The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานการงานอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratdtikorn-p, 2021-03-17 15:14:05

โครงงานการงานอาชีพ

โครงงานการงานอาชีพ

โครงงานรายวิชาการงานอาชพี (ง32102)
เร่อื ง Bag princess

จดั ทำโดย
นางสาวรัตติกร พรมสาเพ็ชร เลขท่ี 21

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 หอ้ ง 4

เสนอ
คณุ ครวู นดิ า บญุ พเิ ชฐวงศ์
โรงเรยี นสตรรี าชนิ ทู ิศ จังหวดั อุดรธานี
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอดุ รธานี



หวั ข้อโครงงาน Bag princess
ผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวชลิตา เถาว์ทวี เลขที่ 16
2. นางสาวนฤมล อินทะไชย เลขที่ 19
ชอื่ ครทู ีป่ รึกษา 3. นางสาวรพีพรรณ ภสู เี ขยี ว เลขท่ี 20
โรงเรยี น 4. นางสาวรัตติกร พรมสาเพ็ชร เลขที่ 22
ปีการศึกษา 5. นางสาววรินทริ า โพธิ์พันไม้ เลขที่ 21
คณุ ครวู นิดา บุญพิเชฐวงศ์
โรงเรยี นสตรรี าชนิ ูทศิ ตำบลหมากแขง้ อำเภอเมือง จงั หวัดอดุ รธานี
2563

บทคดั ย่อ

การจัดทำโครงงานในครั้งน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาสจี ากธรรมชาติ ผลการศกึ ษาและจัดทำโครงงาน
พบว่า สีธรรมชาติคอื สีท่สี กดั ไดจ้ ากวัตถุดบิ ที่มาจาก พชื สตั ว์ และแรธ่ าตุต่าง ๆ ซ่ึงเกิดขนึ้ จากกระบวนการตาม
ธรรมชาติ แหล่งวัตถดุ ิบของสธี รรมชาติสามารถหาได้จากตน้ ไม้ ใบไม้ และจากบางสว่ นของสัตวห์ ลายชนดิ
สามารถใหส้ สี ันตามทเ่ี ราต้องการ และด้วยกรรมวธิ ีการผลิตท่แี ตกต่างกันทำใหผ้ ลิตภณั ฑ์ทไี่ ด้มีความสวยงามและ
สสี ันท่ีหลากหลาย หน่ึงในผลติ ภัณฑท์ ีน่ ยิ มมากคือ สีย้อมผ้า แหล่งวตั ถุดบิ สำหรบั สียอ้ มผ้าธรรมชาตทิ ่ีมักนำมาใช้
กันมักเป็น พืช สตั วแ์ ละแรธ่ าตุที่มีอยูใ่ นแตล่ ะท้องถิน่ เพื่อการนำทรัพยากรท้องถ่นิ มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
และเปน็ การถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาในท้องถนิ่



กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานน้สี ามารถสำเรจ็ ไดด้ ้วยดี เน่ืองจากจากบุคคลหลายทา่ นให้ความช่วยเหลือ ให้ข้อมลู
ข้อเสนอแนะ คำปรกึ ษาแนะนำ ความคดิ เหน็ กำลงั ใจและตรวจสอบตรงตามเน้ือหาของเรอื่ งที่วิจัย

ขอขอบคุณเพือ่ นๆ ทุกคน คุณครู อาจารย์และพ่อผปู้ กครองทใี่ ห้ความร่วมมือและอำนวยสถานท่ี ซงึ่ เป็น
สว่ นหนึง่ ทท่ี ำใหโ้ ครงงานของคณะผจู้ ดั ทำสำเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

สดุ ท้ายนที้ าคณะผจู้ ัดทำขอขอบพระคุณทุกทา่ นทช่ี ว่ ยสง่ เสรมิ สนับสนนุ กระตุ้นเตือน และเปน็ กำลงั ใจให้
ผูจ้ ดั ทำโครงงานในคร้งั นี้

รตั ตกิ ร พรมสาเพ็ชร

สารบัญ หนา้

บทคดั ย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนำ 1
1
- ท่มี าและความสำคัญของโครงงาน 2
- วัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 2
- ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
- ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 4
- ประวตั ิความเป็นมาของผา้ มัดย้อม 5
- ความหมายของมัดย้อม 6
- สมี ดั ยอ้ มท่ีไดจ้ ากธรรมชาติ
- แบบลวดลายผ้ามดั ยอ้ มจากสีธรรมชาติ 7
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 7
- วัสดุ อปุ กรณ์ ที่ใชใ้ นการทำ Bag princess 9
- ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน 10
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอะแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

