The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้-ภาคเรียยนที่-2-พลศึกษา-Copy

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Isag Teerawat Prasetsang, 2024-01-22 11:47:59

แผนการจัดการเรียนรู้-ภาคเรียยนที่-2-พลศึกษา-Copy

แผนการจัดการเรียนรู้-ภาคเรียยนที่-2-พลศึกษา-Copy

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา พลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลหนองวัวซอ นายธีระวัช ประเสริฐสังข์ รหัสประจ าตัวนักศึกษา 62100189202 สาขาวิชาพลศึกษาและสุขศึกษา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหัสวิชา ED18501 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา พลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลหนองวัวซอ นายธีระวัช ประเสริฐสังข์ รหัสประจ าตัวนักศึกษา 62100189202 สาขาวิชาพลศึกษาและสุขศึกษา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหัสวิชา ED18501 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


ก ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1-2 เล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาและจัดท าแผนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งในแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะประกอบไปด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่เป็นของรายวิชาสุขศึกษาทั้งหมด 20 ชั่วโมง ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พล ศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาได้เป็นอย่าง ดีและขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ช่วยให้แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีมา ณ โอกาสนี้ นายธีระวัช ประเสริฐสังข์ ผู้จัดท า .........../.........../..........


ข สารบัญ เรื่อง ที่ ค าน า ก สารบัญ ข ค าอธิบายรายวิชา ค โครงสร้าง รายวิชาพลศึกษา ง โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ จ แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 21 1-4 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 22 5-9 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 23 10-14 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 24 15-21 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 25 22-28 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 26 29-34 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 27 35-40 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 28 41-46 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 29 47-54 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 30 55-66 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 31 67-71 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 32 72-76 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 33 77-83 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 34 84-88 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 35 89-94 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 36 85-100 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 37 101-105 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 38 106-111 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 39 112-117 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 40 118-123


ค ค าอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 20 ชั่วโมง ศึกษา วิเคราะห์ อธิบายความส าคัญและการดูแลระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง และการวางตัวที่เหมาะสม กับเพศตามวัฒนธรรมไทย อธิบายความส าคัญของการมีครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย และระบุ พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด และผลกระทบของการใช้ยาและสารเสพติดที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลี่ยงสารเสพติด และ วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ ปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ และค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริมสุขภาพ วิเคราะห์สื่อ โฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล วิธีปฏิบัติตนเพื่อปูองกันโรคที่พบ บ่อยในชีวิตประจ าวัน ปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบ ควบคุมการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน และควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการ เคลื่อนไหวตามแบบที่ก าหนด การรับแรง การใช้แรง และความสมดุล ออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบและปฏิบัติ ตามกฎ กติกา การเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากล ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นเกมกีฬา และมีน้ าใจนักกีฬาโดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติ ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกาย กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูล การแก้ปัญหา และ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีทักษะสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถตัดสินใจและน า ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม


ง โครงสร้าง รายวิชาพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ชั่วโมง ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 1 การเล่นกีฬาเพื่อสร้าง เสริมสุขภาพ พ 3.1 ป.5/1 เล่นกีฬาทุกประเภทต้องมีกฎ กติกาในการเล่น เพื่อให้เกิด ความมีระเบียบ และความ สนุกสนาน การเล่นกีฬา ก่อให้เกิดความสามัคคี และมี สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์ 4 2 การออกก าลังกายอย่างมี รูปแบบประเภททีมและ บุคคล พ 3.2 ป.5/1 การเล่นกีฬาแต่ละชนิดต้อง อาศัยการท างานเป็นรูปแบบ และอย่างเป็นทีมเพื่อท าให้ เกิดการพัฒนาทั้งร่างกายและ ระบบทีม 16


จ โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้พลศึกษา จ านวน 20 ชั่วโมง หน่วยการ เรียนรู้ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา ชั่วโมง 3 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 1 รวม 20


1 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 21 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง กฎ กติกาการเล่นฟุตบอล (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน.......................พ.ศ...................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดงทักษะกลไกในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ป.5/5 เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับสนามในการเล่นฟุตบอล (K) 2. วาดภาพสนามฟุตบอล (P) 3. กระตือรือร้น และมีส่วนร่วมกับกิจกรรมการเรียนการสอน (A) สาระส าคัญ เล่นกีฬาทุกประเภทต้องมีกฎ กติกาในการเล่น เพื่อให้เกิดความมีระเบียบ และความ สนุกสนาน การ เล่นกีฬาก่อให้เกิดความสามัคคี และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ สาระการเรียนรู้ 1. กฎ กติกา การเล่นฟุตบอล 2. ขนาดสนาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัย 2.ใฝุเรียนรู้ สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการคิด 2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระงาน/ชิ้นงาน ภาพวาดสนามฟุตบอล ค าถามท้าทาย พื้นสนามมีผลต่อการเล่นฟุตบอลหรือไม่ อย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนด้วยค าว่าสวัสดี 2.ครูถามนักเรียนว่า รู้จักกีฬาฟุตบอลหรือไม่ มีวิธีการเล่นอย่างไร 3.ครูแจ้งจุดประสงค์กับนักเรียนว่าจะสอนเรื่องอะไร ขั้นสอน 1. ครูถามนักเรียนว่าพื้นสนามฟุตบอลมีลักษณะอย่างไร 2. ครูถามนักเรียนว่าเขตประตูคือเขตบริเวณใด 3. ครูถามนักเรียนว่าเขตโทษคือเขตบริเวณใด


2 4. ครูถามนักเรียนว่าเสาธงมีลักษณะอย่างไร 5. ครูถามนักเรียนว่าประตูมีลักษณะอย่างไร 6. ให้นักเรียนวาดภาพระบายสีสนามฟุตบอลพร้อมบอกเขตแดนต่างๆ โดยครูคัดเลือก ภาพของนักเรียนที่วาดได้ถูกต้องประมาณ 5 ภาพ ติดที่ปูายนิเทศหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าพื้นสนามมีผลต่อการเล่นฟุตบอลหรือไม่ อย่างไร สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ลูกฟุตบอล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล สังเกตพฤติกรรม 2. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../…………


3 ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/……………. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


4 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลงชื่อ................................ผู้ประเมิน ........./.................../............ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7 – 9 ดี 4 – 6 พอใช้ ต่ ากว่า 4 ควรปรับปรุง ล า ดับ ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน วาดภาพสนามฟุตบอลได้ อธิบายได้ว่าสนามฟุตบอล เป็นอย่างไร มีส่วนร่วมในการท า กิจกรรม รวม 9 คะแนน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2 เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3 เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4 เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5 เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6 เด็กชายอนรรฆวีคงศรีจันทร์ 7 เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8 เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9 เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10 เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11 เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12 เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13 เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14 เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 15 เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 16 เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 17 เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 18 เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 19 เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 20 เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 21 เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 22 เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 23 เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 24 เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 25 เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 26 เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี


5 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 22 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง กฎ กติกาการเล่นฟุตบอล (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน.......................พ.ศ...................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดงทักษะกลไกในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ป.5/5 เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับกฎ กติกา การเล่นฟุตบอล (K) 2. วาดภาพลูกฟุตบอล (P) 3. เห็นความส าคัญของการรู้เกี่ยวกับกฎ กติกา ในการเล่นฟุตบอล (A) สาระส าคัญ การเล่นฟุตบอลตามกฎ กติกา จะท าให้การเล่นเป็นไปอย่างราบรื่นสนุกสนานและปลอดภัย ท าให้เกิด ความสามัคคีในหมู่คณะ สาระการเรียนรู้ กฎ กติกา การเล่นฟุตบอล 1. ลูกบอล 2. ผู้เล่น 3. ช่วงเวลาของการเล่น 4. พักครึ่งเวลา 5. การล้ าหน้า 6. การได้ประตู คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัย 2.ใฝุเรียนรู้ สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการคิด 2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระงาน/ชิ้นงาน ภาพวาดระบายสีลูกฟุตบอลในฝันของนักเรียน ค าถามท้าทาย การยิงเข้าประตูทีมตนเองได้คะแนนหรือไม่ เพราะเหตุใด กระบวนการจัดการเรียนรู้


