The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน pa2 160865

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chonticha Oif Pratumchat, 2022-09-16 00:12:01

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน pa2 160865

แบบรายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน pa2 160865

แบบรายงานผลการปฏบิ ัติงานตามขอตกลงในการพัฒนางาน
สําหรบั ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตาํ แหนงครู วิทยานะ (ยงั ไมมวี ิทยฐานะ)

ประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๕
ระหวางวนั ท๑่ี เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ถงึ วันท่ี ๓๐ เดอื น กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕

………………………………………………………………………
ผูจดั ทาํ ขอตกลง

ชื่อนางสาวชลธิชา ประทมุ ชาติ ตําแหนง ครู (ยงั ไมมีวทิ ยฐานะ)
สถานศกึ ษา โรงเรียนพระพทุ ธบาทเทสรังสวี ทิ ยา สังกัดสํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
หนองคาย เขต 1
รบั เงินเดอื นในอนั ดับ ครู คศ.๑ อัตราเงนิ เดอื น ๑๘,๖๒๐บาท
ประเภทหอ งเรยี นท่จี ดั การเรยี นรู
หองเรยี นวิสามัญหรือวชิ าพืน้ ฐาน
สวนท่ี ๑ ขอ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตําแหนง
ภาคเรียนที่ ๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

๑. ภาระงาน จะมภี าระงานเปนไปตามทก่ี .ค.ศ. กําหนด
๑.๑ ชัว่ โมงสอนตามตารางสอน รวมจาํ นวน ๑๗ ชว่ั โมง/สปั ดาหดังน้ี
กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

(พ้ืนฐาน) จํานวน ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห
กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(เพิม่ เติม) จาํ นวน ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน รายวชิ าลกู เสอื -ยวุ กาชาด ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ จํานวน ๑

ช่วั โมง/สปั ดาห
๑.๒ งานสง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู จาํ นวน ๓ ช่วั โมง/สัปดาห
๑.๓ งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา จํานวน ๕ ชั่วโมง/สปั ดาห
๑.๔ งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน จํานวน ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห

ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๕
๑.๑ ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจํานวน ๑๕ ชั่วโมง/สปั ดาหดงั นี้
กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(พื้นฐาน) จํานวน ๘ ช่วั โมง/สัปดาห

กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร รายวชิ าคณิตศาสตร (พ้ืนฐาน) จํานวน ๔ ช่ัวโมง/
สัปดาห

กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพ รายวชิ าการงาน จาํ นวน ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห
กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน รายวิชาลูกเสือ-ยวุ กาชาด ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๕ จํานวน ๑
ช่ัวโมง/สัปดาห
๑.๒ งานสง เสริมและสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู จํานวน ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห
๑.๓ งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จํานวน ๕ ช่ัวโมง/สัปดาห
๑.๔ งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน จํานวน ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห

2 2564

๒. ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ัติตามมาตรฐานตําแหนง ครู
ดานท่ี ๑ ดานการจัดการเรยี นรู

ลักษณะงานที่ขาพเจาปฏิบตั แิ ละนําเสนอครอบคลมุ ถึงการสรางและหรอื พฒั นาหลกั สูตร การ
ออกแบบกรจัดการเรียนรู การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู การสรางและหรอื พัฒนาสื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู การวดั การประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู การศกึ ษาการวเิ คราะห
สงั เคราะห เพ่อื แกไ ขปญหาหรือพัฒนาการเรียนรู การจัดบรรยากาศทส่ี งเสริมและพัฒนาผูเ รียน และ
การอรมและพัฒนาคณุ ลักษณะท่ีดขี งผเู รยี น

๑.๑ สรางและพัฒนาหลักสูตร จัดทํารายวิชาและหนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และ
ตัวชีว้ ัดหรือผลการเรียนรูตามหลักสูตรเพื่อใหผ ูเรยี นไดพ ฒั นาสมรรถนะและการเรยี นรู เต็มตามศกั ยภาพโดยมี
การพัฒนารายวิชาและหนวยการเรียนรู ใหสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ผูเรียน และทองถ่ิน และ
สามารถ แกไขปญ หาในการจัดการเรยี นรไู ด