บทที่ 1
บทนำ

ท่มี าและความสำคญั

สีทเี่ ราใช้กันในชวี ิตประจำวันท้งั สีที่ผสมอาหารและสียอ้ มผ้า ไดม้ าจากการสงั เคราะหส์ ารเคมีและสีจาก
ธรรมชาติ แต่สสี งั เคราะหห์ ลายชนิดหากนำมาใชผ้ สมอาหารจะเป็นอนั ตรายต่อรา่ งกาย แตกต่างจากสีที่ได้จาก
ธรรมชาติ ซง่ึ ใช้ผสมอาหารได้โดยไม่มีอันตราย และใชเ้ ปน็ สยี ้อมผา้ ทใ่ี หส้ สี นั สวยงาม ไดด้ ้วย

สีธรรมชาติไดจ้ ากต้นไมใ้ นปา่ โดยไดจ้ ากบางสว่ นของต้นไม้ เช่น ราก แก่น เปลอื ก ตน้ ผล ดอก เมลด็ ใบ
เป็นต้น โดยมที มี่ าของสจี ากธรรมชาติ ดงั นี้
- สีแดง ไดจ้ าก รากยอ แก่นฝาง ลกู คำแสด เปลือกสมอ คร่ัง
- สคี ราม ได้จาก รากและใบของตน้ คราม หรอื ตน้ ห้อม
- สีเหลือง ได้จาก แก่นแขหรือแกน่ แกแล แกน่ ขนนุ ต้นหม่อน ขมนิ้ เปลอื กไม้นมแมว แก่นสุพรรณิการ์
ดอกกรรณกิ าร์ ดอกดาวเรือง
- สตี องอ่อน ไดจ้ าก เปลือกต้นมะพดู เปลือกผลทับทมิ แก่นแกแลและต้นคราม ใบหูกวาง เปลอื กและผล สมอ
พิเภก ใบสม้ ป่อยและผงขม้นิ ใบแค ใบสับปะรดอ่อน
- สดี ำ ไดจ้ าก ผลมะเกลอื ผลกระจาก ผลและเปลอื กสมอ
- สสี ม้ ไดจ้ าก เปลอื กและรากยอ ดอกกรรณิการ์ (ส่วนที่เป็นหลอดสสี ม้ ) เมล็ดคำแสด
- สีมว่ งออ่ น ได้จาก ลกู หว้า
- สชี มพู ได้จาก ต้นฝาง ตน้ มหากาฬ
- สนี ้ำตาล ได้จาก เปลอื กไมโ้ กงกาง เปลือกผลมังคดุ
- สกี ากีแกมเหลอื ง ไดจ้ าก หมากสง กบั แก่นแกแล
- สเี ขียว ไดจ้ าก เปลอื กต้นมะรดิ ไม้ ใบหูกวาง เปลือกสมอ ครามยอ้ มทับด้วยแถลง

วัตถุประสงค์

1. เพอื่ ศึกษาและคน้ คว้าเกี่ยวสจี ากธรรมชาติ

2. เพ่อื หารายไดใ้ นชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19

2

ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า

1. สถานที่
บ้านของนางสาวชลิตา เถาวท์ วี บา้ นเลขท่ี 79 หมู่ 2 ซอย บา้ นมว่ ง8 ถนนประชาสนั ติ

2. ระยะเวลา
6 มนี าคม 2564 – 11 มีนาคม 2564

3. พชื พรรณธรรมชาติ
สีนำ้ เงิน จากดอกอัญชัน , สชี มพู จากฝาง , สมี ว่ ง จากสฟี ้าและสีชมพูผสมกัน

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. ครวั เรือนและสงั คมปลอดภยั จากสารเคมีจากสีย้อมผา้ ตามท้องตลาด
2. ไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ยในครัวเรือนโดยไม่จำเป็น
3. ไดร้ วู้ า่ สตี า่ งๆได้มาจากพืชพนั ธ์อุ ะไร

บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ในการจดั ทำโครงงานการงานอาชีพ เรื่องการทำผ้าหมดั ยอ้ มจากสธี รรมชาติ ผจู้ ัดทำโครงงานได้ศกึ ษา
เอกสารที่เก่ียวข้องดังนี้
2.1 ประวตั ิความเป็นมาของผ้ามัดย้อม
2.2 ความหมายของมัดยอ้ ม
2.3 สีมัดยอ้ มที่ได้จากธรรมชาติ
2.4 แบบลวดลายผา้ มดั ย้อมจากสีธรรมชาติ

