The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ว PA _ครูทิพย์สุดา สรณะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipsudasarana, 2021-10-11 00:35:00

ว PA _ครูทิพย์สุดา สรณะ

ว PA _ครูทิพย์สุดา สรณะ

PA 1/ส

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรบั ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ

(ทุกสังกดั )
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2565

ผจู้ ัดทำขอ้ ตกลง
ช่อื นางทิพย์สุดา นามสกลุ สรณะ ตำแหน่งครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรียนทา่ ใหม่ "พลู สวสั ดริ์ าษฎร์ฯกูล" สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาจนั ทบรุ ี ตราด
รับเงนิ เดอื นในอนั ดับ คศ. ..3... อัตราเงนิ เดอื น 37,660 บาท

ประเภทหอ้ งเรยี นท่ีจัดการเรียนรู้ (สามารถระบไุ ด้มากกว่า 1 ประเภทหอ้ งเรยี น ตามสภาพการจัด
การเรยี นรู้จรงิ )

R ห้องเรียนวิชาสามญั หรือวชิ าพ้ืนฐาน
£ หอ้ งเรยี นปฐมวัย
£ ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
£ ห้องเรียนสายวิชาชพี
£ ห้องเรยี นการศกึ ษานอกระบบ / ตามอัธยาศยั

ข้าพเจา้ ขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ
ซ่งึ เป็นตำแหนง่ และวทิ ยฐานะท่ดี ำรงอยู่ในปัจจุบันกบั ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไว้ดังตอ่ ไปน้ี

สว่ นท่ี 1 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
ภาคเรียน 2/64
1.1 ช่ัวโมงสอนตามตารางสอน ภาคเรียน 2/64 รวมจำนวน16.66 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดงั น้ี
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าเทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 4 (ว22114)

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 10 ชว่ั โมง/สัปดาห์ (12 คาบ)
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 4(ว20204)

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ (6 คาบ)
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน รายวิชาลูกเสอื -เนตรนารี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 0.83 ช่ัวโมง/

สัปดาห์ (1 คาบ)
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน รายวิชาชุมนมุ หุ่นยนต์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 จำนวน 0.83 ชั่วโมง/

สปั ดาห์ (1 คาบ)

1.2 งานสง่ เสริมและสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้ จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สปั ดาห์
- งานพฒั นาระบบและเครอื ขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ (5 คาบ/สัปดาห)์
- งานคอมพิวเตอร์และ ICT (3 คาบ/สปั ดาห์)

1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา จำนวน 4.17 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- งานโรงเรียนศตวรรษท่ี 21 (2คาบ/สปั ดาห)์
- งานประชาสัมพันธ์ (3 คาบ/สัปดาห์)

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 1.67 ชว่ั โมง/สัปดาห์
-งานหลักสูตรทวศิ กึ ษา (2คาบ/สปั ดาห์)

ภาคเรยี น 1/65
1 1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน ภาคเรยี น 1/65 รวมจำนวน 16.66 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ดงั น้ี

กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าเทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 3 (ว22113)
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 10 ชว่ั โมง/สัปดาห์ (12 คาบ)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี 3(ว20203)
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 5 ชัว่ โมง/สัปดาห์ (6 คาบ)

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น รายวชิ าลูกเสือ-เนตรนารี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 0.83 ชั่วโมง/
สัปดาห์ (1 คาบ)

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน รายวชิ าชุมนมุ หุน่ ยนต์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 0.83 ชัว่ โมง/
สปั ดาห์ (1 คาบ)

1.2 งานสง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 6.67 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- งานพัฒนาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศ (5 คาบ/สัปดาห)์
- งานคอมพิวเตอร์และ ICT (3 คาบ/สัปดาห์)

1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา จำนวน 4.17 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- งานโรงเรยี นศตวรรษที่ 21 (2คาบ/สปั ดาห์)
- งานประชาสัมพนั ธ์ (3 คาบ/สัปดาห์)

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น จำนวน 1.67 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
-งานหลักสูตรทวศิ ึกษา (2คาบ/สัปดาห์)

2. งานทจ่ี ะปฏิบตั ติ ามมาตรฐานตำแหน่งครู (ใหร้ ะบรุ ายละเอียดของงานทีจ่ ะปฏบิ ัตใิ นแต่ละด้าน
วา่ จะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การดว้ ยกไ็ ด้)

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวช้ีวดั (Indicators)

ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ ท่ีจะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 (Outcomes) ท่จี ะเกดิ ข้ึนกับผเู้ รยี น

ตามมาตรฐานตำแหน่ง รอบการประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เห็นถงึ การ

(โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้ึน เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กับผเู้ รยี น ท่ดี ขี น้ึ หรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบุ) มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธิ์

สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาทกั ษะการคิดเชงิ คำนวณ 1. ผ้เู รยี นได้พฒั นา 1. ผู้เรยี นร้อยละ 80

ล ั ก ษ ณ ะ ง า น ท ี ่ เส น อให้ ด้วยกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้เทคนิค ทกั ษะการคิดเชิง มคี วามพึงพอใจใน