6 ขั้นน า 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนด้วยค าว่าสวัสดี 2.ครูบอกกับนักเรียนว่าจากเมื่อวานที่ได้เรียนกันไปคร่าวๆแล้ววันนี้เราจะมาเรียนรู้ กฎกติกา ต่างๆของกีฬาฟุตบอลกัน ขั้นสอน 1. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับกฎ กติกา การเล่นฟุตบอล 2. ครูถามนักเรียนว่าในการแข่งขันฟุตบอลต้องมีลักษณะอย่างไร 1. เป็นทรงกลม 2. ท าจากหนังหรือวัสดุอื่นๆ ที่เหมาะสม 3. เส้นรอบวงไม่เกินกว่า 70 ซม. (28 นิ้ว) ไม่น้อยกว่า 68 ซม. (27 นิ้ว) 4. ในขณะเริ่มการแข่งขันน้ าหนักไม่เกิน 450 กรัม (16 ออนซ์) และไม่ต่ ากว่า 410 กรัม (14 ออนซ์) 5. ความดันลมเมื่อวัดที่ระดับน้ าทะเลเท่ากับ 0.6-1.1(600 – 1,100 กรัม / ตร.ซม.) (8.5 -15.6 ปอนด์ / ตร.นิ้ว) 3.ครูให้นักเรียนวาดภาพลูกฟุตบอลในฝันของนักเรียนว่าอยากให้มีลักษณะอย่างไร พร้อม ระบายสีให้สวยงาม และออกมาน าเสนอผลงานที่ละคน 4. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเล่นฟุตบอลตามกฎ กติกา โดยครูใช้ค าถาม - ผู้เล่นและการเปลี่ยนตัวในการเล่นฟุตบอลเป็นอย่างไร - ช่วงเวลาในการเล่นแบ่งเป็นอย่างไร - การพักครึ่งเวลาพักได้กี่นาที - การล้ าหน้ามีลักษณะอย่างไร - ลักษณะของผู้เล่นที่ไม่ล้ าหน้าเป็นอย่างไร - การได้ประตูต้องท าอย่างไร ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ การเล่นฟุตบอลตามกฎ กติกา 2. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การยิงเข้าประตูทีมตนเองได้คะแนนหรือไม่ เพราะเหตุใด สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ลูกฟุตบอล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล สังเกตพฤติกรรม 2. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน


7 บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../………… ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/…………….


8 ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


9 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ลงชื่อ................................ผู้ประเมิน ........./.................../............ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7 – 9 ดี 4 – 6 พอใช้ ต่ ากว่า 4 ควรปรับปรุง ล า ดับ ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน วาดภาพสนามฟุตบอลได้ อธิบายได้ว่าสนามฟุตบอล เป็นอย่างไร มีส่วนร่วมในการท า กิจกรรม รวม 9 คะแนน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2 เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3 เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4 เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5 เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6 เด็กชายอนรรฆวีคงศรีจันทร์ 7 เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8 เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9 เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10 เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11 เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12 เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13 เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14 เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 15 เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 16 เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 17 เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 18 เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 19 เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 20 เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 21 เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 22 เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 23 เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 24 เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 25 เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 26 เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี


10 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 23 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน.......................พ.ศ...................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/4 แสดงทักษะกลไกในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ป.5/5 เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล (K) 2. ปฏิบัติทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล (P) 3. เห็นความส าคัญของการมีทักษะเบื้องต้นในการเล่นกีฬาฟุตบอล (A) สาระส าคัญ การเล่นฟุตบอลให้ได้ดีต้องฝึกทักษะเบื้องต้นต่างๆ ให้คล่องแคล่วเพื่อท าให้เกิดการ เคลื่อนไหวที่ดี ซึ่ง จะมีผลที่ดีในการเล่นกีฬาฟุตบอล สาระการเรียนรู้ ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัย 2.ใฝุเรียนรู้ สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการคิด 2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระงาน/ชิ้นงาน ตารางบันทึกการฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นในการเล่นกีฬาฟุตบอล ค าถามท้าทาย นักเรียนมีวิธีการเดาะลูกบอลให้อยู่นานที่สุดได้อย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1.ให้นักเรียนวิ่งเล่นรอบๆสนามตามอิสระประมาณ 2รอบเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน 2.ให้นักเรียนยืดกล้ามเนื้อประมาณ 5นาที ขั้นสาธิต ครูอธิบายทักษะเบื้องต้นที่ควรฝึกและมีความส าคัญต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล และสาธิต ให้ นักเรียนดูพร้อมกับเลือกผู้แทนนักเรียนออกมาสาธิตให้เพื่อนดู จากนั้นให้นักเรียน จับคู่กับเพื่อนเพื่อ ฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นที่ควรฝึกและมีความส าคัญต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล - ยกเท้าแตะสลับลูกฟุตบอล


11 - การเดาะลูกบอลด้วยหลังเท้า - การหยุดลูกบอลที่กลิ้งเรียดมากับพื้นด้วยฝุาเท้า - การส่งและเตะลูกหลังเท้าเรียด - การส่งและเตะลูกด้วยข้างเท้าด้านใน ขั้นปฏิบัติ ให้นักเรียนฝึกทักษะเบื้องต้นที่ควรฝึกและมีความส าคัญต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล และให้ เพื่อนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง หากมีข้อผิดพลาดให้ครูแนะน าเพิ่มเติมจนปฏิบัติ ได้ถูกต้องและ คล่องแคล่ว ขั้นน าไปใช้ 1.เป็นพื้นฐานในการเล่น 2.ความส าคัญต่อการเล่นกีฬาฟุตบอลของตนเอง 3.ฝึกทักษะเบื้องต้นต่างๆ ให้คล่องแคล่วเพื่อท าให้เล่นกีฬาฟุตบอลได้ดี ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่านักเรียนมีวิธีการเดาะลูกบอลให้อยู่นานที่สุด ได้ อย่างไร สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ลูกฟุตบอล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล สังเกตพฤติกรรม 2. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน


12 บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../………… ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/…………….


13 ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


14 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน ล า ดับ ที ชื่อ-สกุล ของผู้รับการ ประเมิน ปฏิบัติได้ ตาม วิธีการ ปฏิบัติได้ อย่าง คล่องแคล่ว ปฏิบัติ ด้วย ความ ระ มัด ระวัง มีส่วนร่วม ปฏิบัติได้ อย่างเป็น ธรรมชาติ รวม15 คะแนน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2 เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3 เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4 เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5 เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6 เด็กชายอนรรฆวี คงศรีจันทร์ 7 เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8 เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9 เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10 เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11 เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12 เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13 เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14 เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 15 เด็กชายฐาปกรณ์วัฒน์เวียงค า 16 เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 17 เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 18 เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 19 เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 20 เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 21 เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 22 เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 23 เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 24 เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 25 เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 26 เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ................................ผู้ประเมิน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน ......../.................../............ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 – 15 ดี 8 – 11 พอใช้ ต่ ากว่า 8 ควรปรับปรุ


15 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 24 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเล่นกีฬาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 4 ชั่วโมง เรื่อง ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน.......................พ.ศ...................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/1 แสดงทักษะกลไกในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ป.5/2 เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล (K) 2. ฝึกเล่นกีฬาฟุตบอล (P) 3. กระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (A) สาระส าคัญ การเล่นกีฬาฟุตบอลต้องอาศัยทักษะเบื้องต้นและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย การมี ทักษะ เบื้องต้นที่ดีจะท าให้เล่นฟุตบอลได้ดี และท าให้เกิดความช านาญ การเล่นฟุตบอลเป็นประจ าจะ ท าให้ ร่างกาย แข็งแรง สาระการเรียนรู้ ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล 1. การโหม่งลูกบอล 2. การยิงประตู 3. การฝึกทักษะการเป็นผู้รักษาประตู คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัย 2.ใฝุเรียนรู้ สมรรถนะของผู้เรียน 1.ความสามารถในการคิด 2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระงาน/ชิ้นงาน แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล ค าถามท้าทาย นักเรียนชอบทีมฟุตบอลทีมใดมากที่สุด ทีมนี้มีทักษะการเล่นที่โดดเด่นอย่างไร กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1.ให้นักเรียนวิ่งเล่นรอบๆสนามตามอิสระประมาณ 2รอบเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน 2.ให้นักเรียนยืดกล้ามเนื้อประมาณ 5นาที 3.นักเรียนชอบทีมฟุตบอลทีมใดมากที่สุด ทีมนี้มีทักษะการเล่นที่โดดเด่นอย่างไร


