดั บรกิ ารโดยตรง เช่น ลฟิ ต์ พืนเรียบ ราวบันได ทางลาด จดั เจ้าหนา้ ที
อาํ นวยความสะดวกปลอดภัยสําหรบั ผสู้ ูงอายุ และจัดบรกิ ารรถเข็น

ด้านการลดหยอ่ นภาษีเงินได้ และการลดหยอ่ นภาษี
ให้แก่ผบู้ รจิ าคทรพั ยส์ นิ เงินให้แก่กองทนุ ผสู้ งู อายุ

บคุ คลทไี ด้รับผู้เลยี งดูบดิ ามารดาได้รบั การลดหยอ่ นภาษีเงินจํานวน

1530,000 บาท และผู้บรจิ าคทรัพย์สนิ เงินให้แก่กองทุนผ้สู ูงอายุ
16สามารถนําใบเสร็จไปลดหย่อนภาษีได้

ด้านกองทนุ ผสู้ งู อายุ

ผสู้ ูงอายไุ ด้รับการให้กูย้ ืมเงินทุนประกอบอาชีพรายบุคคล
และรายกล่มุ สาํ หรบั ผู้สงู อายุ โดยต้องชําระคืนเปนรายงวด
ภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 3 ป โดยไมม่ ดี อกเบีย

ELDERLY'S WEEKLY 5

สิ ทธิประโยชน์ของผู้สู งอายุทีคุณอาจไม่รู้

ELDERLY'S WEEKLY 6

ยุทธศาสตร์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
กรมกิจการผู้สูงอายุ ความมนั คงของมนุษย์
กรมกิจการผู้สูงอายุ
วสิ ัยทัศน์ ผสู้ ูงอายมุ คี ณุ ภาพชวี ิตดี
พุทธศักราช 2560 - 2565
มหี ลกั ประกนั เปนพลงั ของสังคม
ค่านยิ ม สือสารดี มคี ุณธรรม

นําสเู่ ปาหมายรว่ ม

ปยทุระธเศดาน็ สตร์ กฎหมาย นโยบายมาตรการ กลไก เทคโนโลยีและนวตั กรรม ดา้ นการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผูส้ ูงอายุไปสกู่ ารปฏิบัติ

การมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย ทกุ ระดบั เพือพัฒนาศักยภาพและขบั

พฒั นา เคลอื นการเตรยี มความพร้อมรองรบั สงั คมสงู อายุ
ระบบการดแู ลค้มุ ครองพิทักษ์ สิทธิและส่งเสรมิ ระบบการจดั สวสั ดกิ าร
สงั คมสําหรบั ผู้สูงอายุ
พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การองคก์ รสคู่ วามเปนเลิศ

เปาประสงค์

มกี ฎหมายและนโยบายสาธารณะเพือ
ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ผูส้ งู อายุ
มีการบรู ณาการขับเคลือนงานด้านสงู
อายุทกุ ระดับอยา่ งเปนรปู ธรรม
ภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มในการเตรยี ม
ความพร้อมรองรบั สงั คมสงู อายอุ ยา่ ง
มีคณุ ภาพ
ผู้สูงอายมุ คี ุณภาพเปนพลังของสังคม

ผู้สูงอายไุ ด้รับการดแู ลคมุ้ มครอง
พิทกั ษ์สทิ ธิและเขา้ ถงึ สวัสดกิ ารสังคม
เครือข่ายการทํางานดา้ นผ้สู ูงอายุได้รบั
การพัฒนาและสามารถชว่ ยเหลอื ดูแลผู้
สูงอายุใหเ้ ขา้ ถึงสทิ ธิและสวัดกิ ารอย่าง
เหมาะสม
มเี ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพือการดูแล
ผู้สูงอายทุ สี อดคลอ้ งกับปญหาและ
ความต้องการของผ้สู งู อายุ
มบี ุคลากรทีมีสมรรถนะในการทาํ งาน

มีระบบงบประมาณทมี ปี ระสิทธภิ าพ
ประสทิ ธผิ ล และมงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธิ
องค์กรมีระบบการบรหิ ารจัดการที
สอดคลอ้ งกบั การเปลียนแปลงและการ
บริหารจดั การองคก์ รในภาวะวิกฤต

ELDERLY'S WEEKLY 7

1 บรู ณาการการขับเคลอื น
นโยบาย มาตรการ กลไก เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ในการขับเคลอื นงานด้านผูส้ ูงอายุ

2 พัฒนาเทคโนโลยนี วตั กรรม
และมาตรฐานการดาํ เนนิ งานดา้ นผูส้ งู อายุ

3 ยกระดับศูนยพ์ ัฒนาการจดั สวสั ดิการสงั คมผู้สูงอายุ
ให้เปนสถาบันและศูนยก์ ลางการเรียนรู้

4 สรา้ งความรว่ มมือระหว่างประเทศเพือพัฒนางาน
ดา้ นผสู้ ูงอายุ

5 ส่งเสริมและผลักดันใหท้ กุ ภาคส่วนเตรยี มความพร้อม
เขา้ สู่สงั คมสงู อายอุ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

6 ส่งเสรมิ การมีงานทาํ ในผู้สูงอายุ
และเข้าถึงหลกั ประกนั ทางรายได้

7 สง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพผู้สงู อายุ
ผ่านกลไกในระดับพืนที

8 ส่งเสรมิ การรวมกลมุ่ ของผู้สงู อายุ
ใหเ้ ปนพลังขับเคลือนสงั คม

กลยุทธ์ 9 สง่ เสรมิ พัฒนา การใหบ้ รกิ ารสวัสดกิ ารสังคม
10 ใหค้ รอบคลุมทุกมติ แิ ละส่งเสริมการเขา้ ถึงสทิ ธิ
11 ของผ้สู ูงอายุ

สง่ เสริมสนบั สนนุ ระบบการดูแลผูส้ งู อายุระยะยาว
และผลกั ดนั ให้มรี ะบบเฝาระวังและเตอื นภยั
ทางสงั คมสาํ หรบั ผสู้ งู อายุ

พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบคุ คล
ให้สอดคล้องกบั ภารกิจ

1 2 พัฒนาการจัดทาํ ระบบงบประมาณทีมุ งผลสัมฤทธิ

13 ยกระดับขดี สมรรถนะการบริหารจัดการองค์การ
14 ตามหลกั ธรรมาภบิ าล และการบรหิ ารจัดการองค์กร
ในภาวะวกิ ฤต

พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมลู ดา้ นผู้สงู อายุ
เพือเชอื มโยงและแลกเปลยี นขอ้ มูล
ระหวา่ งหนว่ ยงานภายในและภายนอก

ELDERLY'S WEEKLY 8

LOVE

LIFE

ELDERLY MONEY

FAMILY

ELDERLY'S WEEKLY 9

600บาท
กบั สภาพความเปนอยู่

บนวิถชี วี ติ

ใหม่

ELDERLY'S WEEKLY 10

ปานา

สุ นีย์ โชติธรรม

อายุ 68 ป

ข้อมูลส่วนตัว ปานามีลูกชาย 2 คน มีครอบครัวแล้วทังคู่ ปจจุบันอาศัยอยู่กับลูกชาย
คนเล็ก ปามีอาชีพตัดแต่งสวนในมหาวิทยาลัยทักษิณมานานเปนเวลาเกือบ 10 ป
โดยได้รับค่าแรงวันละ 320 บาท ซึงจะได้รับในรูปแบบของเงินรายเดือน ก่อนหน้านี
ทํางานรับจ้างทีไม่เปนหลักแหล่ง เช่น รับจ้างก่อสร้าง จึงทําให้รายได้ ไม่มันคงต่อ
การดาํ รงชีวิต