ครอบคลุมถึงการสร้างและหรอื เกมมิฟิเคชัน รายวชิ าเทคโนโลยี คำนวณในรายวิชา กระบวนการจัดการ

พัฒนาหลกั สูตร การออกแบบ วิทยาการคำนวณ 4 ของนกั เรยี น เทคโนโลยีวิทยาการ เรยี นการสอนโดยเกม

การจัดการเรียนรู้การจัด ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2มีขนั้ ตอน คำนวณ 4 ด้วย มิฟเิ คชัน ซง่ึ เปน็

กิจกรรมการเรียนรู้การสร้าง การดำเนนิ งานดงั นี้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ นวัตกรรม สอ่ื การเรยี น

และหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การสร้างและพัฒนาหลักสตู ร และการ โดยใชเ้ ทคนิคเกมมิฟิ การสอนที่ครูสร้างขนึ้

เทคโนโลยี และแหลง่ เรยี นรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เคชัน 2. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
การวัดและประเมินผลการ ข้าพเจา้ พฒั นาหลักสตู รรายวิชา 2. ผู้เรียนสามารถนำ มีทกั ษะการการคดิ เชิง
จ ั ด ก า ร เ ร ี ยน รู ้ก า รศ ึกษ า เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 วxxxxx ความรูเ้ รือ่ ง การคดิ คำนวณ ในรายวชิ า
วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อ โดยทำการวิเคราะหห์ ลกั สตู ร มาตรฐาน เชงิ คำนวณไปประยตุ ์ เทคโนโลยีวทิ ยาการ
แก้ปัญหาหรอื พัฒนาการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั และพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ โดย ใชใ้ นชีวิตประจำ คำนวณ 4 สงู ขึน้

การจดั บรรยากาศทีส่ ่งเสรมิ และ ต้องสอดคลอ้ งกบั หลักสูตรสถานศกึ ษา 3.ผ ู ้ เ ร ี ย น ศึ ก ษ า 3. ผ้เู รียนร้อยละ 80

พัฒนาผู้เรียน และการอบรม และหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั ค้นคว้าเพิ่มเติมจาก มผี ลสัมฤทธิ์ทางการ
และพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง สื่อ แหล่งเรียนรู้ใน เรยี น เร่ืองการคิดเชิง
ผู้เรยี น 2561) นำหน่วยการเรียนรูท้ ่พี ฒั นามา ห้องเรียนออนไลน์ คำนวณ รายวิชา
ประยกุ ตใ์ ห้เขา้ กับบรบิ ทของนักเรียน เพอ่ื และสร้างชิ้นงานที่ เทคโนโลยวี ทิ ยาการ
พัฒนาทกั ษะการคดิ เชงิ คำนวณของ เกี่ยวข้องกับแนวคิด คำนวณ 4 สงู ขึน้
นกั เรียน ให้มีสมรรถนะและมผี ลสมั ฤทธิ์ เ ช ิ ง ค ำ น ว ณ ด ้ ว ย 4. ผู้เรียนรอ้ ยละ 80
ทางการเรียนทีส่ ูงขน้ึ เผยแพร่และให้ ตนเอง
คำแนะนำแกค่ รูผู้สอนเทคโนโลยี สามารถใช้ประโยชน์

3. ผู้เรยี นมีความ จากหอ้ งเรยี นออนไลน์
วิทยาการคำนวณ 4 ผ่านทาง เวบ็ ไซต์ พอใจใน
สร้างองคค์ วามร้ไู ดเ้ อง

สภาพแวดล้อม 5. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชวี้ ดั (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ท่ีจะดำเนินการพัฒนาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ท่จี ะเกิดขึน้ กับผู้เรยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ การ

(โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ให้เกดิ ขึ้น เปลย่ี นแปลงไปในทาง

กบั ผ้เู รยี น ที่ดขี ้ึนหรือมีการพฒั นา

(โปรดระบ)ุ มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ขนึ้ (โปรดระบุ)

www.krutipsuda.com และกระดาน ห้องเรยี น เกิด มีความพงึ พอใจ

Padlet.com ความรู้สกึ อยากเข้า บรรยากาศ

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ห้องเรียนมากข้นึ สภาพแวดล้อมใน

มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ห้องเรียน และสามารถ

Active Learning มุ้งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนได้ลง 4. ผูเ้ รียนเอาใจใส่ รกั ษาความสะอาดของ

มอื ทำผ่านการเล่นเกม เป็นกระบวนการ ดแู ลความสะอาดของ ห้องเรียนได้

กลุ่ม และเดี่ยว โดยข้าพเจ้าออกแบบ ห้องเรียนอย่าง

และสร้างเกมออนไลน์ เป็นสื่อการเรียน สมำ่ เสมอมรี ะเบียบ

การสอนที่มุ่งเน้นให้นกั เรียนเรียนรู้และ วนิ ัยในการใช้

แกป้ ัญหาอย่างเป็นขน้ั ตอน และเผยแพร่ ห้องเรียนมากขน้ึ

บนเว็บไซต์ และYoutube chanal โดย

ใช้Padlet เปน็ แหล่งรวบรวมสื่อ

พ ั ฒ น า แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น รู้ ห ้ อ ง เ ร ี ย น