2.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของผา้ มดั ย้อม

กำเนิดของมดั ย้อมคาดว่ามัดย้อมมีกำเนดิ ในเอเชีย และแพร่กระจายลงไปทางใต้ของอนิ เดียหมู่เกาะมลายู
ไปถึงแอฟรกิ า รวมท้ังแพร่กระจายตามเสน้ ทางคาราวาน นักมานษุ ยวทิ ยาขดุ พบเศษผา้ โบราณบนทางสายไหม
(Silk Road) ซง่ึ เป็นเส้นทางการค้าจากจีนไปสเู่ ปอรเ์ ซีย บ่อยครงั้ ท่ีพ่อค้าลำเลยี งสนิ คา้ ซึ่งมีทง้ั ผ้ามัดย้อมและผา้
อ่ืนๆ จากถิน่ หน่ึงไปสู่อีกถิ่นหนึ่ง กรรมวิธีการมัดย้อมยงั คงปรากฏในมณฑลเสฉวน (Szechwan) และ ยนู นาน
(Yunnan) ทางใต้ของจนี โดยส่วนใหญย่ ้อมดว้ ยสนี ้ำเงินมลี วดลายรูปปลา ดอกบัว นก ผเี สือ้ และสงิ โตโดยใช้วธิ ี
เย็บเนา (tritik) แต่ก่อนมดั ย้อมเฉพาะผ้าไหม และเร่ิมใชผ้ า้ ฝ้ายในศตวรรษที่ 16
การตกแต่งลวดลายพเิ ศษแตกต่างกันไปตามแต่ละที่และมีการตั้งช่อื ลายตา่ งกันไป เช่น เกียวโบริ เปน็ มดั ยอ้ มบนผา้
ไหมจากเมืองเกยี วโต โดยวางลวดลายบนแถบสี ยกู าตะชโิ บริ เป็นมดั ยอ้ มสนี ้ำเงนิ บนผ้าฝา้ ยวางลายใหญ่ๆกระจาย
ท่วั ทงั้ ผนื เปน็ ต้น เม่อื ย้อนไปศึกษาการทำมดั ย้อม สมยั โบราณ จะพบว่าบรรพบรุ ษุ มนุษยใ์ ชเ้ ทคนิคการมัดย้อม
ร่วมกับการใชล้ ูกปัด เปลือกหอย และศิลปะอื่นๆ ในการตกแต่งผนื ผ้า หากยอ้ นดูเรอ่ื งราวท่ีกลา่ วไวใ้ นคัมภรี ์ไบเบลิ
ฉบบั พระคริสต์ธรรมเดมิ

จะพบข้อเขยี นที่กลา่ วว่า “โยเซฟ บตุ รชายของยากอบ มีเสื้อคลมุ ยาวท่งี ดงาม หลากสจี นทำใหพ้ ีช่ ายของ
เขารสู้ กึ อจิ ฉา” เรื่องราวน้ชี ้ีนำให้คดิ ว่าเสือ้ ท่ีกล่าวถึงเป็นเส้ือคลมุ ยาวลายมดั ย้อม (Gleser 1999: 22)
หากเปน็ เชน่ น้นั ก็อาจแสดงให้เหน็ ว่า มัดยอ้ มเปน็ เทคนิคการตกแตง่ ผา้ ทเี่ ก่าแก่กว่า 2,000 ปี และเป็น ภูมิ
ปัญญาของชาวตะวนั ออกจารีตนิยมในกระบวนการกันสีย้อมรวมทั้งการมัด การทำปม การผูก หรอื การเย็บปักบน

