ธรรมพร กริชจนรัช ม.5/2 เลขที่ 32
ดร.เอ็มเบดการ์
ผู้ที่ยกระดับทางสังคมของอินเดียให้เจริญขึ้นกว่าเดิม จึง
ได้ประกาศที่จะลบล้างลัทธิการนับถือชั้นวรรณะให้หมด
ไปจากประเทศอินเดียและถือว่าเป็นบุคคลแรกของ
อินเดียที่ได้นำเอาพระพุทธศาสนากลับมาสู่มาตภูมิ (ถิ่น
กำเนิดพระพุทธศาสนา)
ด ร . เ อ็ ม เ บ ด ก า ร์
ป ร ะ วั ติ
ดร. เอ็ มเบคการ์ มีชื่อเต็ มว่ า ดร.พิมเรา
รามชิเอ็ มเบคการ์ เป็นคนในวรรณะ
จันฑาลซึ่งสังคมฮินดูของอิ นเดี ยรังเกี ยจ
สำ ห รั บ ว ร ร ณ ะ จั น ฑ า ล นี้ จ ะ ถู ก ห้ า ม ไ ม่ ใ ห้
เข้าไปใช้น้ำในสระสาธารณะร่วมกั นกั บ
พวกวรรณะอื่ นๆและทั้งที่พวกเขานับถื อ
เทพเจ้าองค์ เดี ยวกั นกั บพวกฮินดูทั้งหลาย
โบสถ์ ฮินดูก็ ไม่ยอมให้พวกเขาเข้าไป
สักการะหรือร่วมพิธี ทางศาสนาเป็นอั น
ขาด ร้านตั ดผม ร้านทำผม และร้านซักรีด
เสื้อผ้าก็ ไม่ยอมให้พวกเขาไปใช้บริการ
แม้ดร. เอ็ มเบคการ์จะเกิ ดมาใน
ครอบครัวที่ยากจน แต่ บิดาของดร.ก็
พยายามส่งเสียให้ดร.ได้ เรียน แต่ ใน
ระหว่ างการเรียนนั้น ท่านจะต้ องเผชิญ
หน้ากั บความดูหมิ่นเหยีดหยามของทั้งครู
อาจารย์ และนักเรียนซึ่งเป็นคนในวรรณะ
สูงกว่ า เช่น เมื่อเขาเข้าไปในห้องเรียน ทั้ง
ครู และเพื่อนร่วมชั้นต่ างก็ แสดอาการ
ขยะแขยง รังเกี ยจ ในความเป็นคนวรรณะ
ต่ำของเขา เขาไม่ได้ รับอนุญาตแม้แต่ การ
ที่จะไปนั่งบนเก้ าอี้ ในห้องเรียน เขาต้ อง
เลื อกเอาที่มุมห้อง อย่างไรก็ ตามก็ ได้ มีครู
คนหนึ่ง ซึ่งเป็นวรรณะพราหมณ์ แต่ เป็นผู้
มีเมตตาผิดกั บคนในวรรณะเดี ยวกั น ครู
ท่านนี้คิ ดว่ า
เหตุที่พิมถูกรังเกี ยจ เพราะความที่
น า ม ส กุ ล ข อ ง เ ข า สั ก ป า ล เ ป็ น น า ม ส กุ ล ข อ ง
จัณฑาล ครูเลยนำนามสกุลของตนเปลี่ ยน
ให้เป็น เอ็ มเบ็ดการ์
ประวัติ(ต่อ)
ห ลั ง จ า ก อ ด ท น ต่ อ ค ว า ม ย า ก ลำ บ า ก ก า ร ถุ ก รั ง เ กี ย จ
จ า ก ค น ร อ บ ข้ า ง เ ข า ก็ ไ ด้ สำ เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า จ บ มั ธ ย ม ห ก
ซึ่ ง นั บ ว่ า สู ง ม า ก สำ ห รั บ ค น ว ร ร ณ ะ อ ย่ า ง จัณ ฑ า ล แ ต่
ม า ถึ ง ขั้ น นี้ พ่ อ ข อ ง ท่ า น ก็ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ส่ ง เ สี ย ใ ห้
เ รี ย น ต่ อ ไ ป ไ ด้ ใ น ข ณ ะ นั้ น ม ห า ร า ช า แ ห่ ง เ มื อ ง บ า โ ร ด า
ซึ่ ง เ ป็ น ม ห า ร า ช า ผู้ มี เ ม ต ต า พ ร ะ อ ง ค์ ไ ม่ มี ค ว า ม
รั ง เ กี ย จ ใ น ค น ต่ า ง ว ร ร ณ ะ ไ ด้ มี นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์
พ า เ อ็ ม เ บ ด ก า ร์ เ ข้ า เ ฝ้ า ม ห า ร า ช า พ ร ะ อ ง ค์ ไ ด้ ท ร ง
พ ร ะ ร า ช ท า น เ งิ น ทุ น ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ ข อ ง เ อ็ ม เ บ ด ก า ร์
ทำ ใ ห้ ท่ า น ส า ม า ร ถ เ รี ย น จ บ ป ริ ญ ญ า ต รี ไ ด้ ต่ อ ม า
ม ห า ร า ช า แ ห่ ง บ า โ ร ด า ไ ด้ ท ร ง คั ด เ ลื อ ก นั ก ศึ ก ษ า
อิ น เ ดี ย เ พื่ อ จ ะ ท ร ง ส่ ง ใ ห้ ไ ป เ รี ย น ต่ อ ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
