The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ประกอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ziipraewz, 2022-11-19 00:42:20

องค์ประกอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

องค์ประกอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

องคป์ ระกอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้

ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรจู้ ะมีไอคอน Smart ที่สอนทักษะทางภาษาอังกฤษในหลากหลายรูปแบบ แต่
ละเล่มจะมีไอคอนที่แตกต่างกันในแตล่ ะระดับชน้ั เพ่ือให้เหมาะกับระดับการเรียนรู้ของผู้เรียน ไอคอน Smart
จะประกอบด้วย
Smart Speak
แบบฝึกการนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการสอนคาศัพท์ ประโยคสนทนา และโครงสร้างทางภาษาเพื่อปูพ้ืนฐานและ
เกดิ ความเขา้ ใจในบทเรียนกอ่ น
Smart Practice
แบบฝึกการทากิจกรรมแบบฝึกซ้า ๆ ในหลากหลายรูปแบบ เพื่อฝึกการทาข้อสอบ ฝึกกระบวนการคิด
วเิ คราะห์ และประเมินผ้เู รียนผา่ นการทากิจกรรม
Smart Song
แบบฝึกการอ่านผา่ นเนื้อเพลงเพือ่ ฝึกความเขา้ ใจ และเกดิ การคดิ วเิ คราะห์ตามเน้อื เพลง
Smart Study
แบบฝึกการตอบคาถามผา่ นคาศัพท์และโครงสรา้ งประโยค ตลอดจนบทสนทนาสั้น ๆ เพ่ือฝึกทักษะทางภาษา
ในแตล่ ะบทเรียน
Smart Check
แบบฝึกไวยากรณท์ นี่ าไปใช้ไดจ้ รงิ และสอนไวยากรณท์ ี่เหมาะกบั ระดับชน้ั
Smart Read
แบบฝกึ การอ่านจากเรอ่ื งเลา่ นทิ าน บทความรทู้ ั่วไปทีม่ ีเนอ้ื หาโยงเข้ากบั หน่วยการเรยี นรู้
Smart Listen
แบบฝกึ การฟังสั้น ๆ เน้อื หาการฟงั ท่ีเหมาะกบั ระดับชน้ั เพื่อเป็นการจับใจความสาคัญจาก Class Audio CD
Smart Sound
แบบฝกึ การออกเสยี งในรปู แบบการเรยี น Phonics
Smart Alphabet
แบบฝึกการเรียนตวั อกั ษรทางภาษาอังกฤษ
Smart Write
แบบฝกึ การเขียนทางภาษาอังกฤษ เน้นในเรอื่ งการเขยี นคาศพั ท์ โครงสรา้ งประโยคใหถ้ ูกตอ้ ง
Smart Play
แบบฝกึ การทากจิ กรรมในหอ้ งเรยี น เชน่ การเลน่ เกม การทากจิ กรรมกลุม่
Smart Draw
แบบฝึกการวาดเพอื่ เสริมสร้างจนิ ตนาการในการเรียนภาษาองั กฤษ
What Do I know
แบบฝึกการตอบคาถามจากเน้อื หาแต่ละบทเรียน เพอื่ เปน็ การทบทวนในสงิ่ ท่ีได้เรียนมา

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ สาระการเรียนรพู้ นื้ ฐานภาษาอังกฤษ