ชอ่ื เอกสาร รูปแบบเอกสาร QR Code E-Book link
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนพระ https://anyflip.com/oxedy/hadw/

พทุ ธบาทเทสรงั สวี ิทยา
(ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช

๒๕๖๐)

โครงสรางเวลาเรยี น

https://anyflip.com/oxedy/bveu/

คําอธบิ ายรายวิชา https://anyflip.com/oxedy/zpok/

๑.๒ การออกแบบการจดั การเรยี นรู https://anyflip.com/oxedy/ujyj/
หนวยการจัดการเรียนรู
วิทยาศาสตร ป ๕ เทอม๑

หนวยการจดั การเรียนรู https://anyflip.com/oxedy/epkk/
วทิ ยาศาสตร ป ๕ เทอม๒ https://anyflip.com/oxedy/crxh/

แผนการจัดการเรยี นรู

๑.๓ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู
มีการอํานวยความสะดวกในการเรียนรู และสงเสริมผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรูและ

ทํางานรวมกันโดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู ที่สามารถแกไขปญหาในการจัดการเรียนรู ทําใหผูเรียนมี
กระบวนการคดิ และคน พบองคค วามรูดวยตนเอง และสรางแรงบนั ดาลใจ

๑.๔ การสรา งและพัฒนาสอ่ื นวตั กรรม
มกี ารสรา งและหรือพฒั นาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหลง เรียนรูส อดคลองกบั กจิ กรรมการเรยี นรู

สามารถ แกไ ขปญ หาในการเรียนรูของผูเรยี น และทาํ ใหผ ูเ รียนมที ักษะการคิดและสามารถสรา งนวัตกรรมได
ในการเรียนรู ผา นกิจกรรมทเี่ นน ใหผ เู รียนปฏบิ ัติ โดยพัฒนากิจกรรมการเรียนรู เรือ่ ง ลักษณะทางพันธกุ รรม
โดยเนนกจิ กรรมใหผ ูเ รยี นไดเ รยี นรูร ว มกนั และคนพบความรูด วยตนเอง แกปญหาผูเรียนที่มีความสับสนใน
เนอื้ หา ผา นกิจกรรมการเรียนรูและสอ่ื ทคี่ รูสรางข้นึ

๑.๕ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับมาตรฐาน

การเรยี นรู ใหผ ูเรยี นพฒั นาการเรยี นรูอยางตอ เน่อื ง ประเมนิ ผลการเรียนรูต ามสภาพจริง และนําผลการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรมู าใชแกไ ขปญหาการจดั การเรยี นรู

๑.๖ การศกึ ษา วเิ คราะห สังเคราะห เพ่อื แกปญหาหรือพัฒนาการเรยี นรู
มกี ารศกึ ษา วิเคราะห และสงั เคราะห เพ่อื แกไขปญหาหรอื พฒั นาการเรยี นรูท่สี งผลตอ คุณภาพ

ผเู รยี น และนําผลการศึกษา วิเคราะห และสังเคราะห มาใชแ กไ ขปญหาหรอื พัฒนาการจดั การเรยี นรู ใน เรอื่ ง
ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของสงิ่ มีชวี ิต โดยจัดทาํ รายงานการสังเคราะหผลการแกป ญ หาและพฒั นาผูเรยี น

รายงานวจิ ยั สังเคราะหผูเรียน

https://anyflip.com/oxedy/wmdm/

๑.๗ จัดบรรยากาศทีส่ งเสริมและพัฒนาผเู รียน
มกี ารจดั บรรยากาศทีเ่ หมาะสม สอดคลองกบั ความแตกตา งผูเรียนเปนรายบุคคล สามาร แกไ ขปญ หาการ