โ ค ลั ม เ บี ย ป ร ะ เ ท ศ อ เ ม ริ ก า ซึ่ ง เ อ็ ม เ บ ด ก า ร์ ไ ด้ รั บ คั ด
เ ลื อ ก เ ข า ไ ด้ พ บ กั บ สิ่ ง ที่ เ รี ย ก ว่ า อิ ส ร ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม
เ ส ม อ ภ า ค เ พ ร า ะ ที่ อ เ ม ริ ก า นั้ น ไ ม่ มี ค น แ ส ด ง อ า ก า ร
รั ง เ กี ย จ เ ห มื อ น อ ย่ า ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ อิ น เ ดี ย ห ลั ง จ า ก จ บ
ก า ร ศึ ก ษ า ถึ ง ขั้ น ป ริ ญ ญ า เ อ ก แ ล้ ว เ รี ย ก ว่ า มี ชื่ อ นำ
ห น้ า ว่ า ด . ร . พิ ม อั ม เ บ ด ก า ร์ ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ก ลั บ ม า
อิ น เ ดี ย ด . ร . แ อ ม เ บ็ ด ก า ร์ ไ ด้ ทำ ง า น ใ น ห ล า ย ๆ เ รื่ อ ง
ห ลั ง จ า ก อิ น เ ดี ย ไ ด้ รั บ เ อ ก ร า ช ท่ า น เ ป็ น อ ธิ ศู ท ร ค น
แ ร ก ที่ ไ ด้ รั บ ตำ แ ห น่ ง เ ป็ น รั ฐ ม น ต รี ก ร ะ ท ร ว ง ยุ ติ ธ ร ร ม
ข อ ง อิ น เ ดี ย ท่ า น เ ป็ น ผู้ ร่ ว ม ร่ า ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ข อ ง
อิ น เ ดี ย แ ล ะ เ ป็ น ผู้ ต่ อ สู้ เ พื่ อ ทำ ล า ย ค ว า ม อ ยุ ติ ธ ร ร ม ที่
สั ง ค ม ฮิ น ดู ยั ด เ ยี ย ด ใ ห้ กั บ ค น ใ น ว ร ร ณ ะ ต่ำ ก ว่ า
ผลงานด้านต่างๆ
ผลงานที่ได้รับยกย่อง
ดร. เอ็มเบดการ์ ได้ทำการต่อสู้เพื่อสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
และศาสนาจนสำเร็จและสามารถทำให้คนในวรรณะจันฑาลมี
ความเสมอภาพกับคนในวรรณะอื่น ในทุก ๆ ด้านและพยายามยก
ระดับทางสังคมของอินเดียให้เจริญขึ้นกว่าเดิมจึงได้ประกาศที่จะ
ลบล้างลัทธิการนับถือชั้นวรรณะให้หมดไปจากประเทศอินเดีย
และเห็นว่าไม่มีอะไรที่จะดีไปยิ่งกว่าหลักคำสอนของ
พระพุทธศาสนา
ผลงานด้านการศึกษา
ท่านได้ศึกษาเล่าเรียนจนสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก
หลายสาขา ได้แก่ปรัชญา กฎหมาย จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
วิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยลอนดอน และวรรณคดีจาก
มหาวิทยาลัยออสมาเนีย
ผลงานด้านการเขียนหนังสือ
ด.ร.อัมเบดการ์ ได้เขียนหนังสือเผยแผ่พระพุทธธรรมหลายเล่ม
เช่น"พุทธธรรม "(Buddha and His Dhamma) ,"ลักษณะพิเศษของ
พระพุทธศาสนา " (The Essential of Buddhism) และคำปาฐกถา
อื่นๆ ที่ ได้รับการตีพิมพ์ภายหลัง เช่น "การที่พระพุทธศาสนาหมดไป
จากอินเดีย" (The down fall of Buddhism in india) เป็นต้น
ผลงานด้านต่างๆ
ผลงานด้านศาสนา
ดร. เอ็มเบดการ์ ถือว่าเป็นบุคคลแรกของอินเดียที่ได้นำเอาพระพุทธ
ศาสนากลับมาสู่มาตุภูมิ (ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนา) โดยตัวท่านเองใน
เบื้องแรกนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์ ต่อมาจึงเปลี่ยนมานับถือ
พระพุทธศาสนา ท่านได้เข้าพิธีอย่างเป็นทางการ และท่านได้ยกย่อง
พระพุทธศาสนาว่า เป็นศาสนาที่สร้างสันติภาพให้แก่โลก เพราะ
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่เป็นประชาธิปไตย ให้ความเสมอภาค