16 ขั้นสาธิต 1. ให้นักเรียนดูภาพการโหม่งลูกบอลและร่วมกันศึกษาเนื้อหาเรื่องการโหม่งลูกบอล - การโหม่งลูกบอลคืออะไร - การโหม่งมีประโยชน์อย่างไร 2. ให้นักเรียนดูภาพการยิงประตูด้วยการบังคับลูกบอลให้เรียดไปกับพื้น - การฝึกการยิงประตูมีประโยชน์อย่างไร - นักเรียนควรมีทักษะด้านใดบ้างในการยิงประตู - การยิงประตูที่ดีจะส่งผลอย่างไร 3. ให้นักเรียนดูภาพผู้รักษาประตูก าลังรับลูกบอล - ผู้รักษาประตูควรมีลักษณะอย่างไร - ผู้รักษาประตูมีความส าคัญต่อการแข่งขันฟุตบอลอย่างไร ขั้นปฏิบัติ 1.การยิงประตูด้วยการบังคับลูกบอลให้เรียดไปกับพื้นสนาม และสาธิตวิธีการปฏิบัติให้ นักเรียนดูดังนี้ - ยิงด้วยลูกหลังเท้า - ยิงด้วยลูกข้างเท้าด้านใน - ยิงด้วยลูกข้างเท้าด้านนอก - ยิงด้วยลูกหัวรองเท้า - ยิงด้วยลูกส้นเท้า - ยิงด้วยลูกฝุาเท้า 2.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ฝึกการยิงประตูด้วยการบังคับลูกบอลให้เรียดไป กับพื้น สนามโดยยิงด้วยลูกในลักษณะต่างๆ จนครบทุกคนในกลุ่ม ให้ฝึกปฏิบัติจนคล่องครูคอย ตรวจสอบ และแนะน าเพิ่มเติม ขั้นน าไปใช้ 1.เล่นกีฬาได้ตามความเหมาะสม แก้ไขสถานการณ์ล่วงหน้าได้ 2.ฝึกจนเกิดความเคยชิน เพื่อใช้ในสถานการณ์จริง ขั้นสรุป 1.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ 2.นักเรียนได้ประโยชน์อย่างไรจากการฝึกทักษะต่างๆในครั้งนี้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพการโหม่งลูกบอล 2. ภาพการยิงประตู 3. ภาพผู้รักษาประตู 4. ลูกฟุตบอล


17 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล สังเกตพฤติกรรม 2. เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม 3. เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../………… ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./………….


18 ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/……………. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


19 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาฟุตบอล เกณฑ์การประเมิน ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ควรปรับปรุง (1 คะแนน) 1. การสร้างความคุ้นเคยกับลูกบอล 2. การเดาะลูกบอล 3. การหยุดลูกบอล 4. การส่งและการเตะลูกบอล 5. การโหม่งลูกบอล 6. การยิงประตู 7. การฝึกทักษะของการเป็นผู้รักษา ได้คะแนนรวม_____________ คะแนน เกณฑ์การประเมิน ถ้าได้ 15 - 21 คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับดี 8 - 14 คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับพอใช้ 1 - 7 คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับควรปรับปรุง


20 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับ ระดับคะแนน ล าดับ ที ชื่อ-สกุล ของผู้รับการประเมิน สร้าง ความคุ้น เคยกับ ลูก บอล เดาะ ลูกบอล หยุด ลูกบอล ส่งและการ เตะ ลูกบอล โหม่ง ลูกบอล ยิงประตู เป็น ผู้รักษา ประตู รวม21 คะแนน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2 เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3 เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4 เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5 เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6 เด็กชายอนรรฆวี คงศรีจันทร์ 7 เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8 เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9 เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10 เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11 เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12 เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13 เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14 เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 15 เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 16 เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 17 เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 18 เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 19 เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 20 เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 21 เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 22 เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 23 เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 24 เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 25 เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 26 เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี ลงชื่อ................................ผู้ประเมิน ........./.................../............


21 เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 15 – 21 ดี 8 – 14 พอใช้ 1 – 7 ควรปรับปรุง


22 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 25 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบประเภททีมและบุคคล เวลา 16 ชั่วโมง เรื่อง ประวัติกีฬาบาสเกตบอล เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน....................... พ.ศ. ..................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/1 ออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบเล่นเกมที่ใช้ทักษะกาคิดและการตัดสินใจ ป.5/2 เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสม่ าเสมอโดยสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบัติของตนเองอย่าง หลากหลายและมีน้ าใจนักกีฬา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกประวัติกีฬาบาสเกตบอลพอสังเขปได้ (K) 2. นักเรียนเห็นความส าคัญของกีฬาบาสเกตบอล (A) สาระส าคัญ บาสเกตบอล เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่น 5 คน พยายาม ท าคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้าภายใต้กติกาการเล่นมาตรฐาน สาระการเรียนรู้ 1.ประวัติกีฬาบาสเกตบอล 2.ความส าคัญของกีฬาบาสเกตบอล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.มีวินัย 3.ใฝุเรียนรู้ 4.ซื่อสัตย์สุจริต สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระชิ้นงาน/ใบงาน - ค าถามท้าทาย นักเรียนรู้จักกีฬาบาสเกตบอลหรือไม่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นน า


23 1.ครูทักทายนักเรียนและให้นักเรียนดูภาพกีฬาชนิดหนึ่งคือ - กีฬาบาสเกตบอล 2.ครูถามนักเรียนว่า - นักเรียนรู้จักกีฬาชนิดนี้หรือไม่ 3.ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้ประวัติกีฬาบาสเกตบอล ขั้นสอน 1.ครูแจกใบความรู้นักเรียน 2.ครูบอกอธิบายประวัติกีฬาบาสเกตบอล - เกิดขึ้นเมื่อวันที่เท่าไหร่ - ใครเป็นคนคิดวิธีการเล่น - จุดเริ่มของกีฬาบาสเกตบอลเริ่มต้นที่ใด ขั้นสรุป 1.ครูให้ตัวแทนออกมาสรุปให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียนว่ากีฬาบาสเกตบอลเป็นอย่างไร 2.ครูอธิบายเพิ่มเติมและเน้นย้ าถึงประวัติบาสเกตบอล 3.ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนและบอกถึงสัปดาห์หน้าว่า - เราจะมาเรียนรู้ต่อกับกฎ กติกาบาสเกตบอล สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.ใบความรู้ ประวัติกีฬาบาสเกตบอล 2.รูปภาพกีฬาบาสเกตบอล เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์)


24 ครูผู้สอน ………../………../………… ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/……………. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


25 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน พฤติกรรม บอกประวัติกีฬา บาสเกตบอลพอสังเขป ( K ) เห็นความส าคัญของกีฬา บาสเกตบอล ( A ) รวม ชื่อ-สกุล 1.เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2.เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3.เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4.เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5.เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6.เด็กชายอนรรฆวี คงศรีจันทร์ 7.เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8.เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9.เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10.เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11.เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12.เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13.เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14.เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 14.เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 15.เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 16.เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 17.เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 18.เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 19.เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 20เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 21.เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 22.เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 23เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 24.เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 25.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี 26.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี ค าชี้แจง : ผู้สอนสังเกตการท างานของผู้เรียน โดยท าเครื่องหมายถูกลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 6-8 ดีมาก 3-5 ปานกลาง 1-2 ปรับปรุ