ELDERLY'S WEEKLY 11

ความรูท้ วั ไปเกยี วกับสิทธิ มีความคิดเหน็ อย่างไร หกแปดยังไหว!
และสวัสดกิ ารเบอื งต้น เกยี วกบั ระบบการช่วย
ของผูส้ ูงอายุ เหลอื ดูแลผสู้ ูงอายุ ต่างคนต่างมีภาระ
ในปจจบุ ัน เงินทองปาไม่สมบูรณ์
ปานามีความรู้เบืองต้น
เกียวกับสิทธิและสวัสดิการ ปานาคิดว่ารัฐมีสวัสดิการ
พอสมควร อาทิ เช่น ดูแลกลุ่มผู้สูงอายุได้ดี
ก า ร จั ด ช่ อ ง ท า ง พิ เ ศ ษ เนืองจากมีการช่วยเหลือ
สําหรับผู้สูงอายุโดยเฉพาะ และมีเงินยังชีพสําหรับ
และได้รับเงินยังชีพผู้สูง ผู้สูงอายุอย่างต่อเนือง
อายุเดือนละ 600 บาท เปนประจําทุกเดือน
พร้อมทังได้รับเงิน
สวัสดิการแห่งรัฐเดือนละ ปญหาสําคญั ในการดํารง
200 บาท รวมทังเงิน ชวี ติ ของผู้สูงอายใุ นชวี ติ
สวัสดิการจากหมู่บ้าน วิถีใหม่
คือ เงินฌาปนกิจ
ปานามองว่า ปญหา
ความรเู้ บอื งตน้ เกียวกับ ปากท้องเนืองจากมีเงิน
ยทุ ธศาสตร์ของ ไม่พอใช้จ่ายในแต่ละเดือน
กรมกิจการผสู้ ูงอายุ แต่สาํ หรับตัวปานา ในช่วง
โควิดทีผ่านมา ปานายังไม่
ไม่ได้มีความรู้ และไม่เคย ได้รับผลกระทบมากนัก
ได้ยินเกียวกับยุทธศาสตร์
ดังกล่าว ข้อเสนอเพิมเติม
ทีตอ้ งการจากภาครฐั
วิธีการรับเงนิ ยังชพี ของ
ผู้สูงอายุ ถ้าเปนไปได้ปานาอยากให้
ท า ง รั ฐ บ า ล เ พิ ม เ งิ น
ทางภาครัฐได้โอนเงินเข้า สวัสดิการจากเดิมให้มาก
บัญชีธนาคารโดยตรง ขึน
ในแต่ละเดือน ซึงปานา
มองว่า วิธีการดังกล่าว
สะดวก และสามารถตรวจ
สอบได้

ELDERLY'S WEEKLY 12

ปาเล็ก

พัชนี วงศ์สุ นทร

อายุ 62 ป

ข้อมูลส่วนตัว ปาเล็กมีลูก 3 คน ลูกสองคนมีครอบครัวและย้ายไปทํางาน
ในต่างจังหวัด ปจจุบันอยู่กับลูกชายคนโต ปาทาํ งานตัดแต่งสวนอยู่ในมหาวิทยาลัย
ทักษิณมานาน 6 ป โดยได้รับค่าแรงวันละ 320 บาท ซึงจะได้รับในรูปแบบเงินเดือน
เมืออายุครบ 60 ป คุณปาก็จะได้รับเงินบําเหน็จจากกองทุนประกันสังคม

ELDERLY'S WEEKLY 13

ความรทู้ ัวไปเกยี วกบั สิทธิ มีความคดิ เห็นอยา่ งไร ข้อเสนอเพิมเติม
และสวสั ดิการเบืองตน้ เกียวกบั ระบบการช่วย ทีต้องการจากภาครฐั
ของผสู้ ูงอายุ เหลอื ดแู ลผูส้ ูงอายุ
ในปจจุบัน เงิน 600 บาท ทีทาง
ปาเล็กมีความรู้เบืองต้น รั ฐ บ า ล ใ ห้ มั น ไ ม่ เ พี ย ง พ อ
เกียวกับสิทธิและสวัสดิการ ปาเล็กคิดว่ารัฐมีสวัสดิการ ต่อการดาํ รงชีวิตในแต่ละ
พอสมควร อาทิ เช่น ดูแลกลุ่มผู้สูงอายุได้ดี เดือน ถ้าเปนไปได้ปาเล็ก
ก า ร จั ด ช่ อ ง ท า ง พิ เ ศ ษ เนืองจากมีการช่วยเหลือ อ ย า ก ใ ห้ รั ฐ บ า ล เ พิ ม เ งิ น ขึ น
เฉพาะผู้สูงอายุ ได้รับการ และมีสวัสดิการสําหรับผู้สูง เปนวันละ 100 บาท คิด
บริการทีสะดวก รวดเร็ว อายุอย่างต่อเนืองเปน เปนเดือนละ 3000 บาท
การได้รับการลดหย่อน ประจําทุกเดือน ป า เ ล็ ก บ อ ก ว่ า ข อ เ พิ ม เ งิ น ก็
ราคาครึงหนึงของค่า พอแล้ว ปาไม่โลภมาก ถ้า
โดยสาร และได้รับเงิน ปญหาสําคัญในการดาํ รง โลภมากเดียวจะไม่ได้อะไร
ยังชีพผู้สูงอายุเดือนละ ชีวิตของผูส้ ูงอายใุ นชวี ิต เลย
600 บาท รวมทังเงินจาก วถิ ีใหม่
บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
เดือนละ 200 บาท ปาเล็กมองว่า ปญหา
ปากท้อง เนืองจากปา
ความรู้เบืองตน้ เกียวกับ ทาํ งานหาเช้ากินคํา
ยทุ ธศาสตรข์ อง มีรายได้ไว้ใช้จ่ายเดือนชน
กรมกจิ การผู้สูงอายุ เดือน ส่งผลให้บางเดือน
ก็ มี ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ที ไ ม่ เ พี ย ง พ อ
ปาเล็กไม่ได้มีความรู้ใน จึงมักไม่มีเงินเก็บไว้
เรืองนี สาํ รองทุน ในช่วงโควิดปา
ไม่ค่อยได้รับผลกระทบมาก
วธิ กี ารรบั เงินยังชพี ของ แต่ปาเล็กเล่าให้ฟงว่าไม่ได้
ผูส้ ูงอายุ รับเงินช่วยเหลือจาก
รัฐบาลเนืองจากเข้าไม่ถึง
ทางภาครัฐได้โอนเงินเข้า เทคโนโลยี
บัญชีธนาคารโดยตรง
ในแต่ละเดือน

ลึกๆแล้วคุณปาอยากทํางานต่อไป
จนกว่าร่างกายจะไม่อํานวย

เพราะไม่อยากเปนภาระให้กับลูกหลาน

ELDERLY'S WEEKLY 14

เสงียม นกแก้ว ความร้เู บอื งต้นเกียวกบั ยทุ ธศาสตร์
ของกรมกิจการผสู้ ูงอายุ

เคยได้ยนิ จากในข่าว แต่ไม่ได้ทราบถึง
รายละเอยี ดของยทุ ธศาสตร์ทีกล่าวมา

ข้อมูลทัวไปในชีวิตประจาํ วัน ปญหาใดในความคดิ วา่
เปนปญหาสําคัญในการดํารงชวี ติ
นางสาวเสงียม นกแกว้ อายุ 79 ป อดตี ชา่ งเยบ็ ผ้าและแมค่ า้ ของผูส้ ูงอายวุ ิถใี หม่
รา้ นขายของชํา เกษียณตัวเองจากงานประจาํ มาเกอื บปแล้ว
เพราะอุบัติเหตุ ทําใหไ้ ม่สามารถทาํ งานไดเ้ หมือนเดมิ มองวา่ ปญหาสุขภาพยังเปนปญหาสําคญั
ปจจบุ ันยายอย่บู า้ นคนเดยี ว เนอื งจากไมไ่ ด้แต่งงาน ในการดาํ รงชีวติ ของผสู้ งู อายุทกุ ยุค
มีครอบครวั แต่ขา้ งบ้านทีอาศัยอยูเ่ ปนบ้านของน้องชาย
ซึงไปมาหาสูแ่ ละพอช่วยเหลือดูแลกันได้บ้าง

ขอ้ เสนอเพิมเติมทีต้องการจากภาครัฐ

ความรู้ทวั ไปเกยี วกับสิทธิ ยายไม่ค่อยรู้เรืองเทคโนโลยีอยากให้เจ้าหน้าที
และสวสั ดิการเบืองตน้ ของผู้สูงอายุ ช่วยลงมาดูแลกับเรืองนีด้วย แล้วยายรู้สึกว่า
ยายไม่ได้รับความเปนธรรมเลย บางคน
ไดร้ ับเงินสวัสดิการผู้สูงอายเุ ดอื นละ มีร้านทองแต่มีสิทธิทําบัตรประชารัฐ ยายมีแค่
700 บาท ยายบอกวา่ ไม่พอค่าใช้จ่าย เงินเก็บเล็กน้อยในบัญชีแค่นันเองก็ทาํ ไม่ได้แล้ว
ในแต่ละเดือน เพราะ ยายไมม่ ีรายไดอ้ ืนเลย ยายอยากได้ความเท่าเทียมอยากให้เอาเงินไป
ยายโชคดีทีพอมีเงนิ เกบ็ อยู่ จึงสามารถ ให้คนทีลําบากจริงๆ แบบยาย
ดาํ รงชีวติ อย่ไู ด้ แต่โชคร้ายกค็ ือยายทาํ บตั ร
ประชารฐั ไมไ่ ด้ เจา้ หนา้ ทีบอกวา่ ยายมเี งนิ อยู่
ในบัญชเี กินข้อกําหนดทาํ ให้ขาดคณุ สมบตั ไิ ป
ส่วนสวสั ดิการอืน ๆ ยายไม่ค่อยรู้ เพราะ
ไมไ่ ดอ้ อกไปไหนอยู่แต่บา้ น