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 200 ช่วั โมง

ศึกษาคาสั่ง คาขอร้อง ภาษาท่าทาง คาแนะนาท่ีใช้ในห้องเรยี นและในสถานศึกษา การอ่านออกเสียง
คา กล่มุ คา ประโยค ข้อความง่าย ๆ บทพูดเขา้ จงั หวะ ตามหลักการอา่ นออกเสยี ง ศกึ ษาวงคาศัพท์สะสม ทั้งท่ี
เป็นรูปธรรม และนามธรรม ประมาณ 350-400 คา รวมถึงการใช้พจนานุกรม การระบุ/วาดภาพเก่ียวกับ
ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาว่าง นันทนาการ อาชีพ สถานท่ีท่ีสาคัญต่าง ๆ
รอบตัว กิจวัตรประจาวันต่าง ๆ ให้ตรงกับความหมายของกลุ่มคา ประโยคเด่ียว สัญลักษณ์ และเคร่ืองหมาย
ตา่ ง ๆ การหาใจความสาคัญของเรื่อง การถาม ตอบดว้ ยประโยค บทสนทนา นิทานทีม่ ภี าพประกอบ การพูด
และเขียนบทสนทนา ประโยค ข้อความท่ีใช้ในการสื่อสารระหว่างตนเอง เพ่ือน บุคคลใกล้ตัว การใช้คาศัพท์
สานวนภาษาในการตอบรับ การใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาขออนุญาตง่าย ๆ ในห้องเรียน ประโยคที่ใช้แสดงความ
ต้องการ แสดงความรู้สึก และขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่าย ๆ การขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและ
สิ่งใกล้ตัว การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน การเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของภาพกับคาหรือกลุ่มคาโดยใช้ภาพ
แผนภูมิ แผนภาพ แผนผัง การพูดและทาท่าทางประกอบตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม คาศัพท์ และ
ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง และการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การเปรียบเทียบความแตกต่างของเสียง ตัวอักษร คา กลุ่มคา และประโยค
ของภาษาตา่ งประเทศ และภาษาไทย การเปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ ง ระหวา่ งวฒั นธรรมของ
เจ้าของภาษากับของไทย การค้นคว้า รวบรวม และการนาเสนอคาศัพท์ที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อน่ื
การใช้ภาษาในการสื่อสารในสถานการณ์ ท่ีเกิดข้ึนในห้องเรียน สถานศึกษาและในท้ องถิ่น การใช้
ภาษาต่างประเทศในการสบื ค้นและการรวบรวมคาศัพท์ทเี่ กี่ยวขอ้ งใกล้ตวั จากส่ือและแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ

โดยใช้ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ทางภาษาที่หลากหลาย เน้นการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การ
ฝึกปฏิบัติตามสถานการณ์ต่าง ๆ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการศึกษาค้นคว้า และสืบค้นข้อมูล
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอ่านออก เขียนได้ และมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
อย่างเหมาะสมกับวัย และสถานการณ์ต่าง ๆ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เห็น
ประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง รักความเป็นไทย สามารถ
ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั ผอู้ ืน่ และดาเนนิ ชวี ติ อย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ

ตวั ช้ีวดั สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1.รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ต 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ซื่อสัตย์ สจุ ริต
3. มวี นิ ัย
ต 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 2. ความสามารถในการคิด 4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
ต 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
ต 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 8. มีจิตสาธารณะ

ต 2.2 ป.4/1, ป.4/2 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ต 3.1 ป.4/1

ต 4.1 ป.4/1

ต 4.2 ป.4/1

รวม 20 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ทาไมต้องเรยี นภาษาต่างประเทศ

ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจาวัน
เนื่องจากเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการตดิ ต่อส่ือสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสร้าง
ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม
และมุมมองของสังคมโลก นามาซ่ึงไมตรีจิตและความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความ
เข้าใจตนเองและผู้อ่ืนดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกตา่ งของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้
ภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมทั้งเข้าถึงองค์ความรู้ตา่ ง ๆ ได้ง่ายและกวา้ งข้นึ และมีวสิ ยั ทศั น์ในการ
ดาเนินชีวิต

ภาษาต่างประเทศท่ีเป็นสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ซึ่งกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอ่ืน เช่น ภาษาฝร่ังเศส เยอรมัน จีน ญ่ีปุ่น อาหรับ บาลี
และภาษากลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน หรือภาษาอ่ืน ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะจัดทารายวิชาและ
จัดการเรยี นรู้ตามความเหมาะสม

