The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chonticha Oif Pratumchat, 2022-09-15 23:22:03

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 63

แผนการจดั การเรียนรูที่ 63

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายวชิ า วิทยาศาสตร รหัสวชิ า ว15101
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2563
หนวยการเรยี นรูที่ 5 ส่ิงมชี ีวติ เวลา 1 ชว่ั โมง
เรือ่ ง ลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชวี ิต ครูผสู อน....................................................
1. มาตรฐานการเรียนรู/ ตวั ช้ีวัด
ว 1.3 ป. 5/1 อธิบายลักษณะ ทางพันธกุ รรมทม่ี ี การถา ยทอดจากพอแมสลู กู ของพืชสตั วและมนุษย
ป. 5/2 แสดงความอยาก รูอยากเหน็ โดยการ ถามคําถามเกี่ยวกบั ลกั ษณะท่ีคลายคลงึ กัน
ของตนเองกับพอแม

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธบิ ายลักษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมกี ารถายทอดจากพอแมสลู กู ของพืช สัตว และมนุษย
2. ตง้ั คําถามและสํารวจเก่ียวกบั ลกั ษณะท่ีคลายคลึงกันของตนเองกบั พอแม

3. สาระสําคญั
ส่ิงมชี วี ติ ท้งั พชื สัตว และมนุษย เม่ือเจรญิ เตบิ โต เต็มที่จะมีการสบื พนั ธุเพ่ือเพม่ิ จาํ นวนและดํารง

พันธใุ หค งอยตู อไป โดยลูกท่เี กดิ จากการสืบพันธขุ องพอและแมจะ ไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธกุ รรมมา
จากพอและแม ซึง่ ลักษณะทางพันธกุ รรมท่ีไดรับการถายทอดมานเี้ ปน ลกั ษณะเฉพาะของสิ่งมชี วี ติ แตละชนดิ

4. สาระการเรยี นรู
– การถายทอดลักษณะทาง พันธกุ รรมของสงิ่ มชี วี ิต

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ รียนรู
3. มุงม่นั ในการทํางาน
4. มจี ติ วทิ ยาศาสตร

6. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
1. การสงั เกต 1. การสอ่ื สาร
2. การลงความเหน็ จากขอ มูล 2. ความรวมมอื
3. การตีความหมายขอ มูลและลงขอสรปุ 3. การคิดอยา งสรา งสรรค

4. การสรา งแบบจําลอง
7. ชิ้นงานหรือภาระงาน

- สบื คน ลกั ษณะทางพันธกุ รรม
8. กจิ กรรมการเรียนรู

แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)
โดยเนน ผูเ รียนเปนสาํ คัญ ดําเนนิ การเรยี นการสอนดงั ตอไปน้ี

- แจงจดุ ประสงคก ารเรียนรใู หน กั เรียนทราบ
- นกั เรยี นทาํ แบบทดสอบกอนเรยี น 10 ขอ
1. ข้ันสรา งความสนใจ (engagement)
1. ครชู ักชวนนักเรียนศึกษาเรื่องส่ิงมีชวี ิต โดยใหอ านชื่อหนวย และ อา นคําถามสําคัญประจําหนวย
ที่ 5 ในหนงั สอื เรยี น หนา 74 ดังนี้

1. ลักษณะตาง ๆ ท่ีปรากฏในสงิ่ มชี วี ติ เกิดข้นึ ไดอ ยางไร
2. ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธก ับส่ิงแวดลอ มอยา งไร นักเรียนตอบคําถามโดยครูยังไมตอ งเฉลย
คาํ ตอบ แตจะใหนกั เรียนยอ นกลบั มาตอบอกี ครง้ั หลงั จากเรยี นจบหนวยนแ้ี ลว
3. ครูใหนักเรียนอา นชื่อบท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ในหนังสือเรียน หนา 75
จากน้ันครใู ชคําถามเพ่ือตรวจสอบความเขา ใจดงั น้ี