ออนไลน์ เพื่อพัฒนาผู้เรียน และกระตนุ้

ความสนใจ ให้นักเรียนเรียนรู้ควบคู่

ความสุข โดยรวบรวมสื่อการสอนและ

สร้างเกมสำหรับการเรียนรู้และพัฒนา

ทักษะการคิดเชิงคำนวณสำหรับผู้เรียน

ในรายวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ

3ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2และสามารถ

นำไปใช้เป็นสื่อให้กับผู้ที่สนใจภายนอก

ได้ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ได้เอง

ผ่านทาง Padlet.com

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชีว้ ัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่จะดำเนินการพัฒนาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ทจี่ ะเกิดขึน้ กับผู้เรียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เหน็ ถึงการ

(โปรดระบ)ุ ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กิดขนึ้ เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กับผู้เรียน ทีด่ ขี ึน้ หรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบ)ุ มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบุ)

วดั และประเมินผลการเรยี นรู้

พฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4

สำหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2

เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิดเชงิ คำนวณ โดย

กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่

ตอ้ งการให้เกิดสมรรถนะ (ทง้ั K,P,A) แก่

นักเรียนสอดคล้องกับการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล

วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อดพู ้ืน

ฐานความรู้ และทักษะเดิม ว่ามีนักเรียน

ท่ีต้องการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษหรือไม่ ก่ี

คน จำแนกเป็นเก่ง กลาง อ่อน (อาจนำ

ข้อมูลจากผลการเรียนในภาคเรียนก่อน

หน้าร่วมพิจารณา)จากนั้นปรับกิจกรรม

การเรียนรู้และสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ใน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม

สภาพจริง โดยมีการให้ผู้เชี่ยวชาญ

ตรวจสอบความเที่ยงตรง และหา

คุณภาพของเครื่องมือ กำหนดเกณฑ์

รูบิค ในการประเมินอย่างชัดเจน

วเิ คราะหข์ อ้ สอบดว้ ยโปรแกรม Evana

โดยเครื่องมือที่ใช้มดี งั นี้คอื

-กระดานระดมความคิด Padlet.com

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ช้ีวัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ท่ีจะดำเนนิ การพัฒนาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ทจ่ี ะเกิดข้ึนกับผู้เรียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมนิ ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

(โปรดระบ)ุ ที่คาดหวงั ให้เกดิ ข้ึน เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กับผูเ้ รยี น ทด่ี ีขน้ึ หรือมกี ารพฒั นา

(โปรดระบ)ุ มากขึน้ หรอื ผลสัมฤทธ์ิ

สูงขน้ึ (โปรดระบุ)

-ใบกจิ กรรมเรือ่ งแนวคิดเชิงคำนวณ

-แบบทดสอบก่อนเรยี นเรื่องแนวคดิ เชงิ

คำนวณ

-แบบทดสอบหลังเรยี นเร่อื งแนวคดิ เชิง

คำนวณ

-แบบสงั เกตพฤติกรรม

-แบบบนั ทกึ คะแนน

และเผยแพร่เพอื่ เปน็ ตัวอย่างบนเวบ็ ไซต์

และYoutube chanal โดยใช้Padlet

เป็นแหล่งรวบรวมสอ่ื

การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์

เพ่อื แกป้ ญั หาหรือพัฒนาการเรยี นรู้

เมอื่ วัดและประเมินผลการเรยี นของ

นกั เรยี นแลว้ พบวา่ คุณภาพของผู้เรยี น

ยงั ไมเ่ ป็นไปตามจุดประสงคท์ ่ีกำหนดไว้

หรือมีจุดที่สามารถพฒั นาต่อยอด

ขา้ พเจ้าจะวิเคราะหส์ าเหตุของปัญหา

หรือเรือ่ งที่จะพัฒนา จากนั้นศกึ ษา

เอกสารหรือทฤษฏที ี่เกี่ยวขอ้ ง นำมา

สงั เคราะห์ และวางแผนการดำเนนิ การ

โดย การสรา้ งนวตั กรรม ส่งให้

ผเู้ ช่ียวชาญ ตรวจสอบความเหมาะสม

และนำมาทดลองใช้

เผยแพรแ่ ละให้คำแนะนำแกค่ รผู ู้สอน

เทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 4 ผา่ นทาง

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชวี้ ดั (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ที่จะเกิดขนึ้ กับผู้เรยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ การ

(โปรดระบ)ุ ทค่ี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึน้ เปลย่ี นแปลงไปในทาง

กับผู้เรยี น ที่ดีขนึ้ หรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบุ) มากขึ้นหรือผลสมั ฤทธ์ิ

สงู ข้ึน (โปรดระบ)ุ

เว็บไซต์ www.krutipsuda.com และ

กระดานPadlet.com (

การจัดบรรยากาศทสี่ ่งเสรมิ และพฒั นา
พัฒนาห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์