ผืนผา้ ก่อนนำไปจุ่มสยี ้อม เป็นปัญญานกึ คิดท่ีคนเอเชียตะวันออกริเร่ิมแมจ้ ะมีการตีความท่ีขดั แย้งกันอยู่ แต่การ 4
สบื ค้นต้นกำเนดิ แทจ้ ริงของการทำมดั ย้อมไมใ่ ชส่ ิ่งสำคัญ
หลกั ฐานทีค่ ้นพบและเชื่อถือไดค้ อื ข้อมลู เกี่ยวกับความรใู้ นระยะตน้ ของกระบวนการทำมัดยอ้ มในอินเดีย จีน ญ่ีปุน่
ชวา และบาหลี หลายภมู ภิ าคในแอฟรกิ ามเี ทคนิคการย้อมสเี ฉพาะซึง่ เห็นได้จากงานสง่ิ ทอที่มีการออกแบบ
ลวดลายผิดแผกจากสงิ่ ทอในเอเชียนอกจากนี้ยงั พบเศษผา้ โบราณในเปรูและพบการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำมดั
ยอ้ มจากเปรูไปยังเมก็ ซโิ กและภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวปี ซ่งึ ยนื ยนั วา่ การทำมดั ย้อมเกดิ ข้นึ และแพรก่ ระจาย
เป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอารยธรรมตะวนั ออก ซ่ึงนกั มานุษยวิทยาพบต้นแบบการกนั สยี ้อมอย่างง่ายในวฒั นธรรม
ด้งั เดมิ แทบทุกวฒั นธรรม รูปแบบพ้ืนฐานของลายมัดยอ้ มเป็นการมดั รปู วงกลมเล็กๆ โดยเฉพาะส่งิ ทอจากอินเดยี
ซดู าน บางพื้นท่ขี องแอฟริกา และโมร็อกโก ถ้าเปน็ ผ้าผนื ใหญ่จะใชว้ ธิ ีการพบั ผ้าแลว้ ผูกเป็นการพบั ผ้าจากจุด
หนึ่งใหบ้ รรจบกับอีกจุดหนึ่ง แลว้ มัดให้แนน่ เชน่ การพับผ้าเป็นรูปวงกลม สเ่ี หลย่ี ม และเรขาคณติ
(Belfer 1992: 88 - 90) โดยสรุป การทำมัดย้อมนั้นพบได้ในวัฒนธรรมดัง้ เดมิ แทบทุกวัฒนธรรม แต่โดดเดน่ ใน
อารยธรรมตะวันออก มหี ลกั ฐานการทำมัดยอ้ มทางตอนใต้ของอนิ เดียก่อนจะแพรเ่ ข้าสเู่ กาะมลายแู ละแอฟริกา
ตามเส้นทางสายไหมท่ีกองคาราวานขนสง่ิ ทอจากจีนส่เู ปอร์เซยี และในญ่ปี ่นุ ลวดลายมัดย้อมจากแอฟรกิ าแตกตา่ ง
จาก ลวดลายมัดยอ้ มในเอเชีย มกี ารพบเศษผ้าโบราณในเปรซู ึง่ ไดถ้ ่ายทอดองค์ความรู้การทำมัดย้อมไปสเู่ มก็ ซโิ ก
และตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องทวีป ประเทศท่ีมกี ารทำมดั ย้อมโดดเด่นในระดบั โลก ไดแ้ ก่ ญ่ีปุ่น อนิ เดยี แอฟริกา และ
อเมริกา โดยอารยธรรม ท่ตี า่ งกนั มผี ลต่อการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทตี่ ่างกัน"
2.2 ความหมายของมดั ย้อม

มดั ย้อม (tie-dye) มีความหมายตรงตามตัวอักษร คือ นำผา้ มามัดดว้ ยวสั ดุต่างๆ แล้วนำไปยอ้ มสี โดยใช้
วธิ ีการกันสดี ว้ ยวสั ดบุ างอย่าง เชน่ ยางรัด เชอื ก หมดุ ปักผา้ ตัวหนบี กระดาษ หรือการเย็บ ซ่งึ จะชว่ ยกนั ไม่ใหส้ ี
แทรกซึมลงไป การออกแบบการกนั สขี ึน้ อยู่กับวสั ดทุ ใ่ี ช้ นอกจากนน้ั ผลการออกแบบยงั ข้ึนอยู่กับปรมิ าณสยี ้อม
และการแทรกซึมของสใี นผืนผา้ ทมี่ ดั ดว้ ย (Gleser 1999: 20)
การมัดย้อมในภาษาญปี่ ุ่นใช้ว่า ชโิ บริ (Shibori) เปน็ การจัดการกบั ผา้ ก่อนนำไปยอ้ ม มาจากรากศัพท์ ชิโบรุ
(Shiboru) ซงึ่ หมายถึง การบิด การบีบ การกด คำนี้ มชี อ่ื เรียกท่ีมคี วามเหมือนกันในกระบวนการกนั สยี ้อมผ้า เช่น
การเย็บเพ่ือกนั สีบนผนื ผ้าซง่ึ ทำกนั ทั่วไปในญปี่ นุ่ และเทคนคิ คล้ายกันอ่นื ๆ ท่ีพบในหลายวฒั นธรรมทว่ั โลก ทั้ง
แอฟริกา จนี ยโุ รป อินเดยี อินโดนีเซยี เกาหลี มาลายู อเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต้ (Gunner2006:11) ชโิ บริ เปน็
ความหลากหลายในวธิ กี ารประดบั ตกแตง่ ส่งิ ทอดว้ ยการกำหนดรปู แบบของผา้ และปิดให้แน่นกอ่ นนำไปย้อมสี

ถงึ แมช้ โิ บริจะชบี้ ่งความเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของกลุม่ การกนั สยี อ้ มสิ่งทอ แตร่ ากศพั ท์คำนี้จะเนน้ การแสดงการ 5
กระทำบนผิวผา้ ใหเ้ กดิ ความเป็นสามมติ ดิ ว้ ยวธิ ีการพับ จบี ย่น เยบ็ ดงึ หรือบิดขด

การกำหนดรปู แบบของผา้ ด้วยวธิ ดี งั กลา่ วจะปิดสว่ นทก่ี นั สีได้แนน่ หนาเช่นเดยี วกบั การผูกและทำปม ไม่เหมอื นคำ