เรียนรู สรางแรงบนั ดาลใจสงเสรมิ และพฒั นาผูเรยี นใหเ กดิ กระบวนการคดิ ทกั ษะชวี ิต ทกั ษะการทํางานทักษะ
การเรียนรแู ละนวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี

๑.๘ อบรมและพฒั นาคุณลกั ษณะทด่ี ขี องผเู รียน
มกี ารอบรมบม นสิ ยั ใหผเู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรมคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค และคา นยิ มความเปน ไทยที่

ดงี ามโดยคํานึงถงึ ความแตกตางของผูเรยี นเปน รายบคุ คลและสามารถ แกไขปญหาผูเรียนได

ดานท่ี ๒ ดานการสงเสรมิ สนบั สนุน
ลักษณะงานท่ขี าพเจาปฏิบัตแิ ละนําเสนอครอบคลมุ ถงึ สารสนเทศของผูเ รียน และรายวิชาที่
ครสู อนใหผูเรียนและผปู กครองสามารถเขา ถงึ สารสนเทศได รวมถึงการแกไขปญ หาผเู รยี นใหม คี วาม
พรอมและมศี กั ยภาพเพียงพอในการพฒั นาได เชน การเยี่ยมบา นนกั เรียน คดั กรองนักเรียนยกจน
ทะเบยี นแสดงผลการเรียน วิเคราะหผ ูเรยี นรายบุคคล ระบบดแู ลชว ยเหลอื นกั เรียนดวยโปรแกรม
ปจจัยพน้ื ฐานนักเรียนยากจน เพอื่ ใชสนบั สนนุ การพัฒนาคุภาพผเู รียน
๒.๑ จัดทําขอ มลู สารสนเทศของผเู รยี นและรายวิชา
มีการจดั ทําขอมูลสารสนเทศของผเู รยี นและรายวิชาโดยมขี อ มูลเปนปจ จุบนั เพอ่ื ใชใ นการสงเสริม
สนับสนนุ การเรียนรแู กไ ขปญ หาและพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นในรายวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ้ืนฐาน)
โดยใช Google form และโปรแกรม Microsoft Excel ในการจดั เก็บขอ มูล และสรปุ สารสนเทศในรปู แบบ
กราฟแทง และรายงานผลสะทอ นกลับใหผเู รยี นทุกสัปดาหทม่ี ีการบันทึกผลการเรียนรู เพือ่ ใหผูเรียนทราบวา
ตองปรบั ปรงุ แกไขผลการเรียนในหัวขอใดบาง หรือผเู รยี นคนใดยงั ไมไ ดท ดสอบ หรอื สงภาระ/ช้นิ ท่ีกาํ หนด
๒.๒ ดําเนินการตามระบบดแู ลชวยเหลอื ผูเ รยี น
มีการใชขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผูเรียนรายบุคคลและประสานความรวมมือกับผูมีสวนเก่ียวของ เพื่อ
พัฒนาและแกไ ขปญ หาผูเ รียน โดยการดําเนนิ การตามระบบดูแลชวยเหลือผเู รยี น โดยบันทึกขอ มูลสวนตัวของ
ผเู รียนแตละคนผา นระบบออนไลน ดว ย Google form และสรุปเปนสารสนเทศในรปู แบบของแผนภูมิวงกลม
ดําเนินกิจกรรมกรรมเย่ียมบานออนไลน การประเมิน SDQ และจัดกิจกรรมโฮมรูมผูเรยี นทุกเชา เพ่ือเปนการ
เตรียมความพรอมใหผูเรียน และแจงขอมูลขาวสารท่ีสําคัญใหกับผูเรียนทราบ มีการจัดกิจกรรมการประชุม
ผปู กครองในรปู แบบออนไลน และมกี ลมุ ไลนส าํ หรับแจงขอมูลขา วสารของทางโรงเรยี นใหก ับผูปกครอง