ให้มีบรรยากาศหอ้ งเรยี นทีน่ า่ สนใจ โดย
จดั ทำบอรด์ การเรยี นรทู้ ่ีมีเนอ้ื หาที่
ทนั สมยั เก่ยี วข้องกับเทคโนโลยที ี่ใช้การ
คิดเชิงคำนวณเขา้ มาเกี่ยวข้องเผยแพร่
และใหค้ ำแนะนำแก่ครูผสู้ อนเทคโนโลยี
วทิ ยาการคำนวณ 4 ผา่ นทาง เวบ็ ไซต์
www.krutipsuda.com และกระดาน
Padlet.com

สรา้ งมุมสืบคน้ ในห้องเรยี น ดูแล
อปุ กรณ์ รวมทั้งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใน
ห้องเรียนให้พร้อมใชอ้ ยเู่ สมอ กำหนด
เวรรกั ษาความสะอาดของหอ้ งเรยี น
การอบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะทด่ี ีของ
ผู้เรียน

พัฒนารูปแบบการเสริมสร้าง
คุณลักษณะที่ดี โดยการสร้างความเป็น
คนดีบนโลกดิจิทัลด้วย Be Internet
Awesome ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีที่
ไ ด ้ ร ั บ ม า ต ร ฐ า น ร ะ ด ั บ โ ล ก ม า เ ป ็ น ตั ว
ขับเคลื่อน โดยจะสามารถพัฒนา

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตัวชีว้ ัด (Indicators)

ลักษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิ ท่ีจะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 (Outcomes) ที่จะเกิดขน้ึ กบั ผ้เู รียน

ตามมาตรฐานตำแหนง่ รอบการประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ

(โปรดระบ)ุ ท่คี าดหวังให้เกดิ ข้ึน เปลีย่ นแปลงไปในทาง

กับผูเ้ รียน ท่ดี ีขึ้นหรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบุ) มากขนึ้ หรอื ผลสัมฤทธ์ิ

สูงขนึ้ (โปรดระบุ)

สมรรถนะดิจิทัล ให้กับนักเรียนง่าย ๆ

ผ่านกระบวนการที่มีแผนการจัดการ

เรียนรู้เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยบน

โลกอินเตอร์เนต ควบคู่กับการอบรม

แบบปกติในห้องเรียน หรือห้องเรียน

ออนไลน์ และเปน็ การร่วมสร้างเด็กดีบน

โลกอินเตอร์เน็ตในโครงการครูดีของ

แผ่นดิน เผยแพร่และให้คำแนะนำแก่

ครูผู้สอนเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4

ผ่านทาง www.krutipsuda.com และ

กระดานPadlet.com

2. ดา้ นการสง่ เสรมิ และ การจัดทำขอ้ มูลสารสนเทศของผเู้ รียน 1. ผู้เรียนมี 1.ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 90

สนบั สนุน และรายวิชา แหล่งขอ้ มูล ไดร้ บั ประโยชน์จาก

การจดั การเรยี นรู้ พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลการเข้า สารสนเทศสามารถ การนำสารสนเทศไปใช้

ลกั ษณะงานท่เี สนอให้ เรียน การส่งงานและการมีส่วนร่วมใน นำไปใช้ได้อย่าง เปน็ ขอ้ มูลในการ

ครอบคลมุ ถงึ การจดั ทำขอ้ มูล กิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียน ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว รายงาน

สารสนเทศของผู้เรยี นและ ทั้งแบบประสานเวลาและไม่ประสาน 2. ผูเ้ รยี นสามารถ ต่าง ๆ

รายวิชา การดำเนินการตาม เวลา โดยใช้ Padlet.com และgoogle ตรวจสอบความ 2. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 90

ระบบ ดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น classroom เพ่ือให้นกั เรยี นได้เหน็ ข้อมูล ถูกตอ้ งเก่ียวกับ เขา้ ระบบตรวจสอบผล

การปฏิบัตงิ านวิชาการ และงาน และตดิ ตามพัฒนางานได้ตลอดเวลา รายละเอยี ดวชิ าท่ี การเรียนและได้รบั

อืน่ ๆ ของสถานศกึ ษา และการ สรุปข้อมูลเป็นสารสนเท ศ ใน เรียน ผลการเรียน ทราบขอ้ มูลเกี่ยวกับ

ประสานความรว่ มมอื กับ รายวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 อยา่ งเป็นระบบและมี รายวชิ าท่ีเรยี น และนำ

ผปู้ กครอง ภาคเี ครอื ขา่ ย และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่นักเรียน ความถกู ตอ้ ง ข้อมูลแจ้งกับ

หรือสถานประกอบการ สามารถนำไปใชป้ รบั ปรงุ พัฒนาเพ่ิมเตมิ 3. ผเู้ รยี นได้รบั การ ผ้ปู กครอง

เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนให้สูงขึ้นได้ ชว่ ยเหลือได้ทันทว่ งที

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วดั (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ทีจ่ ะดำเนินการพฒั นาตามข้อตกลงใน 1 (Outcomes) ท่จี ะเกดิ ขึ้นกบั ผ้เู รยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ที่แสดงให้เห็นถงึ การ