วา่ มดั และ ย้อม ซึ่งเป็นกลุ่มคำในภาษาอังกฤษ ไมม่ ีคำศัพท์ในภาษาใดครอบคลมุ ความหลากหลายของเทคนิคชิ

โบริ ซ่ึงตอ้ งใชค้ ำ 3 คำในการแยกวิธีการชโิ บริ ออกมา นัน่ คือ คำว่า พลางงี (Plangi) ในภาษามาเล-อนิ โด หรือ

พนั ธนะ (Bandhana) ในภาษาอินเดีย ซง่ึ หมายถึงกระบวนการรวบและพับผ้า และคำว่า ตริติก (tritik) ในภาษา

มาเล-อนิ โด ทหี่ มายถึงการกันสีดว้ ยการเยบ็ เนาผา้ แต่ศัพท์เฉพาะท้งั สามครอบคลมุ เทคนิคชโิ บริเพียง 2 เทคนิค

คือ การพบั จีบและเย็บ อันทีจ่ รงิ ชโิ บริ ยงั มีลกั ษณะพิเศษ คอื การกันสยี อ้ มด้วยการทำให้ขอบของลายพร่าเลอื น

ซงึ่ เปน็ ลักษณะท่แี ตกตา่ งอย่างสน้ิ เชิงจากการกันสเี พ่ือให้ได้ขอบลายคมชัด เหมอื นการทาสบี นลายฉลุหรือการใช้

เทยี นเขียนลาย ชา่ งย้อมงานชิโบริจะทำงานกับวสั ดอุ ุปกรณ์ต่างๆ โดยไม่พยายามเอาชนะข้อจำกัด แต่ปล่อยใหเ้ กดิ

การแสดงออกอย่างเต็มท่ี

ทำให้องคป์ ระกอบของความไมค่ าดคิดแสดงตัวออกมา สง่ิ ท่ีเกดิ ข้ึนอาจเปน็ ปรากฏการณ์น่าทึง่ หรอื ความเสยี หาย

เป็นได้ทงั้ โอกาสและเหตุบงั เอิญ ซึง่ ทำให้ชโิ บรมิ ีชวี ติ ชวี า และไดผ้ ลงานท่ีน่าอัศจรรย์ยง่ิ (Wada, Rice, and

Barton 1999: 7)

กล่าวโดยสรปุ มดั ยอ้ ม หมายถึง การออกแบบลายบนผืนผ้าดว้ ยกรรมวิธีกนั สยี ้อม โดยการมดั ผา้ พับผา้ แลว้ มดั

เย็บผ้า ผูกผา้ เป็นปม หนีบหรอื หอ่ วสั ดแุ ลว้ มดั มดั ใหแ้ นน่ เพอ่ื กนั ไมใ่ ห้สียอ้ มแทรกซึมเข้าไปหรอื แทรกเขา้ ไปไดน้ ้อย

ทสี่ ดุ แลว้ นำผ้าน้ันไปยอ้ มสี เมื่อแกะปมทีผ่ ูกมดั ออก จะปรากฏลวดลาย

2.3 สีมัดย้อมท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติ

- อญั ชัน มชี ื่อทางวทิ ยาศาสตรว์ ่า ไคลทอเรีย เทอรน์ าเธีย (Clitorea ternatea, Linn) อย่ใู นตระกลู แพบ

ไพไลออนนาซี่ (Papilionnaceae) บางทีเรียกว่าอังชนั ต้นอญั ชันเป็นไม้เลือ้ ยท่ีให้ดอกสวยงามดอกอญั ชนั สนี ้าํ เงิน

นอกจากจะให้ความสวยงามสบายตา สบายใจแล้ว ดอกอญั ชนั ยงั ใช้เเตง่ สีอาหารมาต้ังแต่โบราณกาล ดงั ในพระราช

นพิ นธ์สมัยรชั กาลท่ี ๒ นอกจากจะใช้

ดอกอัญชันแต่งสีอาหารที่ปลอดภยั แล้ว ดอกอัญชันสีน้ำเงินยงั ใชย้ ้อมผ้าไดด้ ้วย แตส่ ีไม่คงทน สารแอนโทไซยานนิ

ในดอกอัญชนั จะเปลย่ี นรูปไปเปน็ สารชนดิ อื่นไดง้ า่ ย ทำให้สซี ดี เร็ว ดังนั้นจึงไม่นยิ มใชส้ ีจากดอกอัญชนั ย้อมผา้ แต่