26 ใบความรู้ ประวัติบาสเกตบอล บาสเกตบอล (อังกฤษ: basketball) เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีม ประกอบด้วยผู้เล่น 5 คนพยายามท าคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้า (basket) ภายใต้ กติกาการ เล่นมาตรฐาน ตั้งแต่ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ. 2434 (ค.ศ. 1891) โดยเจมส์ เนสมิท บาสเกตบอลได้ถูกพัฒนาขึ้น เป็น กีฬาสากลโลก กีฬานี้มีจุดเริ่มต้นจากในค่าย วายเอ็มซีเอ ลีกที่เกิดขึ้นในสมัยแรก ๆ เป็นระดับ มหาวิทยาลัย ต่อมากลายเป็นกีฬาอาชีพ มีการจัดตั้งลีกเอ็นบีเอ (National Basketball Association, NBA) และเริ่มมีการ แข่งขันในกีฬาโอลิมปิกเมื่อ พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) ถึงแม้ว่าใน ระยะแรกยังเป็นกีฬาที่เล่นเฉพาะใน สหรัฐอเมริกา กีฬาชนิดนี้แพร่ขยายไปสู่ระดับสากลด้วยความ รวดเร็ว ปัจจุบันมีนักกีฬาและทีมที่มีชื่อเสียง ตามที่ต่าง ๆ ทั่วโลก บาสเกตบอลเป็นกีฬาที่เล่นในร่มเป็นหลัก สนามที่ใช้เล่นมีขนาดค่อนข้างเล็ก คะแนนจะได้จาก การ โยนลูกเข้าห่วงจากด้านบน (ชู้ต, shoot) ทีมที่มีคะแนนมากกว่าในตอนจบเกมจะเป็นฝุายชนะ สามารถน าพา ลูกโดยการกระเด้งกับพื้น (เลี้ยงลูก, dribble) หรือส่งลูกกันระหว่างเพื่อนร่วมทีม เกม จะห้ามการกระทบ กระแทกที่ท าให้เป็นฝุายได้เปรียบ (ฟาวล์, foul) และมีกฎข้อบังคับเกี่ยวกับการ ครองบอล เกมบาสเกตบอลมีการพัฒนาเทคนิคการเล่นต่าง ๆ เช่น การชู้ต การส่ง และ การเลี้ยงลูก รวม ไป ถึงต าแหน่งผู้เล่น (ซึ่งตามกฎแล้วไม่จ าเป็นต้องมี) และต าแหน่งการยืนในเกมรุกและเกมรับ ผู้เล่นที่ ตัวสูงถือ เป็นข้อได้เปรียบ ถึงแม้ว่าในการเล่นแข่งขันจะควบคุมโดยกฎกติกา การเล่นรูปแบบอื่น ๆ ส าหรับเล่นผ่อน คลายก็มีการคิดขึ้น บาสเกตบอลยังเป็นกีฬาที่คนนิยมดูอีกด้วย ยุคแรกของบาสเกตบอล สนามบาสเกตบอลแห่งแรก ที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ ความพิเศษอย่างหนึ่งของบาสเกตบอล คือถูกคิดขึ้นโดยคนเพียงคนเดียว ต่างจากกีฬาส่วน ใหญ่ที่ วิวัฒนาการมาจากกีฬาอีกชนิด ช่วงต้นเดือนธันวาคม พ.ศ. 2434 ดร. เจมส์ ไนสมิท ครูสอน พละศึกษาชาว อเมริกันที่เกิดในแคนาดา และเป็นผู้ดูแลสถานที่ของวิทยาลัยแห่งหนึ่งของสมาคม วายเอ็มซีเอ (ปัจจุบันคือ


27 วิทยาลัยสปริงฟิลด์) ในเมืองสปริงฟิลด์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ค้นหาเกมในร่มที่ ช่วยให้คนมีกิจกรรมท าระหว่างฤดู หนาวในแถบนิวอิงแลนด์ว่ากันว่า หลังจากเขาไตร่ตรองหากิจกรรม ที่ไม่รุนแรงเกินไปและเหมาะสมกับโรงยิม เขาเขียนกฎพื้นฐานและตอกตะปูติดตะกร้าใส่ลูกพีชเข้ากับ ผนังโรงยิม เกมแรกที่เล่นเป็นทางการเล่นในโรงยิม วายเอ็มซีเอในเดือนถัดมา คือเมื่อ 20 มกราคม พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1891) ในสมัยนั้น เล่นโดยใช้ผู้เล่นเก้าคน สนามที่ใช้ก็มีขนาดประมาณ ครึ่งหนึ่งของสนามเอ็นบีเอในปัจจุบัน ชื่อ บาสเกตบอล เป็นชื่อที่เสนอโดย นักเรียนคนหนึ่ง และก็เป็น ชื่อที่นิยมมาตั้งแต่ตอนต้น เกมแพร่ขยายไปยังวายเอ็มซีเอที่อื่นทั่วสหรัฐอเมริกา ไม่ นานนักก็มีเล่นกัน ทั่วประเทศแต่ที่น่าสนใจคือ ถึงแม้ว่าวายเอ็มซีเอจะเป็นผู้ที่พัฒนาและเผยแพร่เกมในตอน แรก ภายใน หนึ่งทศวรรษสมาคมก็ไม่สนับสนุนกีฬานี้อีก เนื่องจากการเล่นที่รุนแรงและผู้ชมที่ไม่สุภาพ สมาคม กีฬาสมัครเล่นอื่นๆ มหาวิทยาลัย และทีมอาชีพก็เข้ามาแทนที่ ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สหภาพ การกีฬา สมัครเล่น (Amateur Athletic Union) และ สมาคมการแข่งขันกีฬาระหว่างวิทยาลัย (Intercollegiate Athletic Association) (ซึ่งปัจจุบันคือเอ็นซีดับเบิลเอ, NCAA) ได้แข่งกันเพื่อจะ เป็นผู้ก าหนดกติกาของเกม เดิมนั้นการเล่นบาสเกตบอลจะใช้ลูกฟุตบอล ลูกบอลที่ท าขึ้นส าหรับบาสเกตบอลโดยเฉพาะใน ตอนแรกมีสีน้ าตาล ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกสีส้มเพื่อให้ผู้เล่นและผู้ชม มองเห็นลูกได้ ง่ายขึ้น และก็ใช้ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ผู้ที่ริเริ่มใช้ลูกบาสเกตบอลสีส้มคือนาย โทนี ฮิง เคิล (Tony Hinkle) โค้ชมหาวิทยาลัยบัตเลอร์ (Butler University) เอ็นบีเอ ในปี พ.ศ. 2489 ถือก าเนิดลีกเอ็นบีเอ (National Basketball Association, NBA) ก่อตั้งโดย รวบรวมทีมอาชีพชั้นน า และท าให้กีฬาบาสเกตบอลระดับอาชีพได้รับความนิยมสูงขึ้น ปี พ.ศ. 2510 มีการ จัดตั้งลีกเอบีเอ (American Basketball Association, ABA) ขึ้นอีกลีกมาเป็นคู่แข่งอยู่ พักหนึ่ง[ต้องการอ้างอิง] ก่อนที่ลีกทั้งสองก็ควบรวมกันในปี พ.ศ. 2519 ในเอ็นบีเอมีผู้เล่นมีชื่อเสียงหลายคน เช่น จอร์จ มิคาน (George Mikan) ผู้เล่นร่างใหญ่ที่โดด เด่นคน แรก บอบ คอสี (Bob Cousy) ผู้มีทักษะการครองบอล บิล รัสเซล (Bill Russell) ผู้ที่เก่งด้าน การตั้งรับ วิลท์ แชมเบอร์เลน (Wilt Chamberlain) รวมถึง ออสการ์ รอเบิร์ตสัน (Oscar Robertson) และ เจอร์รี เวสต์ (Jerry West) ผู้ที่เก่งในรอบด้าน คารีม อับดุล-จับบาร์ (Kareem Abdul-Jabbar) และ บิล วอลตัน (Bill Walton) ผู้เล่นร่างยักษ์ในยุคหลัง จอห์น สต็อกตัน (John Stockton) ผู้ที่มีทักษะการคุมเกม ตลอดจนผู้เล่น สามคนที่ท าให้เอ็นบีเอได้รับความนิยมจนถึงขีดสุด คือ แลร์รี เบิร์ด (Larry Bird) แมจิก จอห์นสัน (Magic Johnson) และ ไมเคิล จอร์แดน (Michael Jordan) ลีกดับเบิ้ลยูเอ็นบีเอ (Women's National Basketball Association, WNBA) ส าหรับ บาสเกตบอลหญิงเริ่มเล่นในปี พ.ศ. 2540 ถึงแม้ว่าในฤดูกาลแรกจะไม่ค่อยมั่นคงนัก นักกีฬามีชื่อ หลายคน เช่น เชอริล สวูปส์ (Sheryl Swoopes) , ลิซา เลสลี (Lisa Leslie) และ ซู เบิร์ด (Sue Bird) ช่วยเพิ่มความ นิยมและระดับการแข่งขันของลีก ลีกบาสเกตบอลหญิงอื่นๆ ล้มไปเนื่องจาก ความส าเร็จของดับเบิ้ลยูเอ็นบีเอ


