The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โดย นายพิริยพงศ์ ธัมมาพีชยา
รหัสนิสิต 63204386
นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วิทยาลัยการศึกษา
มหาวิทยาลัยพะเยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yomatang, 2022-04-11 10:05:44

รายงานปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษาในหน่วยงานทางการศึกษา

โดย นายพิริยพงศ์ ธัมมาพีชยา
รหัสนิสิต 63204386
นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
วิทยาลัยการศึกษา
มหาวิทยาลัยพะเยา

1



คำนำ

ตามประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพ่ือการประกอบ
อาชีพ พ.ศ. 2557 โดยในการรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตร พิจารณาจากมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่
มาตรฐานหลักสตู ร มาตรฐานการผลิตและมาตรฐานบณั ฑติ

วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ได้เปิดหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา และหลกั สตู รปรัชญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เพือ่ ให้การดาเนินการเป็นไปตาม
ประกาศคุรุสภาดังกล่าว ในด้านมาตรฐานหลักสตู ร ได้กาหนดโครงสร้างหลักสูตรวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ าหนด ดา้ นมาตรฐานความรู้และปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชีพบรหิ ารการศึกษา ไดก้ าหนดสาระสาคัญ
สาหรับผู้บริหารการศกึ ษาออกเป็น 3 หน่วย ดังนี้ หน่วยที่ 1 คุณลกั ษณะของผู้บริหารการศึกษาที่พึงประสงค์
หน่วยที่ 2 ภาวะผูน้ าทางวิชาการ และหน่วยที่ 3 การบรหิ ารเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยสถาบนั ไดก้ าหนดการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 3 หน่วยกิต (90 ชั่วโมง) โดยฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาที่
เปน็ ไปตามเกณฑค์ ุรุสภา

บัดน้ี ข้าพเจ้า นายพิริยพงศ์ ธัมมาพีชยา นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
การศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษาในหน่วยงาน
ทางการศึกษาเสร็จส้ินแล้ว โดยในรายงานฉบับนี้ ได้นาเสนอประเด็นต่าง ตามประเด็นการจัดทารูปเล่ม
รายงานที่ได้ชี้แจงไว้ในคู่มือปฏิบัติวิชาชีพการบริหารการศึกษาในสถานศึกษา ดังนี้ คือ 1. ประวัตินิสิต 2.
บันทึกการนัดหมายกับอาจารย์นิเทศและผู้บริหารพี่เล้ียง 3. แบบบันทึกปฏิบัติงานประจาวัน 4. แบบบันทึก
การปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษาในสถานศึกษาทุกหน่วยการเรยี นรู้ 5. การแลกเปล่ียนเรียนรู้จาก
การนาเสนอ และจัดนิทรรศการ การปฏิบัติการวิชาชีพการบริหารการศึกษาในหน่วยงานทางการศึกษา 6.
แบบลงเวลาปฏบิ ัตงิ าน 7. ภาพกจิ กรรมที่นิสติ มสี ่วนรว่ ม

ขา้ พเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบบั นี้จะเป็นหลักฐานในปฏิบัตกิ ารวิชาชีพการบรหิ ารการศึกษา
ในสถานศกึ ษาของขา้ พเจ้าอยา่ งครบถว้ น สมบรู ณ์ ตรงตามประเด็นทคี่ มู่ อื ได้ชแี้ จงไว้

พิริยพงศ์ ธัมมาพีชยา



สำรบญั

หน้ำ
คำนำ................................................................................................................................................................. ก
สำรบัญ............................................................................................................................................................. ข
ขอ้ มลู ท่ัวไปของหน่วยฝกึ ประสบกำรณ์วิชำชีพบรหิ ำรกำรศึกษำ .................................................................. 1

วิสัยทศั น์ พันธกจิ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ นโยบาย ของ สพม.ลาปาง ลาพนู .............................................. 14
การบรหิ ารองค์กร ..................................................................................................................................... 23
ขอ้ มูลผ้บู ริหาร สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน.................................................... 24
โครงสรา้ งการบริหารสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาลาปาง ลาพูน........................................... 25
รำยงำนกำรฝกึ ปฏบิ ัตกิ ำรวิชำชพี กำรบรหิ ำรกำรศึกษำ ............................................................................... 26
กลมุ่ อานวยการ......................................................................................................................................... 26
กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ................................................................................. 27
กลมุ่ บริหารงานการเงินและสนิ ทรพั ย์........................................................................................................ 30
กลุ่มสง่ เสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ...................................................... 33
กลมุ่ บริหารงานบคุ คล ............................................................................................................................... 33
กลุ่มนโยบายและแผน ............................................................................................................................... 37
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา.................................................................................................................... 43
หนว่ ยตรวจสอบภายใน ............................................................................................................................. 51
กลมุ่ กฎหมายและคดี ................................................................................................................................ 54
กลุม่ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา................................................................................................. 58
ภำคผนวก....................................................................................................................................................... 62
คาอธบิ ายรายวิชา ..................................................................................................................................... 63
คาส่งั มหาวิทยาลัยพะเยา เร่ือง ขอความอนุเคราะห์รบั นสิ ติ เข้าฝกึ ปฏิบตั ิการวิชาชีพบริหารการศึกษาใน
หนว่ ยงานทางการศึกษา............................................................................................................................ 65
ปฏทิ ินการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ ........................................................................................................... 67
รปู ภาพประกอบการฝึกปฏิบตั ิการวชิ าชีพ................................................................................................. 68
ประวตั ินสิ ิต วิทยาลยั การศกึ ษา มหาวิทยาลยั พะเยา................................................................................ 78

1

ขอ้ มูลท่วั ไปของหน่วยฝึกประสบกำรณว์ ชิ ำชพี บรหิ ำรกำรศึกษำ

สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศึกษำมัธยมศึกษำลำปำง ลำพนู

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน ต้ังอยู่เลขท่ี 409/1 ถนนพระเจา้ ทันใจ ตาบล
ตน้ ธงชัย อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ 52000 โทรศัพท์ (054) 010790 โทรสาร (054) 010791
Website : www. http://www.sesalpglpn.go.th โดยมีนายประสทิ ธิ์ อินวรรณา ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการ

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน มีรองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 3 คน
คอื นางนภาพร แสงนิล นายจริ ฐั พงศ์ สมุ นะ และนางสาววิไลวรรณ ยะสนิ ธ์

มีหน้าที่ กากับดูแล โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ใน
พื้นที่จังหวัดลาปาง และจังหวัดลาพูน จานวนโรงเรียนในสังกัดมีจานวนทั้งส้ิน 45 โรงเรียน ประกอบด้วย
จงั หวัดลาปาง 30 โรงเรียน และจังหวัดลาพนู 15 โรงเรยี น

จานวนโรงเรยี นในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน สามารถแยกเปน็ ราย
จังหวัด และรายอาเภอ ดงั น้ี

ตำรำงที่ 1 แสดงจานวนสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
ปกี ารศึกษา 2564 (ข้อมลู 25 มิถุนายน 2564)

จงั หวัด อำเภอ จำนวนโรงเรียน
4
เมืองลำพูน 2
1
แม่ทำ 2
1
ทงุ่ หัวช้ำง 3
2
ลำปำง ลำ ูพน บำ้ นโฮ่ง 15
7
บำ้ นธิ 2
2
ปำ่ ซำง 4
1
ล้ี 1
2
รวม จ.ลำพูน 3
1
เมืองลำปำง 2
1
เกำะคำ 1
3
เถนิ 30
45
เมืองปำน

เสริมงำม

แจห้ ม่

แม่เมำะ

แม่ทะ

แม่พริก

งำว

วังเหนอื

สบปรำบ

หำ้ งฉัตร

รวม จ.ลำปำง

รวม สพม.ลำปำง ลำพูน

2

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน ได้กาหนดสหวิทยาเขตในสังกัดเพื่อส่งเสริม
สนับสนุนให้การบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวม

ท้ังสิ้นจานวน 7 สหวทิ ยาเขต ประกอบดว้ ย สหวิทยาเขตในจังหวดั ลาพนู จานวน 3 สหวิทยาเขต และ สหวิทยา
เขตในจงั หวดั ลาปาง จานวน 4 สหวทิ ยาเขต ดงั น้ี

สหวทิ ยำเขตในจงั หวัดลำปำง สหวิทยำเขตในจังหวัดลำพนู
จำนวน 4 สหวทิ ยำเขต จำนวน 3 สหวิทยำเขต

1. สหวทิ ยาเขตบุญวาทย์ ประกอบด้วย 1. สหวิทยาเขตหรภิ ุญชัย ประกอบด้วย
1) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลยั 1) โรงเรียนจักรคาคณาทร จังหวัดลาพูน
2) โรงเรยี นเสด็จวนชยางคก์ ูลวทิ ยา 2) โรงเรยี นอโุ มงค์วิทยาคม
3) โรงเรยี นแม่เมาะวทิ ยา 3) โรงเรยี นป่าตาลบา้ นธพิ ิทยา
4) โรงเรยี นกว่ิ ลมวิทยา 4) โรงเรียนแม่ทาวิทยาคม
5) โรงเรยี นสบจางวทิ ยา 5) โรงเรยี นทาขมุ เงินวทิ ยาคาร
6) โรงเรยี นประชารัฐธรรมคุณ
7) โรงเรียนเมอื งมายวทิ ยา 2. สหวิทยาเขตจามเทวี ประกอบดว้ ย
8) โรงเรียนประชาราชวิทยา 1) โรงเรยี นป่าซาง
2) โรงเรียนวชิรปา่ ซาง
2. สหวิทยาเขตกัลยา ประกอบดว้ ย 3) โรงเรยี นน้าดิบวทิ ยาคม
1) โรงเรียนลาปางกัลยาณี 4) โรงเรยี นส่วนบญุ โญปถมั ภ์ ลาพูน
2) โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการเขลางค์ 5) โรงเรียนบา้ นแปน้ พิทยาคม

นคร 3. สหวิทยาเขตศรีวชิ ยั ประกอบด้วย
3) โรงเรียนโปง่ หลวงวิทยา รัชมงั คลาภิเษก 1) โรงเรียนเวยี งเจดียว์ ิทยา
4) โรงเรียนหา้ งฉัตรวิทยา 2) โรงเรยี นแมต่ ืนวิทยา
5) โรงเรียนเวยี งตาลพิทยาคม 3) โรงเรยี นทงุ่ หัวชา้ งพิทยาคม
6) โรงเรยี นแม่สนั วทิ ยา 4) โรงเรยี นธรี กานท์บา้ นโฮ่ง
5) โรงเรยี นบา้ นโฮง่ รตั นวทิ ยา
3. สหวิทยาเขตเถนิ บรุ ินทร์ ประกอบดว้ ย
1) โรงเรียนแมท่ ะวิทยา
2) โรงเรียนแม่ทะประชาสามัคคี
3) โรงเรียนแม่ทะพฒั นศกึ ษา
4) โรงเรยี นไหล่หินวิทยา
5) โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม
6) โรงเรยี นเสริมงามวทิ ยาคม
7) โรงเรยี นสบปราบพิทยาคม
8) โรงเรียนเถนิ วิทยา
9) โรงเรยี นเวยี งมอกวิทยา
10) โรงเรียนแมพ่ รกิ วิทยา

4. สหวิทยาเขตพญาวงั ประกอบดว้ ย
1) โรงเรียนแจห้ ่มวทิ ยา
2) โรงเรยี นวังเหนอื วทิ ยา
3) โรงเรียนเมืองปานพฒั นวิทย์
4) โรงเรียนเมืองปานวทิ ยา
5) โรงเรียนทุ่งอุดมวิทยา
6) โรงเรียนท่งุ กว๋าววทิ ยาคม

3

ข้อมลู บุคลำกรของสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำมธั ยมศกึ ษำลำปำง ลำพูน
บุคลากรของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน มีจานวนท้ังสิ้น 67 คน
ประกอบด้วย บคุ ลากรตาแหนง่ ต่าง ดงั แสดงในตารางดงั นี้

ตำรำงท่ี 2 แสดงจานวนบุคลากรของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
ปกี ารศกึ ษา 2564 (ขอ้ มูล 25 มิถุนายน 2564)

ตำแหน่ง/กลมุ่ ผบู้ ริหำร บคุ ลำกร บคุ ลำกร พนกั งำน ลกู จำ้ ง ลกู จำ้ ง รวม ชำย เพศ รวม
38(1) 38(2) รำชกำร ประจำ ช่ัวครำว (คน) หญงิ

ผูอ้ ำนวยกำรเขตสำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำ 1 11 1

รองผอู้ ำนวยกำรสำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำ 3 3213

กลุม่ อำนวยกำร 4 1 7 12 7 5 12

กลุ่มนโยบำยและแผน 5 5 55

กลมุ่ ส่งเสริมกำรศกึ ษำทำงไกล 3 3213
เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสอ่ื สำร

กลุ่มบริหำรงำนกำรเงนิ และสนิ ทรัพย์ 6 28088

กลมุ่ บริหำรงำนบุคคล 72 9549

กลมุ่ พฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 1 12 22

กลุ่มนิเทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจัดกำรศกึ ษำ 12 1 13 5 8 13

กลุ่มสง่ เสริมกำรจัดกำรศกึ ษำ 61 7257

กลุ่มกฎหมำยและคดี 2 22 2

หน่วยตรวจสอบภำยใน 2 2 22

รวมทง้ั สนิ้ 4 12 37 3 1 10 67 26 41 67

4

ข้อมลู โรงเรียนในสงั กดั สำนักงำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำลำปำง ลำพนู

ตำรำงท่ี 3 แสดงขอ้ มูลพ้ืนฐานโรงเรียนในสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาลาปาง ลาพนู
ปกี ารศกึ ษา 2564 (ข้อมูล 25 มิถุนายน 2564)

จำนวนนกั เรียน จำนวนหอ้ งเรยี น

ที่ รหสั รร. สหวทิ ยำเขต ช่ือสถำนศึกษำ เบอรโ์ ทร เบอร์ Fax จำนวนครู ม.ต้น ม.ปลำย ปวช นร.ทง้ั สิ้น หอ้ ง หอ้ ง หอ้ ง หอ้ งเรยี น