ยังใชแ้ ต่งสอี าหารได้อยา่ งปลอดภัย

- ฝาง มชี ่อื ทางวทิ ยาศาสตรว์ า่ : Caesalpinia sappan L. วงศ์ : LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ชอื่ อนื่ : งา้ ย (กะเหรี่ยง-กาญจนบุร)ี ; ฝาง (ทั่วไป); ฝางสม้ (กาญจนบรุ )ี มี 2 ชนดิ ชนิดหน่งึ แกน่ สแี ดงเขม้ เรยี กว่า
ฝางเสน อกี ชนิดหน่งึ แกน่ สเี หลอื ง เรยี กว่าฝางส้ม ใช้ทำเป็นยาต้ม 1 ใน 20 หรอื ยาสกดั สำหรบั Haematoxylin
ใชเ้ ปน็ สสี ำหรบั ย้อม Nuclei ของเซล ใชแ้ ก่นฝางต้มเคย่ี ว จะไดน้ ้ำสีแดงเข้มคลา้ ยด่างทับทิมใช้ย้อมผ้าไหม งามดี
มาก ใชแ้ ตง่ สีอาหาร ทำยาอุทัย
2.4 แบบลวดลายผ้ามัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ

มเี ทคนิคในการทำผ้ามัดย้อมด้วยวิธีการ 3 วิธีการดงั นี้
1. การพับแล้วมดั กลา่ วคือ เปน็ การพบั ผ้าเปน็ รปู ต่างๆ แล้วมัดด้วยยางหรอื เชือก ผลท่ไี ดจ้ ะไดล้ วดลายทมี่ ลี ักษณะ

ลายดา้ นซา้ ยและลายด้านขวาจะมคี วามใกลเ้ ตยี งกนั แต่จะมีสีออ่ นด้านหนง่ึ และสีเข้มดา้ นหนง่ึ เนื่องจากว่าหาก
ด้านใดโดนพับไว้ดา้ นในสีกจ็ ะซมึ เข้าไปน้อย ผลท่ีได้ก็คือจะมสี ีจางกว่าน่ันเอง
2. การขยำแล้วมดั กลา่ วคอื เปน็ การขยำผ้าอย่างไมต่ งั้ ใจแล้วมดั ดว้ ยยางหรอื เชือก ผลม่ไี ดจ้ ะได้ลวดลายแบบอสิ ระ
เรยี กว่าลายสวยแบบบงั เอิญ ทำแบบน้ีอีกก็ไม่ได้ลายน้ีอีกแลว้ เน่อื งจากการขยำแตล่ ะคร้ังเราไม่สามารถควบคุม 6
การทบั ซ้อนของผ้าได้ ฉะนน้ั ลายทีไ่ ด้เปน็ ลายท่เี กิดจากความบงั เอิญจริงๆ
เปรยี บเทียบเหมือนกับการท่ีเราเหน็ ก้อนเมฆ ก้อนเมฆแต่ละก้อนจะมีลักษณะแตกตา่ งกัน และ เมือ่ ผา่ นสักครู่ลาย
หรือลักษณะของกอ้ นเมฆก็จะเปล่ียนไป เราเรียกวา่ ลายอสิ ระ หรือรูปร่างรูปทรงอสิ ระนนั่ เอง
3. การห่อแลว้ มดั กลา่ วคือ เป็นการใชผ้ า้ หอ่ วตั ถุต่างๆ ไว้แลว้ มดั ดว้ ยยางหรอื เชิอก ลายที่เกดิ ข้ึนจะเป็นลายใหญ่หรือ
เล็กขน้ึ อยู่กับวัตถุที่นำมาใช้ และลักษณะของการมัด เช่น การนำผา้ มาห่อก้อนหินรปู ทรงแปลกๆ
ทม่ี ขี นาดไม่ใหญน่ กั แลว้ มัดไขวไ้ ปมา โดยเว้นจงั หวะของการมัดใหม้ ีพนื้ ที่วา่ งให้สซี ึมเขา้ ไปได้ อย่างนกี้ ็จะมลี าย
เกดิ ข้นึ สวยงามแตกต่างจากการมดั ลกั ษณะวัตถุอื่นๆ ด้วย

หลักการสำคญั ในการทำมัดย้อมคือ สว่ นท่ถี กู มดั คือส่วนท่ีไมต่ ้องการให้สตี ดิ ส่วนทเ่ี หลอื หรือส่วนท่ไี มไ่ ด้มัดคือ
ส่วนที่ตอ้ งการใหส้ ตี ิด การมัดเป็นการกนั สีไมใ่ ห้สตี ดิ นนั่ เอง ลกั ษณะทส่ี ำคญั ของการมัดมีดังนี้
1. ความแน่นของการมัด กรณีแรกมดั มากเกนิ ไปจนไมเ่ หลือพื้นทใี่ ห้สีแทรกซมึ เข้าไปได้เลย ผลทไ่ี ด้กค็ ือ ได้สีขาวของ
เนอ้ื ผ้าเดมิ อาจมีสีย้อมแทรกซึมเข้ามาได้เล็กน้อย อยา่ งนเ้ี กดิ ลายน้อย กรณีท่สี องมัดน้อยเกนิ ไป เหลอื พ้นื ที่ให้สี
ย้อมติดเกอื บเต็มผืน อยา่ งนเ้ี กดิ ลายน้อยเชน่ กนั ท้ังผืนมสี ีย้อมแต่แทบไมม่ ีลายเลย กรณีที่สาม มดั เหมือนกนั แตม่ ัด
ไม่แนน่ อยา่ งน้ีเทา่ กับไม่ได้มัดเพราะหากมัดไม่แน่นสกี จ็ ะแทรกซึมผา่ นเขา้ ไปได้ทว่ั ทงั้ ผืน
2. การใชอ้ ุปกรณช์ ่วยในการหนีบผา้ แลว้ มดั เพอื่ ให้เกดิ ความแน่น และเกิดลวดลายตามแม่แบบท่ใี ช้หนบี