ELDERLY'S WEEKLY 15

700 บาท
จะพออะไร

แต่ยังดีทีกินคนเดียวใช้ไม่มาก

ELDERLY'S WEEKLY 16

ความรู้ทัวไปเกียวกับสิทธิและ
สวสั ดิการเบืองตน้ ของผ้สู ูงอายุ

ได้รับเงินรายเดือนผู้สูงอายุ
เดือนละ 700 บาท ยายบอกว่าพอใจ
แล้วกับเงินทีได้ ดีกว่าไม่ได้เลย อีกทัง
สามีของยายเปนอดีตข้าราชการมีเงิน
บํานาญ เดือนละ 10000 บาท อยู่กัน
สองคนตายาย มีเงินพอใช้จ่าย ไม่ขาด
ไม่เกิน อยู่ได้

สิทธิการใช้บัตรทอง ส่วนสิทธิอืน ๆ
นอกจากนีไม่ค่อยได้ใช้เพราะไม่จําเปน
บ้างแล้วก็ไม่รู้บ้าง

สมพร นกแก้ว

ประธานกลุ่มผลิตภณั ฑจ์ ากกา้ นธูปฤาษีและเส้นใยพืช

ข้อมูลทัวไปในชีวิตประจาํ วัน

ยายสมพร ประธานกลุ่มผลิตภัณฑ์ ความร้เู บืองต้นเกยี วกบั ยทุ ธศาสตรข์ อง 2
จากก้านธูปฤาษีและเส้นใยพืช สินค้าโอท็อประดับ กรมกิจการผูส้ ูงอายุ
พรีเมียมจากสงขลา ปจจุบันอายุ 77 ป
อาศัยอยู่กับสามีสองคนทีบ้าน กิจวัตรประจําวัน ไม่เคยได้ยิน แต่ยายรู้ว่าหลัง ๆ มานีเขาพู ดถึงคนแก่
ส่วนใหญ่มักตืนเช้าเวลา 4 ครึง ทาํ ธุระส่วนตัว กันเยอะ รัฐบาลให้ความสนใจคนแก่มา 2-3 ปได้แล้ว
ไปตลาด ทํากับข้าวให้สามี แล้วก็ทํางานบ้านทัวไป
เมือมีเวลาว่างแล้วจึงจะไปทาํ งานต่อทีกลุ่ม ELDERLY'S WEEKLY
ผลิตภัณฑ์ ยายทํางานทีกลุ่มมานาน 26 ป สินค้า
ส่วนใหญ่มักเปนกระเปาสาน ซึงส่วนมากจะถูกจัด
จําหน่ายในร้านภูฟา ในกลุ่มทียายทาํ ส่วนมากจะมี
แต่ผู้สูงอายุ อายุเกิน 60 กันทุกคน ทํากันไม่
เยอะ 4–5 คน ยายเคยเปนวิทยากรไปสอนตาม
หน่วยงานอยู่บ่อยๆ ทังภาครัฐและเอกชน

ELDERLY'S WEEKLY 17

วิธีการรับเงินยังชพี ของ
ผสู้ ูงอายุ

รัฐโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
โดยตรงเลย

มีความคดิ เห็นอยา่ งไรเกียวกับระบบ
การช่วยเหลือดแู ลผูส้ ูงอายุในปจจบุ นั

ยายว่าตอนนีทีได้อยู่มันก็ดีแล้วนะ มีเงิน
จากรัฐบาลให้ใช้ในแต่ละเดือน มีบัตรทอง
ไปโรงพยาบาลก็สบาย ไม่ลาํ บากแล้ว

ปญหาสําคัญในการดํารงชีวิตของ
ผ้สู ูงอายใุ นชวี ติ วถิ ใี หม่

ยายไม่มีปญหาอะไรนะ สุขภาพยายก็ดี
ไม่เครียด COVID19 ก็ไม่ได้รับผลกระทบ

ข้อเสนอเพิมเติมทีตอ้ งการจากภาครฐั

ดีแล้ว ไม่เอาอะไรแล้ว ตอนนียายว่า
มันก็ไม่ได้แย่นะ

ชีวติ ทกุ วันนี พอใจแลว้ ยงั ถา้ เปนไปไดอ้ ยากใหค้ รอบครัว
อยู่กนั พร้อมหน้าพรอ้ มตาไหม?

ยายว่าทุกคนมีหน้าที ต่างคนต่างทาํ มาหากิน แต่ถ้าในอนาคต
ยายทาํ งานไมร่ อดแลว้ คอ่ ยกลบั มาดแู ลมาอยู่ด้วยกัน ตอนนี
ยังแข็งแรงอยู่ ดแู ลตวั เองได้ มีความสขุ กับชีวติ ตอนนดี ี

ผสู้ ูงอายเุ มอื แกแ่ ลว้ ตอ้ งใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปนประโยชน์ ให้ทําในสิงทีตวั เองชอบ

ELDERLY'S WEEKLY 18

อนันต์ สุ ขุมเจริญ

ข้อมูลทัวไปในชีวิตประจําวัน ความร้ทู ัวไปเกยี วกบั สิทธิและ
สวสั ดกิ ารเบอื งตน้ ของผูส้ ูงอายุ
นายอนันต์ สุขุมเจริญ อายุ 62 ป
อ ดี ต ผู้ จั ด ก า ร ธ น า ค า ร เ พื อ ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ได้รับเงินรายเดือนผู้สูงอายุเดือนละ
สหกรณ์การเกษตร เกษียณอายุเมือ 2 ปที 600 บาท ส่วนสวัสดิการต่าง ๆ ที
แล้ว ปจจุบันอยู่บ้านประกอบธุรกิจส่วนตัว ผู้สูงอายุควรได้รับ ก็เช่น สิทธิในการลด
อยู่ทีจังหวัดภูเก็ต เปนธุรกิจร้านค้าและ ค่าโดยสาร 50 เปอร์เซ็นต์ และสิทธิบัตร
ห อ พั ก แ ม น ชั น ทองสวัสดิการจากรัฐบาลทีได้หลังเกษียณ
อายุ คือ เงินบาํ เหน็จ 1 ก้อน ประมาณ
กิจวัตรประจาํ วันมักตืนเช้าเวลา 5 ครึง 6 – 7 ล้านบาท
มาทาํ ธุระส่วนตัว กินข้าวเช้า ดูข่าวสารบ้าน
เมือง จากนัน 8–9 โมง ไปดูร้าน กลับบ้าน วธิ กี ารรบั เงินยังชพี ของ
เทียงอาบนาํ กินข้าวเทียงแล้วนอนกลางวัน ผสู้ ูงอายุ
4 โมงเย็น ไปออกกาํ ลังกาย แล้วเข้านอน
ประมาณ 4-5 ทุ่ม ทางภาครัฐได้โอนเงินเข้าบัญชี
ธนาคารโดยตรง
ความร้เู บอื งตน้ เกยี วกับยทุ ธศาสตรข์ อง
กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ

เคยได้ยิน แต่ไม่ได้รู้ลึกซึง

ELDERLY'S WEEKLY 19

รัฐบาลก็ให้การดูแลผสู้ ูงอายใุ ชไ้ ด้อยู่
สมกับรฐั บาลไทยทีไม่คอ่ ยมตี งั ค์...