(โปรดระบ)ุ ทคี่ าดหวงั ใหเ้ กิดขนึ้ เปลีย่ นแปลงไปในทาง

กับผูเ้ รยี น ท่ีดขี น้ึ หรอื มีการพฒั นา

(โปรดระบุ) มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธิ์

สูงขน้ึ (โปรดระบ)ุ

ครูสามารถนำข้อมูลมาช่วยแก้ไขปัญหา โดยครูทปี่ รกึ ษา

หรือส่งเสริมพฒั นาตอ่ ยอดให้นกั เรยี น สามารถใช้ขอ้ มูล

ใช้โปรแกรม Ps School ในการ สารสนเทศ และ

บันทึกการโฮมรูม การเข้าร่วมกิจกรรม ขอ้ มลู จากการ

ยามเช้ากอ่ นเข้าหอ้ งเรยี น รวมท้งั บันทึก รายงานตามระบบ

ข้อมูลเกี่ยวกับการอบรม ปลูกฝัง ดแู ลช่วยเหลือ

คุณลกั ษณะทีด่ ีงามแก่นักเรยี น และสรุป นักเรยี น ในการนำส่ง

ข้อมูลสารสนเทศส่งต่อแก่ฝ่ายปกครอง รายงานต่าง ๆ เพอื่

และกิจการนักเรียน ผ่านระบบออนไลน์ ประโยชนข์ องผ้เู รยี น

บันทึกข้อมูลการประเมิน SDQ ทั้งใน ไดต้ ามกำหนด

ส่วนของผู้ปกครอง เข้ามาทำการ

ประเมนิ นักเรยี ส่วนของนักเรยี นประเมิน

ตนเองและส่วนของครูท่ีปรึกษาประเมิน

นักเรียน จัดเก็บข้อมูลและสรุปผลเป็น

สารสนเทศ เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ใน

การส่งเสริม พัฒนา หรอื แก้ปญั หาผู้เรียน

เปน็ รายคนรว่ มกับผู้ปกครอง

บันทึกข้อมูลการเยี่ยมบ้านทั้งในสภาวะ

ปกติและสภาวะโรคระบาดโควิดที่ต้อง

ติดตามผ่านระบบออนไลน์ โดยการ

บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับที่พักอาศัย พิกัด

ภาพถ่าย ระยะทางการเดินทาง ปัจจัย

ต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนของ

ผู้เรียน และคัดกรองผู้เรีย นเ ป็น

รายบุคคล นำข้อมูลมาสรุปเ ป็ น

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ชีว้ ัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ที่จะดำเนนิ การพัฒนาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ที่จะเกดิ ขนึ้ กบั ผู้เรียน
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมิน ของงานตามข้อตกลง ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงการ

(โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ให้เกดิ ขึ้น เปลย่ี นแปลงไปในทาง

กบั ผเู้ รยี น ท่ดี ีขน้ึ หรอื มกี ารพฒั นา

(โปรดระบ)ุ มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

สารสนเทศ เพื่อส่งเสริม หรือช่วยเหลือ

นักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น หากพบว่า

นักเรยี นขาดแคลนดา้ นทนุ ทรัพย์ จะทำ

การคัดกรองข้อมูลและส่งต่อไปยังงาน

แนะแนวเพื่อจัดหาทุนการศึกษาเพ่ือ

ช่วยเหลือต่อไป หรือหากพบวา่ นกั เรียน

เป็นกลุ่มเสี่ยงในเรื่องของยาเสพติด

เกมส์ ชู้สาว ก็จะส่งต่อข้อมลู เพ่ือร่วมกับ

งานระบบดูแลช่วยเหลือ โดยแจ้งต่อ

หัวหน้าระดับ ครูผู้เกี่ยวข้อง และ

ผู้ปกครอง เพ่ือร่วมกันหาแนวทางแกไ้ ข

การปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ

ของสถานศึกษา และการประสานความ

ร่วมมอื กับผปู้ กครอง ภาคเี ครือข่าย และ

หรือสถานประกอบการ เผยแพร่และ

ให้คำแนะนำแก่ครูผ่านทาง เว็บไซต์

www.krutipsuda.com และกระดาน

Padlet.com

งานฝา่ ยบริหารงานวิชาการ

งานศูนยค์ อมพวิ เตอร์ จดั ทำและ

ดูแลโครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

คอมพิวเตอร์

1.โครงการพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี นด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.โครงการพฒั นาระบบเครอื ข่าย

งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ ตวั ชี้วัด (Indicators)

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ทจ่ี ะดำเนินการพัฒนาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ทจี่ ะเกดิ ข้นึ กับผู้เรยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมนิ ของงานตามข้อตกลง ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ

(โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ข้นึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กับผู้เรยี น ทีด่ ขี ึน้ หรอื มกี ารพฒั นา