ดงั นนั้ ลายสวยเพียงใดขึ้นอยู่กับการออกแบบแม่แบบทจี่ ะใช้หนีบด้วย
3. ความสมำ่ เสมอของสยี ้อม สีย้อมที่ติดผา้ จะสม่ำเสมอไดข้ นึ้ อยู่กบั อณุ หภูมิความรอ้ นขณะนำผา้ ลงยอ้ ม และการกลบั

ผา้ ไปมาการขยำผ้าเกอื บตลอดเวลาของการย้อมหนงึ่ ถึงหนึ่งชวั่ โมงครึ่งก่อนท่จี ะแช่ผา้ ไว้

บทที่ 3

วธิ ีดำเนินโครงงาน

ในการจัดทำโครงงานการในรายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง Bag princess ผจู้ ดั ทำโครงงานมวี ธิ ีการดำเนินงานโครงงาน ตามข้ันตอนดงั ตอ่ ไปนี้

3.1 วัสดุ อปุ กรณ์ ที่ใช้ในการทำ Bag princess

3.1.1 ถงุ ผ้า
3.1.2 ดอกอญั ชัน และฝาง
3.1.3 น้ำยากนั สีตก
3.1.4 หมอ้ สำหรบั ตม้
3.1.5 หนังยางรัดของ
3.1.6 ตะแกรงรองผ้า
3.1.7 กะละมัง
3.1.8 ขวดนำ้
3.1.9 ท่คี ีบ
3.1.10 ถุงพลาสติก

3.2 ข้ันตอนการดำเนินงาน

3.2.1 มัดถงุ ผา้ ดว้ ยหนังยาง ตามลายที่ตอ้ งการ
3.2.2 นำดอกอัญชนั และฝางมาต้มในน้ำเดือดจนไดส้ ี
3.2.3 นำสีฟ้าที่ได้จากดอกอญั ชันและสีชมพูทไ่ี ดจ้ ากฝางมาผสมให้เกิดสมี ่วง
3.2.4 นำถงุ ผ้ามาชุบในน้ำแล้วบบี ใหห้ มาด
3.2.5 นำสีท่ไี ด้มาฉดี ใสถ่ ุงผา้ ให้เกดิ ลวดลายตามใจชอบ
3.2.6 นำไปพกั ไวใ้ นถงุ พลาสติกเพ่ือใหส้ ซี มึ เขา้ ไปในผ้า ประมาณ 10 นาที
3.2.7 นำน้ำยากนั สตี กมาเทใส่น้ำสะอาดแลว้ น้ำถุงผ้ามาชุบทิ้งไวป้ ระมาณ 10 นาที
3.2.8 นำถงุ ผา้ มาตดั ยางออกแลว้ นำขน้ึ ตาก

8

ภาพท่ี 3.1 ขั้นตอนการทำถุงผา้ มดั ย้อม
ทมี่ า : รพีพรรณ ภสู ีเขยี ว

บทท่ี 4

ผลการดำเนนิ การ

ในการจดั ทำโครงงานการนำความรไู้ ปใชบ้ รกิ ารสังคม (Social Service : IS3)
เร่อื ง Bag Princess โดยมีวัตถปุ ระสงค์

๑. มคี วามรแู้ ละประสบการณ์ในการทำกระเปา๋ มัดย้อม
๒. มองเหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ
๓. ทำใหม้ ีรายได้ในระหวา่ งเรียน และเห็นคุณค่าของการประกอบอาชีพ

ซึง่ มีผลการดำเนินงานดังน้ี
กระเป๋ามดั ยอ้ มเปน็ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการนำกระเป๋า สีจากการสังเคราะหส์ ารเคมีหรือสีจากธรรมชาติ