ความคดิ เห็นเกียวกับระบบการชว่ ยเหลือ ชีวติ ทุกวันนี พอใจแลว้ ยงั ถ้าเปนไปได้
ดูแลผู้สูงอายุในปจจุบัน อยากให้ครอบครัวอย่กู นั พร้อมหนา้
พรอ้ มตาไหม?
รัฐบาลกใ็ หก้ ารดูแลผูส้ งู อายใุ ชไ้ ดอ้ ยู่
สมกับรัฐบาลไทยทีไม่ค่อยมีตงั ค์ ทุกวันนอี ย่กู ับภรรยาสองคนเพราะลกู ไปทาํ งานรับ
ราชการอยู่ทกี ําแพงเพชร กไ็ ม่ไดเ้ หงานนะ ไมไ่ ด้
ปญหาสําคัญในการดาํ รงชวี ิต รู้สกึ ลาํ บากด้วย รู้สึกว่าเกษียณแล้วก็ไมจ่ ําเปนต้อง
ของผสู้ ูงอายใุ นชีวติ วิถีใหม่ อยกู่ ับลกู เพราะเรามีกจิ การ ดแู ลตวั เองได้
ไม่ไดซ้ ีเรยี ส ไม่มีเวลามาคิดมากกับเรอื งนี
ปญหาสุขภาพและปญหาเกียวสภาพ เพราะชีวติ ยงั มีอะไรให้ทาํ เยอะ
แวดล้อม เพราะ ปจจุบันนีผู้สูงอายุ
หลายคนอยู่ในสภาพแวดล้อมทีไม่พร้อม
ไม่เหมาะสม

ขอ้ เสนอเพิมเติมทีตอ้ งการจากภาครฐั

อยากให้รัฐบาลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
อย่างจริงจัง โรงพยาบาลรัฐแออัด
จนเกินไป ผู้สูงอายุมักไม่ได้รับการดูแล
อย่างเต็มที อยากให้เปดช่องทางพิเศษ
สําหรับผู้สูงอายุ ซึงจริง ๆ บาง
โรงพยาบาลก็ทําแล้ว แต่ลุงอยากให้ทํา
กันให้ทัวให้ครอบคลุมทัวประเทศ ไม่ก็ทาํ
MOU กับโรงพยาบาลเอกชน ดูแลผู้สูง
อ า ยุ เ พิ ม เ พื อ ล ด ภ า ร ะ ใ ห้ กั บ ห ม อ
โรงพยาบาลรัฐ และอยากให้รัฐบาลเพิม
กิจกรรมสาธารณประโยชน์ให้ผู้สูงอายุ
ได้ช่วยสังคมให้ดีขึน

ELDERLY'S WEEKLY 20

นายสืบสกุล ศรีสุข
อายุ 68 ป ชีวิตประจําวันครูเกษียณข้าราชการ

บาํ นาญ ตืนตี 5 ทําภารกิจส่วนตัว เริมด้วยทําสวนพอ

เพียงบริเวณหน้าบ้าน ขีจักรยาน หรือว่ายนํา ออก

กําลังกายให้ร่างกายรู้สึกว่ามีกาํ ลัง จากนันมานัง

ทาํ งานทีโรงสีแดงซึงทํางานร่วมกับภาคีคนรักเมือง

สงขลาสมาคม โดยเปนการให้ความรู้แก่ผู้คนทีสนใจ
ในเมืองสงขลา เช่น เมืองสงขลาสู่มรดกโลกเปนงาน
ทีเอาแน่เอานอนกับเวลาไม่ได้ บางวันมีบรรยายตังแต่
เช้า – คาํ บางวันมีประชุมดึกดืน แล้วแต่ภารกิจงานที
เข้ามา ทํางานโดยไม่มีวันพัก อาจจะกล่าวได้ว่าทาํ งาน
ตลอด 24 ชัวโมงเลยก็ว่าได้ เพราะทุกเวลาคือการ
ทํางาน ทังการโพสต์ประชามสัมพันธ์เกียวกับโรงสี
แดง เมืองเก่าสงขลา ซึงไม่สามารถบอกเวลาได้บาง
วันเทียงคืนยังโพสต์ประชาสั มพั นธ์อยู่เลย

คสววัสามดริกู้ทาวั รไเปบเอื กงยี ตว้นกขับอสงิทผธู้สแิ ูงลอะ ายุมคี วามรเู้ กียวกับสวสั ดิการผู้สูงอายุบ้าง เชน่ มีเบียผู้สูง

Sอายุ แต่เนอื งจากเปนข้าราชการบํานาญเปนส่วนทถี กู
ถอดออกจากสวสั ดกิ ารดังกลา่ วเลยไม่ไดม้ ีขอ้ มลู มากเทา่
ไหร่ แตก่ ไ็ ดต้ ามอยู่บ้างสมยั ทพี ่อกบั แมย่ งั มีชีวิตอยู่ซึง
เขาไดร้ ับสวัสดิการดงั กล่าวจงึ พอทราบบา้ งวา่ มี

ความรู้เบอื งต้นเกยี วกับ สวัสดกิ ารรฐั ทมี าดูแลเรอื งเหล่านี
ยทุ ธศาสตร์ของกรม

กจิ การผ้สู ูงอายุ อยากให้รัฐบาลพยายาม

มคี วามรู้ยทุ ธศาสตร์ เนอื งจาก

ประเทศไทยกําลังเขา้ สู่ประเทศผูส้ ูงอายุ

มกี ารเตรยี มสวสั ดกิ ารใหผ้ สู้ ูงอายุ วา่ ทํายงั ไง
เพือรองรับสัดสว่ นจํานวนผสู้ ูงอายทุ ีมี
มากกวา่ ชว่ งอายุอนื ๆ เช่น

การยดื อายุการทํางานใหก้ บั ผสู้ ูงอายุทียัง

ใหผ้ ู้สงู อายุมลี ูกหลานดแู ลมีศักยภาพในการทาํ งาน

ELDERLY'S WEEKLY 21

SUEB
SAKUL

ความคิดเหน็ เกยี วกบั ระบบ

การชว่ ยเหลอื ดแู ลผู้สุงอายใุ น

ปจจุบัน

เห็นเครือขา่ ยผู้สูงอายุและพิการดแู ลดอี ยูน่ ะ

ปญหาสําคญั ในการดํารง สวัสดกิ ารต่าง ๆ รสู้ ึกว่าโอเค ยงั ไมเ่ ห็นผู้สูงอายุ

ชีวิตของผสู้ ูงอายุในชีวติ ออกมาประท้วง จะอยากใหร้ ัฐบาลพยายามวา่ ทํายงั
วิถใี หม่ ไงใหผ้ สู้ ูงอายุมลี กู หลานดูแล เช่นการเชค็ ภูมลิ ําเนา
เพือการทํางานเพือการอยู่ใกลช้ ิดกบั บรรพบรุ ษุ

มีหน่วยงานดูแลอย่างจริงจัง เช่น
ทุกตําบลมีโครงการอนามัยเคลือนที
เหมือนต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น
ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย หมุนเวียนดูแล
และให้กําลังใจผู้สูงอายุ การดูแลรักษา
พยาบาลสาธารณะสุข สิงแวดล้อมทีดี
เพื อผู้สูงอายุ

ELDERLY'S WEEKLY 22

SOD

SAI

KHA NTI WORA P HONG

ป จ จุ บั น

เปนนกั แปล นกั วชิ าการอิสระ
และอาจารยพ์ เิ ศษ
อายุ 72 ป

สดใส

ขั น ติ ว ร พ ง ศ์

เปดชวี ติ นอกตํารา
ฉบบั ส ด ใ ส

ELDERLY'S WEEKLY 23

สดใส
DAILY ROUTINE

IKEBANA (น.) TRANSLATOR ผลงานแปลจากวรรณกรรม DRAWING

เปนศิลปะการจัดวาง ตัดแต่งก้าน ระดับโลกอาทิ บทเรียน และ สิทธารถะ จากบทประพันธ์ของ เฮอร์

ใบและดอกไม้ลงในแจกันหรือภาชนะ มานน์ เฮสเส, พีน้องคารามาซอฟ ของ ดอสโตเยฟสกี อันนา คาเร