DMC 1* บุญวำทย์วิทยำลัย 0-5422-7603 ตำมจ.18 รวม รวม รวม รวม ม.ต้น ม.ปลำย ปวช รวม
1 เสดจ็ วนชยำงคก์ ลู วิทยำ 0-5401-9784
1 52012006 1 กว่ิ ลมวิทยำ 0-5482-5600 0-5422-2122 209 2,073 1,933 0 4,006 48 48 0 96
2 52012011 1 เมอื งมำยวทิ ยำ 0-5482-5186 0-5401-9783 30 253 142 0 395 9 60 15
3 52012002 1 แมเ่ มำะวทิ ยำ 0-5426-6031 0-5482-5600 13 104 27 0 131 3 40 7
4 52012004 1 สบจำงวทิ ยำ 095-2172988 0-5482-5186 13 67 59 0 126 3 60 9
5 52012007 1 ประชำรำชวิทยำ 0-5436-5033 0-5433-0692 47 612 249 0 861 21 9 0 30
6 52012009 1 ประชำรัฐธรรมคณุ 0-5426-1152 129 3 30 6
7 52012012 2* ลำปำงกัลยำณี 0-5422-7654 - 13 84 45 0 194 3 60 9
8 52012013 2 เตรียมอุดมศกึ ษำพฒั นำกำรเขลำงคน์ คร 0-5423-0475 0-5436-5033 13 87 107 0 820 9 21 0 30
9 52012008 2 โป่งหลวงวทิ ยำ รัชมงั คลำภิเษก 0-5482-3790 0-5426-1152 51 286 534 0 3,427 42 39 0 81
10 52012010 2 ห้ำงฉัตรวทิ ยำ 0-5426-9284 0-5422-4389 173 1,749 1,678 0 911 22 19 0 41
11 52012003 2 แมส่ นั วิทยำ 0-5434-3440 0-5423-0603 57 522 389 0 124 3 60 9
12 52012014 2 เวียงตำลพทิ ยำคม 0-5433-9002 0-5482-3790 13 71 53 0 502 9 80 17
13 52012015 3* เสริมงำมวทิ ยำคม 0-5428-6123 0-5426-9494 28 290 212 0 203 6 60 12
14 52012016 3 แมท่ ะวทิ ยำ 0-5428-9133 0-5434-3440 17 122 81 0 61 3 20 5
15 52022004 3 สบปรำบพทิ ยำคม 0-5429-6161 0-5433-9031 13 30 31 0 853 14 13 0 27
16 52022001 3 เกำะคำวทิ ยำคม 0-5428-1382 0-5428-6333 55 466 387 0 204 6 70 13
17 52022002 3 แมพ่ ริกวทิ ยำ 0-5429-9270 0-5428-9133 15 127 77 0 776 16 12 0 28
18 52022003 3 แมท่ ะประชำสำมคั คี 0-5482-8121 0-5429-6263 47 442 334 0 122 3 30 6
19 52022005 3 ไหล่หินวิทยำ 0-5427-4067 0-5428-1341 13 85 37 0 243 6 90 15
20 52022006 3 เวียงมอกวทิ ยำ 0-5424-1506 0-5429-9271 16 114 129 0 82 5 60 11
21 52022007 3 แมท่ ะพฒั นศกึ ษำ 0-5429-0318 0-5482-8121 14 51 31 0 120 3 60 9
22 52022008 3 เถินวิทยำ 0-5429-1624 0-5427-4068 13 73 47 0 339 6 60 12
23 52022009 4* วังเหนือวทิ ยำ 0-5427-9074 0-5424-1506 26 199 140 0 150 6 60 12
24 52022010 4 แจ้ห่มวิทยำ 0-5427-1399 0-5429-0318 13 78 72 0 1,257 21 18 0 39
25 52032002 4 เมอื งปำนวทิ ยำ 0-5427-6045 0-5433-3334 70 717 540 0 1,219 18 19 0 37
26 52032006 4 ทุ่งกว๋ำววิทยำคม 0-5482-3117 0-5433-2257 68 634 585 0 1,072 18 19 0 37
27 52032001 4 เมอื งปำนพฒั นวทิ ย์ 097-9746497 0-5427-1397 62 616 456 0 272 6 60 12
28 52032003 4 ทุ่งอดุ มวิทยำ 0-5436-4096 0-5427-6045 17 154 118 0 182 6 60 12
29 52032004 5* จักรคำคณำทร จังหวัดลำพนู 0-5353-5746 0-5482-3118 19 97 85 0 197 4 60 10
30 52032005 5 แมท่ ำวทิ ยำคม 0-5397-6296 157 3 30 6
31 51012003 5 ป่ำตำลบ้ำนธพิ ทิ ยำ 0-5350-1667 - 13 92 105 0 3,172 43 42 0 85
32 51012004 5 ทำขุมเงนิ วทิ ยำคำร 0-5357-4679 0-5436-4096 13 67 90 0 305 9 90 18
33 51012006 5 อโุ มงคว์ ิทยำคม 088-2633316 0-5353-5747 163 1,622 1,550 0 297 6 30 9
34 51012008 6* สว่ นบุญโญปถัมภ์ ลำพนู 0-5353-5303 0-5397-6701 24 184 121 0 350 6 60 12
35 51012009 6 ป่ำซำง 0-5352-1044 0-5350-1960 17 190 107 0 153 6 60 12
36 51012007 6 บ้ำนแป้นพทิ ยำคม 0-5357-3222 0-5357-4823 21 205 145 0 3,146 42 43 0 85
37 51012005 6 น้ำดบิ วิทยำคม 0-5350-8546 0-5355-9304 14 92 61 0 433 8 60 14
38 51012001 6 วชิรป่ำซำง 0-5355-5373 0-5351-1060 169 1,575 1,571 0 323 6 60 12
39 51012010 7* ธรี กำนท์บ้ำนโฮ่ง 0-5398-0510 0-5352-0595 30 258 175 0 329 7 60 13
40 51012011 7 เวยี งเจดยี ์วทิ ยำ 0-5397-9822 0-5357-7087 19 199 124 0 368 7 60 13
41 51022001 7 บ้ำนโฮ่งรัตนวทิ ยำ 0-5357-8798 0-5350-8785 24 178 151 0 939 16 17 0 33
42 51022006 7 ทุ่งหัวช้ำงพทิ ยำคม 0-5397-5144 0-5355-5372 26 207 161 0 1,626 23 23 3 49
43 51022002 7 แมต่ นื วทิ ยำ 0-5350-9398 0-5398-0510 ต่อ103 55 547 392 0 131 3 30 6
44 51022003 0-5397-9234 88 819 780 27 466 9 90 18
45 51022004 รวมจงั หวัดลำปำง 0-5357-8799 13 68 63 0 265 6 60 12
รวมจงั หวัดลำพูน 0-5397-5144 29 248 218 0 19,135 325 328 0 653
รวม สพม.ลำปำง ลำพนู 0-5350-9398 20 147 118 0 12,303 197 191 3 391
31,438 522 519 3 1,044
1,164 10,362 8,773 0
712 6,539 5,737 27
1,876 16,901 14,510 27

หมำยเหตุ *ประธำนสหวิทยำเขต ประกอบดว้ ย
1.สหวิทยำเขตบญุ วำทย์ 2. สหวิทยำเขตกลั ยำ 3. สหวิทยำเขตเถนิ บรุ ินทร์ 4. สหวิทยำเขตพญำวัง 5. สหวิทยำเขตหริภุญชัย 6.สหวิทยำเขตจำมเทวี 7.สหวิทยำเขตศรีวิชัย

5

ตำรำงที่ 4 แสดงจานวนสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน
ปกี ารศึกษา 2564 (ข้อมลู 25 มถิ นุ ายน 2564) ขนาดโรงเรยี นใชเ้ กณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด

เลก็ ขนำดโรงเรียน ลำพูน ลำปำง รวม
กลำง นักเรียน น้อยกว่ำ 119 คน 0 22
ใหญ่ นักเรียน 120 - 719 คน 11 18 29
ใหญ่พเิ ศษ นักเรียน 720 - 1,679 คน 2 8 10
นักเรียน ตง้ั แต่ 1,680 คน ข้ึนไป 2 24
15 30 45
รวม สพม.ลำปำง ลำพนู

ตำรำงที่ 5 สรุปขอ้ มูลพน้ื ฐานภาพรวมของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาลาปาง
ลาพนู ปีการศึกษา 2564

จังหวดั อำเภอ จำนวน จำนวนนักเรียน รวม ห้องเรียน ครู *
โรงเรียน ม.ตน้ ม.ปลำย ปวช. 6,794
1.เมอื งลำพนู 3,488 655 194 365
2.แมท่ ำ 4 389 3,306 - 1,070 30 45
3.บ้ำนโฮ่ง 2 615 1,891 39 68
3.ล้ี 2 966 266 - 466 61 108
4.ทุ่งหัวช้ำง 2 248 1,130 18 29
5.ป่ำซำง 1 643 455 - 297 40 80
6.บ้ำนธิ 3 190 12,303 9 17
ลำปำง ลำ ูพน 1 6,539 898 27 9,120 391 712
รวม จ.ลำพูน 15 4,839 990 258 508
1.เมอื งลำปำง 7 696 218 - 242 36 60
2.แมเ่ มำะ 2 158 853 15 26
3.เกำะคำ 2 466 487 - 1,014 27 55
4.เสริมงำม 1 373 1,072 39 64
5.งำว 2 616 107 - 1,219 37 62
6.แจ้ห่ม 1 634 1,596 37 68
7.วังเหนือ 1 916 5,737 27 243 51 96
8.เถิน 2 114 436 15 16
9.แมพ่ ริก 1 256 4,281 - 776 36 42
10.แมท่ ะ 3 442 766 28 47
11.สบปรำบ 1 442 294 - 808 34 58
12.ห้ำงฉัตร 3 410 19,135 40 62
13.เมอื งปำน 4 10,362 84 - 31,438 653 1,164
30 16,901 1,044 1,876
รวม จ.ลำปำง 45 387 -
รวม สพม.ลำปำง ลำพูน
641 -

456 -

585 -

680 -

129 -

180 -

334 -

324 -

398 -

8,773 -

14,510 27

หมายเหตุ * จานวนครตู าม จ.18 (ผู้บริหารโรงเรยี น+ครูผู้สอน)

6

ตำรำงท่ี 6 แสดงจานวน และร้อยละของนักเรียนรายชั้น เพศ ห้องเรียน และจานวนนักเรียนต่อห้องเรียน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน ปีการศึกษา 2564 จาแนกราย
จังหวดั และ ภาพรวมระดบั เขตพื้นท่ี

จงั หวัดลำพูน จงั หวัดลำปำง

จำนวนนักเรียน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อัตรำส่วน จำนวนนักเรียน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อัตรำสว่ น
จำนวน ห้องเรียน
ช้ัน จำนวน จำนวน จำนวน ห้องเรียน จำนวน จำนวน

มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ ชำย หญิง รวม นักเรียน (ห้อง) ห้องเรียน นร. : ห้อง ชำย หญิง รวม นักเรียน (ห้อง) ห้องเรียน นร. : ห้อง
ม.1 3,113 3,426 6,539 53.15 197 50.38 33 4,862 5,500 10,362 54.15 325 49.77 32
ม.2 1,029 1,147 2,176 17.69 66 16.88 33 1,604 1,736 3,340 17.45 107 16.39 31
ม.3 1,038 1,150 2,188 17.78 66 16.88 33 1,592 1,915 3,507 18.33 108 16.54 32
1,046 1,129 2,175 17.68 65 16.62 33 1,666 1,849 3,515 18.37 110 16.85 32
มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 2,268 3,469 5,737 46.63 191 48.85 30 3,300 5,473 8,773 45.85 328 50.23 27
ม.4 1,257 2,089 16.98 65 16.62 32 1,135 1,840 2,975 15.55 109 16.69 27
ม.5 832 1,119 1,862 15.13 63 16.11 30 1,145 1,873 3,018 15.77 111 17.00 27
ม.6 743 1,093 1,786 14.52 63 16.11 28 1,020 1,760 2,780 14.53 108 16.54 26
693 26 3 0.77 9 0 0.00 0 0.00 0.00
ประกำศนียบัตรวชิ ำชีพ 6 27 0.22 1 0.26 6 0 0 0 0.00 0 0.00 0.00
ปวช.1 1 13 6 0.05 1 0.26 13 0 0 0 0.00 0 0.00 0.00
ปวช.2 0 7 13 0.11 1 0.26 8 0 0 0 0.00 0 0.00 0.00
ปวช.3 0 6,921 8 0.07 391 100.00 31 0 10,973 0 653 100.00 29
1 12,303 100.00 8,162
รวมทง้ั สนิ้ 5,382 19,135 100.00

รวม สพม.ลำปำง ลำพูน
จำนวนนักเรียน
ร้อยละ จำนวน ร้อยละ อตั รำสว่ น

ชั้น ชำย หญิง รวม จำนวน ห้องเรียน จำนวน จำนวน
7,975 8,926 นักเรียน (ห้อง)
มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ 2,633 2,883 ห้องเรียน นร. : ห้อง
ม.1 2,630 3,065 16,901 53.76 522 50.00 32
ม.2 2,712 2,978 5,516 17.55 173 16.57 32
ม.3 5,568 8,942 5,695 18.12 174 16.67 33
1,967 3,097 5,690 18.10 175 16.76 33
มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย 1,888 2,992 14,510 46.15 519 49.71 28
ม.4 1,713 2,853 5,064 16.11 174 16.67 29
ม.5 26 4,880 15.52 174 16.67 28
ม.6 1 6 4,566 14.52 171 16.38 27
0 13 0.29 9
ประกำศนียบัตรวชิ ำชีพ 0 7 27 0.09 3 0.10 6
ปวช.1 1 6 0.02 1 0.10 13
ปวช.2 13 0.04 1 0.10 8
ปวช.3 8 0.03 1 100.00 30

รวมทงั้ สน้ิ 13,544 17,894 31,438 100.00 1,044

จากตารางท่ี 6 ปีการศึกษา 2564 จานวนนักเรียนในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา
ลาปาง ลาพูน รวมท้ังสนิ้ 31,438 คน ระดับช้ันที่มีนักเรียนมากที่สดุ คอื ระดับชั้น ม.2 จานวน 5,695 คน คิด

เป็นร้อยละ 18.12 รองลงมาคือ ระดับช้ัน ม.3 จานวน 5,690 คน คิดเป็นร้อยละ 18.10 และ น้อยที่สุดคือ
ระดับ ปวช.1 จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.02 จานวนห้องเรียนรวมทั้งหมด 1,044 ห้อง มากที่สุดใน
ระดับชั้น ม.3 จานวน 175 ห้อง อัตราส่วนนักเรียนตอ่ ห้องมากท่ีสุดในระดับชน้ั ม.2 และ ม.3 จานวน 33 คน

ต่อห้อง และน้อยท่ีสุดในระดับช้ัน ปวช.1 จานวน 6 คนต่อห้อง อัตราส่วนเฉล่ียของทุกระดับช้ัน จานวน 30
คนตอ่ หอ้ ง

7

ตำรำงท่ี 7 แสดงจานวนโรงเรียน จานวนนกั เรียน จานวนครู จานวนห้องเรียน อัตราส่วนนกั เรยี นต่อหอ้ ง
อัตราส่วนนักเรียนต่อครู ตามขนาดของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
ลาปาง ลาพูน ปีการศึกษา 2564 รายจงั หวดั และภาพรวมระดับเขตพื้นท่ี (ขนาดโรงเรียนใชเ้ กณฑ์

ที่ ก.ค.ศ. กาหนด)

ขนำดโรงเรียน จำนวน รร. นักเรียน จงั หวัดลำพนู นร : ห้อง นร.: ครูผู้สอน
0 0 0
(นักเรียน น้อยกว่ำ 119 คน) เล็ก 11 ห้อง 0 14
(นักเรียน 120 - 719 คน) กลำง 2 3,420 0 25 18
(นักเรียน 720 - 1,679 คน) ใหญ่ 2 2,565 139 31 19
(นักเรียน ตงั้ แต่ 1,680 คน ข้ึนไป) ใหญ่พเิ ศษ 15 6,318 82 37 13
12,303 170
รวม/เฉลย่ี จำนวน รร. 391 23 นร.: ครูผสู้ อน
2 นักเรียน 5
ขนำดโรงเรียน 18 143 จงั หวัดลำปำง นร : ห้อง 13
8 3,790 17
(นักเรียน น้อยกวำ่ 119 คน) เล็ก 2 7,769 ห้อง 9 19
(นักเรียน 120 - 719 คน) กลำง 30 7,433 20 18
(นักเรียน 720 - 1,679 คน) ใหญ่ 19,135 16 29
(นักเรียน ตงั้ แต่ 1,680 คน ข้ึนไป) ใหญ่พเิ ศษ จำนวน รร. 191 42 นร.: ครูผูส้ อน
2 นักเรียน 269 5
รวม/เฉลยี่ 29 143 177 33 13
10 7,210 653 17
ขนำดโรงเรียน 4 10,334 19
45 13,751 รวม สพม.ลำปำง ลำพูน 14
(นักเรียน น้อยกว่ำ 119 คน) เล็ก 31,438
(นักเรียน 120 - 719 คน) กลำง ห้อง นร : ห้อง
(นักเรียน 720 - 1,679 คน) ใหญ่ 16 9
(นักเรียน ตงั้ แต่ 1,680 คน ขึ้นไป) ใหญ่พเิ ศษ 330 22
351 29
รวม/เฉลยี่ 347 40

1,044 30

ตำรำงที่ 8 แสดงจานวนนกั เรียนต่อประชากรวัยเรยี น จาแนกรายชนั้ สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษาลาปาง ลาพนู ปกี ารศึกษา 2564 รายจงั หวัด และภาพรวม ระดับเขตพน้ื ที่

จังหวดั ลำพนู จังหวดั ลำปำง

ระดบั ชั้น ประชำกร นักเรียนใน ร้อยละของ ประชำกร นักเรียนใน ร้อยละของ
อำยุ จำนวน สงั กัด(คน) นักเรียนตอ่ อำยุ จำนวน สังกดั (คน) นักเรียนตอ่
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 (ปี) (คน) ประชำกรวัยเรียน (ปี) (คน) ประชำกรวัยเรียน
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 2
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 3 12 3,680 2,176 59.13 12 6,859 3,340 48.70
รวมมัธยมศกึ ษำตอนตน้ 13 3,825 2,188 57.20 13 7,312 3,507 47.96
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 4 และ ปวช.1 14 3,787 2,175 57.43 14 7,673 3,515 45.81
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 5 และ ปวช.2 12-14 11,292 6,539 57.91 12-14 21,844 10,362 47.44
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 6 และ ปวช.3 15 4,443 2,095 47.15 15 8,809 2,975 33.77
รวมมัธยมศกึ ษำตอนปลำยหรือเทียบเท่ำ
16 5,179 1,875 36.20 16 10,230 3,018 29.50

17 5,385 1,794 33.31 17 10,749 2,780 25.86

15-17 15,007 5,764 38.41 15-17 29,788 8,773 29.45

8

ตำรำงท่ี 8 แสดงจานวนนักเรยี นตอ่ ประชากรวยั เรียน จาแนกรายช้นั สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
มธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพนู ปกี ารศึกษา 2564 รายจงั หวดั และภาพรวม ระดบั เขตพ้นื ท่ี (ตอ่ )

รวม สพม.ลำปำง ลำพนู

ระดบั ชัน้ ประชำกร นักเรียนใน ร้อยละของ
สงั กัด(คน) นักเรียนตอ่
มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 อำยุ จำนวน ประชำกรวัยเรียน
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 (ปี) (คน)
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 4 และ ปวช.1 12 10,539 5,516 52.34
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 5 และ ปวช.2 13 11,137 5,695 51.14
มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6 และ ปวช.3 14 11,460 5,690 49.65
15 13,252 5,070 38.26
รวมทงั้ สน้ิ 16 15,409 4,893 31.75
17 16,134 4,574 28.35

77,931 31,438 40.34

อา้ งอิง ขอ้ มลู สถิตปิ ระชากรแยกรายอายุ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ตำรำงท่ี 9 แสดงจานวนนักเรียนด้อยโอกาสของ โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
ลาปาง ลาพนู ปกี ารศึกษา 2564