(โปรดระบ)ุ มากขึ้นหรอื ผลสมั ฤทธิ์

สงู ขน้ึ (โปรดระบ)ุ

3.โครงการพัฒนากระบวนการเรยี นร้สู ู่

ศตวรรษที่ 21

4.โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพ

ผูเ้ รยี นสไู่ ทยแลนด์ 4.0

นอกจากนเี้ ป็นคณะทำงานใน

โครงการทวิศกึ ษา มีหนา้ ท่ปี ระสานและ

จัดกิจกรรมการศึกษาร่วมกับภาคี

เครอื ข่าย

งานฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คลตาม

รว่ มกำหนดแนวทางการพัฒนา

บคุ ลากรให้มีและเล่อื นวิทยฐานะ

งานฝา่ ยงบประมาณและสนิ ทรัพย์

ดำเนนิ ตามโครงการท่จี ัดทำและขอ

อนมุ ตั ิเบกิ จา่ ยตามระเบยี บราชการ

งานฝา่ ยบริหารทวั่ ไป

พฒั นางานระบบเครือข่าย ของ

โรงเรยี นให้พร้อมต่อการเรียนรู้ มี

สัญญาณอินเตอรเ์ นต็ ครอบคลุมพน้ื ท่ี

และมคี วามเสถียร

งานประชาสัมพันธ์ รวบรวมขอ้ มูล

ข่าวสารและประชาสัมพันธง์ านของ

โรงเรียน ส่ือสารสรา้ งความเข้าใจอนั ดี

งามแกช่ ุมชน ผู้ปกครอง และองค์กรที่

เกี่ยวข้อง

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (Indicators)

ลกั ษณะงานท่ปี ฏบิ ัติ ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นาตามขอ้ ตกลงใน 1 (Outcomes) ที่จะเกิดข้นึ กบั ผเู้ รยี น

ตามมาตรฐานตำแหน่ง รอบการประเมิน ของงานตามขอ้ ตกลง ทแ่ี สดงให้เหน็ ถงึ การ

(โปรดระบ)ุ ท่คี าดหวังให้เกดิ ขึน้ เปล่ียนแปลงไปในทาง

กับผ้เู รยี น ทดี่ ขี ึน้ หรอื มกี ารพัฒนา

(โปรดระบ)ุ มากขึน้ หรอื ผลสัมฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบุ)

3. ด้านการพัฒนาตนเองและ การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบนน้ั 1. ผูเ้ รียนได้พัฒนา 1. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 80

วิชาชพี จัดทำ ID Plan เพื่อจัดลำดับสิ่งที่ ทักษะการคดิ เชิง มคี วามพอใจในรปู แบบ

ล ั ก ษ ณ ะ ง า น ท ี ่ เส น อให้ ตนเองต้องการพัฒนาเสนอต่อท่าน คำนวณ ดว้ ยกจิ กรรม การจดั กิจกรรมการ

ครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเอง ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา โดยม่งุ เนน้ ท่ีจะ การเรยี นร้โู ดยใช้ เรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย

อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง นำความรู้และทักษะที่ได้มาพัฒนา เทคนิคเกมมฟิ ิเคชัน 2. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 80

การมีส่วนร่วมในกาแลกเปลีย่ น รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ จากการจัดกจิ กรรมท่ี มผี ลสมั ฤทธิท์ างการ

เรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ืพัฒนาการ สอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ เรยี น เร่ืองการคิดเชงิ

จัดการเรียนรแู้ ละการนำความรู้ เข้าร่วมอบรม/สัมมนา โครงการ ที่ 2.ผเู้ รียนสามารถ คำนวณ รายวชิ า

ความสามารถทักษะที่ได้จาก เกี่ยวข้องกับการพฒั นาทกั ษะการคิดเชิง พฒั นาทกั ษะ เทคโนโลยีวิทยาการ

การพฒั นาตนเองและวชิ าชพี มา คำนวณ โดยใช้เกมมิฟิเคชั่น ในรูปแบบ ภาษาองั กฤษผ่าน คำนวณ 6ท่ีสงู ข้นึ

ใช้ในการพัฒนาการจัดการ ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเอง กจิ กรรม ในการ

เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ทั้งในด้านการจดั กิจกรรมการเรียน การ จดั การเรยี นการสอน

ผเู้ รยี น และการพัฒนนวตั กรรม พัฒนานวัตกรรมเกมมฟิ ิชั่น เหมาะสมกับความ

การจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะเก่ียวกับภาษาไทยและ แตกตา่ งระหวา่ ง

ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสารที่ดีกับ บคุ คล

ผู้เรียน โดยบูรณาการในการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอนวิชาเทคโน โล ยี

วิทยาการคำนวณ 4

ศึกษาตอ่ ในระดับทส่ี งู ข้นึ ในสาขาวิจัย

และประเมินผลการศึกษาเพื่อพัฒนา

ตนเองให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ

สามารถทำวิจัยทางการศึกษา รวมทั้ง

การวัดและประเมินผลผู้เรียน ใ ห้

สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัจจุบัน

นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมในด้าน

งาน (Tasks) ผลลัพธ์ ตวั ช้วี ดั (Indicators)