เรยี นรู้อะไรในภาษาต่างประเทศ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้
ภาษาต่างประเทศเพื่อส่ือสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับที่
สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลกและสามารถ
ถา่ ยทอดความคดิ และวฒั นธรรมไทยไปยังสงั คมโลกไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสาคัญ ดงั นี้

• ภาษาเพื่อการสอื่ สาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟงั -พดู -อ่าน-เขยี น แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสาร
แสดงความรู้สกึ และความคดิ เห็น ตีความ นาเสนอข้อมลู ความคดิ รวบยอดและความคิดเหน็ ในเร่ืองต่าง ๆ และ
สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลอยา่ งเหมาะสม

• ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา โดยให้สัมพันธ์กับ
ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งภาษากับวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของ
ภาษากับวฒั นธรรมไทย และนาไปใช้อยา่ งเหมาะสม

• ภาษากับความสัมพันธก์ ับกลุม่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรู้
กับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ื่น เป็นพ้นื ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน

• ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งใน
ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และ
แลกเปลี่ยนเรียนร้กู บั สังคมโลก

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเร่ืองท่ีฟังและอา่ นจากสอื่ ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคดิ เหน็

อยา่ งมเี หตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรสู้ ึกและ

ความคิดเห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเหน็ ในเรอ่ื งต่าง ๆ โดยการพดู และ

การเขยี น
สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้

อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษากบั

ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อืน่ และเปน็ พน้ื ฐาน

ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพนั ธก์ บั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ ่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม
มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นเครื่องมอื พื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ

และการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้กับสังคมโลก

คณุ ภาพผู้เรยี น

จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
* ปฏบิ ตั ติ ามคาสง่ั คาขอร้อง และคาแนะนาท่ีฟังและอ่าน อ่านออกเสยี งประโยค ขอ้ ความ นิทาน และ
บทกลอนสน้ั ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลอื ก/ระบปุ ระโยคและข้อความตรงตามความหมายของ
สัญลกั ษณห์ รือเครื่องหมายที่อ่าน บอกใจความสาคญั และตอบคาถามจากการฟงั และอ่านบทสนทนา
นิทานง่าย ๆ และเร่ืองเล่า
* พูด/เขียนโต้ตอบในการสอื่ สารระหวา่ งบุคคล ใชค้ าสัง่ คาขอร้อง คาขออนุญาต และให้คาแนะนา พูด/
เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณง์ ่าย ๆ
พูดและเขียนเพอื่ ขอและใหข้ ้อมลู เกีย่ วกับตนเอง เพ่ือน ครอบครวั และเรื่องใกลต้ วั พดู /เขยี นแสดง
ความรู้สึกเกี่ยวกับเรือ่ งต่าง ๆ ใกลต้ วั กจิ กรรมตา่ ง ๆ พร้อมทัง้ ใหเ้ หตุผลส้ัน ๆ ประกอบ
* พดู /เขยี นให้ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง เพ่ือน และส่งิ แวดลอ้ มใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผงั แผนภูมิ และตาราง
แสดงข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่ฟังและอ่าน พูด/เขยี น แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั เร่อื งตา่ ง ๆ ใกล้ตัว
* ใชถ้ ้อยคา นา้ เสยี ง และกริยาทา่ ทางอยา่ งสภุ าพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมเจ้าของ
ภาษา ใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับเทศกาล/วนั สาคัญ/งานฉลอง/ชีวติ ความเปน็ อยู่ของเจ้าของภาษา เข้ารว่ มกจิ กรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
* บอกความความเหมือน/ความแตกต่างระหวา่ งการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้เครื่องหมาย
วรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความ
เหมือน/ความแตกต่างระหวา่ งเทศกาล งานฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย
* ค้นควา้ รวบรวมคาศัพท์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืนจากแหลง่ การเรียนรู้ และนาเสนอดว้ ย
การพูด/การเขยี น
* ใช้ภาษาส่ือสารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรยี นและสถานศึกษา
* ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลตา่ ง ๆ
* มีทักษะการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (เน้นการฟงั -พูด-อา่ น-เขยี น) สอื่ สารตามหัวเร่อื งเก่ียวกับตนเอง
ครอบครัว โรงเรยี น สงิ่ แวดล้อมใกล้ตัว อาหาร เคร่ืองดมื่ และเวลาวา่ ง และนันทนาการ สุขภาพและ
สวสั ดิการ การซ้ือ-ขาย และลมฟา้ อากาศ ภายในวงคาศพั ท์ประมาณ 1,050-1,200 คา (คาศัพทท์ ่ีเปน็
รปู ธรรมและนามธรรม)
* ใชป้ ระโยคเดีย่ วและประโยคผสม (Compound Sentence) ส่อื ความหมายตามบริบทต่าง ๆ

สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั ชน้ั ปี
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตคี วามเรื่องที่ฟังและอา่ นจากสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตุผล

ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.4 1. ปฏิบัตติ ามคาสงั่ คาขอร้องและ • คาส่ังและคาขอร้องท่ีในหอ้ งเรยี นและคาแนะนาในการเล่น

คาแนะนา (instructions) ง่าย ๆ ที่ฟัง เกม การวาดภาพ หรอื การทาอาหารและเครอื่ งด่ืม

หรอื อา่ น - คาสั่ง เช่น Look at the…/here/over there./Say it

again./Read and draw./Put a/an … in/on/under a/

an …/Don’t go over there. etc.

- คาขอร้อง เชน่ Please take a queue./Take a queue,

please./Can you help me, please? etc.

- คาแนะนา เช่น You should read every day./Think

before you speak.

- คาศัพท์ที่ใชใ้ นการเล่นเกม Start./My turn./Your

turn./Roll the dice./Count the number./Finish.

- คาบอกลาดบั ขนั้ ตอน First,… Second,… Then,…

Finally,…etc.

2. อา่ นออกเสยี งคา สะกดคา อา่ นกลมุ่ คา • คา กลมุ่ คา ประโยค ขอ้ ความ บทพูดเขา้ จงั หวะ

ประโยค ขอ้ ความง่าย ๆ และบทพูดเข้า และการสะกดคา

จงั หวะถูกต้องตามหลักการอา่ น • การใชพ้ จนานุกรม

• หลักการอา่ นออกเสยี ง เชน่

- การออกเสียงพยญั ชนะต้นคาและพยญั ชนะทา้ ยคา

- การออกเสียงเน้นหนัก-เบาในคาและกลุม่ คา

- การออกเสยี งตามระดบั เสียงสูง-ต่าในประโยค

3. เลือก/ระบภุ าพหรอื สัญลกั ษณ์ หรอื • กลมุ่ คา ประโยคเดย่ี ว สัญลักษณ์ เคร่อื งหมาย และ

เคร่ืองหมาย ตรงตามความหมายของ ความหมายเกย่ี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่งิ แวดลอ้ ม

ประโยคและขอ้ ความส้ัน ๆ ที่ฟัง อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สุขภาพและ

หรืออา่ น สวสั ดกิ าร การซ้อื -ขาย และลมฟา้ อากาศ และเป็นวงคาศัพท์

สะสมประมาณ 550-700 คา (คาศัพท์ทเ่ี ปน็ รูปธรรมและ

นามธรรม)

ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 4. ตอบคาถามจากการฟังและอา่ น • ประโยค บทสนทนา นทิ าน ทีม่ ีภาพประกอบคาถาม
เก่ยี วกบั ใจความสาคญั ของเร่ือง เช่น ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน
ประโยค บทสนทนา และนิทานงา่ ย ๆ เมือ่ ไร อยา่ งไร ทาไม
- Yes/No Question เช่น

Is/Are/Can…? Yes,…is/are/can./
No,…isn’t/aren’t/ can’t.
Do/Does/Can/ Is/Are…?Yes/ No… etc.
- Wh-Question เชน่
Who is/are…? He/She is…/
They are…
What…?/Where…?
It is…/They are…
What…doing? …is/ am/are… etc.
- Or-Question เชน่
Is this/it a/an…or a/an…?
It is a/an…
Is/ Are/ Was/Were/Did…or…? etc.