ประเภทดอ้ ยโอกำส จังหวัดลำพนู จังหวดั ลำปำง รวม สพม.ลำปำง ลำพนู คดิ เปน็ ร้อยละ

จำนวนนักเรียนทง้ั หมด ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม 53.29
นักเรียนดอ้ ยโอกำสท้ังหมด 5,382 6,921 12,303 8,162 10,973 19,135 13,544 17,894 31,438
เดก็ ถูกบังคบั ให้ขำยแรงงำน 2,340 2,677 5,017 5,350 6,387 11,737 7,690 9,064 16,754 0.00
เดก็ ทอ่ี ยู่ในธุรกิจทำงเพศ 0.00
เดก็ ถูกทอดทง้ิ - - - - - - - - - 0.02
เดก็ ในสถำนพนิ ิจและคมุ้ ครองเยำวชน - - - - - - - - - 0.00
เดก็ เร่ร่อน - - - 2 1 3 2 1 3 0.00
ผลกระทบจำกเอดส์ - - - - - - - - - 0.01
ชนกลุ่มน้อย - - - - - - - - - 0.05
เดก็ ทถ่ี ูกทำร้ำยทำรุณ - - - 1 1 2 1 1 2 0.01
เดก็ ยำกจน 2 1 3 2 3 5 4 4 8 99.36
เดก็ ที่มปี ัญหำเก่ยี วกบั ยำเสพตดิ - - - - 2 2 - 2 2 0.00
อืน่ ๆ 2,326 2,670 4,996 5,309 6,342 11,651 7,635 9,012 16,647 0.00
กำพร้ำ - - - - - - - - - 0.08
ทำงำนรับผดิ ชอบตนเองและครอบครัว - - - - - - - - - 0.07
มคี วำมดอ้ ยโอกำสมำกกว่ำ 1 ประเภท 1 - 1 7 6 13 8 6 14 0.40
อำยุนอกเกณฑ์ - - - 4 8 12 4 8 12 0.00
11 6 17 25 24 49 36 30 66
- - - - - - - - -

จากตารางที่ 9 พบวา่ จานวนนกั เรียนในสังกัดทง้ั ส้นิ 31,438 คน มีนักเรยี นด้อยโอกาสท้ังสิน้ 16,754
คน คิดเปน็ ร้อยละ 53.29 ของจานวนนักเรียนท้ังหมด เป็นนักเรียนยากจนมากท่ีสุด จานวน 16,647 คน คิด

เปน็ ร้อยละ 99.36 ของนกั เรียนดอ้ ยโอกาสทงั้ หมด

9

ตำรำงที่ 10 แสดงจานวนนักเรียนพิการเรียนร่วม สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
ลาปาง ลาพนู ปกี ารศึกษา 2564 รายจังหวัด และภาพรวมระดบั เขตพื้นที่

ประเภทพกิ ำร จังหวัดลำพนู จังหวัดลำปำง รวม สพม.ลำปำง ลำพนู คดิ เปน็ ร้อยละ
ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม ชำย หญิง รวม
จำนวนนักเรียนทงั้ หมด 5,382 6,921 12,303 8,162 10,973 19,135 13,544 17,894 31,438 2.26
นักเรียนพกิ ำรเรียนร่วมท้งั หมด 162 60 222 364 126 490 526 186 712 1.69
ควำมพกิ ำรทำงกำรมองเห็น 12 3 5 49 6 6 12 0.56
ควำมพกิ ำรทำงกำรไดย้ ิน 01 1 1 23 1 34 5.34
ควำมพกิ ำรทำงสตปิ ัญญำ 8 5 13 16 9 25 24 14 38 3.79
ควำมพกิ ำรร่ำงกำยและสขุ ภำพ 42 6 13 8 21 17 10 27 83.71
ควำมพกิ ำรทำงกำรเรียนรู้ 144 49 193 304 99 403 448 148 596 0.00
ควำมพกิ ำรทำงกำรพดู และภำษำ 00 0 0 00 0 00 2.95
ควำมพกิ ำรทำงกำรพฤตกิ รรมและอำรมณ์ 40 4 15 2 17 19 2 21 1.40
ควำมพกิ ำรทำงกำรออทิสตกิ 10 1 8 19 9 1 10 0.56
ควำมพกิ ำรทำงกำรซ้ำซอ้ น 01 1 2 13 2 24 0.00
อนื่ ๆ 00 0 0 00 0 00

จากตารางที่ 10 พบว่า จานวนนักเรียนในสังกัดท้ังส้ิน 31,438 คน มีนักเรียนพิการเรียนร่วมทั้งส้ิน
712 คน คิดเป็นร้อยละ 2.26 ของจานวนนักเรียนทั้งหมด เป็นนักเรียนบกพร่องทางการเรียนรู้ มากที่สุด
จานวน 596 คน คิดเป็นร้อยละ 83.71 ของนกั เรียนพกิ ารเรียนรว่ มทงั้ หมด

10

ตำรำงท่ี 11 แสดงจานวนนักเรยี นท่ีจบการศกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ทศ่ี ึกษาตอ่ /ประกอบอาชพี จาแนก
ตามเพศ สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพนู ปกี ารศึกษา 2563
รายจังหวัด และภาพรวมระดับเขตพืน้ ท่ี

จำนวนนักเรียน (จ.ลำพูน) ร้อยละ จำนวนนักเรียน (จ.ลำปำง) ร้อยละ จำนวนนักเรียน (รวม สพม.ลำปำง ลำพูน) ร้อยละ

จำนวน จำนวน จำนวน

รำยกำร นักเรียน นักเรียน นักเรียน

นักเรียน ม.3 ตน้ ปกี ำรศกึ ษำ จบ จบ จบ
นักเรียน ม.3 จบกำรศกึ ษำ
1.ศกึ ษำตอ่ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ ชำย หญงิ รวม กำรศกึ ษำ
ศกึ ษำตอ่ ม.4 โรงเรียนเดมิ
ศกึ ษำตอ่ ม.4 โรงศกึ ษำอน่ื ในจังหวัดเดมิ 1,075 1,224 2,299 89.17 1,636 1,862 3,498 91.51 2,711 3,086 5,797 90.58
ศกึ ษำตอ่ ม.4 โรงศกึ ษำอนื่ ในตำ่ งจังหวัด 893 1,157 2,050 1,429 1,772 3,201 2,322 2,929 5,251
ศกึ ษำตอ่ ม.4 โรงศกึ ษำอน่ื ใน กทม.
สถำบนั อำชีวศกึ ษำของรัฐบำล 616 951 1,567 76.44 1,094 1,511 2,605 81.38 1,710 2,462 4,172 79.45
สถำบนั อำชีวศกึ ษำของเอกชน 394 7.50
ศกึ ษำตอ่ สถำบันอน่ื ๆ 151 137 288 14.05 28 78 106 3.31 179 215 64 1.22
2 0.04
รวม ศึกษำตอ่ 20 20 40 1.95 12 12 24 0.75 32 32 494 9.41
2.ไม่ศกึ ษำตอ่ 14 0.27
2.1 ประกอบอำชีพ 1 - 1 0.05 1 - 1 0.03 2 - 96 1.83
(1) ภำคอุตสำหกรรม 5,236 99.71
(2) ภำคกำรเกษตร 96 40 136 6.63 252 106 358 11.18 348 146
(3) กำรประมง
(4) คำ้ ขำย ธุรกิจ 1 3 4 0.20 1 9 10 0.31 2 12
(5) งำนบริกำร
(6) รับจ้ำงทว่ั ไป 7 2 9 0.44 33 54 87 2.72 40 56
(7) ทำงำนอน่ื ๆ
892 1,153 2,045 99.76 1,421 1,770 3,191 99.69 2,313 2,923
รวมประกอบอำชีพ
2.2 บวชในศำสนำ - - - - - - - 0.00 - - - 0.00
2.3 ไม่ประกอบอำชีพและไม่ศกึ ษำตอ่ 2 0.04
2.4 อน่ื ๆ - 2 2 0.10 - - - 0.00 - 2 - 0.00
- 0.00
รวมไม่ศึกษำตอ่ ทงั้ ส้ิน - - - - - - - 0.00 - - - 0.00
- 0.00
- - - - - - - 0.00 - - 9 0.17
11 0.21
- - - - - - - 0.00 - - 1 0.02
3 0.06
- - - - - - - 0.00 - - - 0.00
15 0.29
1 2 3 0.15 5 1 6 0.19 6 3

1 4 5 0.24 5 1 6 0.19 6 5

- - - 0.00 1 - 1 0.03 1 -

- - - 0.00 2 1 3 0.09 2 1

- - - 0.00 - - - 0.00 - -

1 4 5 0.24 8 2 10 0.31 9 6

จากตารางท่ี 11 พบว่า ในภาพรวมระดับเขตพ้นื ท่ี จานวนนกั เรียนจบการศึกษาชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3

คิดเป็นร้อยละ 90.58 ของจานวนนักเรียน ม.3 ต้นปีการศึกษา และ ศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 99.71 ของ
นักเรียนท่ีจบการศึกษา เรียนต่อม.4 โรงเรียนเดิมมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 79.45 รองลงมาเรียนต่อสถาบัน
อาชีวศกึ ษาของรัฐบาล คิดเปน็ ร้อยละ 9.41 และ นกั เรยี นทไี่ ม่ศกึ ษาต่อคิดเปน็ ร้อยละ 0.29 ของนักเรียนท่จี บ
การศกึ ษาทง้ั หมด

11

ตำรำงที่ 12 แสดงจานวนนักเรยี นท่จี บการศกึ ษาช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทีศ่ กึ ษาตอ่ /ประกอบอาชพี จาแนก
ตามเพศ สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพนู ปกี ารศกึ ษา 2563 ราย
จงั หวดั และภาพรวมระดับเขตพื้นที่

จำนวนนักเรียน (จ.ลำพูน) จำนวนนักเรียน (จ.ลำปำง) จำนวนนักเรียน (รวม สพม.ลำปำง ลำพูน)

ร้อยละจำนวน ร้อยละจำนวน ร้อยละจำนวน

รำยกำร นักเรียนจบ นักเรียนจบ นักเรียนจบ

นักเรียน ม.6 ตน้ ปีกำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ
นักเรียน ชน้ั ม.6 จบกำรศกึ ษำ
1.ศกึ ษำตอ่ ชำย หญงิ รวม ชำย หญงิ รวม ชำย หญงิ รวม
1.1 มหำวิทยำลัยของรัฐ
1.2 มหำวิทยำลัยเปิดของรัฐ 684 1,150 1,834 93.84 1,023 1,773 2,796 96.32 1,707 2,923 4,630 95.33
1.3 มหำวิทยำลยั ของเอกชน 625 1,096 1,721 948 1,745 2,693 1,573 2,841 4,414
1.4 สถำบันอำชีวศกึ ษำของรัฐบำล
1.5 สถำบันอำชีวศกึ ษำของเอกชน 375 778 1,153 67.00 701 1,430 2,131 79.13 1,076 2,208 3,284 74.40
1.6 สถำบันพยำบำล 17 11 28 1.63 33 70 103 3.82 50 81 131 2.97
1.7 สถำบนั ทหำร 17 9 26 1.51 41 42 83 3.08 58 51 109 2.47
1.8 สถำบนั ตำรวจ 25 23 48 2.79 126 65 191 7.09 151 88 239 5.41
1.9 สถำบันอนื่ ๆ 21 3 0.17 2 5 7 0.26 4 6 10 0.23
1 0.06 2 30 32 1.19 2 31 33 0.75
รวม ศึกษำตอ่ -1 - 2 0.07 2 - 2 0.05
2.ไม่ศกึ ษำตอ่ -- 1 -2- - 0.00 1 - 1 0.02
2.1 ประกอบอำชีพ 1- 423 0 -- 102 3.79 199 326 525 11.89
(1) รับรำชกำร 177 246 24.58 22 80 2,651 98.44 1,543 2,791 4,334 98.19
(2) ทำงำนรัฐวิสำหกิจ 614 1,069 1,683 97.79 929 1,722
(3) ภำคอุตสำหกรรม
(4) ภำคกำรเกษตร - - - - -- - 0.00 - - - 0.00
(5) กำรประมง 4 0.09
(6) คำ้ ขำย ธุรกจิ - - - - 4 - 4 0.15 4 - 11 0.25
(7) งำนบริกำร 4 0.09
(8) รับจ้ำงทวั่ ไป 12 3 0.17 2 6 8 0.30 3 8 - 0.00
3 0.07
รวมประกอบอำชีพ 1- 1 0.06 2 1 3 0.11 3 1 5 0.11
2.2 บวชในศำสนำ 49 1.11
2.3 ไม่ประกอบอำชีพและไม่ศกึ ษำตอ่ - - - - -- - 0.00 - - 76 1.72
2.4 อนื่ ๆ - 0.00
-2 2 0.12 - 1 1 0.04 - 3 4 0.09
รวมไม่ศึกษำตอ่ ทง้ั ส้ิน --
-3 3 0.17 1 1 2 0.07 1 4
80 1.81
9 19 28 1.63 8 13 21 0.78 17 32

11 26 37 2.15 17 22 39 1.45 28 48

- - - - -- - 0.00 - -

- 1 1 0 21 3 0.11 2 2

- - - - -- - -- -

11 27 38 2.21 19 23 42 1.56 30 50

จากตารางท่ี 12 พบว่า ในภาพรวมระดับเขตพนื้ ที่ จานวนนกั เรียนจบการศกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
คิดเป็นร้อยละ 95.33 ของจานวนนักเรียน ม.6 ต้นปีการศึกษา และ ศึกษาต่อ คิดเป็นร้อยละ 98.19 ของ
นักเรียนที่จบการศึกษา ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 74.40 รองลงมาเรียนต่อ
สถาบันอาชีวศึกษาของรัฐบาล คิดเป็นร้อยละ 5.41 และ นักเรียนที่ไม่ศึกษาต่อคิดเป็นร้อยละ 1.81 ของ
นักเรียนที่จบการศึกษาทง้ั หมด

12

ข้อมลู ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำสงั กัดสำนกั งำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำมธั ยมศึกษำลำปำง ลำพูน

ตำรำงที่ 13 แสดงจานวนข้าราชการครูในสถานศึกษาท่ีปฏิบัติงานอยู่จริง จาแนกตามวิทยฐานะ และวุฒิ
การศึกษา (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 25 มิถุนายน 2564)

จังหวัด/วิทยฐำนะ วุฒกิ ำรศกึ ษำ

ครู/ครูผู้ช่วย ต่ำกว่ำ ป.ตรี ปริญญำตรี ป.บัณฑิต ปริญญำโท ปริญญำเอก รวม
ชำนำญกำร 0
ชำนำญกำรพเิ ศษ 0 จังหวัดลำพนู 1 154
เช่ียวชำญ 0 1 244
124 30 287
รวมจงั หวัดลำพูน 2 4
98 145 689
ครู/ครูผูช้ ่วย 1
ชำนำญกำร 155 131 240
ชำนำญกำรพเิ ศษ 9 376
เช่ียวชำญ 4 514
10 5
รวมจงั หวัดลำปำง 377 0 310 1,135
1
ครู/ครูผู้ช่วย จังหวัดลำปำง 1 394
ชำนำญกำร 10 620
ชำนำญกำรพเิ ศษ 186 53 801
เชี่ยวชำญ 12 9
รวม สพม.ลำปำง ลำพนู 146 230 1,824

210 295

23

544 0 581

ระดบั เขตพนื้ ท่ี

310 83

244 375

365 426

27

921 0 891

หมายเหตุ ข้าราชการครู หมายถงึ ผู้บริหารโรงเรียนและครผู ู้สอน

13

ขอ้ มูลวิชำกำรสำนกั งำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำลำปำง ลำพูน

ตำรำงท่ี 14 เปรียบเทยี บค่าเฉล่ียร้อยละผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 สงั กัด สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน

ปกี ารศกึ ษา 2563 รายจงั หวดั และภาพรวมระดับเขตพืน้ ท่ี

กล่มุ สาระฯ ระดบั ช้ัน ระดบั ช้ัน

ภาษาไทย ม.3 ปีการศกึ ษา 2563 ม.6 ปกี ารศกึ ษา 2563
ภาษาอังกฤษ
คณติ ศาสตร์ สพม. สพฐ. ประเทศ ผลตา่ งเทยี บ สพม. สพฐ. ประเทศ ผลตา่ งเทยี บ
วทิ ยาศาสตร์ ระดับประเทศ ระดับประเทศ
สังคมศึกษา
59.88 55.18 54.29 +5.59 47.97 45.22 44.36 +3.61

38.28 34.14 34.38 +3.90 30.57 29.73 29.94 +0.63

30.27 30.27 25.46 +4.81 29.28 26.33 26.04 +3.24

32.64 30.17 29.89 +2.75 35.83 33.04 32.68 +3.15

ไมม่ กี ารทดสอบ 37.61 36.32 35.93 +1.68

ตำรำงที่ 15 เปรยี บเทยี บค่าเฉลย่ี รวม รอ้ ยละผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปี

ท่ี 3 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน
ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563