28 บาสเกตบอลระดับสากล สหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ(International Basketball Federation) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีสมาชิกก่อตั้งแปดชาติ ได้แก่ อาร์เจนตินา เชโกสโลวา เกีย กรีซ อิตาลี ลัตเวีย โปรตุเกส โรมาเนีย และสวิตเซอร์แลนด์ ในสมัยนั้นหน่วยงานดูแลเฉพาะ นักกีฬาสมัครเล่น ดังนั้นในชื่อย่อจาก ภาษาฝรั่งเศสของสหพันธ์ หรือ ฟีบา (FIBA) ตัวอักษร "A" ย่อมา จากค าว่า "amateur" ซึ่งแปลว่าสมัครเล่น บาสเกตบอลถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2479 ถึงแม้ว่าเคยจัดการแข่งขัน เป็น กีฬาสาธิตก่อนหน้านั้นนานมากเมื่อ พ.ศ. 2447 สหรัฐอเมริกาถือเป็นประเทศที่เก่งกีฬานี้ และทีม ชาติสหรัฐ พลาดเหรียญทองเพียงสามครั้งเท่านั้น โดยครั้งแรกที่พลาดแข่งที่มิวนิกในปี พ.ศ. 2515 โดย แพ้ให้กับทีม สหภาพโซเวียต การแข่งขันเวิลด์แชมเปียนชิปส์(World Championships) ส าหรับ บาสเกตบอลชายเริ่มแข่ง ปี พ.ศ. 2493 ที่ประเทศอาร์เจนตินา ส่วนประเภทหญิงเริ่มแข่งสามปีถัดมา ในประเทศชิลี กีฬาบาสเกตบอล หญิงเริ่มแข่งในโอลิมปิกปี พ.ศ. 2519 โดยมีทีมที่โดดเด่น เช่น บราซิล ออสเตรเลีย และ สหรัฐอเมริกา ฟีบา ยกเลิกการแบ่งผู้เล่นเป็นสมัครเล่นและอาชีพเมื่อ พ.ศ. 2532 และปี พ.ศ. 2535 ผู้เล่น อาชีพก็ ได้แข่งในกีฬาโอลิมปิกเป็นครั้งแรก ความยิ่งใหญ่ของสหรัฐอเมริกากลับมาอีกครั้งโดยการส่งด รีมทีม ที่ ประกอบด้วยผู้เล่นจากเอ็นบีเอ แต่ปัจจุบันประเทศอื่นสามารถพัฒนาตามทันสหรัฐอเมริกา ทีมที่มีผู้เล่นเอ็นบี เอล้วนๆ ได้ที่หกในการแข่งเวิลด์แชมเปียนชิปส์ในปี พ.ศ. 2545 ที่เมืองอินเดียแนโพ ลิส รัฐอินดีแอนา สหรัฐอเมริกา ตามหลัง เซอร์เบียและมอนเตเนโกรอาร์เจนติ นา เยอรมนี นิวซีแลนด์ และ สเปน ในโอลิมปิกปี พ.ศ. 2547 สหรัฐแพ้เป็นครั้งแรกนับจากที่เริ่มใช้ผู้ เล่นอาชีพ โดยพ่ายให้กับทีมชาติเปอร์โตริโก และสุดท้ายได้ เป็นอันดับสาม รองจากอาร์เจนตินา และ อิตาลีปัจจุบัน มีการแข่งขันทัวร์นาเมนต์บาสเกตบอลทั่วโลกในทุก ระดับอายุ ตั้งแต่ห้าจนถึงหกสิบปีระดับไฮสกูล (มัธยมปลาย) มหาวิทยาลัย ไปจนถึงระดับลีกอาชีพ และมีแข่ง ทั้งประเภทชายและหญิง ความนิยมกีฬาชนิดนี้ทั่วโลกสังเกตได้จากสัญชาติของผู้เล่นในเอ็นบีเอ จะสามารถพบนักกีฬาจากทั่ว ทุกมุม โลก สตีฟ แนช (Steve Nash) ผู้ที่ได้รับรางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าในเอ็นบีเอปี พ.ศ. 2548 เป็น ชาวแคนาดาที่ เกิดที่ประเทศแอฟริกาใต้ ดาราดังของทีมดัลลัส แมฟเวอริกส์ เดิร์ก โนวิตสกี (Dirk Nowitzki) ก็เกิดใน ประเทศเยอรมนีและเล่นให้กับทีมชาติเยอรมนีอีกตัวอย่างซึ่งแสดงให้เห็นการ พัฒนาถึงระดับโลก คือทีมออล ทัวร์นาเมนต์ ซึ่งประกอบด้วยผู้เล่นยอดเยี่ยมจากการแข่งเวิลด์ แชมเปียนชิปส์ปี พ.ศ. 2545 ได้แก่ เดิร์ก โนวิต สกี, เพยา สโตยาโควิช (Peja Stojakovic) จาก เซอร์เบียและมอนเตเนโกร, มานู จิโนบิลี (Manu Ginobili) จากอาร์เจนตินา, เหยา หมิง (Yao Ming) จากจีน และ เพโร คาเมรอน (Pero Cameron) จากนิวซีแลนด์ทุก คนยกเว้นคาเมรอนเป็นหรือจะเป็น ผู้เล่นในเอ็นบีเอในเวลาต่อมา


29 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 26 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบประเภททีมและบุคคล เวลา 16 ชั่วโมง เรื่อง กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล (1) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน....................... พ.ศ. ..................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/3 ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลพอสังเขปได้ (K) 2. นักเรียนเห็นความส าคัญของกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล (A) สาระส าคัญ กฎเกี่ยวกับขนาดและเวลาที่ใช้แข่ง อาจแตกต่างกันขึ้นกับทัวร์นาเมนต์หรือองค์กรที่จัดการ แข่งขัน รายละเอียดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอ็นบีเอเป็นหลัก สาระการเรียนรู้ 1.กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล 2.ความส าคัญของกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.มีวินัย 3.ใฝุเรียนรู้ 4.ซื่อสัตย์สุจริต สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระชิ้นงาน/ใบงาน - ค าถามท้าทาย นักเรียนรู้จักกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลหรือไม่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูทักทายนักเรียนและให้นักเรียนดูภาพกีฬาบาสเกตบอล 2.ครูถามนักเรียนว่า - นักเรียนรู้จักกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลหรือไม่


30 3.ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล ขั้นสอน 1.ครูแจกใบความรู้นักเรียน 2.ครูอธิบายกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลจากใบความรู้ - กติกาการเล่น - อุปกรณ์การเล่น ขั้นสรุป 1.ครูให้ตัวแทนออกมาสรุปให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียนว่ากฎ กติกาการเล่นกีฬา บาสเกตบอล เป็นอย่างไร 2.ครูอธิบายเพิ่มเติมและเน้นย้ าถึงกฎ กติกากีฬาบาสเกตบอล 3.ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนและบอกถึงสัปดาห์หน้าว่า - เราจะมาเรียนรู้ต่อกับกฎ กติกาบาสเกตบอลเพิ่มเติมอีกต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ใบความรู้ กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล กระบวนการวัดผลและประเมินผล เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../…………


31 ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/……………. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


32 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน พฤติกรรม บอกกฎ กติกาการเล่น กีฬาบาสเกตบอลพอสังเขป ( K ) เห็นความส าคัญของกฎ กติกา การเล่นกีฬาบาสเกตบอล ( A ) รวม ชื่อ-สกุล 1.เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2.เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3.เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4.เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5.เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6.เด็กชายอนรรฆวี คงศรีจันทร์ 7.เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8.เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9.เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10.เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11.เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12.เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13.เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14.เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 14.เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 15.เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 16.เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 17.เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 18.เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 19.เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 20เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 21.เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 22.เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 23เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 24.เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 25.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี 26.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี ค าชี้แจง : ผู้สอนสังเกตการท างานของผู้เรียน โดยท าเครื่องหมายถูกลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 6-8 ดีมาก 3-5 ปานกลาง 1-2 ปรับปรุ