สาระที่ 1 ภาษาเพือ่ การสื่อสาร

มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรูส้ ึก และ

ความคิดเห็นอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.4 1. พดู /เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหวา่ ง • บทสนทนาทีใ่ ช้ในการทกั ทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ

บคุ คล ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ ประโยค/ข้อความทใ่ี ช้

แนะนาตนเอง เพ่ือนและบุคคลใกล้ตวั และสานวนการ

ตอบรับ เชน่ Hi/ Hello/Good morning/ Good

afternoon/Good evening/I am sorry./

How are you? I’m fine./Very well./Thank you. And

you?/Hello. I am…/Hello,…I am… This is my sister.

Her name is… Hello,…/Nice to see you./Nice to see

you too./Goodbye./Bye./See you soon/later./

Great!/Good/Very good./Thanks./Thank you./Thank

you very much./You’re welcome./It’s O.K./That’s

O.K. etc.

2. ใชค้ าส่ัง คาขอร้อง และคาขออนญุ าต • คาสั่ง คาขอร้อง และคาอนุญาตที่ใช้ในห้องเรียน

ง่าย ๆ

3. พูด/เขยี นแสดงความต้องการของ • คาศัพท์ สานวนภาษา และประโยคที่ใชแ้ สดงความต้องการ

ตนเอง และขอความชว่ ยเหลอื ใน และขอความช่วยเหลือในสถานการณต์ ่าง ๆ เช่น

สถานการณง์ ่าย ๆ I want …/Please …/May …?/I need your

help./Please help me./Help me! etc.

4. พูด/เขยี นเพ่ือขอและให้ข้อมูลเกย่ี วกบั • คาศัพท์ สานวนภาษา และประโยคท่ใี ชข้ อและให้ข้อมลู

ตนเอง เพื่อน และครอบครวั เกย่ี วกับตนเอง ส่ิงใกล้ตัว เพ่ือน และครอบครัว เชน่

What’s your name? My name is…

What time is it? It is one o’clock.

What is this? It is a/ an …

How many … are there?

There is a/ an …/There are…

What is the …? It is in/on/under… etc.



ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.4 5. พูดแสดงความรสู้ ึกของตนเองเกีย่ วกับ • คาและประโยคทใ่ี ชแ้ สดงความรูส้ ึก เชน่ ดีใจ เสยี ใจ ชอบ

เรื่องตา่ ง ๆ ใกลต้ ัว และกิจกรรมตา่ ง ๆ ไม่ชอบ รัก ไม่รัก เช่น

ตามแบบท่ีฟัง I/You/We/They like…/He/She likes…

I/You/We/They love…/He/ She loves…

I/You/We/They don’t like/love/ feel…

He/She doesn’t like /love/feel…

I/You/We/They feel… etc.

สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่าง ๆ โดยการพูดและ

การเขยี น

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.4 1. พดู /เขียนให้ข้อมลู เกย่ี วกับตนเองและ • ประโยคและข้อความทใ่ี ชใ้ นการพูดให้ขอ้ มลู เกี่ยวกบั

เร่อื งใกล้ตวั ตนเอง บุคคล สตั ว์ และเร่ืองใกลต้ ัว เช่น ชื่อ อายุ รูปรา่ ง สี

ขนาด รูปทรงสิง่ ต่าง ๆ จานวน 1-100 วัน เดอื น ปี ฤดูกาล

ตาแหนง่ ของสงิ่ ต่าง ๆ

• เครื่องหมายวรรคตอน

2. พดู /วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิง่ • คา กลมุ่ คาที่มคี วามหมายสัมพันธ์ของส่งิ ตา่ ง ๆ ใกล้ตัว