กลุ่มสาระฯ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
2562 2563 คา่ พฒั นา 2562 2563 ค่าพัฒนา
ภาษาไทย 60.05 59.88 -0.17 44.58 47.97 +3.39
ภาษาองั กฤษ 35.83 38.28 +2.45 30.18 30.57 +0.39
คณติ ศาสตร์ 31.46 30.27 -1.19 27.95 29.28 +1.33
วทิ ยาศาสตร์ 32.18 32.64 +0.46 31.30 35.83 +4.53
สงั คมศกึ ษา 37.45 37.61 +0.16
ไมม่ กี ารทดสอบ

ตำรำงท่ี 16 เปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ียรวม ร้อยละผลการทดสอบระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 และชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน

ปีการศกึ ษา 2560 – 2563

กลมุ่ สาระ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 2563
2560 2561 2562 2563 2560 2561 2562

ภาษาไทย 52.46 59.85 60.05 59.88 52.74 50.70 44.58 47.97

ภาษาองั กฤษ 32.07 30.82 35.83 38.28 29.62 32.68 30.18 30.57

คณิตศาสตร์ 31.19 35.02 31.46 30.27 27.17 33.78 27.95 29.28

วทิ ยาศาสตร์ 34.98 39.61 32.18 32.64 32.19 32.93 31.30 35.83

สงั คมศึกษา ไมม่ ีการทดสอบ 36.53 36.71 37.45 37.61

14

วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เปำ้ ประสงค์ กลยุทธ์ นโยบำย ของ สพม.ลำปำง ลำพนู

สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน ไดก้ าหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
กลยุทธ์ นโยบาย เพอื่ ใช้ในการขับเคล่อื น พฒั นาการศึกษา ดงั นี้

วสิ ยั ทัศน์
“องคก์ รคณุ ภาพ ขับเคล่อื นด้วยนวัตกรรม นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”

พันธกจิ
(1) ส่งเสริม สนับสนนุ พัฒนาศักยภาพนักเรยี นอยา่ งรอบด้านเพ่ือให้มคี วามรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะ

วิชาชพี ทกั ษะชีวติ ทศั นคตทิ ด่ี ีต่อชาติบ้านเมอื งและคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21
(2) ส่งเสริม สร้างโอกาส ใหน้ ักเรียนในระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานได้รับ การศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพ อยา่ ง

ท่ัวถงึ เสมอภาคและเท่าเทียม
(3) สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ยดึ หลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง
(4) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มืออาชีพ
(5) ส่งเสรมิ พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การของสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและโรงเรยี น แบบบูรณาการ

ตามหลกั ธรรมาภิบาล

เปำ้ ประสงค์
(1) นักเรียน มีความรู้ ทักษะวิชาการ ทักษะวิชาชพี ทักษะชีวิตและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21 เป็น

บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ คิดริเริ่มสรา้ งสรรค์นวัตกรรมและปรับตัวตอ่ การเปน็ พลเมืองที่ดี
(2) นกั เรียนท่ีมีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่อยู่ในพน้ื ท่ีสูงใน

ถน่ิ ทุรกนั ดารได้รบั การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ อย่างท่วั ถงึ เสมอภาคและเท่าเทียม
(3) ครมู ีความเชย่ี วชาญตามสมรรถนะ และมีจรรยาบรรณในวชิ าชีพ พัฒนาตนเองให้มีความรทู้ ันสมัย

และทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความแม่นยาทางวิชาการ และมีทักษะ การจัดการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองนักเรียนเป็นรายบุคคล เป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม
และมที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้

(4) บุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้เรียนรู้ มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง
สร้างสรรคน์ วัตกรรม และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี

(5) ผู้บริหารสถานศึกษามีความเป็นเลิศส่วนบุคคล คิดเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรม มีภาวะผู้นาทาง
วชิ าการ มสี านกึ ความรับผดิ ชอบ และการบรหิ ารแบบรว่ มมือ

15

(6) โรงเรียนจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

(7) โรงเรยี นบรหิ ารงานและจัดการเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใต้ความร่วมมอื ของทุกภาคสว่ น
มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สภาพแวดลอ้ มเหมาะสมเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ในทุกมติ ิ และวิจัย สรา้ งนวัตกรรม
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีดจิ ติ อล ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรียนรูข้ องผ้เู รยี น

(8) สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน บรหิ ารจัดการอยา่ งมคี ุณภาพ ผรู้ ับบริการ
มคี วามพงึ พอใจ

กลยุทธ์
กลยทุ ธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาให้ผเู้ รียนมคี วามปลอดภยั จากภยั ทกุ รูปแบบ
กลยุทธ์ท่ี 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชากรวัยเรยี นทกุ คน
กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนให้สอดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั การเปลยี่ นแปลงใน

ศตวรรษท่ี 21
กลยุทธท์ ่ี 5 จดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธ์ที่ 6 เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ

นโยบำย
นโยบายท่ี 1 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาให้ผู้เรยี นมคี วามปลอดภัยจากภยั ทกุ รปู แบบ
นโยบายที่ 2 ส่งเสรมิ การพฒั นาการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ นกั เรยี นเปน็ สาคญั
นโยบายที่ 3 สง่ เสรมิ และพฒั นาการนเิ ทศอยา่ งมีคุณภาพ
นโยบายที่ 4 เพ่ิมและยกระดับคณุ ภาพนักเรียนทกุ ระดับ

นโยบำยท่ี 1 สง่ เสรมิ และพัฒนำประสิทธิภำพกำรบริหำรจดั กำร
จดุ เน้นท่ี 1 ส่งเสรมิ และพฒั นำองค์กรคุณธรรมและควำมโปรง่ ใส
ประเด็นการพิจารณา พัฒนาระบบการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

หน่วยงานภาครัฐ (ITA) โดยให้บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ นาหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น
รปู ธรรมอย่างมปี ระสิทธภิ าพและตอ่ เน่ือง

ตวั ช้วี ัดควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 1 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ลาปาง ลาพูน มีผลการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (ITA) ร้อยละ 90 ข้นึ ไป
จดุ เนน้ ท่ี 2 ส่งเสริมกำรสรำ้ งนวัตกรรมกำรบรหิ ำร “1 โรงเรยี น 1 นวตั กรรมกำรบริหำรงำน”
ประเด็นการพิจารณา การสร้างหรือประยกุ ต์ใชน้ วัตกรรมเทคโนโลยี รูปแบบในการบรหิ ารและการจัด
การศกึ ษา
ตวั ช้ีวัดควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 2 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีการส่งเสริมการสร้างหรือประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
รปู แบบในการบรหิ ารและการจดั การศึกษา

16

ตัวช้ีวัดที่ 3 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีการส่งเสริมการสร้างหรือประยุกต์ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี
รูปแบบในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาระดบั คณุ ภาพดขี นึ้ ไป

จุดเน้นที่ 3 ส่งเสริมกำรพัฒนำงำนวิชำกำร งำนงบประมำณ งำนบริหำรบุคคล และงำนบริหำร
ท่วั ไป ส่รู ะบบกำรประกันคณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำทีเ่ ขม้ แขง็

ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ประเด็นการพจิ ารณาท่ี 2 ส่งเสรมิ การพฒั นางานวชิ าการ สู่ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาท่ี
เข้มแขง็
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 3 สง่ เสริมการพฒั นางานงบประมาณ ส่รู ะบบประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษาท่เี ขม้ แข็ง
ประเด็นการพิจารณาท่ี 4 สง่ เสริมการพัฒนางานบรหิ ารบุคคล ส่รู ะบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาทเี่ ข้มแข็ง
ประเด็นการพิจารณาที่ 5 สง่ เสรมิ การพฒั นางานบรหิ ารงานทว่ั ไป สู่ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษาที่เขม้ แขง็
ตัวชว้ี ดั ควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 4 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีการดาเนินการพัฒนางานวิชาการงานงบประมาณ งาน
บรหิ ารบุคคล และงานบริหารงานทั่วไป สรู่ ะบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาทเ่ี ขม้ แข็ง
ตัวชว้ี ัดที่ 5 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มกี ารดาเนินการพัฒนางานวิชาการ งานงบประมาณงานบริหาร
บุคคล และงานบรหิ ารงานท่ัวไป สรู่ ะบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาท่ีเขมแขง็ ระดบั คุณภาพดขี ้ึนไป
จดุ เน้นท่ี 4 ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนมีหลกั สูตรสถำนศกึ ษำท่ีทันตอ่ กำรเปล่ยี นแปลง และตอบสนอง
ควำมตอ้ งกำรของผเู้ รยี น ชมุ ชน สงั คม
ประเดน็ การพจิ ารณา โรงเรียนมีการพัฒนา ปรบั ปรุง และบรหิ ารหลักสูตรสถานศกึ ษาทท่ี ันตอ่
การเปล่ียนแปลง และตอบสนองค์วามต้องการของผเู้ รียน ชุมชน และสงั คม
ตัวชีว้ ัดควำมสำเร็จ
ตวั ช้ีวดั ที่ 6 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนได้ดาเนินการพัฒนา ปรับปรุง และบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
ท่ที ันตอ่ การเปล่ยี นแปลง และตอบสนองค์วามตอ้ งการของผเู้ รียน ชมุ ชน สงั คม
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 7 ร้อยละ 80 ของโรงเรยี นดาเนนิ การพฒั นา ปรบั ปรงุ และบริหารหลักสูตรสถานศกึ ษาท่ที ัน
ตอ่ การเปล่ียนแปลง และตอบสนองค์วามต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน สงั คม ระดับคุณภาพดขี ึ้นไป
จุดเน้นที่ 5 ส่งเสริมกำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรศึกษำด้วยเครือข่ำยควำมร่วมมือกำรบริหำรจัด
กำรศึกษำ
ประเดน็ การพจิ ารณา โรงเรียนมีภาคีเครือขา่ ยความรว่ มมือในการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาอย่างมี
คณุ ภาพ
ตัวชว้ี ดั ควำมสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนดาเนินการส่งเสริมการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาด้วย
เครือขา่ ยความรว่ มมือการบริหารจดั การศึกษา
ตวั ชวี้ ดั ที่ 9 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรยี น ดาเนนิ การสง่ เสริมการขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยเครอื ขา่ ย
ความรว่ มมือการบรหิ ารจดั การศกึ ษาระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
จุดเน้นท่ี 6 สง่ เสรมิ โรงเรียนให้บริหำรจดั กำรศกึ ษำตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเดน็ การพจิ ารณา โรงเรียนมีการบริหารจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

17

ตวั ชี้วดั ควำมสำเร็จ
ตวั ชี้วัดท่ี 10 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนดาเนินการบริหารจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
ตัวชี้วัดท่ี 11 ร้อยละ 80 ของโรงเรียนดาเนินการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
จุดเน้นที่ 7 ส่งเสรมิ พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรบริหำร
จดั กำร
ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 มีการพัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ท่ีทันสมัย
สนองตอบความตอ้ งการของผ้ใู ชบ้ รกิ ารอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2 มกี ารพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษามกี ารใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การบรหิ ารจัดการและการปฏบิ ัตงิ าน
ตวั ช้ีวัดควำมสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 12 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการบริหารจัดการ
ตัวช้ีวัดที่ 13 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศในการบรหิ ารจดั การ ระดบั คณุ ภาพดีข้ึนไป
จุดเน้นท่ี 8 ส่งเสริม พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้มีควำมเช่ียวชำญตำมสมรรถนะ
มำตรฐำน และมีจรรยำบรรณในวชิ ำชีพ
ประเด็นการพิจารณาที่ 1 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีจรรยาบรรณในวิชาชีพและ จิตวิญญาณ
ความเป็นครู
ประเด็นการพิจารณาท่ี 2 มีการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มคี วามรู้ความสามารถในการ
พัฒนาตนเองและพัฒนาวชิ าชีพ
ตัวช้ีวดั ควำมสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 14 ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน มีจรรยาบรรณในวิชาชีพและจติ วิญญาณความเปน็ ครู
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาลาปาง ลาพูน ท่ไี ด้รบั การพฒั นาความรู้ความสามารถใน
การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
จุดเน้นที่ 9 สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำลำปำง ลำพูน มีระบบบริหำรจัดกำรกำร
ขบั เคล่ือนคณุ ภำพกำรศกึ ษำ ตำมมำตรฐำนสำนกั งำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำ
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 1 มีระบบบริหารจดั การตามมาตรฐาน สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
ประเด็นการพิจารณาที่ 2 กลุ่ม/หน่วย ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีการส่งเสริม สนับสนุน
คุณภาพการศกึ ษา
ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
ตัวช้ีวัดที่ 16 ร้อยละ 90 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน มีระบบบริหาร
จดั การตามมาตรฐาน สานักงานเขตพน้ื ที่

18

ตัวชี้วัดท่ี 17 ร้อยละ 100 ของกลุ่มงานในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาพูน ลาปาง มี
ระดบั คณุ ภาพดขี ึ้นไป

นโยบำยท่ี 2 ส่งเสรมิ กำรพฒั นำกำรจัดกำรเรยี นร้ทู ี่เนน้ นักเรยี นเป็นสำคญั
จุดเน้นที่ 10 ส่งเสริมและพัฒนำกำรสร้ำงนวัตกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ “1 ครู 1 นวัตกรรมกำร

จัดกำรเรียนรู้”
ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพ

นักเรยี น
ประเด็นการพิจารณาที่ 2 มีการสง่ เสริมและพัฒนาใหค้ รูนานวตั กรรมการจัดการเรียนรู้สูก่ ารปฏิบตั ิ
ตัวช้วี ัดควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดท่ี 18 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ส่งเสริมและพัฒนาการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

“1 ครู 1 นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้”
ตัวช้ีวัดที่ 19 รอ้ ยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาการสร้างนวัตกรรมการจัดการ

เรียนรู้ “1 ครู 1 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้”ระดับคณุ ภาพดีขน้ึ ไป
จุดเน้นที่ 11 ส่งเสริมและพัฒนำครูจัดกำรเรียนรู้ด้วยวิธีกำร Active Learning / Co-creation

Leaning
ประเด็นการพิจารณาที่ 1 มกี ารพฒั นาทักษะการจัดการเรียนรู้ดว้ ยวิธีการ Active Learning
ประเด็นการพิจารณาท่ี 2 ครูจัดการเรยี นร้ดู ว้ ยวิธีการ Active Learning
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 3 มกี ารพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยวิธีการ Co-creation Leaning
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 4 ครจู ัดการเรยี นรู้ด้วยวิธกี าร Co-creation Leaning
ตวั ชี้วัดควำมสำเรจ็
ตวั ช้ีวัดท่ี 20 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีการดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการจดั การเรียนรู้

ด้วยวิธีการ Active Learning ของครแู ละจดั การเรียนรดู้ ว้ ยวิธีการ Active Learning
ตัวชี้วัดท่ี 21 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ด้วย

วิธีการ Active Learning ของครูและจัดการเรียนรดู้ ้วยวธิ กี าร Active Learning ระดบั คุณภาพดขี ้ึนไป
ตวั ช้วี ดั ท่ี 22 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน มกี ารดาเนินการสง่ เสริมและพัฒนาทกั ษะการจดั การ

Co-creation Leaning
ตัวช้ีวัดท่ี 23 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีการดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้

ดว้ ยวธิ ีการ Co-creation Leaning ระดบั คณุ ภาพดีข้นึ ไป
จุดเน้นท่ี 12 ส่งเสริมและพัฒนำครูให้มีศักยภำพในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนสู่กำรเรียนรู้ฐำน

สมรรถนะ มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงสรรค์และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงมีควำมรู้และทักษะใน
สงั คมยคุ ชีวิตวิถใี หม่ (New Normal) มีแรงจูงใจในควำมเป็นครูมืออำชีพ

ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 มกี ารใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นร้ทู ี่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้มาใช้
ในการจดั การเรยี นรู้

ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2 มีการใชภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 3 สรา้ งโอกาสให้นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่อื ที่หลากหลาย
ประเดน็ การพิจารณาที่ 4 มีการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณพ์ เิ ศษ

19

ตัวชว้ี ดั ควำมสำเรจ็
ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหลง่ เรียนร้ทู ีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้
ตวั ช้วี ัดท่ี 25 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการสง่ เสริมและพัฒนาให้ครใู ชส้ ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลง่ เรยี นร้ทู ีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ ระดบั คณุ ภาพดีขน้ึ ไป

นโยบำยที่ 3 สง่ เสริมและพัฒนำกำรนิเทศอยำ่ งมีคุณภำพ
จุดเน้นที่ 13 สง่ เสริมและพัฒนำกำรสร้ำงนวตั กรรมกำรนิเทศกำรจัดกำรเรยี นรู้ “ 1 ผนู้ เิ ทศ

1 นวตั กรรมกำรนิเทศกำรจัดกำรเรียนรู้”
ประเด็นการพจิ ารณา การสรา้ งหรือประยกุ ต์ใช้นวตั กรรมเทคโนโลยี รปู แบบในการนิเทศ

การจดั การเรยี นรู้
ตวั ชวี้ ัดควำมสำเรจ็
ตัวชว้ี ดั ที่ 26 ร้อยละ 100 ของผู้นิเทศ มสี ่งเสรมิ และพฒั นาการสร้างนวตั กรรมการนิเทศการจัด