โดยนำกระเป๋ามามัดดว้ ยวัสดุต่างๆ แล้วนำไปย้อมสี โดยใชว้ ิธีการกนั สีดว้ ยวสั ดุบางอยา่ ง เชน่ ยางรัด เชือก หมดุ
ปักผ้า ตวั หนบี กระดาษ หรือการเย็บ ซง่ึ จะชว่ ยกนั ไม่ใหส้ ีแทรกซึมลงไป การออกแบบการกนั สขี นึ้ อยู่กับวัสดุทใ่ี ช้
แล้วนำสที ่ีเตรยี มไว้มาย้อมกบั กระเป๋าที่มัดไว้ วธิ ีการทำกระเปา๋ มัดย้อมมีกรรมวธิ ีงา่ ยไม่ซับซอ้ น สามารถทำเองได้
โดยการทำกระเปา๋ มัดยอ้ มสามารถจดั จำหนา่ ยและหารายได้เสรมิ ระหวา่ งเรยี น สที ี่เรานำมาศึกษา คือ สฟี ้า
(อญั ชนั ) สชี มพู(ฝาง) สมี ว่ ง(อัญชนั และฝาง) หลังจากนัน้ ได้นำกระเป๋ามดั ย้อมมานำเสนอในหลายรูปแบบและ
หลายขนาดโดยมีกลุ่มตัวอย่างคอื เพื่อนรว่ มชัน้ ม.5/4 ซ่งึ ได้รับผลตอบรับที่ดี

บทที่ 5

สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

จากการทดลอง เรื่อง Bag princess สรปุ ผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะไดด้ ังนี้

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

การทำโครงงานกระเป๋ามดั ย้อมตลอดระยะเวลาระหว่างปฏิบัติงานผลสำเร็จเปน็ ที่นา่ พงึ พอใจแก่
ผปู้ ฏิบตั ิงานเป็นอยา่ งมาก เพราะนอกจากการทำโครงงานอาชพี แล้วการปฏิบัตงิ านยังชว่ ยให้ก่อประโยชน์ในด้าน
อ่นื ๆ อีกมากมาย ไมว่ ่าจะเป็นด้านการวางแผนการรับผิดชอบหน้าท่แี ต่ละบุคคลซ่ึงทักษะตา่ ง ๆ ไม่สามารถท่จี ะ
เรยี นรไู้ ดใ้ นห้องเรียนท้งั การปฏบิ ัติงานคร้งั นีย้ งั เปน็ แบบอย่างให้แก่บุคคลท่านอ่นื ทผี่ ่านมาเหน็ ขณะทำกจิ กรรม
ได้รับคำชืน่ ชมจากหลายบุคคลในการรู้จักใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ เปน็ แบบอยา่ งให้รุ่นนอ้ งทำตามเพอ่ื หา
รายไดเ้ สริม เพราะเป็นการปฏิบัติงานท่ีใชไ้ ด้จริง

อภิปรายผล

การทำกระเปา๋ มดั ย้อมในครั้งนีผ้ ูบ้ ริโภคพอใจในสนิ ค้า ท่ีออกมามลี วดลายทส่ี วยงาม และมีสสี ันสดใส
เหมาะสมกบั การใชง้ าน

ประโยชนท์ ี่ได้รบั

๑. มีความรู้และประสบการณ์ในการทำกระเปา๋ มดั ย้อม

๒. มองเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

๓. ทำใหม้ รี ายได้ในระหว่างเรียน และเห็นคณุ ค่าของการประกอบอาชีพ

ข้อเสนอแนะ

1. สจี ะซีดจางและมีความคงทนตอ่ แสงต่ำ

2. ในการทำสจี ากธรรมชาติถา้ ไม่มวี ิธกี ารและจิตสำนึกในการใช้ทรพั ยากรอย่างย่ังยืนย่อมจะกลายเป็น
การทำลายส่งิ แวดลอ้ มได้

3. คุณภาพการทำสีจากธรรมชาติขึ้นอยู่กับปัจจยั หลายประการซ่ึงควบคมุ ไดย้ าก การทำสจี ากธรรมชาติ
ให้เหมอื นเดิมจงึ ทำไดย้ าก

ภาคผนวก

ภาพผนวก ก

ภาพที่ 1 วางแผนการทำงาน

ภาพผนวก ข

ภาพท่ี 2 ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน

ภาพผนวก ค

ภาพที่ 3 ช่องทางการเผยแพร่
ผ่านทาง YouTube

ข้อมลู ผูจ้ ัดทำ

ชอ่ื นางสาวรตั ติกร นามสกลุ พรมสาเพช็ ร
เลขที่ 21 ช้นั ม.5/4
อายุ 17 ปี
ทีอ่ ยู่ 199 ม.4 บ้านมว่ งเฒ่า ต.โนนสะอาด อ.โนนสะอาด
จ.อุดรธานี 41240
เบอร์โทรศัพท์ 0930910024


Click to View FlipBook Version