อืนๆ อย่างสวยงามของญีปุน นินา ของ เลียฟ ตอลสตอย เปนต้น

ตืนนอนตอนประมาณตี 5 หัว หลังจากนันก็เดินออกกําลัง
รุ่ง หลังจากนันก็จัดกวางบ้าน กายภายในบ้านประมาณ 10
เปดอ่านข่าวสารต่าง ๆ จากสือ นาที ต่อด้วยการนอนหลับพั ก
ออนไลน์ เช่น FACEBOOK ผ่อนประมาณ 1 ชัวโมงตืนมาก็
ต่อมาก็เข้าครัวปรุงอาหารไว้รับ เตรียมรับประทานอาหารกลาง
ประทานทังวัน 7 โมงเช้า หลัง วั น แ ล ะ ต่ อ ด้ ว ย พ า สุ นั ข อ อ ก ไ ป
จากนันก็จูงสุนัข 3 ตัวออกไป เดินนอกบ้านอีกรอบประมาณ
เดินเล่นนอกบ้านประมาณ 10-15 นาที กลับมาก็จะอ่าน
1 ชัวโมง และก็รับประทาน หนังสือวันละ 1-2 ชัวโมง
อาหารเช้า โดยเปนอาหาร
สําหรับคนผู้สูงวัย หลังจากนัน หากมี งานแปล
ก็อาบนาํ แต่งตัวเพื อทีจะมา
ทํางานอดิเรกคือการจัดดอกไม้ ก็จะใช้เวลาในช่วงนีแปล
อย่างญีปุนทีเรียกว่า หนังสือ บางวันก็มีออกไปสอน
ห นั ง สื อ บ้ า ง ห รื อ มี ก า ร นั ด แ น ะ
ก า ร จั ด ด อ ก ไ ม้ แ บ บ อิ เ ค บ า น ะ ออกไปเทียวกับเพื อน ๆ บ้าง
แต่ไม่บ่อยมากนัก
ดอกไม้ก็ใช้ดอกไม้ทีปลูกเองใน
สวนหลังบ้านเมือจัดดอกไม้ ใ น ช่ ว ง เ ย็ น ก็ จ ะ พ า สุ นั ข อ อ ก
เสร็จก็ไปวาดรูประบายสี ไปเดินเล่นอีกรอบและให้อาหาร
สุนัข หลังจากนันก็จะรับ
กิจกรรมวาดรูป นีเอง ประทานอาหารสุขภาพนิ เช่น
ผลไม้ และจะเดินออกกําลัง
อาจารย์เล่าว่าพึ งมาจริงจังใน กายในห้องอีก 20 นาที
ช่วง 3 - 4 เดือนทีผ่านมา ก็จะอาบนาํ ต่อด้วยการอ่าน
เพราะตัวเองมีปญหาเกียวกับ ข่าวสารต่าง ๆ ใน
สุ ข ภ า พ ที สื บ เ นื อ ง จ า ก โ ร ค งู ส วั ด FACEBOOK อีกรอบ และ
และรูปทีวาดก็จะนาํ ไปเผยแพร่ เตรียมทีจะเข้านอนในช่วง 2-3
ใน FACEBOOK และยังมีการ ทุ่ม ซึงกิจวัตรโดยทัวไปอาจจะ
เผยแพร่ข้อความเกียวกับเรือง มีการเปลียนแปลงบ้างตาม
ราวต่าง ๆ ทีพบเจอหรือเขียน สถานการณ์ในแต่ละวัน
ก ล อ น ที ล้ อ เ ลี ย น สั ง ค ม บ้ า ง
ซึงในช่วงเวลาดังกล่าวนี ELDERLY'S WEEKLY 24
อาจารย์สดใสจะให้จริงจังมาก
เปนพิ เศษเพราะเปนการ
จรรโลงจิตใจ เจริญสติปญญา
สมาธิเปนการสร้างความผ่อน
คลายให้กับชีวิตในช่วงเวลา
9-10 โมง

4198

Sodsai

Khantiworaphong

ความรทู้ วั ไปเกยี วกบั สทิ ธแิ ละ ความรู้เบืองต้นเกียวกับยุทธศาสตร์

สวสั ดกิ ารเบอื งตน้ ของผสู้ งู อายุ ของกรมกิจการผู้สูงอายุ

เปนข้าราชการบํานาญจึงมักจะใช้ ไม่ทราบ แต่พอทีจะรู้จักจากการ
สิทธิตรงนีมากกว่า เช่น การรักษา ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ข อ ง ท า ง โ ร ง พ ย า บ า ล
สุขภาพของตนเองและมีเงินเก็บของ มากกว่า เช่น กลุ่มไทเก๊กของผู้สูงอายุที
ตนเองในการยังชีพจากการรับงานแปล มุ่งเน้นให้เปนการพบปะกันของผู้สูงวัย
และอาจารย์พิเศษจากทีต่าง ๆ ซึงไม่ได้ และออกาํ ลังกายร่วมกันหรือการจัด
รู้สึกเดือดร้อนทางการเงิน โครงการท่องเทียวของผู้สูงอายุจาก
หน่วยงานภาครัฐ
เปนต้น

ELDERLY'S WEEKLY 25

ฉนั วา่ ฉนั กเ็ ปนคนแกท่ มี คี ณุ ภาพ

เปนคนแกท่ พี อใจกบั ชวี ติ และความแกน่ ไี มไ่ ดเ้ ปนเรอื งทนี า่ เบอื นา่ หดหหู่ รอื
เสยี ใจ ดใี จ ชอบใจทแี ก่ ชอบแทนตวั เองวา่ ปา วา่ ยาย ทําใหต้ วั เองดมู ี
ประสบการณแ์ ละอบอนุ่ เหมอื นคนในครอบครวั เดยี วกนั

-สดใส ขนั ตวิ รพงศ์-

ความคดิ เหน็ เกยี วกบั ระบบการชว่ ยเหลอื ดแู ล

ผสู้ งุ อายใุ นปจจบุ นั

อยากให้ทางภาครัฐมีระบบการช่วยเหลือทีเปนแบบรัฐ
สวัสดิการ ซึงตนมองว่าประชาชนทุกคนต่างก็เสียภาษีให้
กับรัฐในการดูแลประเทศเพราะฉะนันแล้วรัฐจะต้อง
ตอบแทนประชาชนด้วยการเลียงดูพวกเขาอย่างเท่าเทียม
กันเพื อลดปญหาและภาระทีจะตามมาอย่างมากมายของ
ผู้คนบางกลุ่มทีไม่ได้รับการดูแลอย่างทัวถึง โดยเฉพาะ
อย่างยิงการดูแลด้านสุขภาพของผู้สูงวัย และยังมองอีก
ว่าเงินยังชีพ600บาท เฉลียแล้ววันละ20บาท จาํ นวนเงิน
ดังกล่าวไม่ได้ตอบสนองต่อความเปนอยู่ทีดีในปจจุบัน

ELDERLY'S WEEKLY 26

ASWADEE

สวสั ดคี รบั ชือนายอาสวาดี รูปายี

กําลังศึกษาอยู่ชันปที 2 คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขต หาดใหญ่ เปนรุ่นน้องพีออมครับ
เรียกดีก็ได้ครับ

ความรทู้ วั ไปเกยี วกบั สทิ ธแิ ละ
สวสั ดกิ ารเบอื งตน้ ของผสู้ งู อายุ

ผมคิดว่า เปนสวัสดิการทีผู้มีอายุ 60 ปขึนไป
ถือสัญชาติไทยจึงได้รับ โดยสวัสดิการนี
ครอบคลุมด้านการแพทย์ การพัฒนาวิชาชีพ
เบียเลียงรายเดือน การลดหย่อน ละเว้น
ค่าบริการต่าง ๆ

ELDERLY'S WEEKLY 27

ในอนาคต เรา 1 คน
อาจจะต้องดูแลคนชราหรือ
คนในครอบครัว 5-7 คน

ความคดิ เหน็ เกยี วกบั ระบบการ ขอ้ เสนอแนะเพมิ เตมิ ตาม
ชว่ ยเหลอื ดแู ลผสู้ งู อายใุ นปจจบุ นั ทศั นะของทา่ น

หากถามว่าโครงการตอบโจทย์ยุทธศาสตร์หรือไม่ วิธีแก้ปญหาค่านิยมทีว่า ไม่อยากอยู่บ้านพัก
แน่นอนว่าการแจกเบียคนชรา คนชรา คือ การให้เยาวชนหนุ่มสาวออกมา
ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ที1 2 และ 3 ด้านการจัดการ บํ า เ พ็ ญ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ สู ง อ า ยุ ทั ง ใ น แ ล ะ น อ ก
รายได้ของคนชรา แต่หากถามว่ามีคุณภาพหรือไม่ บ้านพักคนชรา เพือเปนการสร้างบรรยากาศทีดี
ผมคงตอบว่าในปจจุบันนัน ไม่มีประสิทธิภาพ อีกทัง รัฐควรเปนผู้รับผิดชอบ โดยการสร้าง
เท่าทีควร แต่หากแสดงความคิดเห็นอย่างตามตรงไป บ ร ร ย า ก า ศ แ ล ะ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ที น่ า อ ยู่ ใ น บ้ า น พั ก
ตรงมาผมมองว่าสังคมไทยในปจจุบันกําลังจะเข้าสู่ คนชรา ซึงอาจจะสร้างเงือนไขเล็กๆน้อยๆ
สังคมผู้สูงอายุในอีกไม่ช้า อีกเรืองทีน่าสนใจ คือ ในการเข้าไปอยู่คือต้องเปนผู้ทีเสียภาษีกีปขึนไป
วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย ที เ น้ น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว หรืออืน ๆ เนืองจากคนชราเหล่านีในอดีต
ลูกต้องดูแลพ่อแม่ในยามแก่เฒ่า จากข้อมูลอาจารย์ เคยเปนกําลังหลักของประเทศ ดังนัน รัฐควร
ทีสอนวิชานโยบายสาธารณะในมหาลัยได้พู ดคุยกับผม ดูแลเอาใจใส่ให้มาก
ท่านได้ให้ข้อมูลว่า "ในอนาคต เรา 1 คน อาจจะต้อง
ดูแลคนชราหรือคนในครอบครัว 5-7 คน”
ซึงเปนจํานวนทีเยอะมาก ดังนัน การทีประเทศเรา
มีค่านิยมทีว่าคนทีอาศัยอยู่บ้านพักคนชรา คือ คนที
ถูกลูกหลานละเลย นัน เหมือนเปนการผลักภาระให้ลูก
หลานทางอ้อม ดังนัน ผมมองว่าเราควรตระหนัก และ
ใ ห้ ค ว า ม สํ า คั ญ กั บ บ้ า น พั ก ค น ช ร า ม า ก ขึ น
เพือเปนการลดภาระของลูกหลาน และเพือให้คนชราได้
อยู่ในสภาพสังคมทีเหมาะสมและได้รับความช่วยเหลือ
อย่างเต็มที