การเรียนรู้ “ 1 ผู้นิเทศ 1 นวัตกรรมการนิเทศการจัดการเรยี นรู้”
ตัวช้วี ดั ที่ 27 รอ้ ยละ 80 ของผนู้ ิเทศ มีการสง่ เสรมิ และพฒั นาการสรา้ งนวัตกรรมการนเิ ทศ

การจัดการเรยี นรู้ “ 1 ผู้นเิ ทศ 1 นวัตกรรมการนเิ ทศการจดั การเรียนรู้” ระดับคุณภาพดีขึน้ ไป

นโยบำยที่ 4 เพ่ิมและยกระดบั คุณภำพนักเรยี นทกุ ระดับ
จุดเน้นท่ี 14 เพ่ิมและยกระดับคณุ ภำพของนักเรยี นทกุ ระดับชนั้
ประเดน็ การพจิ ารณาท่ี 1 นกั เรียนมคี ะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยใู่ นระดบั ดีขน้ึ ไป
ตวั ชี้วดั ควำมสำเร็จ
ตัวช้ีวัดที่ 28 ร้อยละ 100 ของโรงเรยี น ดาเนินการเพ่ิมและยกระดับให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ

เรยี นของนักเรยี นทกุ ระดับชนั้
ตวั ช้ีวัดท่ี 29 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ของนักเรียน

เฉลีย่ 2.50 ขึน้ ไป
ตัวชวี้ ดั ที่ 30 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนนิ การเพ่ิมและยกระดบั ใหน้ กั เรียนมผี ลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของนกั เรยี นทกุ ระดบั ชัน้ ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป
ประเด็นการพิจารณาที่ 2 นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นไปตามมาตรฐานตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ตัวช้วี ัดควำมสำเรจ็
ตัวชี้วดั ท่ี 31 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนนิ การเพ่ิมและยกระดับให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ

เรียนของนักเรียนทุกระดับช้นั
ตวั ชีว้ ัดที่ 32 ร้อยละ 80 ของโรงเรยี น ท่นี ักเรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่ีหลักสตู รแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กาหนดในระดบั ดขี น้ึ ไป
ตัวชี้วดั ท่ี 33 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมและยกระดบั ให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการ

เรียนของนกั เรียนทกุ ระดบั ชั้นระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ประเด็นการพจิ ารณาที่ 3 นักเรยี นมีการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละการเขยี นเป็นไปตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

20

ตัวชีว้ ัดควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 34 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการเพ่ิมและยกระดับการอ่านการคิดวิเคราะห์ และ
เขียนเป็นไปตามมาตรฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)
ตัวชว้ี ัดท่ี 35 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ท่นี กั เรยี นมผี ลการอ่าน การคดิ วิเคราะห์และเขียนเป็นไป
ตามมาตรฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ใน
ระดับดขี ึ้นไป
ตัวช้ีวัดที่ 36 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการเพิ่มและยกระดับการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และ
เขยี นเป็นไปตามมาตรฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ระดับคุณภาพดขี ้นึ ไป
ประเด็นการพิจารณาท่ี 4 นกั เรยี นมีการอา่ น คดิ วิเคราะห์และการเขียนเป็นไปตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตวั ชว้ี ดั ควำมสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 37 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีการดาเนินการเพิ่มและยกระดับผลการทดสอบทาง
การศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6
ตัวชีว้ ัดท่ี 38 ร้อยละ 80 ของโรงเรยี น มีนกั เรยี นท่ีมผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ
ขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละรายวิชาเพิ่มขึ้น มีจานวนเพิ่มขึน้ ร้อยละ 1 จากปีการศึกษาท่ี
ผ่านมา
ตัวชี้วัดที่ 39 ร้อยละของโรงเรียนมีการดาเนินการเพิ่มและยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6 ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 5 นักเรยี นมีทกั ษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และสอื่ สารภาษาท่ี 3
ตัวชว้ี ดั ควำมสำเรจ็
ตวั ชี้วดั ที่ 40 รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี น มีการดาเนินการเพ่ิมและยกระดับทักษะส่ือสารภาษาองั กฤษ
และส่อื สารภาษาที่ 3 ของนักเรยี น
ตวั ช้ีวดั ที่ 41 ร้อยละ 80 ทมี่ ีนักเรียนมีการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และสอ่ื สารภาษาท่ี 3 ในระดบั ดขี น้ึ ไป
ตวั ช้ีวัดท่ี 42 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีการดาเนินการเพ่ิมและยกระดับทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ
และสอ่ื สารภาษาที่ 3 ของนกั เรยี นระดับคณุ ภาพดขี นึ้ ไป
ประเดน็ การพจิ ารณาที่ 6 นักเรียนที่มีทกั ษะด้าน Digital Literacy ทีม่ กี ารเรยี นรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
ตัวช้วี ัดควำมสำเร็จ
ตัวชว้ี ัดที่ 43 ร้อยละ 100 ของโรงเรยี นมีการดาเนินการเพิ่มและยกระดับทกั ษะดา้ น Digital Literacy
ทีม่ ีการเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพของนักเรยี น
ตัวชี้วัดท่ี 44 ร้อยละ 80 ของโรงเรียนท่ีมีนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มรายวิชาวิทยาการ
คานวณของนักเรยี นเฉลีย่ ตงั้ แต่ 3.00 ข้ึนไป
ตวั ชี้วัดท่ี 45 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีการดาเนนิ การเพ่ิมและยกระดับทักษะด้าน Digital Literacy
ท่มี ีการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธภิ าพของนักเรียน ระดบั คุณภาพดขี ึ้นไป
จุดเน้นท่ี 15 เพิ่มศักยภำพนักเรียนให้เป็นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ้ ม

21

ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถขับเคล่ือนคุณภาพชีวิตให้เป็นมิตรกับ
สิง่ แวดลอ้ ม

ประเด็นการพิจารณาท่ี 2 สรา้ งนวัตกรรมท่เี ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ มได้
ประเด็นการพิจารณาท่ี 3 นกั เรียนทุกคนมีศกั ยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มสี ขุ ภาวะที่ดี
สามารถดารงชวี ิตอย่างมีความสขุ ท้ังด้านร่างกายและจติ ใจ
ตัวชว้ี ดั ควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 46 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน พัฒนาศักยภาพนักเรียนให้เป็นผู้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
นวตั กรรมทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
ตัวช้ีวัดท่ี 47 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน มีการดาเนินการพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้เป็นผู้มีความคิด
ริเรมิ่ สร้างสรรคน์ วัตกรรมทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
จุดเน้นท่ี 16 เพ่ิมศักยภำพนักเรียนให้สำมำรถคน้ พบตนเอง มีทกั ษะพื้นฐำนอำชพี และกำรมีงำน
ทำมคี วำมพรอ้ มในกำรแขง่ ขนั
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 1 นักเรียนมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร สมรรถนะท่ีจาเป็นการรู้เรอ่ื งการ
อา่ น (Reading Literacy) การรูเ้ รอ่ื งคณิตศาสตร์ (Mathematic Literacy) การรเู้ รื่องวิทยาศาสตร์(Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3R8C) และมีความพร้อมใน
การเขา้ สเู่ วทีการแขง่ ขนั
ประเดน็ การพิจารณาท่ี 2 นักเรียนมีความสามารถในการค้นพบตนเอง มที ักษะพื้นฐานอาชีพและการ
มงี านทา
ประเดน็ การพิจารณาที่ 3 นักเรยี นมี ID Plan และ Portfolio เพอ่ื การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็
ตัวชีว้ ดั ควำมสำเรจ็
ตัวช้ีวัดที่ 48 ร้อยละ 100 ของโรงเรียนดาเนินการเพิ่มศักยภาพนักเรียนให้สามารถค้นพบตนเอง มี
ทักษะพ้ืนฐานอาชพี และการมงี านทามคี วามพรอ้ มในการแข่งขนั
ตัวชี้วัดที่ 49 ร้อยละ 80 ของโรงเรียนดาเนินการเพิ่มศักยภาพนักเรียนให้สามารถค้นพบตนเองมี
ทกั ษะพืน้ ฐานอาชพี และการมีงานทามคี วามพร้อมในการแขง่ ขันระดับคณุ ภาพดีขน้ึ ไป
จดุ เน้นท่ี 17 เพ่ิมศกั ยภำพนักเรียนให้มีทักษะในกำรดำรงชวี ิตเพ่ือสำมำรถรับมือกับภัยคกุ คำมทุก
รูปแบบ
ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของ
ชาตแิ ละพลเมอื งโลกทด่ี ี มีคุณธรรม จริยธรรม
ประเด็นการพิจารณาที่ 2 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัย
คกุ คามทุกรปู แบบท่มี ผี ลกระทบต่อความม่ันคง
ตวั ช้วี ดั ควำมสำเร็จ
ตวั ชี้วัดที่ 50 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ดาเนินการให้นักเรียนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มหี ลักคิดที่
ถกู ตอ้ งเปน็ พลเมอื งดขี องชาตแิ ละพลเมืองโลกทดี่ ี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
ตัวชี้วัดที่ 51 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนินการให้นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ี
ถูกตอ้ งเปน็ พลเมืองดขี องชาติและพลเมืองโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ระดับคุณภาพดขี น้ึ ไป

22

ตวั ช้ีวัดท่ี 52 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน พัฒนาศกั ยภาพนักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความ
พร้อมสามารถรับมือกบั ภยั คุกคามทกุ รูปแบบท่ีมผี ลกระทบต่อความม่ันคงได้แก่ภัยจากยาเสพติด ความรนุ แรง
การคุกคาม ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ การค้ามนษุ ยอ์ าชญากรรมไซเบอรแ์ ละภยั พิบัตติ า่ ง

ตวั ชี้วัดที่ 53 ร้อยละ 80 ของโรงเรียน ดาเนนิ การพัฒนาศกั ยภาพนักเรียนใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจและ
มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมีผลกระทบต่อความมั่นคง ได้แก่ ภัยจากยาเสพติด
ความรุนแรงการคุกคาม ในชีวิตและทรัพย์สินการค้ามนุษย์อาชญากรรมไซเบอร์และภัยพิบัติต่าง ระดับ
คุณภาพดขี ้ึนไป

23

กำรบริหำรองค์กร
สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพนู มีกระบวนการและแนวทางในการขับเคล่ือน

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2563-2565 (ทบทวนปี พ.ศ. 2565) ดงั น้ี

กระบวนกำร 5 ขน้ั ในกำรขับเคล่อื นกำรพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ ดว้ ย SPM.LPI Model
ขน้ั ท่ี 1 เรยี นร้เู ข้าใจ
ขนั้ ที่ 2 ใชพ้ ื้นท่เี ปน็ ฐาน
ขนั้ ที่ 3 บรู ณาการปฏบิ ตั ิ
ขั้นท่ี 4 จดั การสะทอ้ นผล
ขน้ั ท่ี 5 กลไกยั่งยืน

กระบวนกำร 5 ข้ัน ในกำรขับเคลอื่ นกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ดว้ ย SPM.LPI Model
S = Standard
P = Policy
M = Management
L = Leadership
P = Participation
I = Innovation

ค่ำนยิ ม
“LP ONE TEAM ลาปาง ลาพูน เปน็ หนึ่งเดยี ว (เคารพพี่ รักเพอ่ื น ดแู ลนอ้ ง)

SPM.LPI Model

24

ขอ้ มลู ผบู้ ริหำร สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำมัธยมศึกษำลำปำง ลำพนู

นำยประสิทธ์ิ อนิ วรรณนำ
ผอู้ านวยการสานักงานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษามัธยมศกึ ษาลาปาง ลาพนู

นำงนภำพร แสงนิล นำยจิรฐั พงศ์ สุมนะ นำงสำววไิ ลวรรณ ยะสนิ ธ์

รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่ รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่ รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศกึ ษาลาปาง ลาพนู การศึกษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพนู การศกึ ษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน

นำงศริ ิพนั ธ์ ปยิ ะทัตทนั ธ์ นำยบัญฑรู ย์ ธแิ กว้ นำงอดุ ม ถำวร นำงสำวรสสคุ นธ์ ปลมื้ จิตต์ นำงรงุ่ ทิวำ ธีระตระกลู
ผอ.กลุ่มอานวยการ ผอ.กล่มุ บริหารงานบุคคล ผอ.กลุ่มสง่ เสริม
ผอ.กลุม่ นโยบายและแผน ผอ.กลมุ่ บรหิ ารการเงนิ และ การจัดการศกึ ษา

สินทรพั ย์

นำยสรวง ศรีแกว้ ทุม นำงมัณฑณำ ลิ้มตระกลู นำยชวพล แก้วศิริพันธ์ นำงวชั รี สทิ ธวิ งศ์ นำยมนตรี นนั ไชย
ผอ.กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และ ผอ.หน่วยตรวจสอบภายใน ปฏบิ ตั หิ น้าที่ ผอ.กลุม่ ปฏิบัตหิ น้าท่ี ผอ.กลมุ่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ผอ.กลมุ่
พัฒนาครูและบคุ ลากร สง่ เสริมการศกึ ษาทางไกล
ประเมินผลการจัด กฎหมายฯ
การศกึ ษา ทางการศึกษา DLICT

25

โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรสำนกั งำนเขตพ้นื ทกี่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำลำปำง ลำพนู

26

รำยงำนกำรฝกึ ปฏิบัตกิ ำรวิชำชีพกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ

หน่วยฝกึ สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาลาปางลาพูน
ระหว่างวนั ท่ี 21 มนี าคม 2565 ถึง 11 เมษายน 2565

กลุ่มอำนวยกำร

แนวคดิ
งานอานวยการของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา เปน็ งานที่เก่ียวข้องกบั การจัดระบบบริหาร องค์การ

การประสานงานและให้บริการ สนับสนุน ส่งเสริม ให้กลุ่มภารกิจและงานต่าง ในสานักงาน เขตพื้นท่ี
การศึกษา สามารถบริหารจัดการและดาเนินงานตามบทบาทภารกิจอานาจหน้าท่ีได้อย่างเรียบร้อย มี
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลบนพน้ื ฐานของความถกู ตอ้ งและโปรง่ ใส ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการข้อมูล
ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษาและทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแกสถานศึกษา เพ่ือให้
สถานศกึ ษาบริหารจดั การได้อยา่ งสะดวก คลองตวั มคี ณุ ภาพ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อจดั ระบบบริหารและพัฒนาคุณภาพการให้บริการของสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาเป็นไปตาม

มาตรฐานสานกั งาน
2. เพอ่ื ให้บริการสนบั สนุน ส่งเสริม ประสานงาน อานวยการและยกระดบั คณุ ภาพการบริหารจัดการ

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษาเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย มปี ระสิทธภิ าพ ไดม้ าตรฐาน
3. เพื่อให้บริการและเผยแพรข้อมูลข่าวสารและผลงานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัด ต่อสาธารณชน ก่อให้เกิดความรูความเข้าใจการดาเนินงาน เกิดความ
เลื่อมใส และศรทั ธา และให้การสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา

4. เพ่ือสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดสวสั ดิการ สวัสดิภาพแกขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาและสถานศกึ ษา

ขอบข่ำย/ภำรกิจ
1. งานสารบรรณ
1.1.งานรับ-ส่งหนังสือราชการ
1.2 งานการจดั ทาหนงั สอื ราชการ
1.3 งานจดั เกบ็ หนงั สอื ราชการ
1.4 งานการยมื หนงั สอื ราชการ
1.5 งานการทาลายหนงั สือราชการ
2. งานชว่ ยอานวยการ
2.1 งานรบั -สง่ งานในหน้าท่ีราชการ
2.2 งานมอบหมายหนา้ ทกี่ ารงาน
2.3 งานเลขานุการผบู้ รหิ ารสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
2.4 งานประชุมภายในสานกั งาน

27

3. งานอาคารสถานทีแ่ ละส่งิ แวดลอ้ ม
3.1 งานปรับปรงุ พัฒนาอาคารสถานทีแ่ ละสิง่ แวดลอ้ ม
3.2 งานบรกิ ารอาคารสถานท่ี
3.3 งานรักษาความปลอดภัย

4. งานยานพาหนะ
5. งานการจดั ระบบบริหารสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา

5.1 งานจัดระบบบริหาร
5.2 งานพฒั นาคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร
5.3 งานมาตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
5.4 งานคารับรองปฏบิ ัตริ าชการสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
5.5 งานควบคุมภายในสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
5.6 งานพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั
6. งานประสานงาน
7. งานการสรรหากรรมการและอนุกรรมการ
7.1 งานสรรหาคณะกรรมการเขตพ้นื ที่การศึกษา
7.2 งานเลอื กตง้ั และสรรหาคณะอนกุ รรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (อ.ก.ค.ศ.
เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา)
7.3 งานเลือกต้ังคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ก.ค.ศ.) และสรรหา
คณะกรรมการอื่นทเี่ ก่ียวขอ้ ง
8. งานประชาสมั พันธ์
8.1 งานสรา้ งเครือข่ายประชาสัมพนั ธ์
8.2 งานเผยแพรข้อมลู ข่าวสารและผลงาน
9. งานสวสั ดิการสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
10. งานอืน่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศกึ ษำ