33 ใบความรู้ กฎ กติกาการเล่นบาสเกตบอล กฎเกี่ยวกับขนาดและเวลาที่ใช้แข่ง อาจแตกต่างกันขึ้นกับทัวร์นาเมนต์หรือองค์กรที่จัดการ แข่งขัน รายละเอียดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอ็นบีเอเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของเกมคือ การท าคะแนนให้ได้มากกว่าคู่แข่งโดยการโยนลูกเข้าห่วงของคู่ต่อสู้ จาก ด้านบน ในขณะที่ปูองกันไม่ให้คู่ต่อสู่โยนลูกลงห่วงของฝุายตน การโยนลูกในลักษณะนี้เรียกว่า การชู้ต (หรือช็อต shot) การชู้ตที่เข้าห่วงจะได้สองคะแนน แต่ถ้าผู้ชู้ตอยู่เลยเส้นสามคะแนนออกไป ในขณะชู้ตลูกก็ จะได้สามคะแนน เส้นสามคะแนนจะอยู่ห่างจากห่วงเป็นระยะ 6.75 เมตร (22 ฟุต 1 3/4 นิ้ว) ในกติกาสากล และ 23 ฟุต 9 นิ้ว (7.24 เมตร) ในกติกาเอ็นบีเอ การชู้ตลูกโทษหรือที่ เรียกว่า ฟรีโทรว์(free throw) เมื่อ ฟาวล์มีค่าหนึ่งคะแนน กติกาการเล่น เกมจะแบ่งการเล่นเป็น 4 ควอเตอร์(quarter) แต่ละควอเตอร์มี 10 นาที (สากล) หรือ 12 นาที (เอ็นบีเอ) ช่วงพักครึ่งนาน 15 นาที ส่วนพักอื่นๆ ยาว 2 นาที ช่วงต่อเวลา (overtime) ยาว 5 นาที ทีมจะ สลับด้านสนามเมื่อเริ่มครึ่งหลัง เวลาจะเดินเฉพาะระหว่างที่เล่น และนาฬิกาจะหยุดเดิน เมื่อเกมหยุด เช่น เมื่อ เกิดการฟาวล์ หรือระหว่างการชู้ตลูกโทษ เป็นต้น ดังนั้นเวลาทั้งหมดที่ใช้แข่ง มักยาวกว่านี้มาก (ประมาณสอง ชั่วโมง) ในขณะใดขณะหนึ่งจะมีผู้เล่นในสนามฝุายละห้าคน และจะมีผู้เล่นส ารองสูงสุดทีมละเจ็ดคน สามารถ เปลี่ยนตัวได้ไม่จ ากัดและเปลี่ยนได้เฉพาะเมื่อเกมหยุด ทีมยังมีโค้ชที่ดูแลทีมและวางกลยุทธ์ ในการเล่น รวมถึง ผู้ช่วยโค้ช ผู้จัดการทีม นักสถิติ แพทย์ และเทรนเนอร์ เครื่องแบบนักกีฬาส าหรับทีมชายและหญิงตามมาตรฐานได้แก่ กางเกงขาสั้นและเสื้อกล้ามที่มี หมายเลขผู้เล่นชัดเจนพิมพ์ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง รองเท้าเป็นรองเท้ากีฬาหุ้มข้อเท้า อาจมีชื่อทีม ชื่อ นักกีฬา และสปอนเซอร์ ปรากฏบนชุดด้วยก็ได้ แต่ละทีมจะได้เวลานอกจ านวนหนึ่งส าหรับให้โค้ชและผู้เล่นปรึกษากัน มักยาวไม่เกินหนึ่งนาทียกเว้น เมื่อต้องการโฆษณาระหว่างการถ่ายทอดสด เกมควบคุมโดยกรรมการและหัวหน้ากรรมการผู้ตัดสินในสนาม และกรรมการโต๊ะ กรรมการ โต๊ะมี หน้าที่บันทึกคะแนน ควบคุมเวลา บันทึกจ านวนฟาล์วผู้เล่นและฟาล์วทีม ดูเรื่องการ เปลี่ยนตัว โพเซสซันแอร์ โรว์ และช็อตคล็อก อุปกรณ์การเล่น ลูกบาสเกตบอล อุปกรณ์ที่จ าเป็นจริง ๆ ในกีฬาบาสเกตบอลมีเพียงลูกบอลและสนามที่มีห่วงติดอยู่ที่ปลายทั้ง สอง ด้าน แต่ในการแข่งขันต้องมีอุปกรณ์อื่นเพิ่ม เช่น นาฬิกา กระดาษบันทึกคะแนน สกอร์บอร์ด โพ เซสซันแอร์ โรว์ ระบบหยุดนาฬิกาด้วยนกหวีด เป็นต้น


34 ลูกบาสเกตบอลชายมีเส้นรอบวงประมาณ 30 นิ้ว (76 เซนติเมตร) และหนักประมาณ 1 ปอนด์ 5 ออนส์ (600 กรัม) ลูกบาสเกตบอลหญิงมีเส้นรอบวงประมาณ 29 นิ้ว (73 ซม.) และหนัก ประมาณ 1 ปอนด์ 3 ออนส์ (540 กรัม) สนามบาสเกตบอลมาตรฐานในเกมสากลมีขนาด 28 คูณ 15 เมตร (ประมาณ 92 คูณ 49 ฟุต) ส่วนในเอ็นบีเอมีขนาด 94 คูณ 50 ฟุต (29 คูณ 15 เมตร) พื้นสนาม ส่วนใหญ่ท าด้วยไม้ ห่วงที่ท าจากเหล็กหล่อ พร้อมทั้งเน็ต และแปูน ติดอยู่ที่ปลายทั้งสองด้านของสนาม ในการ แข่งขัน เกือบทุกระดับ ขอบห่วงด้านบนอยู่สูงจากพื้น 10 ฟุต (3.05 เมตร) พอดีและถัดเข้ามาจากเส้น หลัง 4 ฟุต (1.2 เมตร) ถึงแม้ว่าขนาดของสนามและแปูนอาจแตกต่างกันออกไป แต่ความสูงของห่วง ถือว่าส าคัญมาก ถึง ต าแหน่งจะคลาดเคลื่อนไปไม่เพียงกี่นิ้วก็มีผลต่อการชู้ตอย่างมาก


35 แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 27 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา(พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบประเภททีมและบุคคล เวลา 16 ชั่วโมง เรื่อง กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล (2) เวลา 1 ชั่วโมง วันที่...........เดือน....................... พ.ศ. ..................... มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/3 ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นเกมกีฬาไทยและกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลพอสังเขปได้ (K) 2. นักเรียนเห็นความส าคัญของกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล (A) สาระส าคัญ กฎเกี่ยวกับขนาดและเวลาที่ใช้แข่ง อาจแตกต่างกันขึ้นกับทัวร์นาเมนต์หรือองค์กรที่จัดการ แข่งขัน รายละเอียดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอ็นบีเอเป็นหลัก สาระการเรียนรู้ 1.กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล 2.ความส าคัญของกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2.มีวินัย 3.ใฝุเรียนรู้ 4.ซื่อสัตย์สุจริต สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ภาระชิ้นงาน/ใบงาน - ค าถามท้าทาย หลังจากรู้จักกฎ กติกาและอุปกรณ์แล้ว อุปกรณ์การเล่นกีฬาบาสเกตบอลมีอะไรบ้าง กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูทักทายนักเรียนและให้นักเรียนดูภาพกีฬาบาสเกตบอล


36 2.ครูถามนักเรียนว่า - นักเรียนรู้จักกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลหรือไม่ 3.ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล ขั้นสอน 1.ครูแจกใบความรู้นักเรียน 2.ครูอธิบายกฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอลจากใบความรู้ - ข้อบังคับ - ฟาล์ว ขั้นสรุป 1.ครูให้ตัวแทนออกมาสรุปให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียนว่ากฎ กติกาการเล่นกีฬา บาสเกตบอล เป็นอย่างไร 2.ครูอธิบายเพิ่มเติมและเน้นย้ าถึงกฎ กติกากีฬาบาสเกตบอล 3.ครูกล่าวชื่นชมนักเรียนและบอกถึงสัปดาห์หน้าว่า - เราจะมาเรียนรู้ต่อกับกฎ กติกาบาสเกตบอลเพิ่มเติมอีกต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.ใบความรู้ กฎ กติกาการเล่นกีฬาบาสเกตบอล กระบวนการวัดผลและประเมินผล เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../…………


37 ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นางสาวกรรณิการ์ ขุนสันทัด) ครูพี่เลี้ยง ..………./…………./…………. ความคิดเห็นของหัวหน้าวิชาการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)...................................................... (นางกมลวรรณ พุทธพรหม) หัวหน้าวิชาการ ……………/……………/……………. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)...................................................... (นายบรรจุ ภูสงัด) ผู้บริหารสถานศึกษา ……………/……………/…………….