๒.๓ ปฏบิ ัติงานวิชาการ และงานอนื่ ๆ ของสถานศึกษา
รวมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษา ดังนี้

- ปฏิบัติงานวิชาการ โดยปฏิบัติหนาท่ีหัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ขับเคลื่อน
และพัฒนาการดําเนินงานของกลุมสาระฯ โดย การรวมกับคุณครูในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และ
เปาหมาย และกําหนดตัวช้ีวัดความสําเรจ็ ของกลุมสาระฯ มีโครงสรางการบริหาร และพรรณนางานที่ชัดเจน
ในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ และรวมกับคุณครูจัดการเรยี นรูใหก ับผูเรียน โดยใชสื่อ นวัตกรรมท่ีครสู รา งขึ้น
รวมกบั เทคโนโลยที างการศึกษา ใหเหมาะสมกับการเรียนรขู องผูเ รียน

๒.๕ ประสานความรว มมือกับผปู กครอง ภาคีเครอื ขายและหรือสถานประกอบการ
ประสานความรวมมือกับผูปกครอง ภาคีเครือขายและหรือสถานประกอบการ เพ่ือรวมกันแกไขปญหา

และพฒั นาผูเ รยี น

ดา นท่ี ๓ ดานการพฒั นาตนเองและวิชาชพี
ลกั ษณะงานทเ่ี สนอใหครอบคลุมถงึ การพฒั นาตนเองอยางเปนระบบและตอ เนอ่ื ง การมี

สว นรว มในการแลกเปล่ยี นเรยี นรทู างวชิ าชีพเพอื่ พฒั นาการจัดการเรยี นรแู ละการนาํ ความรู
ความสามารถทกั ษะทไ่ี ดจ ากการพฒั นาตนเองและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการจดั การเรยี นรู การ
พัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น และการพัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู
๓.๑ พฒั นาตนเองอยา งเปนระบบและตอเน่อื ง

มกี ารพฒั นาตนเองอยา งเปนระบบและตอ เนื่อง เพ่อื ใหม ีความรู ความสามารถ ทกั ษะ โดยเฉพาะอยางย่ิง
การใชภ าษาไทยและภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศกึ ษา สมรรถนะวชิ าชีพ
ครูและความรอบรูในเน้ือหาวิชาและวิธีการสอน และนําผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใชในการ
จัดการเรียนรทู ่มี ีผลตอ คุณภาพผูเ รียน

๓.๒ มีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาชีพเพ่ือแกไขปญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู โดย
พฒั นาการจัดการเรียนรูใ หม ีคุณภาพสงู ข้นึ เปนแบบอยา งที่ดีสามารถใหคําปรึกษากับผูอ่นื และเปน ผูนํา

ในวงวชิ าชีพ
๓.๓ นําความรู ความสามารถ ทักษะท่ีไดจากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใชใ นการพฒั นาการจัดการ
เรียนรู การพัฒนาคุณภาพผูเรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูท่ีมีผลตอคุณภาพผูเรียน

เปน แบบอยา งทีด่ ีและสามารถใหคาํ ปรกึ ษากบั ผอู นื่ ได และเผยแพรต ัวอยางผลงานท่ีไดจากการพัฒนาให
ครูในกลมุ สาระการเรียนรไู ดนําไปเปน แนวทาง และเผยแพรผ า นเพจหองเรียนวิทยาศาสตรครอู ีฟ๊

สวนท่ี ๒ ขอตกลงในการพฒั นางานทเี่ ปนประเดน็ ทา ทายในการพฒนาผลลัพธการเรยี นรูของผเู รียน
ประเดน็ ทาทาย เรอ่ื ง
การแกไขมโนทศั นท คี่ ลาดเคล่อื น เรอ่ื ง ลักษณะตา งๆทีป่ รากฏในสง่ิ มชี ีวติ เกิดขึ้นได