3.1 บทนี้จะไดเรียนเร่ืองอะไร (เร่ืองการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต)
3.2 จากจุดประสงคการเรียนรูเม่ือเรียนจบบทนี้นักเรียนสามารถทําอะไรไดบาง (จะ
สามารถอธบิ ายลักษณะทางพันธุกรรมที่มี การถา ยทอดจากพอ แม ไปสูล ูกของพืช สัตว และมนุษย รวมท้ังตั้ง
คาํ ถามและสํารวจเก่ียวกับลักษณะทค่ี ลา ยคลึงกัน ของตนเองกบั พอแมไ ด)
2. ขั้นสาํ รวจและคนหา(exploration)
ใหนกั เรียนทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหเ กดิ ประสบการณตรง ดงั น้ี
1. นกั เรียนอานชื่อบทและแนวคดิ สําคัญ ในหนงั สือเรยี น หนา 76 จากนัน้ ครใู ชคาํ ถามวา จาก
การอา นแนวคิดสาํ คญั นักเรียนคิดวา จะไดเรยี นเกีย่ วกับเร่ืองอะไรบาง (จะไดเรยี นเร่อื งลักษณะทาง พันธกุ รรม
ของพชื สตั ว และมนุษย)
2. ครูชักชวนใหน กั เรยี นสังเกตรูป และอา นเน้ือเรื่องใน หนา 76 โดย ครูฝกทกั ษะการอานตาม
วิธีการอานที่เหมาะสมกบั ความสามารถ ของนักเรียน
3. ข้นั อธบิ ายและลงขอสรปุ (explanation)
1. ครตู รวจสอบความเขา ใจจากการอาน โดยใชค ําถาม ดังน้ี
1.1 ลกู ของส่ิงมีชีวติ มีลักษณะอยางไรเม่ือเปรยี บเทยี บกบั พอ แม (ลูกมีลักษณะคลายคลึง
กบั พอแม)
1.2 นกั เรยี นสงั เกตเหน็ ส่ิงมีชีวติ อะไรในภาพบา ง (เด็กผูหญิง สุนขั หญา)
1.3 ส่งิ มีชวี ิตในภาพเปนสิ่งมีชีวิตชนิดเดยี วกันหรือไม รไู ดอยา งไร (เปนสง่ิ มีชีวิตตา งชนิด
กนั รูไ ดจ ากการสงั เกตพบวามีลกั ษณะทแี่ ตกตางกนั )

1.4 นกั เรยี นคดิ วาพอแมของเด็กผูห ญงิ ในภาพนา จะมีลกั ษณะ อยางไร เพราะเหตใุ ด
(นักเรยี นตอบตามความเขา ใจ)

1.5 นักเรยี นคิดวาพอแมของสนุ ัขในภาพนา จะมีลักษณะอยางไร เพราะเหตุใด (นักเรียน
ตอบตามความเขาใจ) 6.6 นกั เรยี นคดิ วาหญา ในภาพนาจะเกดิ จากหญา ที่มลี ักษณะ อยา งไร เพราะเหตุใด
(นกั เรียนตอบตามความเขาใจ)

4. ขนั้ ขยายความรู (Elaboration)
1. ครชู กั ชวนนกั เรียนตอบคาํ ถามเกีย่ วกับส่งิ มชี ีวิต ในสํารวจความรู กอ นเรยี น
2. นักเรียนทําสํารวจความรูกอ นเรียน ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 64-65 โดยนักเรียนอาน

คําถามแตละขอครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนจนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดด ว ยตนเอง จึงให
นกั เรียนตอบคําถามซง่ึ คําตอบของแตล ะคนอาจแตกตางกนั และคาํ ตอบอาจถกู หรอื ผดิ กไ็ ด

3. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรยี นเพื่อตรวจสอบวานักเรยี นมี แนวคิดเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต
อยางไรโดยอาจสุม ใหนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําตอบของตนเอง ครูยังไมต องเฉลยคําตอบแตจ ะใหนักเรียน
ยอนกลับมาตรวจสอบอีกคร้ังหลังจากเรียนจบบทน้ีแลว ทั้งนี้ครูควรบันทึกแนวคิดคลาดเคล่ือนหรือแนวคิดที่
นาสนใจของ นักเรยี น แลวนํามาใชใ นการออกแบบการจัดการเรียนรูเพ่ือแกไ ข แนวคิดคลาดเคลื่อนใหถูกตอ ง
และตอ ยอดแนวคิดท่นี า สนใจของนักเรียน

5. ขน้ั ประเมนิ (evaluation)
1. ครูใหนักเรียนแตละคนพิจารณาวา จากหัวขอที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจุดใดบางท่ียัง

ไมเขาใจหรือยังมีขอ สงสยั ถา มี ครชู วยอธิบายเพมิ่ เติมใหนกั เรียนเขา ใจ
2. นักเรียนรวมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุมวามีปญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแกไข

อยา งไรบา ง
3. ครูและนักเรียนรวมกนั แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับประโยชนท่ีไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรม และ

การนําความรูทีไ่ ดไ ปใชประโยชน
4. ครทู ดสอบความเขา ใจของนกั เรยี นโดยการใหต อบคาํ ถาม เชน
– เพราะเหตุใดลกู จงึ มีลกั ษณะบางอยา งเหมือนพอและแม (นักเรยี นตอบตามความเขาใจ)
– ลูกจะมีลักษณะทแ่ี ตกตา งจากพอและแมไดหรือไม (นักเรยี น ตอบตามความเขา ใจ)

9. การวัดและประเมินผล
การประเมนิ การเรยี นรขู องนักเรียนทําได ดงั นี้
1. ประเมินความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชน้ั เรียน
2. ประเมินการเรยี นรูจากคําตอบของนกั เรยี นระหวางการจดั การเรยี นรแู ละจากแบบบันทกึ

กจิ กรรม
3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทํากจิ กรรม

ของนักเรียน

ระดับคะแนน การประเมินจากการทาํ กจิ กรรม

3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ
รหสั สงิ่ ท่ปี ระเมนิ ระดบั คะแนน
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร
S2 การวดั
S3 การใชจํานวน
S4 การจําแนกประเภท
ทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความรว มมือ

10. สอ่ื /แหลงการเรียนรู
1. หนังสอื เรียน ป. 5 เลม 1
2. แบบบันทึกกิจกรรม ป. 5 เลม 1

11. ความเห็นของหวั หนาสถานศกึ ษา/ผูทีไ่ ดรับมอบหมาย
ไดทาํ การตรวจแผนการจัดการเรยี นรขู อง.......................................................... แลว มคี วามเหน็ ดังนี้

1. เปน แผนการจัดการเรยี นรูท่ี
 ดีมาก
 ดี
 พอใช
 ควรปรับปรุง

2. การจดั กจิ กรรมไดน ําเอากระบวนการเรยี นรู
 เนนผเู รยี นเปน สําคัญมาใชในการสอนไดอยางเหมาะสม
 ยงั ไมเนน ผเู รียนเปน สําคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอไป

3. เปนแผนการจัดการเรียนรูท่ี
 นําไปใชไดจ รงิ
 ควรปรับปรงุ กอนนําไปใช

4. ขอ เสนอแนะอ่ืนๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..................................................
(.................................................)
ตาํ แหนง.......................................

วันที.่ .......เดอื น...............พ.ศ. ...........

12. บันทกึ ผลหลังการสอน
 ดา นความรู
 ดานสมรรถนะสําคัญของผูเ รียน
 ดานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค
 ดานความสามารถทางวทิ ยาศาสตร
 ดานอนื่ ๆ (พฤติกรรมเดน หรือพฤติกรรมทม่ี ีปญหาของนักเรยี นเปนรายบุคคล (ถามี))
 ปญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแกไ ข

ลงชื่อ..................................................ครูผสู อน

(.................................................)
ตาํ แหนง...................................................

วนั ที่........เดือน...............พ.ศ. ...........


Click to View FlipBook Version