ELDERLY'S WEEKLY 28

นายพศุตม์ หว้ ยลกึ ผสู้ ูงอายุเปนวยั พึงพิงแตเ่ ขาอยาก
จะมีงานทํา อายุ 60 ปคอื อายแุ ซยิด ผูส้ งู
นสิ ิตฝกประสบการณ์วิชาชพี ครู อายุบางคนไมไ่ ด้อยากเกษียณแต่อยาก
โรงเรียนมหาวชริ าวธุ จงั หวัดสงขลา ทาํ งานถงึ 70 – 80 ป ซึงคอื ปญหาทเี กิด
ขึนในสงั คมปจจุบัน
ความคดิ เห็นเกยี วกบั
ระบบการชว่ ยเหลือ ผสู้ ูงอายุเปนวัยทไี มผ่ ลิตแลว้ มภี าระ
ดูแลผสู้ ุงอายุใน ในการแบกรับนอ้ ยกว่าวยั ผลิต แตเ่ ขา
ปจจุบนั ยงั ต้องการเปนแรงงานเข้ามีความ
ปรารถนาทจี ะประกอบสร้าง แตต่ วั เลข
เปนเรอื งทคี ิดว่าความตอ้ งการของ ทาํ ใหค้ นเปนประชากรทําใหป้ ระชาชนเปน
ผู้สูงอายแุ ตกตา่ งกนั ต้องดูตน้ ทุนทาง
เศรษฐกจิ และสังคม เนืองจากการเขา้ ถงึ Iสงิ ทีนบั ไดผ้ ่านการทําสัมโนประชากร
สวัสดกิ ารหรอื การเข้าถงึ ทุนของผสู้ ูงอายุ
แต่ละคนไม่เหมอื นกนั ความจําเปนเพือการ ซงึ ประชากรเอาไว้ในการปกครองสํานกึ
ดํารงชวี ิตโดยเฉพาะชนชนั ล่างทจี ะใช้ ของประชาชนและประชากรนันแตกต่างกัน
จุนเจือชวี ิต
A
คิดว่าไม่สามารถเรยี กวา่ สวสั ดกิ ารได้
เพราะเงนิ สวัสดิการคือการให้ทตี ้องเพียง
พอ คิดว่าไมใ่ ชส่ ิงทีผู้สูงอายคุ วรจะไดร้ บั
600 บาทตอ่ เดอื นเฉลียวันละ 20 บาทมัน
แทบจะเปนไปไมไ่ ด้ในการซือขาย คิดว่าผู้สงู
อายคุ ือผู้ทีไดร้ บั ผลกระทบจากนโยบายดัง
กล่าว คิดว่ารัฐไม่ได้เขา้ ไปตรวจสอบถึง
ความต้องการหรือความจาํ เปนของผสู้ ูง
อายใุ นแต่ละชนชนั ให้สวสั ดิการแบบไม่ดู
ปจจยั อนื ๆ ของผ้สู งู อายุ ปญหาใดใน
ความคดิ ของทา่ นเปนปญหาสาํ คญั ในการ
ดํารงชีวิตผูส้ ูงอายุในวถิ ีใหม่

NELDERLY'S WEEKLY 29

ชวี ติ ของผสู้ ูงอายุจะประสบปญหาหลาย ๆ
เชน่ โรคซมึ เศรา้ ภาวะหลงั เกษียณ

ชีวติ เราถูกควบคุมโดยตลอดเวลา
โดยไมจ่ าํ เปนตอ้ งมรี ัฐมาควบคุม ทังการกิน
การแตง่ กาย การกระทาํ ต่าง ๆ

ผูส้ ูงอายุในไทยเพิมขึน เมอื เพิมขนึ หาก
เปนข้าราชการบาํ นาญอาจไม่มีปญหา

a X + b Y + C z = dแตห่ ากเปนชนชนั ล่างทาํ ให้คนระดบั ล่างไม่
สามารถจดั สันปนส่วนชีวติ ได้เตม็ ทีเนืองจาก
เปนคนหาเช้ากินคํา

x + y = 10 x - y = 2ชวี ิตของเราถกู
(1)+(2) ; 2x = 12 xทาํ ใหก้ ลายเปน
= 12/2 = 6สมการ

เมอื อายุย่าง 60 ป คุณตอ้ งสละหลาย ๆ ELDERLY'S WEEKLY 30
ปล่อยวางมอี ํานาจในการกําหนดชีวิต
เปนตัวแบบเชิงคณิตศาสาตรท์ ีลดทอนให้
คนอย่ภู ายใตเ้ งอื นไขของตัวเลข

ณชิ านนั ท์ เด็นงะ๊

ปาแมบ่ า้ น "ปลูกผกั กไ็ มพ่ อหรอก
กับเงนิ หกรอ้ ย
ข้อมูลทัวไปในชีวิตประจาํ วัน
ข้าวสาร 200 นํามนั 50
.นางสาวณิชานันท์ เด็นง๊ะ อายุ 53 ป ของสดอย่างอนื อีก"
ปจจุบันทํางานเปนแม่บ้านทีมหาวิทยาลัยทักษิณ
ทํามาได้ 6 ปแล้วค่ะ สังกัดบรษิ ัทวี.อาร.์ สงขลากรุป๊ เซอรว์ ิส
สัญญาจ้างปต่อป ได้ค่าแรงวันละ 320 บาท
แต่จะต้องเบิกเงินเปนเดือน โดยแต่ละเดือนทางบรษิ ัท
ก็จะหักเงินเดือนรอ้ ยละ 5 เพือนาํ ไปเปนค่าสวัสดิการ
ประกันสังคมค่ะ เมือเกษียณอายุการทํางานก็จะได้รบั เงิน
บาํ นาญเดือนละประมาณ 3500 บาท
โดยทํางานวันละ 8 ชัวโมง เรมิ งานเวลา 07.30 - 17.00น.
ทํางาน 6 วันต่อสัปดาห์ หยุด 1 วัน

.

ความรูท้ ัวไปเกียวกับสทิ ธแิ ละสวสั ดิการ
เบอื งต้นของผสู้ งู อายุ

ก็รูพ้ อสมควรค่ะ อย่างเช่น สวัสดิการการรกั ษา
พยาบาลมีช่องทางพิเศษสาํ หรบั ผู้สูงอายุ
เบียเลียงสาํ หรบั ผู้สูงอายุ

ความคิดเห็นเกียวกับระบบการชว่ ยเหลือดแู ล
ผสู้ งุ อายุในปจจุบนั

เงิน 600 บาทไมเ่ พยี งพอต่อการดํารงชวี ติ โดยเฉพาะผทู้ ีไมม่ ี
รายได้อืน เชน่ เงินจากลกู หลานปลกู ผกั ก็ไมพ่ อหรอกกับเงิน
หกรอ้ ย ขา้ วสาร 200 นํามนั 50 ของสดอยา่ งอืนอีก
อยากใหอ้ สม.ดแู ลผสู้ งู อายุใกล้ชดิ กวา่ นี
อยากใหล้ งพนื ทีติดตามผสู้ งู อายุอยา่ งใกล้ชดิ จรงิ ๆ
อีกทังมกี ิจกรรมสาํ หรบั ผสู้ งู อายุในแต่ละสปั ดาหด์ ว้ ยเพอื ลด
ความเหงา ภาวะซมึ เศรา้ ทีจะเกิดขนึ ในผสู้ งู อายุ

ELDERLY'S WEEKLY 31

ปญหาใดในความคิดของทา่ นเปนปญหาสําคัญ
ในการดํารงชีวติ ผสู้ ูงอายใุ นวิถีใหม่

ปญหาสขุ ภาพ โดยเฉพาะโรคฮติ ในผสู้ ูงอายุ เชน่
เบาหวาน ความดัน มะเรง็
แตค่ ุณปามการเตรยี มตัวทีจะใชช้ ีวติ ในวัยเกษียณ
เชน่ การออกกาํ ลงั กายและการกินอาหารเจ
งดของทองตา่ ง ๆ พักผอ่ นใหเ้ พียงพอ