แนวคิด
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง

ลาพนู เป็นกลุ่มงานดาเนินการเกี่ยวกบั การนิเทศการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล
การพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารและการ
จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพเท่าเทียมกันโดยยึดโรงเรียนเปน็ ฐาน ส่งผลให้ผู้เรียน ทง้ั ในระบบ นอก
ระบบและตามอัธยาศยั เกิดการเรยี นรตู้ ามวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการศกึ ษา

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือใช้เป็นแนวปฏิบัติในการปฏิบัติราชการของบุคลากรกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการ

จัดการศกึ ษา
2. เพอื่ สรา้ งวฒั นธรรมคณุ ภาพของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

28

3. เพ่อื ประชาสัมพันธ์และสรา้ งความเข้าใจแก่ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในบทบาท หน้าที่ และ
ภารกิจของศึกษานิเทศก์

บทบำท หน้ำท่ี และควำมรบั ผิดชอบของศึกษำนเิ ทศก์
งำนตำมหนำ้ ที่ ควำมรับผิดชอบตำมมำตรฐำนตำแหนง่
ศึกษานิเทศก์ทุกคน ในสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน ปฏิบัตหิ น้าท่ี เก่ียวกับ

งานวชิ าการและงานนิเทศการศึกษา เพ่อื ปรับปรุงการเรยี นการสอนให้ได้มาตรฐาน ดงั น้ี
1.1 งานนิเทศการศึกษา โดยส่งเสริมให้สถานศึกษาบริหารหลักสูตรสถานศึกษา จัดกระบวนการ

เรียนรู้ มี ระบบการประกัน คุณ ภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา พัฒนาการวัด และ
ประเมินผลการศกึ ษา พฒั นาสอื่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

1.2 การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ เพื่อจัดทาเป็นเอกสาร คู่มือและส่ือใช้ในการปฏิบัติงานและ
เผยแพร่ให้ครไู ดใ้ ช้ในการพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นการสอน

1.3 การวิเคราะห์ วิจัยเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ส่ือนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา พัฒนาระบบการบริหารงานวิชาการ พัฒนามาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศึกษา เพื่อใช้ในการปฏิบตั งิ านและเผยแพร่แก่ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละผสู้ นใจท่ัวไป

1.4 การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพ่ือเป็นข้อมูลและสารสนเทศในการวางแผนการ นิเทศ
และการพัฒนางานวชิ าการ

1.5 ปฏบิ ัตงิ าน อ่นื ทีผ่ ้บู ังคบั บัญชามอบหมาย

งำนตำมขอบขำ่ ย ภำรกจิ ของกลุม่ นิเทศ ติดตำม และประเมินผลกำรจดั กำรศึกษำ
กลุม่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาลาปาง
ลาพูน เป็นกลุ่มงานท่ีดาเนินการเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการพัฒนาระบบบริหารและจัดการศึกษาเพื่อให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง ในการบริหาร และ
จดั การเรียนการสอนได้อย่างมคี ุณภาพมาตรฐานเท่าเทียมกัน โดยยึดโรงเรียนเป็นฐาน สง่ ผลให้ผู้เรียน ทั้งใน
ระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เกิดการเรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการศึกษา โดยปฏิบัติ
หน้าท่ีเก่ียวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษาเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน ศึกษา
คน้ คว้าทางวชิ าการ และวเิ คราะห์ วจิ ยั ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล เพอ่ื พฒั นาการจัดการเรยี นการสอน
ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่ได้รับมอบหมาย โดยให้มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ
นเิ ทศการศึกษา หลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัด การประเมินผลการศึกษา การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ระบบดูแลช่วยเหลือครแู ละผเู้ รียนในระดบั สงู มคี วามสามารถในการวางแผนการนเิ ทศการศกึ ษา งานวิชาการ
งานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศกึ ษา และจัดทารายงานโดยแสดงให้เห็นวา่ มีการวิจัยและพัฒนา
สร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนาผลไปใช้ในการพัฒนาการนิเทศการศึกษา มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวาง มีการ
ถ่ายทอดและได้รับการยอมรับและมีการพัฒนาตน และพัฒนาวิชาชีพ มีเทคนิคช้ันสูงในการนิเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ล สามารถพัฒนา นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเปน็ แบบอย่างแก่วิชาชีพส่งผลให้
ครูและบุคลากรในเขตพื้นท่ีการศึกษา สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มคี ุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของเขต พื้นทก่ี ารศึกษาและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ผ้มู วี ินยั คณุ ธรรม จริยธรรมและ
จรรยาบรรณวิชาชพี

29

ภำระงำนกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตำมและประเมนิ ผลกำรจดั กำรศึกษำ
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาลาปาง ลาพูน ไดม้ อบหมายภารกิจงานให้ศึกษานิเทศกต์ าม
กรอบงานของกระทรวงศกึ ษาธิการ ออกเปน็ 7 งาน โดยกาหนดตามกรอบงานดงั นี้
1. งานธุรการ
2. กลุ่มงานพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานและกระบวนการเรยี นรู้

2.1 งานส่งเสริมพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย การศึกษาพิเศษ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มี
ความสามารถพเิ ศษ

2.2 งานสง่ เสริมพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
2.3 งานศึกษาค้นคว้า วเิ คราะห์ วจิ ัย การพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้
3. กลุม่ งานวัดและประเมินการศึกษา
3.1 งานสง่ เสริมการวัดและประเมินผลการศึกษา
3.2 งานสง่ เสรมิ และพฒั นาเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการศกึ ษา
3.3 งานติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการวดั และประเมินผลการศกึ ษา
3.4 งานทดสอบทางการศึกษา
4. กลุ่มงานส่งเสริมและพฒั นาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
4.1 งานสง่ เสริม พัฒนาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา
4.2 งานศึกษา ค้นควา้ วิเคราะห์ วิจัย การพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา
5. กลมุ่ งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา
5.1 งานสง่ เสริมและพฒั นาระบบการนเิ ทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้
5.2 งานสง่ เสรมิ สนับสนนุ เครือขา่ ยการนิเทศของเขตพื้นที่การศกึ ษา สถานศกึ ษา หนว่ ยงานที่
เกย่ี วขอ้ งและชุมชน
5.3 งานนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา
5.4 งานศกึ ษาค้นควา้ วิเคราะห์ วจิ ัยการพัฒนาระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษา
6. กลุ่มงานส่งเสรมิ พัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
6.1 งานสง่ เสรมิ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
6.2 งานตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
6.3 งานสง่ เสริมและประสานงานการประกนั คณุ ภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา
6.4 งานศกึ ษาค้นควา้ วเิ คราะห์ วจิ ัยมาตรฐานและการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
7. กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
7.1 งานพฒั นาระบบขอ้ มลู และสารสนเทศ
7.2 งานวางแผนตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
7.3 งานรายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา

30

กลุ่มบรหิ ำรงำนกำรเงินและสินทรัพย์

การปฏิบัติงานของกลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ และสินทรัพย์ จากการวิเคราะหอ์ านาจหนา้ ทตี่ ามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา และ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ประกอบด้วย งานการเงิน งานบัญชี งานบริหารพัสดุ งานบริหาร
สินทรพั ย์ และงานอน่ื ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

กลมุ่ บรหิ ำรงำนกำรเงนิ และสินทรัพย์
มีหนา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปน้ี
1. ดาเนนิ เกยี่ วกบั งานการบรหิ ารการเงิน
2. ดาเนนิ เก่ียวกบั งานการบรหิ ารการงานบญั ชี
3. ดาเนนิ เกยี่ วกบั งานการบรหิ ารการงานพสั ดุ
4. ดาเนนิ เก่ยี วกับงานการบรหิ ารการงานบรหิ ารงานสินทรัพย์
5. ใหค้ าปรึกษาสถานศกึ ษาเกีย่ วกับการดาเนนิ งานบริหารการเงนิ งานบัญชี งานพสั ดุ

และงานบรหิ ารสนิ ทรพั ย์
6. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ กีย่ วข้องหรอื ทีไ่ ดร้ บั หมาย

ขอบขำ่ ย/ภำรกิจ
1.งานบรหิ ารการเงนิ
1.1 การเบิกเงิน
1.2 การจา่ ยเงิน
1.3 การยืมเงนิ
1.4 การรบั เงนิ
1.5 การเกบ็ รกั ษาเงิน
1.6 การนาส่งเงินส่งคลัง
1.7 การกันเงิน
2. งานบรหิ ารงานบญั ชี
2.1 สมุดเงนิ สด/ใบสาคัญการลงบัญชีด้านรบั
2.2 สมุดเงนิ ฝากธนาคาร/ใบสาคัญการลงบัญชีด้านรับ
2.3 สมดุ เงินสด/ใบสาคญั การลงบญั ชีด้านจ่าย
2.4 สมดุ เงนิ ฝากธนาคาร/ใบสาคัญการลงบญั ชดี ้านจ่าย
2.5 สมุดรายวนั เงินรบั
2.6 สมดุ รายวันเงนิ จ่าย
2.7 สมดุ รายวันทัว่ ไป
2.8 ใบสาคัญการลงบัญชดี ้านท่ัวไป
2.9 สมุดบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป
2.10 การรบั และการนาส่งเงนิ
2.11 การบันทกึ ทะเบียนคุม(ฎีกา)การเบกิ จา่ ยเงิน

31

2.12 รายงานการเงิน
2.13 การจดั ทางบเทยี บยอดเงินฝากธนาคาร
2.14 การตรวจสอบและรายงานการเงนิ
2.15 การสรปุ รายการ
2.16 การปิดบัญชี
2.17 การบันทกึ สิ้นปี
2.18 การจัดทาบญั ชีประจางวด
2.19 การบันทกึ โอน/เปล่ยี นแปลงงบประมาณ
3.การบริหารงานพัสดุ
3.1 การจัดช้ือ/จัดจา้ ง
3.2 การควบคมุ พสั ดุ (การเก็บรักษาพสั ดุ)
3.3 การควบคุมพัสดุ (การเบิก-จา่ ยพสั ด)ุ
3.4 การควบคุมพัสดุ (การยมื พสั ดุ)
3.5 การยืมพสั ดุประจาปี
3.6 การจัดทาเอง
4. งานบรหิ ารงานบรหิ ารงานสินทรัพย์
4.1 การขอขน้ึ ทะเบียนทรี่ าชพัสดุ
4.2 การขอใช้ที่ราชพสั ดุ (การขอใชท้ ี่ราชพัสดุของสถานศกึ ษาทขี่ อใชท้ ่รี าชพัสดุในความดแู ล
ครอบครองของกระทรวง ทบวง กรม และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ )
4.3 การขอใชท้ ีร่ าชพัสดุ (การขอใช้ที่ราชพสั ดุของกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่นิ ทข่ี อใชท้ ร่ี าชพสั ดุในความดแู ลของสถานศึกษาสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา)
4.4 การขอร้อื ถอนอาคารและสง่ิ ปลกู สร้างทร่ี าชพัสดุ
5. ให้คาปรกึ ษาสถานศึกษาเก่ียวกบั การดาเงนิ งานบริหารการเงิน งานบัญชี งานพสั ดุ และงานบรหิ าร
สนิ ทรัพย์
6. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งหรือที่ได้รบั มอบหมาย

32

33

กลุ่มส่งเสริมกำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร

แนวคิด
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่

การศึกษา พ.ศ. 2560 เพ่ือให้การดาเนินการแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาเป็นไปด้วย
ความเหมาะสมกับภารกิจ ปริมาณ และคุณภาพการจัดการศึกษาในแต่ละเขตพ้ืนที่การศึกษา ได้จัดให้มีการ
จัดตั้งกลุ่มงานในสานกั งานเขตเป็น 9 กลุ่มงาน และกลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร เป็นกลุ่มงานทีจ่ ัดต้งั ขึ้น เพือ่ ใหม้ ีการดาเนินการในสว่ นทเี่ ก่ียวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการศึกษาและการส่ือสาร ตามนโยบายการบริหารบุคคลภาครัฐที่จากัดจานวนอัตราบุคลากร และ
งบประมาณ และสอดคล้องกับภารกิจและการขับเคล่ือนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตาม
นโยบายทุกระดับให้มปี ระสิทธิภาพ จงึ ได้จดั ทาค่มู ือปฏิบัติงานของกลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร

กลุม่ ส่งเสรมิ กำรศึกษำทำงไกล เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่อื สำร
มีอานาจหน้าทดี่ ังต่อไปนี้
(ก) ศึกษา วิเคราะห์ ดาเนินการ และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาทางไกล
(ข) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั และพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื การบริหารและการจัดการศึกษา
(ค) ดาเนนิ งานสารสนเทศเพือ่ การบริหารและการจัดการศึกษา
(ง) ดาเนนิ การวเิ คราะห์ และปฏบิ ัตงิ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
(จ) สง่ เสริม สนับสนนุ และดาเนินงานบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(ฉ) ปฏิบัติงานรว่ มกับหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอนื่ ทเี่ ก่ยี วข้องหรือทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

กลุ่มบริหำรงำนบคุ คล

จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2560 ในข้อ 6 ให้แบง่ ส่วนราชการภายในสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ไว้ดังต่อไปนี้

(1) กล่มุ อานวยการ
(2) กลุ่มนโยบายและแผน
(3) กล่มุ ส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
(4) กลุ่มบริหารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์
(5) กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล
(6) กลมุ่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
(7) กล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา
(8) กล่มุ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษา
(9) หน่วยตรวจสอบภายใน
โดยกลมุ่ บริหารงานบคุ คล ปรากฏเปน็ หนึ่งในส่วนราชการภายในสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาโดย
สว่ นราชการภายในสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา มีอานาจหนา้ ทด่ี ังข้อ 7 (5) ดังน้ี
(ก) วางแผนอัตรากาลงั และกาหนดตาแหน่ง

34

(ข) สง่ เสริม สนับสนนุ การมหี รือเล่อื นวทิ ยฐานะ
(ค) วิเคราะห์และจัดทาขอ้ มูลเกีย่ วกับการสรรหา บรรจแุ ละแตง่ ตงั้ ยา้ ย โอน และการลาออกจาก
ราชการของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(ง) ศึกษา วเิ คราะห์ และดาเนินการเก่ียวกบั การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานการเลอื่ นเงนิ เดือน การ
มอบหมายหนา้ ทีใ่ ห้ปฏิบตั ิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
(จ) จัดทาข้อมูลเกย่ี วกบั บาเหนจ็ ความชอบและทะเบียนประวตั ิ
(ฉ) จดั ทาข้อมูลระบบจ่ายตรงเงนิ เดอื นและค่าจ้างประจา
(ช) ปฏิบตั กิ ารบรกิ ารและอานวยความสะดวกในเรือ่ งการออกหนงั สือรับรองต่าง การออกบตั ร
ประจาตัว และการขออนญุ าตต่าง
(ซ) ศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทาข้อมูลเพอ่ื ดาเนินงานวนิ ัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ และการดาเนนิ คดีของรัฐ
(ฌ) ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หรือสนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอ่นื ท่เี กีย่ วข้อง หรอื ท่ไี ดร้ ับ
มอบหมาย

แนวคิด
การบริหารบุคคลในเขตพื้นทกี่ ารศึกษาเป็นมาตรการจงู ใจให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

ปฏิบัติงานเพ่ือตอบสนองภารกิจของหน่วยงาน โดยยึดหลักการกระจายอานาจ ระบบคุณธรรม และหลัก
ธรรมาภิบาล เพ่ือให้การบริหารจัดการมีความคล่องตัว เกิดความอิสระในการปฏิบัติงานภายใต้กฎหมาย
ระเบยี บปฏิบัติ ผู้ปฏิบัตงิ านได้รับการพัฒนา มคี วามรู้ความสามารถ มีขวญั กาลังใจ นาไปสกู่ ารบริการครูและ
บุคลากรทางการศึกษาตามหลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน
ต่อไป

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้การดาเนินงานด้านการบริหารบุคคล ถูกต้อง รวดเร็ว เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

สนองตอบความตอ้ งการของหนว่ ยงานในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
2. เพ่ือส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถและมีจิตสานึกในการปฏิบตั ิภารกิจที่รับผิดชอบ ให้

เกิดผลสาเร็จตามหลกั การบริหารแบบมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ
3. เพ่อื ส่งเสริมให้ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาปฏิบัตงิ านเต็มตามศักยภาพ โดยยดึ มั่นในระเบียบวนิ ัย

จรรณยาบรรณ อย่างมมี าตรฐานแหง่ วิชาชีพ
4. เพ่ือให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ ได้รับการยกย่องเชิดชู

เกยี รติ มคี วามมั่นคงและกา้ วหน้าในวิชาชพี ซึง่ จะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

ขอบข่ำย/ภำรกจิ
1. งานธุรการ
1.1 งานรบั หนังสือราชการ
1.2 งานสง่ หนงั สือราชการ
1.3 งานจดั ทาหนงั สือราชการ
1.4 งานจัดการประชมุ ภายในกลุม่ บริหารงานบุคคล
1.5 งานจัดการความร้ภู ายในกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

35

2. งานวางแผนอัตรากาลงั และกาหนดตาแหนง่
2.1 งานวิเคราะห์และวางแผนอัตรากาลังคน
2.2 งานปรับปรงุ การกาหนดตาแหน่ง
2.3 งานจดั สรรอัตรากาลงั ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พนกั งานราชการ และลูกจา้ ง