อยา งไร ในหนว ยการเรยี นรเู รื่อง ลักษณะทางพันธกุ รรมของสิง่ มีชีวติ ของผูเรียนระดบั ชน้ั
ประถมศึกษาปท ่ี ๖ รายวิชาวทิ ยาศาสตรพ ้ืนฐานรหสั วชิ า ว๑๖๑๐๑

เชิงปรมิ าณ
ผูเรียนในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ จาํ นวน ๑ หอง รวมจาํ นวนผเู รียนทงั้ หมด ๒๗

คน ไดรับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต รายวิชา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(พื้นฐาน) โดยมีคะแนนทดสอบในหนวยการเรียนรูเร่ือง ลักษณะทาง
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ผานเกณฑ (รอยละ ๗๐ ของคะแนนเต็ม) คิดเปนรอยละ ๗๐ ของจํานวน
ผูเรียนท้ังหมด และผูเรียนทั้งหมดมีความพึงพอใจตอกิจกรรมจัดการเรียนรู เรื่อง ลักษณะทาง
พันธกุ รรมของสิ่งมชี ีวติ มคี าเฉลี่ยอยใู นระดบั มากขนึ้ ไป
เชิงคณุ ภาพ

ผูเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ จํานวน ๑ หอง รวมจํานวนผูเรียนทั้งหมด ๒๗
คน มคี วามรูความเขาใจในมโนทัศนทางวิทยาศาสตร เรอ่ื ง ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของสิง่ มีชีวิต และ
สามารถนําความรูที่ไดจากการเรียนรูไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจําวัน เพ่ือใชในการตัดสินใจใน
สถานการณตาง ๆ ทเ่ี กย่ี วของ

ผลลัพธก ารเรียนรจู ากการจดั การเรียนการสอนเร่ืองลักษณะทางพันธกุ รรมของสง่ิ มีชีวิต
จากการจัดการเรยี นการสอนเร่อื ง ลักษณะตา งๆทปี่ รากฎในส่งิ มีชวี ติ เกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งไร ที่ผานมาน้ัน

นักเรียน ยังไมสามารถ อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถายทอดจากพอ แมลูก ของพืช สัตว และมนษุ ย
ไมส ามารถตง้ั คําถามและสํารวจเกย่ี วกับลกั ษณะที่คลายคลึงกนั ของตนเองกับพอแม นักเรยี นยังขาดทักษะการ
อธิบาย การคิด การวิเคราะห และการต้ังคําถาม โดยเม่ือใหต้ังคําถามหรือทําแบบทดสอบ นักเรียนไม
สามารถอางอิงเหตุผลประกอบการอธิบายคําตอบไดอยางชัดเจนและบางครั้งเปนการเดาคําตอบ เมื่อให
นักเรียนทําแบบทดสอบพบวา คะแนนเฉลยี่ ทไี่ ดม ีคานอ ยกวาก่งึ หนึ่งของคะแนนเตม็ ซึ่งไดส อบถามและพดู คุย
กับนักเรียนทีท่ ําแบบทดสอบไดคะแนนนอ ย พบวา นักเรียนไมเขาใจในเรื่อง ลักษณะตางๆทปี่ รากฎในส่งิ มีชีวิต
และในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานระดับชาติ O-Net ท่ีผานมาก็ทําใหคะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธ์ิ
ลดลงทุกป

ผูสอนจึงไดปรับเปล่ียนวิธีการใหม โดยใชเครื่องมือเปนแบบทดสอบ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร ทําให
ผูเรียนทั้งหมด ๒๗ คน ไดรับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง ลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต

รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(พื้นฐาน) โดยมีคะแนนทดสอบในหนวยการเรียนรูเร่ือง ลักษณะทาง
พันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ผานเกณฑ (รอยละ ๗๐ ของคะแนนเต็ม) คิดเปนรอยละ ๗๖ และมีผลทดสอบทาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานระดบั ชาติ O-Net ในปการศกึ ษา ๒๕๖๔ เพ่มิ ขนึ้ มากกวา ปก ารศึกษา ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version