ขอ้ เสนอแนะเพิมเตมิ

เมอื ถงึ วยั เกษียณอยากใหล้ กู หลานอยูด่ ว้ ยกนั
อยากไดค้ วามสุขทางจิตใจมากกวา่
ไม่ได้ต้องการเงินจากลูกหลาน

ไม่ไดห้ วงั วา่ จะกินเงินเดือนลกู แค่อยู่ด้วยกนั ก็พอแล้ว

ELDERLY'S WEEKLY 32

ความรู้ทวั ไปเกียวกบั สิทธิและสวสั ดกิ ารเบอื งต้น
ของผสู้ ูงอายุ

หลังเกษียณอายุราชการกไ็ ด้รับเงินบํานาญเปนประจํา
ทกุ เดือน สวัสดกิ ารตา่ ง ๆ กม็ ักจะใชต้ ามสิทธิ
ของข้าราชการบาํ นาญเปนส่วนใหญ่ ส่วนสิทธขิ อง
ผสู้ ูงอายทุ ัวไปก็ใช้บา้ งตามโอกาส

พนม ความร้เู บอื งตน้ เกยี วกับ
วิไลสวัสดิ ยทุ ธศาสตร์ของกรมกจิ การผูส้ ูงอายุ

เคยได้ยนิ แตไ่ มไ่ ด้เปดดจู รงิ จงั
วา่ มีอะไรบ้างตามมาตรากฎหมายนันๆ
ทที างรัฐบาลใหส้ ิทธปิ ระโยชนอ์ ะไร

ข้อมูลทัวไปในชีวิตประจาํ วัน ขา้ ราชการเกษียณส่วนใหญ่
กไ็ ม่ได้มีรายได้อนื นอกจากเงินบํานาญ
พ.ต.ท.พนม วิไลสวัสดิ อายุ 62 ป
อดตี รองผกก.สภ.ฉลงุ เกษียณอายุราชการ เหมือนลกู ไงถา้ พ่อแม่
มาแลว้ 2 ป ปจจุบนั ทําไรท่ าํ สวนเปนงานอดเิ รก
และอาศัยอยกู่ ับภรรยาสองคน ชวี ิตประจําวนั เพิมเงนิ เดอื นใหล้ ูกจะชอบไหม?
ส่วนใหญ่กด็ ําเนินตามวิถีชวี ติ มุสลิม ซงึ เปนไป
ตามหลักการของศาสนาอิสลามเปนหลกั ปฏบิ ตั ิ
ตืนตังแต่เช้ามืดตนื ตี 5 มาละหมาด หลังจากนนั
กท็ ํากิจวัตรประจาํ วัน กินกาแฟเสรจ็ แลว้ ก็ไปสวน
ดูแลตน้ ไม้ พอเทียงก็อาบนําไปละหมาด ตกเย็น
กล็ ะหมาด แล้วก็ไปทาํ ไร่ทาํ สวนต่อ พลบคํา
กท็ ําธรุ ะส่วนตวั ละหมาดแล้วกเ็ ขา้ นอนไมเ่ กนิ
3 ทมุ่ ทํากจิ วัตรประจําวัน 5 เวลาโดยปฏบิ ัติตาม
ศาสนกิจ ทําหมนุ เวียนอยตู่ ลอดเวลาอยทู่ ุกวนั

ELDERLY'S WEEKLY

ELDERLY'S WEEKLY 33

ความคิดเหน็ เกียวกับระบบการช่วยเหลอื
ดแู ลผ้สู ูงอายใุ นปจจบุ นั

ถอื วา่ รฐั บาลใหส้ วสั ดกิ ารผู้สูงอายคุ ่อนข้างดนี ่ะ
อะไรๆก็ลดใหค้ รึงราคาไปหมด

ปญหาใดในความคิดของท่านเปนปญหาสําคัญ
ในการดาํ รงชีวติ ของผสู้ ูงอายใุ นวิถีใหม่

ปญหาสุขภาพของคนแกก่ ็มกี ันทกุ คน อายุมากขนึ
กเ็ ริมเจบ็ ออดๆแอดๆ

ข้อเสนอแนะของเพิมเติมตามทศั นะทา่ น

เมอื ลงุ เสียชวี ติ ลงในขณะทีภรรยายังมีชีวติ อยู่
ภรรยาลงุ ก็ต้องเสยี สิทธิสวัสดกิ ารขา้ ราชการบํานาญ
ของลุงไปดว้ ย ลงุ อยากใหค้ ่สู มรสขา้ ราชการสามารถ
ใชส้ ิทธนิ ไี ปได้ตลอดชีวติ แม้ว่า เขาจะเสยี ชีวติ ลงไป
และอยากใหท้ างรัฐบาลจะเพิมเงินบาํ นาญขึนสกั
10-20 % ให้ข้าราชการเกษียณกด็ ี เพราะว่า
ข้าราชการเกษียณส่วนใหญก่ ็ไมไ่ ดม้ รี ายไดอ้ นื
นอกจากเงินบาํ นาญ เหมอื นลูกไงถ้าพ่อแมเ่ พิมเงนิ
เดอื นใหล้ กู จะชอบไหม ?

ชวี ติ ทกุ วันนี พอใจแลว้ ยัง ถา้ เปนไปได้
อยากให้ครอบครัวอยู่กนั พร้อมหน้า
พรอ้ มตาไหม

ปจจุบันนีก็อย่กู ับภรรยาสองคน แยกกนั อยู่กับลูกๆเพราะ
ทาํ งานคนละทกี นั ลกู ไม่คอ่ ยไดอ้ ยกู่ ับเราอยู่แล้ว อย่างดี
เราก็อย่กู บั หมาแมว แต่วา่ ลุงไปหาลูกทีต่างจงั หวัดอยูบ่ อ่ ยๆ
ไปกรงุ เทพบา้ งพังงาบา้ งแลว้ แต่ลกู อยากให้ไปหา จริงๆแลว้
กอ็ ยากให้ครอบครวั อยูด่ ว้ ยกันพรอ้ มหนา้ พรอ้ มตาดกี ว่า
ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยในการดํารงชีพดว้ ย

ELDERLY'S WEEKLY 34

ป ร ะ วั ติ ก า ร ศึ ก ษ า

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหา
บัณฑิต (สาขาโครงสร้าง)
University of Illinois, U.S.A.

รงั ษี รตั นปราการ ป ร ะ วั ติ ก า ร ทํา ง า น

น า ย ก ส ม า ค ม ภ า คี กรรมการฝายบรหิ าร
ค น รั ก เ มื อ ง ส ง ข ล า บรษิ ัท วชิ ยั ยุทธ จาํ กัด

กรรมการผู้จัดการใหญ่
บรษิ ัท เหมืองแรจ่ รนิ ทร์ จาํ กัด
กรรมการผู้จัดการ
บรษิ ัท ไทยเอนยิเนียรงิ คอนซลั แตนทส์ จาํ กัด

การทํางาน เ กี ย ร ติ ป ร ะ วั ติ แ ล ะ ร า ง วั ล
ให้กับ
น า ย ก ส ม า ค ม วิ ศ ว ก ร ที ป ร ึก ษ า
สงั คม แห่งประเทศไทย
ส ม า ชิ ก วิ ศ ว ก ร ร ม ส ถ า น
แห่งประเทศไทย
ส ม า ชิ ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร
ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ วิ ศ ว ก ร ร ม
ส ม า ชิ ก ส ม า ค ม วิ ศ ว ก ร ที ป ร ึก ษ า
แห่งประเทศไทย.