ชวั่ คราว
2.4 งานบรหิ ารอัตรากาลังขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสานกั งานเขตพน้ื ที่

การศึกษา
2.5 งานเปลย่ี นตาแหน่งลกู จา้ งประจาทไี่ ม่ใช่ลกั ษณะงานจ้างเหมาบริการ (วา่ ง) เปน็ ตาแหนง่

พนักงานราชการ
2.6 งานบรหิ ารพนักงานราชการหรอื ลกู จา้ งชั่วคราวตามกรอบท่ไี ด้รบั จดั สรร
2.7 งานให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีหรือเลอ่ื นวิทยฐานะ

3. กลมุ่ งานสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
3.1 งานสอบแขง่ ขันเพอ่ื บรรจแุ ละแตง่ ตั้งเขา้ รับราชการครู
3.2 งานคดั เลือกข้าราชการบรรจตุ าแหน่งศกึ ษานิเทศก์
3.3 งานสรรหาลกู จ้างช่ัวคราวตาแหน่งครูผสู้ อน
3.4 งานจา้ งลูกจา้ งชั่วคราวในสถานศกึ ษา
3.5 งานสอบแข่งขนั เพ่ือบรรจคุ รู 38 ค (2)
3.6 งานคัดเลอื กครูเพอื่ บรรจุในตาแหน่งรอง ผอ.
3.7 งานคดั เลือกบรรจุนกั เรียนทุน
3.8 งานขอชว่ ยราชการของข้าราชการครู
3.9 งานสรรหาพนกั งานราชการ
3.10 รบั โอนพนกั งานทอ้ งถน่ิ เขา้ บรรจคุ รู
3.11 ขอบรรจุและแต่งตงั้ (กรณขี อใช้บัญช)ี
3.12 งานเตรยี มความพร้อมพฒั นาอยา่ งเข้ม
3.13 งานแต่งตั้ง (ย้าย) ครู ซึ่งมหี น้าท่ีสอนภายในหนว่ ยงาน
3.14 งานแต่งตงั้ ยา้ ยบุคลากรอ่ืน
3.15 งานขอโอนข้าราชการครู
3.16 งานรบั โอนข้าราชการครู
3.17 งานรับโอนพนกั งานสว่ นท้องถิน่ มาบรรจุครู
3.18 งานแตง่ ตงั้ ผูร้ กั ษาการในตาแหนง่
3.19 งานแตง่ ตง้ั รักษาราชการแทน ผอ.รร.
3.20 งานแต่งตง้ั รกั ษาราชการแทน ผอ.สพท.
3.21 งานตดั โอนตาแหน่งครไู ปสังกัดองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ
3.22 งานทดลองปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
3.23 งานออกจากราชการ
3.24 งานขอกลบั เขา้ รบั ราชการ
3.25 งานลาออกจากราชการของพนกั งานราชการ
3.26 งานลาออกจากราชการของพนักงานราชการ

36

3.27 งานมาตรการกาหนดคนภาครัฐ (เกษยี ณก่อนกาหนด)
3.28 งานดาเนินการจา้ งครูชาวตา่ งชาติ

3.30 งานคัดเลอื กให้ดารงตาแหนง่ เร่ิมตน้ จากระดับปฏบิ ตั ิงาน
3.31 งานคัดเลือกให้ดารงตาแหนง่ ประเภทวิชาการระดบั ชานาญการพิเศษลงมา
3.32 งานคดั เลอื กเพอื่ ให้ดารงตาแหน่งระดบั อาวุโส

3.33 งานประเมินผลงานบคุ คลให้ดารงตาแหนง่ วา่ ง
3.34 งานประเมินผลงานสงู กวา่ 1 ระดบั และมผี ู้ครองอย่แู ล้ว

3.35 งานคัดเลือกเพอ่ื เลื่อนตาแหน่งระดบั ควบ
4. งานบาเหนจ็ ความชอบและทะเบียนประวัติ

4.1 งานถอื จ่ายเงนิ เดือนประจาปี

4.2 งานจัดทาบัญชีถือจา่ ยอตั ราคา่ จ้าง
4.3 งานจัดทาบัญชถี อื จา่ ยเงนิ วทิ ยฐานะเพิม่ เติม

4.4 งานจดั ทาหนงั สือรับรองการโอนอัตราเงินเดอื น
4.5 งานขอรับเงินรางวลั ประจาปี
4.6 งานดาเนนิ การขอถือจา่ ยค่าตอบแทนรายเดือน

4.7 งานเลอื่ นข้ันค่าจ้างลูกจ้างประจา
4.8 งานขอเงนิ คา่ ตอบแทน

4.9 งานดาเนนิ การเพิม่ ค่าตอบแทนพนกั งานราชการ
4.10 งานขอปรบั วุฒิการศึกษา
4.11 งานทะเบยี นประวัติ

4.12 งานจดั ทาแฟ้มประวัติ ก.พ.7
4.13 งานจดั ทาขอ้ มูลทะเบยี นประวัตบิ นั ทึกการเปลย่ี นแปลง

4.14 การแก้ไขวนั เดอื นปีเกดิ
4.15 งานเปล่ียนแปลงช่ือ-สกุล
4.16 ขอเพิม่ วฒุ ใิ นประวัติ

4.17 งานบันทึกวันลาประจาปี
4.18 งานดาเนินการเก่ียวกับแฟม้ ประวตั ิท่อี อกจากราชการ

4.19 งานเขา้ เปน็ สมาชกิ กองทนุ บาเหน็จบานาญ

กลุ่มงานบรหิ ารบคุ คล

งานธรุ การ งานวางแผนอัตรากาลังและ กลมุ่ งานสรรหาและบรรจุ งานบาเหน็จความชอบและทะเบยี น
กาหนดตาแหน่ง แตง่ ตั้ง ประวตั ิ

งานรับหนงั สือ งานวเิ คราะหแ์ ละ งานสรรหาและบรรจุ งานแตง่ ตงั้ ย้าย โอน งานบาเหน็จ งานทะเบียน
ราชการ วางแผนอัตรากาลัง ข้าราชการและบุคลากร ความชอบ ประวตั ิ
งานกาหนดตาแหน่ง
งานสง่ หนงั สอื ทางการศึกษา งาน
ราชการ และวิทยฐานะ เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์

งานจัดทาหนังสอื งานออกจาก
ราชการ ราชการ

งานจดั การประชมุ ภายใน
กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล

งานจัดการความรภู้ ายใน
กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล

37

กลมุ่ นโยบำยและแผน

จากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2560 ในข้อ 6 ใหแ้ บง่ สว่ นราชการภายในสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ไว้ดังต่อไปน้ี

(1) กลมุ่ อานวยการ
(2) กลุ่มนโยบายและแผน
(3) กลมุ่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
(4) กล่มุ บริหารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์
(5) กลมุ่ บริหารงานบคุ คล
(6) กล่มุ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
(7) กลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
(8) กล่มุ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษา
(9) หน่วยตรวจสอบภายใน
โดยกลุ่มนโยบายและแผน ปรากฏเป็นหน่ึงในส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาโดย
สว่ นราชการภายในสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา โดยกล่มุ บรหิ ารงานบุคคล มอี านาจหน้าทดี่ ังข้อ 7 (2) ดงั น้ี
(ก) จัดทานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษาแผนการ
ศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐาน และความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น
(ข) วเิ คราะห์การจดั ตั้งงบประมาณเงนิ อุดหนนุ ทว่ั ไปของสถานศกึ ษาและแจ้งการจดั สรรงบประมาณ
(ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการใชจ้ ่ายงบประมาณและผลการปฏิบัติตามนโยบาย
และแผน
(ง) ดาเนินการวิเคราะห์ และจัดทาข้อมูลเก่ียวกับการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอนสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน
(จ) ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอ่ืนทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรอื ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

แนวคดิ
เปน็ หนว่ ยงานท่ีสง่ เสริม สนับสนุนและประสานงานในเชิงนโยบาย ใหส้ ถานศึกษาจัดการศกึ ษาเปน็ ไป

ตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาชาติ มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิของงานตามยุทธศาสตร์เป็นสาคัญ (Strategic
Result Based Management : SRBM ) ใช้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic
Performance Base Budgeting : SPBB ) โดยเนน้ ความโปร่งใส ทนั สมยั ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ เกิด
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล ยึดหลักการมสี ่วนร่วม (Participation) การบริหารท่ีสนับสนนุ ท่ีใช้โรงเรียนเป็น
ฐาน (School - Based Management) โดยมีกระบวนการวางแผน การดาเนินการตามแผน การกากับตดิ ตาม
ผลอย่างเปน็ ระบบ

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้การบริหารและการจัดการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลสามารถสนบั สนุน สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้บรรลุเปา้ หมายของการปฏริ ูปการศกึ ษา
2. เพื่อสนบั สนุนส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาสามารถพัฒนายุทธศาสตร์ในการบริหารและการจัดการศึกษา

ใหม้ คี ุณภาพสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถ่ิน

38

ขอบข่ำย/ภำรกิจ
1. งานธุรการ

2. กลุม่ งานนโยบายและแผน
2.1 งานวเิ คราะห์และพฒั นานโยบายทางการศึกษา
2.2 งานแผนและพฒั นาการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

2.3 งานจดั ตัง้ ยุบรวม เลิกและโอนสถานศึกษา
2.4 งานแผนการจดั ท่เี รียนใหน้ ักเรยี น นกั ศึกษา

3. กลุ่มงานวิเคราะห์งบประมาณ
3.1 งานวิเคราะหค์ ่าใช้จ่าย
3.2 งานจดั ทาและจัดสรรงบประมาณ

3.3 งานบริหารงบประมาณ
4. กลุ่มงานติดตาม ประเมินผลและรายงาน

4.1 งานตดิ ตามการดาเนินงานตามนโยบายและแผน
4.2 งานประเมินผลการดาเนนิ งานตามนโยบายและแผน
4.3 งานรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายและแผน

กลุ่มนโยบายและแผน

งานธุรการ งานนโยบายและแผน งานวิเคราะหง์ บประมาณ งานตดิ ตาม ประเมินผล
และรายงานผล
งานสารบรรณ งานวิเคราะห์และ งานวิเคราะหค์ า่ ใช้จ่าย
พัฒนานโยบายทาง งานจดั ทาและจดั สรร งานตดิ ตามการดาเนินงานตาม
งานประสานงานและ นโยบายและแผน
ใหบ้ ริการ การศึกษา งบประมาณ
งานแผนและ งานบรหิ าร งานประเมินผลการดาเนนิ งาน
งานจัดการประชมุ พฒั นาการจดั งบประมาณ ตามนโยบายและแผน
ภายในกล่มุ นโยบาย การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
งานจัดต้ัง ยุบรวม เลิก งานรายงานผลการดาเนินงานตาม
และแผน และโอนสถานศกึ ษา นโยบายและแผน
งานจัดการความรู้ ขัน้ พน้ื ฐาน
ภายในกลุ่มนโยบาย

และแผน

งานแผนการจัดทเ่ี รียน
ใหน้ กั เรยี น นักศึกษา

39

กระบวนกำรขั้นตอนกำรปฏบิ ัตงิ ำนกลุม่ แผนและนโยบำย

รปู แบบกำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำ กล่มุ นโยบำยและแผน PLAN Model
ตำมแนวทำง SPM. LPI Model ของสำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำลำปำง ลำพนู

40

รำยละเอียดของรูปแบบ PLAN Model
รูปแบบ PLAN Model เป็นรูปแบบการบริหารจัดการอย่างบูรณาการกับทุกงานตามภารกิจของกลุ่ม

นโยบายและแผน ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 – 2565 ฉบับทบทวน ปี 2565 ของ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน โดยยึดหลักการทรงงาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาตาม
ศาสตรพ์ ระราชา เพอื่ การพัฒนาท่ีย่ังยนื โดยประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน ดงั นี้

P: Plan (กำหนดเปำ้ หมำยควำมสำเรจ็ ): มุ่งวิสัยทัศน์เป็นเปำ้ หมำย
เปน็ การกาหนดเป้าหมายการปฏบิ ัติงานใหม้ ีจดุ ม่งุ หมายที่ชดั เจน ด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย
การปฏิบตั ิงานของกลุ่มนโยบายและแผน ทเ่ี ริ่มจากการใชห้ ลักการทรงงานตามศาสตรพ์ ระราชา คือ “เขา้ ใจ”
โดยการวิเคราะห์ภารกจิ ของกลมุ่ นโยบายและแผน รวมทงั้ นโยบายเป้าหมายของการพัฒนาสานักงานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาท่มี ่งุ พฒั นาให้องค์กรมคี ณุ ภาพ

L: Learning (เรียนร/ู้ เขำ้ ใจ): เรยี นรูเ้ ขำ้ ใจระบบงำนทีส่ ร้ำงสรรค์
บคุ ลากรศึกษาเรยี นรู้ ทาความเข้าใจในหน้าท่ี งาน ภาระงาน ระบบงาน เพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและ
ประสิทธิผลของการดาเนินงาน โดยใช้หลักการทรงงานตามศาสตร์พระราชา คือ “เข้าถึง” ประกอบด้วย 3
องค์ประกอบ คอื
1. การระเบดิ จากข้างใน บุคลากรมคี วามตระหนักในการปรับเปลยี่ นหรือพฒั นา ดว้ ยตนเองก่อน ด้วย
การศึกษาวสิ ัยทัศน์ท่ีเป็นทิศทางพัฒนาใหม้ ีความเข้าใจ ตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องเปลีย่ นแปลง นาไปสู่
การพัฒนางาน โครงการ กจิ กรรมในส่วนที่ตนรบั ผิดชอบ
2. การเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย เป็นการศึกษา วิเคราะห์ความต้องการ ความจาเป็นของแต่ละงาน
โครงการ กิจกรรม ท่ีต้องใช้ในการดาเนินงาน ได้แก่ งบประมาณ สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ส่ิงอานวยความ
สะดวกตา่ ง และ
3. สร้างปัญญา โดยการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ด้วย
Line กลุ่ม เว็บไซต์ email และ PLC เพ่ือสร้างนวัตกรรมในการบริหารจัดการภาระงานด้วยความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์สามารถปฏิบัติหน้าท่ี ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยบุคลากรของกลุม่ นโยบายและแผนมี
ความรู้ความสามารถในการสร้าง นวัตกรรมและการใช้นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพงานให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสดุ และสามารถเป็นแบบอยา่ ง และเผยแพร่ได้

A: Action (ดำเนินกำร): ดำเนนิ กำรด้วย 3 ประสำนร่วมพัฒนำ
ดาเนินงานเพื่อให้บรรลุความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพตามพันธกิจของกลุ่มนโยบาย
และแผน โดยใชห้ ลักการทรงงานตามศาสตรพ์ ระราชา คือ “พัฒนา” 2 หลกั การ คือ
1. เริ่มตน้ ดว้ ยตนเอง แตล่ ะงานมสี รา้ งนวัตกรรมการดาเนินงาน โครงการ กิจกรรมในส่วนท่ีรับผิดชอบ
ตามที่ไดก้ าหนดไว้ใน เป้าหมาย และ
2. พึ่งพาตนเองได้ สามารถสร้างและใช้นวัตกรรมเพ่ือดาเนินงาน แก้ปัญหาและพัฒนางาน ให้มี
คณุ ภาพและเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุด

41

N: Network (เครอื ข่ำย/กำรมสี ว่ นร่วม): ประสำนเครือขำ่ ยและกำรมสี ่วนร่วม
ประสานเครือข่ายและการมีส่วนร่วม โดยใช้หลักการทรงงานตามศาสตร์พระราชา คือ “พัฒนา” 2
หลกั การ คอื
1. ประสานเครือข่ายและการมีส่วนร่วม เพ่ือให้เกิดการมีสว่ นร่วมในกระบวนการบริหารจัดการ อัน
เป็นปัจจัยสาคัญที่สนับสนุนและส่งเสริมให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน และ
โรงเรียนมีพลังในการพัฒนาองค์กรอยา่ งสร้างสรรค์ อันเปน็ เป้าหมายหลักของการพัฒนาองค์กรคณุ ภาพ โดย
ปฏิบตั ิงานอย่างเปน็ ระบบร่วมกนั ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมในการให้ขอ้ มูลขา่ วสาร 2) การปรึกษาหารอื 3) การ
ให้เข้ามามีบทบาท เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบาย ประชาพิจารณ์ การ จัดต้ัง
คณะทางานเพื่อเสนอแนะประเด็นนโยบาย เป็นต้น นามาซ่ึงการสร้างฉันทามติให้เกิดขึ้น ท้ังข้อมูล
ขอ้ เสนอแนะและความคิดเหน็ เป็นไปอย่างสร้างสรรค์ด้วยเหตุและผล เพื่อมุ่งประโยชน์ต่อส่วนรวมและเป็น
ส่วนหนง่ึ ในการตดั สินใจในการดาเนนิ การต่าง ของหนว่ ยงาน และ
2. สืบสาน รักษา และต่อยอด โดยนาผลจากการดาเนินงานไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนาการ
ดาเนนิ งานให้มีคุณภาพสูงข้นึ อยา่ งต่อเนอื่ งและยั่งยนื