ต่าง ๆ ใกล้ตัวตามทฟ่ี งั หรืออ่าน เชน่ การระบ/ุ เชอื่ มโยงความสมั พนั ธข์ องภาพกับคาหรือ

กลุม่ คา โดยใชภ้ าพ แผนภมู ิ แผนภาพ แผนผัง

3. พูดแสดงความคิดเห็นง่าย ๆ เกยี่ วกบั • ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งต่าง ๆ

เร่อื งต่าง ๆ ใกลต้ ัว ใกล้ตัว

สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาษากับวัฒนธรรมเจา้ ของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

กบั กาลเทศะ

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.4 1. พูดและทาท่าประกอบอย่างสุภาพ • มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา เช่น

ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของ การขอบคุณ ขอโทษ การใชส้ ีหนา้ ทา่ ทางประกอบการพดู

เจ้าของภาษา ขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมอื การโบกมอื การแสดง

ความรูส้ ึกชอบ/ไม่ชอบ การแสดงอาการตอบรับหรือปฏเิ สธ

2. ตอบคาถามเกี่ยวกบั เทศกาล/ • คาศพั ท์และขอ้ มลู เกย่ี วกับเทศกาล/วนั สาคัญ/งานฉลอง

วันสาคญั /งานฉลองและชีวติ ความเปน็ อยู่ และชีวติ ความเปน็ อยู่ของเจ้าของภาษา เช่น วนั คริสตม์ าส

งา่ ย ๆ ของเจ้าของภาษา วันปใี หม่ เครื่องแตง่ กาย ฤดูกาล อาหาร เคร่ืองดืม่

3. เขา้ รว่ มกิจกรรมทางภาษาและ • กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเลน่ เกม

วัฒนธรรมทเ่ี หมาะกบั วัย การร้องเพลง การเลา่ นิทานประกอบท่าทางบทบาทสมมตุ ิ

วนั คริสต์มาส วนั ขนึ้ ปใี หม่ วันวาเลนไทน์

สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม

มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษากบั

ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้ได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

ชัน้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4 1. บอกความแตกต่างของเสียงตวั อกั ษร • ความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา และประโยค

คา กลุม่ คา ประโยค และข้อความของ ของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย

ภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย

2. บอกความเหมือน/แตกตา่ งระหวา่ ง • ความเหมือน/แตกตา่ งระหว่างเทศกาลและงานฉลองตาม

เทศกาลและงานฉลองตามวฒั นธรรมของ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย

เจา้ ของภาษากบั ของไทย

สาระที่ 3 ภาษากบั ความสมั พนั ธก์ ับกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่อื มโยงความรกู้ ับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเปน็ พน้ื ฐาน

ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน

ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.4 1. ค้นคว้า รวบรวมคาศัพท์ทเี่ ก่ยี วข้องกบั • การค้นควา้ การรวบรวม และการนาเสนอคาศัพท์ที่

กล่มุ สาระการเรยี นรูอ้ ื่นและนาเสนอดว้ ย เกย่ี วขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ื่น

การพูด/การเขยี น

สาระท่ี 4 ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ท้ังในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. ฟงั และพูด/อ่านในสถานการณ์ที่ • การใชภ้ าษาในการฟงั และพูด/อ่านในสถานการณ์ทเ่ี กิดข้ึน
ในห้องเรยี นและสถานศึกษา
เกดิ ข้นึ ในห้องเรยี นและสถานศกึ ษา

สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พันธ์กบั ชุมชนและโลก

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพนื้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ

และการแลกเปลย่ี นเรียนรู้กบั สงั คมโลก

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.4 1. ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสบื ค้นและ • การใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ และการรวบรวม

รวบรวมขอ้ มูลตา่ ง ๆ คาศัพท์ทเ่ี กย่ี วข้องใกลต้ วั จากสือ่ และแหลง่ การเรียนร้ตู า่ ง ๆ


Click to View FlipBook Version