ต้องชว่ ยกัน
คนละไมค้ นละมอื

ELDERLY'S WEEKLY 35

RANGSRI TO DAY
RED RICE MILL : HUB HOE HIN

คุ ณ รั ง ษี ใ น วั น นี
วั ย ช ร า กั บ ง า น ใ ห ม่ ที บ้ า น ห ลั ง เ ก่ า

ชวี ติ หลังยา่ งเขา้ สชู่ ว่ งวยั แหง่ การเปลียนผา่ นจากการทํางานสชู่ ว่ งชวี ติ แหง่ การพกั ผอ่ น
ปดฉากชีวิตอันสะดวกสบายจากเมืองกรุงกลับคืนสู่บ้านเกิดทีสงขลารอวันกําลังจะ
เติบโต งานใหม่ทีคอยท้าทายคนชราซึงกําลังจะดึงคนรุน่ ใหม่มารว่ มกันสรา้ งบ้าน
แปลงเมืองผลิกโฉมหน้าเมืองเก่าทีรา้ งราผู้คนให้กลับมาเปนเมืองเก่าทียังมีชีวิตด้วย
มรดกอันลําค่าจากประวัติศาสตรส์ ู่การสรา้ งสถาปตยธรรมทีสะท้อนถึงอัตลักษณ์
ตัวตนคนสงขลาในทุกวันนีการส่งต่อเมืองจึงเปนเรอื งทีดูอาจจะหนักสาํ หรบั คนใน
วัยชราอย่างคุณรงั ษีเพียงคนเดียวแต่ทว่าความโชคดีทีคนรุน่ ใหม่ต่างเห็นคุณค่าจึง
เปนจุดกําเนิดในการจัดตังภาคีคนรกั เมืองสงขลา 7-8 ป ทีผ่านมายิงตอกยาํ ความ-
ตังใจทีจะสรา้ งแหล่งเรยี นรูใ้ ห้ชุมชนเพือทุกคนได้ด้ศึกษาประวัติศาสตรข์ องเมือง-
สงขลาสู่ภารกิจทีจะนําสงขลาสู่การเปนเมืองมรดกโลกในความทรงจาํ ของมวลมนุษย์
การมอบโรงสีแดง"หับโห้หิน"จึงเปนจุดเรมิ ต้นของความมุ่งมันอย่างแน่วแน่ของ
ผู้ชายคนนีทีชือ รงั ษี รตั นปราการ ในวัย 86 ป

การใชช้ วี ติ ในวยั 86 ป ไมใ่ ชเ่ รอื งง่ายโดยเฉพาะสขุ ภาพทีต้องแลกกับชว่ งวยั ทีเปลียน
ผา่ นสงิ สาํ คัญคือสขุ ภาพรา่ งกายจะต้องเเขง็ แรง สขุ ภาพจติ จะต้องแจม่ ใส อารมณด์ ี
มสี ติปญญา ทีพอจะคิดวเิ คราะหไ์ ด้การรบั ปะทานอาหารจะเนน้ ทีผกั ปลอดสารพษิ
ทีปลกู เองภายในสวนและรบั ประทานอาหารประเภทเนือปลาเปนหลักมากกวา่ เนือสตั ว์
ชนิดอืนๆ ชวี ติ การทํางานสปั ดาหล์ ะ 7 วนั ถ้ามงี านก็นอนดกึ ไดแ้ ต่ไมบ่ อ่ ย ตังแต่ต้นป
ชว่ งโควดิ ระบาดยงั ไมไ่ ดไ้ ปออกกําลังกายชว่ งนีเลยทําใหร้ า่ งกายอ่อนแอ

ปญหาผสู้ งู อายุในปจจุบนั สาํ หรบั คณุ รงั สคี ือ ผสู้ งู อายุโดนทอดทิงเนืองจากรปู แบบของ
สงั คมเปลียนไปคนสว่ นใหญเ่ อาความสามารถทางดา้ นวตั ถเุ ปนเครอื งวดั แทนทีจะเอา
จติ ใจเปนเครอื งวดั ทกุ อยา่ งจงึ เปลียนไปตังแต่การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ยงิ สมยั นมี กี าร
พฒั นาของAI ทําใหว้ ถิ ีชวี ติ เปลียนไปมากกวา่ เดมิ ทําใหเ้ กิดความเหนิ หา่ งทางด้านบุคคล
มากขนึ เนอื งจากต้องออกจากบา้ นไปทํางานผดิ จากยุคเกษตรทีผคู้ นทํานาอยูท่ ีบา้ น เงิน
เปนปจจยั หลักทีทําใหค้ นออกจากกบา้ นปญหาตรงนเี ราจะทําอยา่ งไรใหค้ นเกาะกล่มุ กัน
มคี วามสมั พนั ธท์ ีแน่นแฟนและมเี มตตาจติ ต่อคนอืนไมล่ ะทิงผสู้ งู อายุ

ELDERLY'S WEEKLY 36

SPECIAL

คอลมั นพ์ ิเศษในฉบบั นี นิตยสาร ELDERLY ' s WEEKLY
ขอนาํ เสนอเรืองราวสวัสดิการของผสู้ งู อายุในอกี มมุ หนงึ

ในสังคมทีเกดิ ขนึ ซึงผูค้ นสว่ นใหญใ่ นสังคมไดม้ องเห็น
แตก่ ลบั มองว่าเปนเพียงปญหาของผู้อืน

กรณศี ึกษานี เริมตน้ ด้วยความบงั เอญิ
หลังจากทที างผู้จัดทําได้ลงพืนทสี มั ภาษณ์ผู้สูงอายุ
ในชมุ ชนแหง่ หนึง กไ็ ด้เห็นคณุ ยายคนหนงึ
กําลังข้ามถนนอยา่ งทุลักทุเล ดูเหมอื นผ้สู ูงอายุ
เร่รอ่ น ทไี มม่ คี วามสมบูรณท์ งั ทางรา่ งกายและจติ ใจ
แลว้ ได้เกิดข้อสงสยั กนั ว่า คุณยายไดร้ ับเงิน
สวสั ดิการช่วยเหลอื ผู้สูงอายุหรือไม่ จึงไดเ้ ขา้ ไป
พยายามสอบถามพูดคยุ แต่ไมส่ ามารถสอื สารกนั
ได้เขา้ ใจ ทางผู้จัดทาํ เลยตดั สนิ ใจเดินไปถามผู้คน
เเถวนัน เพือหวงั ทจี ะไดข้ ้อมูลเพิมเติม แล้วบงั เอญิ
เหน็ คุณตาคนหนึงนังอยู่แถว ๆ นนั พอดี
จึงไดเ้ ขา้ ไปสอบถาม สอบถามไปสอบถามมา
จงึ ไดร้ วู้ ่า คุณลงุ ผ้ชู ายคนดังกล่าว เปนสามี
ของคณุ ยาย ทางผู้จัดทาํ จึงขออนุญาตสัมภาษณ์
เพือเปนขอ้ มลู ในกรณีศึกษาอีกกรณหี นึง

คุณยายชอื คุณยายเตม็ อายุ 80 ป
ส่วนคณุ ลงุ ชือ คุณตาสมพงษ์ บญุ เวช
อายุ 70 ป มอี าชีพรับจา้ งทาํ รปู หนงั ตะลงุ
เปนอาชพี หลกั ในการหารายได้ และเกบ็ ขวด
หรอื ของเกา่ ขายเปนอาชีพเสริม คณุ ตาและ
คณุ ยายอาศัยบ้านเชา่ อยู่ ค่าเช่าเดือนละ
1000 บาท คา่ นํา ค่าไฟ 150 บาท ต่อเดอื น

มีลกู ชายอยู่ดว้ ยกนั 1 คน
แตล่ กู ชายมีอาการสตไิ มส่ มประกอบ

ไม่สามารถประกอบอาชีพได้

ELDERLY'S WEEKLY 37

จากการสมั ภาษณ์ ทาํ ใหไ้ ด้ข้อมลู วา่ ครอบครวั ของ

คุณตาและคณุ ยายมรี ายได้จากสองทางหลกั ๆ คือ

สว่ นแรกไดจ้ ากการประกอบอาชพี รับจ้างทาํ รูปหนงั

ตะลุงของคณุ ลุง ส่วนที 2 จะได้จากเงินสวสั ดิการ

ผ้สู งู อายขุ องคุณตากบั คุณยาย รวมกบั เงนิ ช่วย รู้สึกท้อแท้
เหลอื ผูพ้ ิการของคณุ ยายและลูกชาย ทีโอนเขา้ บัญชี

ธนาคารโดยตรง เซ็ง เบือ

เมือได้สอบถามเกียวกบั สิทธิและสวัสดกิ ารเบืองต้น ทีไม่มีทีอยู่ของตัวเอง
ของผสู้ งู อายุ คณุ ตากท็ ราบเพียงเงนิ ชว่ ยเหลือ

รายเดอื น แตย่ ุทธศาสตร์ของกรมกจิ การผู้สูงอายุ

คณุ ตาไม่เคยได้ยิน และไมม่ ีความรู้เกียวกบั ข้อมลู ดังกล่าว

คุณตายังได้เล่าวา่ ไมค่ อ่ ยมหี นว่ ยงานหรือผู้รบั ผดิ ชอบ
จากรัฐเขา้ มาดูแลมากนกั จะมาเปนระยะแตก่ ็นาน ๆ ครงั
ทีจะมาแจกสิงของยังชพี ตามโอกาสตา่ ง ๆ

ข้อเสนอแนะเพิมเติม ทีคณุ ตาฝากถึงรัฐบาล คือ

อยากใหห้ น่วยงานหรือผ้รู บั ผิดชอบเขา้ มาดูแลอยา่ งทวั ถงึ
มากกว่านี เพราะ คุณตารู้สึกวา่ ไม่สามารถเข้าถึงสวสั ดิการ
ทีควรจะได้อยา่ งเตม็ ที

COLUMN

ELDERLY'S WEEKLY 38


Click to View FlipBook Version