38 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน พฤติกรรม บอกกฎ กติกาการเล่น กีฬาบาสเกตบอลพอสังเขป ( K ) เห็นความส าคัญของกฎ กติกา การเล่นกีฬาบาสเกตบอล ( A ) รวม ชื่อ-สกุล 1.เด็กชายชยพล ปากวิเศษ 2.เด็กชายจิรายุ ศรีใส 3.เด็กชายธันยธรณ์ ภูแซมโชติ 4.เด็กชายธนกร ทองเหลือง 5.เด็กชายยุติธรรม ตุ้มทอง 6.เด็กชายอนรรฆวี คงศรีจันทร์ 7.เด็กชายวรวัฒน์ สาขา 8.เด็กชายจรุวัฒน์ วันชัย 9.เด็กชายฑีฆายุ ภูมี 10.เด็กชายจิรศักดิ์ ชาญศิลป์ 11.เด็กชายสุทธิพงษ์ ชมภูมี 12.เด็กชายศุภกร สมอเมตร 13.เด็กชายอิทธิพัทธ์ ชัยกิจ 14.เด็กชายธีรภัทร สุดเจริญ 14.เด็กชายฐาปกรณ์ วัฒน์เวียงค า 15.เด็กหญิงกษิรา สีเพ็ชร 16.เด็กหญิงโยษิตา ฐานะ 17.เด็กหญิงสุภาดา มงคลค าซาว 18.เด็กหญิงสุพิชญา โสรส 19.เด็กหญิงชนิดาภา ไกรลาศ 20เด็กหญิงสุกัญญา ศิริสาขา 21.เด็กหญิงกมลชนก แสงห้าว 22.เด็กหญิงชนากานต์ สมแก้ว 23เด็กหญิงศรัณยา พิมพิ์แน่น 24.เด็กหญิงวรัชยา ชาบัณฑิต 25.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี 26.เด็กหญิงนัฐทิดา บังศรี ค าชี้แจง : ผู้สอนสังเกตการท างานของผู้เรียน โดยท าเครื่องหมายถูกลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 6-8 ดีมาก 3-5 ปานกลาง 1-2 ปรับปรุ


39 ใบความรู้ ข้อบังคับ ลูกสามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเข้าหาห่วงโดยการชู้ต การส่งระหว่างผู้เล่น การขว้าง การเคาะ ลูก การกลิ้งลูก หรือ การเลี้ยงลูก (โดยการให้ลูกกระเด้งกับพื้นขณะวิ่ง ภาษาอังกฤษเรียก ดริบบลิง, dribbling) ลูกจะต้องอยู่ในสนาม ทีมสุดท้ายที่สัมผัสลูกก่อนที่ลูกจะออกนอกสนามนั้นจะสูญเสียการครอง บอล ผู้เล่นห้ามขยับขาทั้งสองพร้อมกันในขณะเลี้ยงลูก (เรียกว่า แทรเวลลิง, travelling) เลี้ยงลูก พร้อมกันทั้งสอง มือ หรือเลื้ยงลูกแล้วจับลูกแล้วเลี้ยงลูกต่อ (เรียกว่า ดับเบิล-ดริบบลิง, doubledribbling) เวลาเลี้ยงมือของผู้ เล่นต้องอยู่ด้านบนของลูก มิฉะนั้นจะนับว่า ถือลูก (carrying) ถ้าทีมพา ลูกไปยังแดนของฝุายตรงข้ามของ สนาม (frontcourt) แล้ว ห้ามน าลูกกลับเข้าแดนตนเอง (backcourt) อีก ห้ามเตะหรือชกลูก ถ้าท าผิดกฎข้อ ห้ามเหล่านี้จะเสียการครองบอล อีกฝุายจะเป็น ฝุายได้ลูกไปเล่น แต่ถ้าฝุายรับท าผิดกฎฝุายที่ครองบอลจะได้ เริ่มช็อตคล็อกใหม่ ผู้เล่นจะต้องน าลูกจากแดนตัวเองข้ามเข้าแดนตรงข้ามภายในเวลาที่ก าหนด (8 วินาทีทั้งใน กติกา สากลและเอ็นบีเอ) ต้องชู้ตภายในเวลา 24 วินาที ถือลูกขณะที่ถูกยืนคุมโดยฝุายตรงข้ามไม่เกิน 5 วินาที อยู่ใน บริเวณใต้แปูนไม่เกิน 3 วินาที กฎเหล่านี้มีไว้เป็นรางวัลแก่การตั้งรับที่ดี ห้ามผู้เล่นรบกวนห่วง หรือ ลูกขณะเคลื่อนที่คล้อยลงมายังห่วง หรือ ขณะอยู่บนห่วง (ในเอ็นบี เอ ยัง รวมกรณีลูกอยู่เหนือห่วงพอดี) การฝุาฝืนข้อห้ามนี้เรียก โกลเทนดิง (goaltending) ถ้าฝุายรับ ท าผิด จะถือว่า การชู้ตส าเร็จและอีกฝุายได้คะแนน แต่ถ้าฝุายรุกท าผิด จะไม่คิดคะแนนการชู้ตนี้ และ เสียการครองบอล ฟาวล์ กรรมการแสดงสัญญาณฟาวล์โดยการเปุานกหวีดแล้วชูก าปั้นข้างซ้ายขึ้น การเล่นที่กระทบกระทั่งผู้เล่นฝุายตรงข้ามให้อีกฝุายเสียเปรียบและไม่เป็นธรรม ถือเป็นข้อ ห้ามที่ถ้า ฝุาฝืนจะนับเป็น ฟาวล์(foul) ผู้เล่นตั้งรับมักจะเป็นคนท าฟาวล์แต่ผู้เล่นฝุายรุกก็สามารถ ท าฟาวล์ได้ เช่นเดียวกัน คนที่ถูกฟาวล์จะได้ส่งลูกจากข้างสนาม (inbound) เพื่อเล่นต่อ หรือได้ชู้ตลูก โทษ หรือ ฟรีโทรว์ (free throw) ถ้าการฟาวล์เกิดขึ้นขณะก าลังชู้ตลูก การชู้ตลูกโทษลงห่วงครั้งหนึ่ง จะได้หนึ่งคะแนน ผู้เล่นจะ ได้ชู้ตลูกโทษหนึ่งกี่ครั้งขึ้นกับว่าลูกที่ผู้เล่นชู้ตตอนถูกฟาวล์นั้นได้แต้ม หรือไม่ เวลาชู้ตลูกโทษผู้เล่นต้องยืนหลัง เส้นลูกโทษซึ่งห่างจากห่วง 4.5 เมตร (15 ฟุต) การที่จะมีฟาวล์หรือไม่อยู่วิจารณญาณของกรรมการผู้ตัดสิน ว่าผู้เล่นเกิดการได้เปรียบในการ เล่น อย่างขาวสะอาดหรือไม่ ท าให้บางครั้งมีความเห็นขัดแย้งกับการเรียกฟาวล์ของกรรมการ การ กระทบกระทั่ง ในกีฬาบาสเกตบอลเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และการเรียกฟาวล์อาจแตกต่างกันในแต่ ละเกม ลีก หรือ แม้กระทั่งกรรมการตัดสินแต่ละคน


40 ผู้เล่นหรือโค้ชซึ่งแสดงน้ าใจนักกีฬาที่แย่ เช่น เถียงกับกรรมการ หรือ ชกกับผู้เล่นอื่น อาจโดน เทคนิ คัลฟาวล์หรือ ฟาวล์เทคนิค (technical foul) ซึ่งถูกลงโทษโดยให้อีกทีมได้ชู้ตลูกโทษ (รายละเอียดขึ้นอยู่กับ ลีก) ถ้าเกิดเหตุการณ์ซ้ าก็อาจถูกไล่ออกจากสนามได้ ฟาวล์ที่เกิดจากการเล่นที่ รุนแรงเกินไป จะเรียกว่าฟาวล์ ขาดน้ าใจนักกีฬา หรือ ฟาวล์รุนแรง (unsportsmanlike foul ใน สากลหรือ flagrant foul ในเอ็นบีเอ) ก็ จะได้รับโทษที่สูงขึ้นกว่าฟาวล์ธรรมดา บางครั้งอาจถูกให้ออก จากสนามด้วยถ้าทีมท าฟาวล์เกินกว่าที่ก าหนด (ในหนึ่งควาเตอร์ หรือ ในครึ่งเกม) ซึ่งก็คือ สี่ครั้ง ส าหรับกติกาสากลและเอ็นบีเอ ทีมตรงข้ามสามารถชู้ตลูก โทษส าหรับการฟาวล์ที่จะเกิดขึ้นในครั้ง ต่อๆ ไป จากนั้นจนกว่าจะจบช่วง ไม่ว่าการฟาวล์จะเกิดขึ้นขณะก าลังชู้ตลูกหรือไม่ (รายละเอียด ขึ้นอยู่กับลีก) ถ้าผู้เล่นฟาวล์รวมห้าครั้งนับเทคนิคัลฟาวล์ด้วย (บางลีก รวมถือ เอ็นบีเอ ยอมให้ฟาวล์ ได้หกครั้ง) ผู้เล่นนั้นไม่สามารถเล่นในเกมได้อีก