ควำมเชื่อมโยงระหว่ำง SPM. LPI Model กับ PLAN Model

42

กำรขับเคลือ่ นกำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำกลมุ่ นโยบำยและแผน
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศึกษำมัธยมศึกษำลำปำง ลำพนู ดว้ ย PLAN Model

วสิ ัยทัศนข์ องกล่มุ นโยบำยและแผน
“ขับเคลอ่ื นนโยบาย บรหิ ารงบประมาณอยา่ งคมุ้ ค่า ดว้ ยการมสี ่วนร่วม”

พันธกจิ
1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดทาแผนกลยทุ ธ์
2. สง่ เสริมสนบั สนุนการจดั ตั้งจดั สรรงบประมาณ
3. ส่งเสริมสนบั สนนุ การตรวจสอบ ติดตามประเมินและรายงานผลการใชจ้ ่ายงบประมาณและผลการ

ขับเคล่ือนนโยบาย

ค่ำนิยม
“3 ประสาน ร่วมพัฒนา”
(งานนโยบายและแผน งานวเิ คราะหง์ บประมาณ และงานติดตาม ประเมินและรายงานผลร่วมกนั

พัฒนางาน)

เปำ้ หมำย
กลุ่มนโยบายและแผนบริหารจัดการด้านนโยบายและแผน ด้านงบประมาณ และด้านการตรวจสอบ

ตดิ ตามประเมินและรายงานผล อย่างมคี ุณภาพ

ตวั ชีว้ ัด
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ

แผนปฏบิ ัติการประจาปี เป็นกรอบแนวทางการขบั เคล่ือนนโยบาย และแผนการใช้งบประมาณ อย่างมีคุณภาพ
ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ ม

2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน บริหารงบประมาณอย่างคุ้มค่า ด้วยการมี
สว่ นรว่ ม

3. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาลาปาง ลาพูน มีการตรวจสอบ ติดตามประเมินและ
รายงานผลการใช้จา่ ยงบประมาณและผลการขับเคลอ่ื นนโยบาย

43

กล่มุ ส่งเสรมิ กำรจดั กำรศึกษำ

แนวคดิ
งานส่งเสริมการจัดการศึกษาเป็นงานที่สนับสนุนและส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัดเขตพ้ืนที่

การศึกษาสามารถจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นการบรู ณาการการจัดการศึกษาทั้ง
การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย นาแหล่งเรียนรูและภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ประกอบการ
จัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคม สติปัญญา ทักษะชีวิต คุณธรรม
จริยธรรม จิตอาสา การกีฬา ลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาดผู้บาเพ็ญประโยชน์ องค์กรนักเรียน สิทธิเด็ก การ
จดั หาทุน–กองทุนการศกึ ษา เพ่ือช่วยเหลือผ้เู รียนทงั้ เด็กปกติเด็กด้อยโอกาส เดก็ บกพรอง เด็กพิการ และเด็ก
ที่มีความสามารถพิเศษ อีกท้ังส่งเสริมให้บุคคลครอบครัว ชุมชน สถาบนั ทางศาสนา สถานประกอบการ องค์
กรปกครองส่วนท้องถนิ่ และภาคเอกชนร่วมจัดการศึกษาที่จะสง่ ผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนรวมทั้ง
ปฏิบัติตามพันธกิจท่ีได้มีการลงนามในความตกลง ร่วมกันระหว่างประเทศ การรองรับประชาคมอาเซียนใน
ด้านการจัดการศึกษาท้ังการแลกเปลี่ยนและการส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดจนการดาเนินงานอ่ืน ท่ี
เก่ยี วขอ้ ง

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อสง่ เสริมคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาทงั้ ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ภายใต้ความร่วมมือ

ของบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน สถาบันทางศาสนา และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ และ ภาคเอกชน ทกุ รูปแบบ
ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน

2. เพ่ือส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต ผู้รับบริการทางการศึกษา ให้สมบูรณ โดยส่งเสริมให้
สถานศึกษาจัดอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) และเพื่อส่งเสริมให้มีจริยธรรม คุณธรรม วินัยโดยเน้นกีฬา
นนั ทนาการ ลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชนนักศึกษาวิชาทหารและการปฏิบัติตนตามระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

3. เพื่อส่งเสริมสิทธิเด็ก การจดั หาทุน กองทุนการศกึ ษาเพ่อื สนับสนุนการศกึ ษาให้กบั เด็กนักเรียนทั้ง
เด็กปกติเด็กด้อยโอกาส เด็กบกพรอง เด็กพิการ และเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษด้วยการระดมทรัพยากรจาก
ทุกฝ่าย

4. เพอื่ สง่ เสรมิ กิจการพิเศษ ที่เปน็ การสร้างความม่นั คงและประสานเครอื ขา่ ยทุกระดับไปสู่การจดั การ
ศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

5. เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ตลอดจนข้อตกลงร่วมกันระหว่างประเทศในการจัดการศึกษาทั้ง
แลกเปลย่ี น และสง่ เสริมสนับสนนุ เพ่อื พัฒนาการศกึ ษาร่วมกนั

ขอบขำ่ ย/ภำรกจิ
(ก) ส่งเสรมิ กำรจัดกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำนในรูปแบบกำรศึกษำในระบบ กำรศกึ ษำนอกระบบและ

กำรศึกษำตำมอัธยำศัย
กระบวนงำน
1. กำรจดั กำรศึกษำในระบบ
1) งานส่งเสริมให้มีการกาหนดวิธีการและแนวทางการดาเนินการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ

การศึกษาปฐมวยั และการศึกษาขนพืน้ ฐานอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ

44

2) การจัดการศกึ ษาในพื้นท่ีภูเขา ทรุ กนั ดาร และชาวเล
3) การจดั การศึกษาเด็กไรสัญชาตเิ ด็กตา่ งชาติพันธุ
4) การจัดการศกึ ษาพืน้ ท่พี ิเศษ
5) การแกปญั หาเด็กตกหลน่ เดก็ กล่มุ เสี่ยง และเด็กออกกลางคัน
6) งานทะเบียนหลักฐานการศึกษา

- การจัดเก็บหลักฐานการศกึ ษา
- การยกเลกิ หลักฐานการศึกษา
- การตรวจสอบวุฒิและการรบั รองความรู
- การซอ้ื แบบพมิ พ์
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดาเนินงานส่งเสริมการจัด
การศกึ ษาในระบบ
2. เพื่อใหบ้ ุคลากรผู้ทาหนา้ ท่ีด้านการจดั การศกึ ษา สามารถใช้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีได้ตรงตามบทบาทหนา้ ที่ท่ี
ชัดเจน เหมาะสม และมีประสิทธภิ าพ
3. เพื่อใหเ้ ดก็ ในวัยเรียนได้รบั การศึกษาอย่างทัว่ ถงึ และเสมอภาค
ขอบเขตของงำน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับ
นกั เรียน คณะกรรมการเขตพื้นทีก่ ารศึกษากาหนดนโยบายฯ ของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสังกัด
รับทราบนโยบายและถือปฏิบัติสาหรับหน่วยงานที่อยู่ในขอบข่ายของการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
หนว่ ยงานตา่ ง ดังต่อไปนี้
- โรงเรยี นในสังกดั สพฐ. ไดแ้ ก่ สถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
- โรงเรยี นนอกสังกดั สพฐ. (ประเภทสามญั ศกึ ษา) ได้แก
- สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน
- สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
- กรมส่งเสริมการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ , ร.ร.เทศบาล)
- สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ (ร.ร.พระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา)
- โรงเรยี นนอกสงั กัด สพฐ. (ประเภทอาชวี ศกึ ษา) ได้แก
- สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สถาบันอาชวี ศึกษา)
- สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
2. กำรศึกษำนอกระบบ
1) ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบให้เชอื่ มโยงกับการจดั การศึกษาในระบบ และการศึกษาตาม
อธั ยาศัย
- การใหก้ ารอนญุ าตสานกั งาน กศน.จดั การศกึ ษาให้กบั เด็กที่มีความจาเปน็ ไมส่ ามารถเรียนใน
ระบบได้
2) ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาทางเลอื ก

45

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้เด็กที่อยู่ในพื้นที่ภูเขา ทุรกันดาร และชาวเลที่อยู่ในวัยการศึกษาภาคบังคับให้ได้รับ
การศกึ ษาครบทกุ คน
2. เพ่ือให้ความช่วยเหลือสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีนักเรียนในพื้นที่ภูเขา ทุรกันดาร และชาวเลได้รับ
การศกึ ษาอย่างเหมาะสม และมีคณุ ภาพ
ขอบเขตของงาน
เดก็ วยั เรียนที่อยูใ่ นพนื้ ทบี่ ริการของแตล่ ะโรงเรียน เชน่ พื้นท่ภี ูเขา และทรุ กันดาร ตองได้เข้าเรียนทกุ
คน ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนถงึ ระดับมธั ยมศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กดั และประสานความร่วมมือกบั หนว่ ยงาน
หรอื สถานประกอบการท่ีเก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนการศึกษาเฉพาะทางการจัดการศกึ ษาของบุคคล
ครอบครัวชุมชน สถาบนั ทางศาสนาและสถาบันอืน่
3. กำรจดั กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย

- งานส่งเสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษา หน่วยงานหรือสถาบันทจี่ ดั การศกึ ษารว่ มวางแผนและกาหนด
แนวทางในการสนบั สนุนสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย
วตั ถปุ ระสงค์

- เพ่อื ใหป้ ระชากรวยั เรียนทุกคนได้รบั การเตรียมความพรอมในระดบั การศกึ ษาปฐมวยั และได้รับ
การศกึ ษาภาคบังคบั อย่างทั่วถงึ และมคี ุณภาพมโี อกาสได้รับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานไม่นอ้ ยกว่า 12 ป

- เพ่อื ให้ผู้ทมี่ ีหนา้ ที่ในการจัดการศกึ ษาทกุ ฝ่ายมีความเข้าใจที่ถูกต้องและจัดการศึกษาอย่างมี
คณุ ภาพ

- เพือ่ ให้สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามกี ารกาหนดหลกั เกณฑ์วธิ ีการและแนวทางท่ีจะเช่ือมโยง
ระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

- เพื่อส่งเสรมิ ศึกษาวจิ ยั และเผยแพรรปู แบบท่ีเหมาะสมในการจัดการศึกษา
- เพื่อสง่ เสรมิ การจัดการศึกษามกี ารประสานงานอยา่ งเปน็ ระบบ
ขอบเขตของงำน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษาแนวทางการจัดการศึกษานอกระบบ ตลอดจนขอบข่ายภารกิจ
ของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องวางแผนและกาหนดแนวทางในการสนับสนุน
ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบให้เช่ือมโยงกับการจัดการศึกษาในระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างท่ัวถึง ติดตาม
ประเมินผล ปรบั ปรงุ เชือ่ มโยงการจัดการศึกษาได้อยา่ งทั่วถงึ และมีประสิทธภิ าพ

(ข) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กำรจัดกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำนของบุคคล ครอบครวั องค์กร ชุมชน องค์
กรวชิ ำชีพ สถำบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสังคมอนื่

กระบวนงำน
- งานส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานของบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กร วชิ าชพี
สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอ่นื

46

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของบุคคล ครอบครวั องค์กรชมุ ชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอื่น
2. เพือ่ ใหก้ ารสนับสนุนและส่งเสริมใหบ้ ดิ า มารดา หรือผู้ปกครอง และสถานประกอบการมคี วามรู
ความเข้าใจในการจัดการศึกษา
3. เพอ่ื เป็นการตดิ ตาม ประเมินผลการจดั การศกึ ษาของบุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรวชิ าชีพ
สถาบนั ทางศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอื่น
ขอบเขตของงำน

- การส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษา
- การย่นื คาขออนุญาตจัดการศกึ ษา
- การจัดทาแผนการจัดการศกึ ษา
- การจัดการเรียนรกู้ ารวัดและประเมนิ ผล
- การตัดสิน และรับรองผลการศกึ ษา
- การกากบั และตดิ ตามการจัดการศึกษา
- การยกเลิกการจัดการศกึ ษา

(ค) ประสำนและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สำมำรถจัดกำรศึกษำ สอดคลองกับ
นโยบำยและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ

กระบวนงำน
- งานสง่ เสริมการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่
วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินให้สามารถจัดการศึกษา สอดคลองกับนโยบาย
และมาตรฐานการศึกษา
ขอบเขตของงำน
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาดาเนินการตามระเบียบ แนวปฏบิ ตั ใิ นการส่งเสริมการจัดการศกึ ษาขน้ั
พนื้ ฐานขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

(ง) สง่ เสรมิ กำรจัดกำรศึกษำสำหรับผู้พิกำร ผู้ด้อยโอกำส และผมู้ ีควำมสำมำรถพิเศษ
กระบวนงำน
1. ส่งเสริมการจดั การศึกษาเดก็ พกิ าร เดก็ ดอ้ ยโอกาส ที่มีความสามารถพิเศษ
2. การส่งเสรมิ และสนับสนนุ นักเรยี นในโควตาพเิ ศษ

- การพัฒนาอจั ฉริยะภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สสวท.)
- การแขง่ ขนั คณติ ศาสตร์วทิ ยาศาสตร์โอลมิ ปกิ แห่งประเทศไทย
- การดาเนินงานของมูลนิธิสง่ เสรมิ โอลมิ ปิกวิชาการ และพฒั นามาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ในพระ
อุปถัมภส์ มเด็จพระเจา้ พ่นี างเธอเจ้าฟา้ กัลยานิวัฒนากรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์
- การคัดเลือกนกั เรียนเพ่ือศึกษาต่อ
3. การคดั เลือกนักเรยี นและสถานศึกษาเพ่ือรบั รางวลั พระราชทานระดบั ข้ันพื้นฐาน
4. งานจดั การศึกษาสาหรบั แลกเปล่ียน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ครอบครัวอุปถัมภ์)

47

วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาสาหรับผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถพิเศษในระดับ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานใหไ้ ด้รบั การส่งเสริมและพัฒนาเตม็ ศกั ยภาพ
ขอบเขตของงำน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาดาเนินการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลการจัดการศึกษาเด็กพิการเด็กด้อย
โอกาส และเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษในระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและนาไปพัฒนาระบบการจัดการศึกษา
สาหรบั ผู้พกิ าร ผ้ดู ้อยโอกาส และผู้มีความสามารถพเิ ศษในระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

(จ) ส่งเสริมงำนกำรแนะแนว สุขภำพอนำมัย กีฬำและนนั ทนำกำร ลูกเสอื ยุวกำชำด เนตรนำรี
ผบู้ ำเพ็ญประโยชน นกั ศกึ ษำวิชำทหำร ประชำธิปไตย วินยั นักเรียน กำรพิทักษ์สิทธิเด็กเยำวชน และงำน
กจิ กำรนักเรยี นอนื่

กระบวนงำน
1. งานส่งเสริมกิจกรรมแนะแนวในสถานศึกษา
2. งานสง่ เสรมิ สุขภาพอนามัย
3. งานสง่ เสริมกฬี าและนันทนาการ
4. ส่งเสรมิ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารยี วุ กาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชนและนกั ศึกษาวชิ าทหาร
5. งานส่งเสรมิ กิจกรรมประชาธปิ ไตย และวนิ ยั นักเรียน
6. งานสภานกั เรยี น สง่ เสรมิ พฒั นา สรา้ งความเข้มแขง็ องค์กรสภานกั เรยี น เด็ก เยาวชนใน
สถานศึกษา
7. งานสง่ เสริมพทิ กั ษ์สทิ ธิเด็กและเยาวชน
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ส่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรียนให้รูจักตนเอง รูจกั สิง่ แวดลอ้ ม สามารถคดิ ตดั สนิ ใจคิดแกปญั หาได้
2. เพือ่ สง่ เสรมิ การวางแผนชีวติ ทงั้ ด้านการเรยี น และอาชีพ สามารถปรับตนได้อยา่ งเหมาะสม
3. เพื่อช่วยให้ครูได้รูจักและเข้าใจผู้เรียน รวมท้ังช่วยเหลือและคาปรึกษาแกผู้ปกครองในการมีส่วน
ร่วมพฒั นาผู้เรยี น
ขอบเขตของงำน
- จัดกิจกรรมแนะแนวให้นกั เรยี นไดร้ ับบริการสนเทศและข่าวสารความรูต่าง
- สถานศึกษามีขอ้ มลู นักเรยี นรายบุคคลทุกด้านสามารถนาไปใชใ้ นการชว่ ยเหลอื และส่งเสรมิ นักเรยี น
ได้อยา่ งถกู ต้อง
- เยาวชนได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตท่ีดีครูผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแกไข
พฤตกิ รรมนักเรยี น
- ครูแนะแนวมีทกั ษะท่เี หมาะสมกบั ความเปล่ียนแปลงทางสังคม

(ฉ) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กำรระดมทรัพยำกรเพ่อื กำรศกึ ษำ
กระบวนงำน
1. งานทุนการศึกษา และการระดมทนุ เพ่ือการศึกษานักเรยี น
2. งานกองทนุ เงนิ ให้กูยืมเพอ่ื การศกึ ษา (กยศ.)
3. งานสวสั ดกิ ารและสงเคราะห์นกั เรียน


Click to View FlipBook Version