ภราดรภาพ และยกย่องความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน
ผลงานด้านการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม
ดร. เอ็มเบดการ์ได้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของอินเดียเรื่อง
ชนชั้นวรรณะให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
คุณธรรม
1.มีความเพียรพยายามในการศึกษาเล่าเรียน
แม้ว่าท่านจะต้องเผชิญหน้ากับความดูหมิ่นเหยียดหยาม
สร้างความช้ำใจระหว่างที่เรียน เช่น เมื่อท่านเข้าไปใน
ห้องเรียน ทั้งครูและเพื่อนร่วมชั้นต่างก็แสดงอาการ
ขยะแขยง รังเกียจ ความเป็นคนวรรณะต่ำ แต่ท่านก็ไม่
ย่อท้อยังตั้งใจมุมานะเพียรพยายามในการศึกษาเล่า
เรียนจนจบ
PERSEVERANCE
2.การยึดมั่นในพระพุทธศาสนา
ท่านแสดงตนเป็นพุทธมามกะและได้เป็นผู้นำชาวพุทธศูทร
และอธิศูทรกว่า 5 แสนคน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะใน
วันพุทธชยันตีและนำหลักธรรมพระพุทธศาสนามาเป็นหลัก
ในการปฏิวัติชนชั้นวรรณะและได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา
และเขียนหนังสือเผยแผ่พระพุทธธรรมหลายเล่ม เช่น"พุทธ
ธรรม "(Buddha and His Dhamma) เป็นต้น
BUDDHISM
JUSTICE คุณธรรม
SINCERE3.ความยุติธรรม
แม้ว่าในตอนนั้นเรื่องชนชั้นจะเป็นเรื่องใหญ่โตของอินเดียแต่ท่านก็ยัง
พยายามต่อสู้กับความอยุติธรรมที่สังคมฮินดูยัดเยียดให้วรรณะที่ต่ำ
กว่าจนทุกคนได้รับความเท่าเทียมกันและหลังจากที่อินเดียได้รับ
เอกราช ท่านก็ได้รับตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมของ
อินเดียได้เป็นผู้ร่วมร่างรัฐธรรมนูญของอินเดีย ท่านเป็นผู้ชี้แจงต่อที่
ประชุมในสภา โดยให้ชี้แจงอธิบายต่อผู้ซักถาม ถึงบางข้อบางประเด็น
ในรัฐธรรมนูญหนังสือพิมพ์บางฉบับลงเหตุการณ์ตอนนี้ว่า "ด.ร.อัมเบ
ดการ์ ทำหน้าที่ชี้แจงอธิบาย เรื่องร่างรัฐธรรมนูญต่อผู้ร่วมประชุม
ประดุจพระอุบาลีเถรเจ้า วิสัชชนาข้อวินัยบัญญัติ ในที่ประชุมปฐม
สังคายนา ต่อพระสงฆ์ ๕๐๐ มีพระมหากัสสปะเป็นประธาน ฉะนั้น" ซึ่ง
ถือได้ว่าท่านเป็นผู้ต่อสู้เพื่อทำลายความอยุติธรรมที่ชนในชาติทำกับ
คนในชาติเดียวกัน
4.เป็นคนซื่อสัตย์จริงใจ
ตำแหน่งต่างๆที่ท่านได้รับไม่ได้ใช้เส้นสายเพื่อตำแหน่งอำนาจและไม่
เสแสร้งให้ความคิดตรงกับคนที่ตำแหน่งใหญ่กว่าเพื่อให้ผู้นั้นถูกอก
ถูกใจ ท่านได้ยึดมั่นในความคิดของท่านและได้รับการยอมรับ ตำแหน่ง
และอำนาจจากความสามารถของท่านเอง
ธรรมพร กริชจนรัช ม.5/2 เลขที่ 32
REFERENCE
แ ห ล่ ง อ้ า ง อิ ง
พานิชพล มงคลเจริญ. (2562). ดร.เอมเบ็คการ์, สืบค้นเมื่อวันที่
3 ธันวาคม 2565.
จาก. HTTP://KROOAIR.BLOGSPOT.COM/2009/08/BLOG-
POST_25.HTML
JIAB. (2555). ดร.เอมเบ็คการ์, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม
2565.
จาก. HTTPS://JIAB007.WORDPRESS.COM
ใครเป็นใคร. (2558). ดร.เอมเบ็คการ์, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม
2565. จาก.
HTTP://THAIWHOISWHO.BLOGSPOT.COM/2015/09/BLOG-
POST.HTML