41 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบประเภททีมและบุคคล เวลา 16 ชั่วโมง เรื่อง ทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาบาสเกตบอล (1) เวลา 1 ชั่วโมง วัน………เดือน……………………พ.ศ………. มาตรฐานการเรียนรู้ พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพ ของการกีฬา ตัวชี้วัด ป.5/1 ออกก าลังกายอย่างมีรูปแบบเล่นเกมที่ใช้ทักษะกาคิดและการตัดสินใจ ป.5/2 เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่างสม่ าเสมอโดยสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบัติของตนเองอย่าง หลากหลายและมีน้ าใจนักกีฬา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายวิธีการการเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลได้ (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติการเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลได้ (P) 3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมกลุ่ม (A) สาระส าคัญ การเลี้ยงและการชู้ตบาสเกตบอลเป็นพื้นฐานการเล่นบาสเกตบอลขั้นต้นที่ช่วยเสริมสร้าง สมรรถภาพ ทางกาย ทางจิต ก่อให้เกิดการพัฒนาความแข็งแรงกล้ามเนื้อ ไหล่ แขน ข้อมือ ความมี ระเบียบวินัย มีน้ าใจ นักกีฬา บุคลิกภาพ สุขนิสัยที่ดี และน าไปใช้ในการออกก าลังกายใน ชีวิตประจ าวันได้ สาระการเรียนรู้ 1. การเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอล 2. การเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลที่ถูกวิธี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวินัย 2.ใฝุเรียนรู้ 3.ซื่อสัตย์สุจริต 4.มุ่งมั่นในการท างาน สมรรถนะของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ชิ้นงานหรือภาระงาน - ค าถามท้าทาย นักเรียนคิดว่าทักษะส าคัญในการเล่นบาสเกตบอลคืออะไร ? กระบวนการจัดการเรียนรู้


42 ขั้นอบอุ่นร่างกาย 1.ครูทักทายนักเรียน และให้นักเรียนวิ่ง Jogging รอบสนาม 5 นาทีพร้อมกับ warm up ร่างกาย โดยท่าต่างๆ - ท่ายืดกล้ามเนื้อคอ - ท่ายืดกล้ามเนื้อหัวไหล่ - ท่าหมุนเอว - ท่ายืดกล้ามเนื้อขา - ท่าสะบัดข้อมือข้อเท่า 2.ครูแจ้งจุดประสงค์ที่จะสอน - ครูให้นักเรียนเข้าแถวหน้ากระดาน 2 แถว (แยกชายหญิง) - ครูให้นักเรียนนับ 1-5 เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มเท่าๆกัน - ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าทักษะส าคัญในการเล่นบาสเกตบอลคือ อะไร ? ขั้นอธิบาย 1.ครูอธิบายการเลี้ยงบาสเกตบอล - ท่าเลี้ยงบาสเกตบอลที่ถูกวิธีควร เลี้ยงไม่ดูลูกบาสเกตบอลให้หน้ามองตรง ดู ทิศทางที่จะพาลูกบาสเกตบอลไป และดูว่าฝุายตรงข้ามจะมาแย่งตอนไหน - เวลาเลี้ยงให้หลังตรงโน้มได้เล็กน้อยแล้วใช้มือข้างที่ถนัดเลี้ยงก่อนแล้วยก มือข้างที่ ไม่ถนัดขึ้นมาไว้ระดับอกเพื่อปูองกันการแย่งบาสเกตบอลแล้วค่อยสลับข้าง ที่ไม่ถนัดเลี้ยงลูก บาสเกตบอล - เลี้ยงบาสเกตบอลให้ใช้แค่ข้อมือสะบัดลูกบาสเกตบอลให้กระดอนกกับ พื้นแล้วให้ ลูกบาสเกตบอลอยู่ห่างกับล าตัวประมาน 1 คืบ - ย่อตัวลงเล็กน้อยเพื่อให้ลูกบาสเกตบอลได้กลับมาสู่มือได้เร็ว - ข้อดีของการเลี้ยงที่ถูกคือ ท าให้ฝุายตรงข้ามแย่งได้ยากและสามารถพา ลูก บาสเกตบอลไปทิศทางที่ต้องการไปได้อย่างรวดเร็ว - ข้อห้ามในการเลี้ยงบาสเกตบอลคือห้ามเลี้ยงโดยการใช้สองมือพร้อมกัน ห้ามน า ลูกบาสเกตบอลวางไว้บนฝุามือแล้วกลับมาเลี้ยงต่อ และห้ามเลี้ยงแล้วจับลูก บาสเกตบอล ทั้งหมดนี้จะถือเป็นการฟาวล์ 2.ครูอธิบายการชู้ตบาสเกตบอล - การชู้ตบาสเกตบอล ต้องตั้งข้อศอกให้ตั้งฉากกับพื้นแล้ว สายตามองไปที่ ห่วง - การจับลูกบาสเกตบอลต้องกับที่นิ้วให้มีช่องว่างระหว่างลูกบาสเกตบอล กับฝุามือ - การชู้ตต้งย่อตัวลงเพื่อส่งแรงแล้วสะบัดข้อมือให้ลูกออกจากมือโดยมีวิถี โด่งและแขนตึง และให้นิ้วมือมี follow through ขั้นสาธิต ครูสาธิตการเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลพร้อมอธิบายเพิ่มเติม ขั้นปฏิบัติ 1.ครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มมาอธิบายวิธีการเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลที่ถูกวิธีหลังจาก ที่ครู สาธิตให้ดู 2.ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาปฏิบัติการเลี้ยงบาสเกตบอลสลับกับการชู้ตบาสเกตบอล ตามที่ได้ดู การสาธิตมาโดย - ให้แต่ละกลุ่มแบ่งฝั่งตรงข้ามกันตามกรวยที่ตั้งไว้ - ให้เลี้ยงบาสเกตบอลจากกรวยฝั่งตัวเองไปยังกรวยฝั่งตรงข้าม - เมื่อถึงฝั่งตรงข้ามแล้วให้ส่งให้เพื่อนเลี้ยงกลับมายังอีกฝั่ง


43 - เมื่อสลับกันส่งครบทุกคนแล้ว ผลัดกันชู้ตสลับกันไปตามที่ครูสาธิตและ อธิบายให้ดู ขั้นสรุป 1.ครูให้นักเรียน Cool down 5 นาที โดยใช้ท่า - เดินยืดกล้ามเนื้อขา ไปกลับสุดสนาม 1 รอบ - เดินสะบัดข้อเท้าไปข้างหน้าไปกลับสุดสนาม 1 รอบ - เดินปรบมือหน้าหลังไปกลับสุดสนาม 1 รอบ 2.ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการเลี้ยงบาสอย่างถูกวิธี - ข้อดีของการเลี้ยงและชู้ตบาสเกตบอลที่ถูกวิธี - ข้อห้ามของการเลี้ยงและการชู้ตบาสเกตบอล 3.ครูกล่าวชมเชยการร่วมกิจกรรมของนักเรียนและบอกกิจกรรมการเรียนการสอน อาทิตย์ ถัดไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.ลูกบาสเกตบอล 2.กรวย/มาร์กเกอร์ กระบวนการวัดผลและประเมินผล เครื่องมือ วิธีการวัด เกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรม สังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ บันทึกผล ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).............................................. (นายธีระวัช ประเสริฐสังข์) ครูผู้สอน ………../………../…………


Click to View FlipBook Version