ลักษณะงานทป่ี ฏิบัติ ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนาตามข้อตกลงใน 1 (Outcomes) ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ กับผเู้ รยี น
ตามมาตรฐานตำแหนง่
รอบการประเมนิ ของงานตามขอ้ ตกลง ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การ

(โปรดระบุ) ท่คี าดหวงั ให้เกิดข้นึ เปลี่ยนแปลงไปในทาง

กับผู้เรียน ท่ดี ีข้นึ หรือมกี ารพัฒนา

(โปรดระบุ) มากข้ึนหรอื ผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขึน้ (โปรดระบ)ุ

ตา่ ง ๆ มานำเสนอ เผยแพร่ ใหก้ ับเพื่อน

ครูทั้งในโรงเรียนและบุคคลภายนอก

การจัดอบรมให้ความรู้ด้านสมรรถนะ

ดิจิทัล หรือการใช้เทคโนโลยีในการ

จดั การเรยี นการสอนให้กับโรงเรยี นอน่ื ๆ

พัฒนากลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง

วิชาชีพกับเพื่อนครูทั้งในโรงเรียนและ

กลุ่มเรียนรู้แบบออนไลน์ทั้งด้านการ

พัฒนาวิชาชพี การพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน

และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการ

เรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนเผยแพร่และให้

ค ำ แ น ะ น ำ แ ก ่ ค ร ู ผ ู ้ ส อ น เ ท ค โ น โ ล ยี

วิทยาการคำนวณ 4 ผ่านทาง เว็บไซต์

www.krutipsuda.com และกระดาน

Padlet.com

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจดั ทำขอ้ ตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท

และสภาพการจดั การเรยี นรูข้ องแต่ละสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบร่วมกนั ระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา
และขา้ ราชการครูผ้จู ดั ทำขอ้ ตกลง

2. งาน (Tasks) ท่เี สนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานตอ้ งเปน็ งานในหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบหลัก
ทีส่ ่งผลโดยตรงตอ่ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผ้เู รียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวชิ าหลักท่ีทำการสอนทุกระดบั ช้ัน ในกรณที ี่สอนหลายรายวิชา สามารถเลอื กรายวิชาใดวิชาหนงึ่ ได้
โดยจะต้องแสดงให้เหน็ ถึงการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพฒั นางาน

ตามขอ้ ตกลงสามารถประเมนิ ไดต้ ามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกบั ผลลัพธก์ ารเรียนรู้

ของผเู้ รยี น (Outcomes) และตัวช้วี ดั (Indicators) ท่เี ปน็ รูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมนิ
ผลการพฒั นางานตามขอ้ ตกลง ใหค้ ณะกรรมการดำเนนิ การประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ
สภาพการจัดการเรียนร้ใู นบริบทของแต่ละสถานศกึ ษา และผลลพั ธก์ ารเรียนรูข้ องผู้เรียนทเี่ กดิ จากการพฒั นางาน
ตามขอ้ ตกลงเปน็ สำคญั โดยไม่เนน้ การประเมนิ จากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ตอ้ งแสดงให้เห็นถงึ ระดับการปฏิบัตทิ ค่ี าดหวังของวทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ
คอื การรเิ ร่ิม พัฒนา การจดั การเรียนรแู้ ละการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น ใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงไปในทางทดี่ ีข้ึน
หรอื มีการพัฒนามากขึน้ (ทงั้ น้ี ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงระดบั การปฏิบัตทิ ี่คาดหวังในวิทยฐานะท่ีสงู กวา่ ได้)

ประเด็นท้าทาย เร่อื ง การพฒั นาทกั ษะการคิดเชงิ คำนวณวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 ด้วย
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนคิ เกมมฟิ เิ คชนั รายวชิ าเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

1. สภาพปญั หาการจดั การเรียนรู้และและคุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียน
การจัดการเรียนรวู้ ชิ าเทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 3กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โดยส่วนมากจะเกี่ยวกับกบั การเขียนโปรแกรม ซึง่ นกั เรียนจะต้องมีพน้ื ฐาน ในเรอ่ื งแนวคิดเชงิ คำนวณ ซงึ่ ในปีการศึกษาท่ี
ผ่านมา พบว่า ผ้เู รียนยงั ขาดทกั ษะในเรือ่ งแนวคดิ เชงิ คำนวณ ซง่ึ แนวทางวธิ ีการจดั การเรยี นการสอนแบบปกตยิ งั ไม่กระตุ้น
การเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้สอนจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้เกม สื่อ ท่ี
สง่ เสริมแนวคิดเชิงคำนวณ และเทคโนโลยีมาพฒั นาทกั ษะในเร่ืองแนวคิดเชิงคำนวณของผู้เรยี น และออกแบบกจิ กรรมการ
เรียนรูใ้ หน้ ่าสนใจมากยง่ิ ขึ้น

2. วธิ กี ารดำเนนิ การให้บรรลผุ ล
ข้าพเจ้าดำเนนิ การดังน้ีคือ

1. ทำความเข้าใจกลุม่ เปา้ หมายและเนือ้ หาท่ใี ช้
1.1. วเิ คราะห์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับ

ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2561) และหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนท่าใหม่ "พลู สวสั ดร์ิ าษฎร์นกุ ลู " ในเรือ่ งของ
มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั ของเนือ้ หาเรอื่ งการคดิ เชงิ คำนวณ

1.2 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วของกับเกมมิฟเิ คชนั เพอื่ เป็นแนวทางในการสรา้ ง
กจิ กรรมการเรยี นรู้

1.3 สำรวจความพรอ้ ม ความสามารถในการเข้าถึงส่ือและเทคโนโลยรี วมถงึ รูปแบบการ
เรยี นรู้ ของนกั เรียนทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตัวอย่าง

2. กำหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
2.1 ศึกษาเอกสารเก่ียวกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ระดบั ช้ัน

ม.2 เร่ืองแนวคิดเชงิ คำนวณ
2.2 กำหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ทผ่ี วู้ ิจัยต้องการใหเ้ กดิ แกน่ ักเรยี นหลังจากไดเ้ รยี น

ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคเกมมิฟเิ คชัน เรือ่ ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ
3. กำหนดโครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้
3.1 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องแนวคิดเชิงคำนวณ รายวิชาวิทยาการคำนวณ

ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 จำนวน 3 แผน รวม 6 คาบเรยี นโดยเรยี งลำดบั เน้ือหาจากง่ายไปยากตามลำดับ
3.2 นำแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง แนวคดิ เชิงคำนวณ ท่ีสรา้ งเสร็จเรยี บร้อยแล้วเสนอ

ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อประเมินความสอดคล้องของจุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการ
เรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล ตลอดจนความถูกต้องของภาษาทใ่ี ช้

3.3 นำผลการประเมินความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องแนวคิดเชิง
คำนวณ และ ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมาปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตาม
คำแนะนำ ของผูเ้ ชย่ี วชาญ ก่อนนำแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใชจ้ ริงกับนักเรียนทเ่ี ปน็ กลุม่ ตวั อยา่ ง

4. ข้นั สร้างนวัตกรรม
4.1 กำหนดและจัดเตรียมสอ่ื การเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมและสอดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรยี นรู้

โดยใช้เทคนคิ เกมมิฟิเคชัน เร่ือง แนวคิดเชงิ คำนวณ ซ่งึ ประกอบดว้ ย เอกสารประกอบการเรยี นรู้ และชุดเกม
4.2 จัดทำเอกสารประกอบการเรยี นรู้ เรอ่ื ง แนวคิดเชิงคำนวณ โดยจัดทำให้สอดคล้อง

กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยจดั เรียงลำดบั เนอื้ หาจากงา่ ยไปยากตามลำดบั

4.3 จัดทำชุดเกมโดยพิจารณาสร้างกลไกของเกมจากองค์ประกอบของแนวคิด
เกมมิฟิเคชัน ซึ่งประกอบด้วย คะแนนสะสม เหรียญตราสัญลักษณ์ ระดับขั้น กระดานผู้นำ และความท้าทาย
(วรวิสุทธ์ิ ภิญโญยาง. 2556)

4.4 นำกิจกรรมการเรียนร้โู ดยใชเ้ ทคนิคเกมมฟิ เิ คชัน เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรยี นวชิ าเทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 3 เรอ่ื ง แนวคิดเชงิ คำนวณ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทส่ี ร้างขนึ้ ให้ผู้เช่ียวชาญ
จำนวน 3 คน ตรวจสอบ ความเหมาะสมของกจิ กรรมการเรยี นรู้ ความถูกต้อง ชัดเจน ความสอดคลอ้ งสาระการ
เรยี นรู้ และระยะเวลาท่ใี ช้ ตลอดจนภาษาทถ่ี ูกตอ้ ง โดยใชแ้ บบประเมนิ ความเหมาะสมซง่ึ เปน็ แบบมาตราส่วน
ประมาณคา่ ตามวิธขี อง Likert 5 ระดับ (พชิ ิต ฤทธ์ิจรูญ. 2559: 182-183) ดงั น้ี

5 มีความเหมาะสมมากที่สุด
4 มีความเหมาะสมมาก
3 มีความเหมาะสมปานกลาง
2 มคี วามเหมาะสมนอ้ ย
1 มคี วามเหมาะสมนอ้ ยทส่ี ดุ
4.5 นำผลการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้เทคนคิ เกมมิฟิเคชัน
เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ และข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมาปรับปรุงแก้ไข และพัฒนากิจกรรม
การเรยี นรู้ ตามคำแนะนำของผเู้ ชี่ยวชาญ
4.6 นำกิจกรรมการเรียนรไู้ ปใช้หาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรยี นรดู้ ังขัน้ ตอน
ตอ่ ไปน้ี
1. หาประสิทธิภาพรายบุคคล โดยนำกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค
เกมมิฟเิ คชนั เพอ่ื พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณ รายวชิ าเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 เรอ่ื ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ไปทดลอง รายบุคคลกบั ผู้เรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนทา่ ใหม่ "พลู สวัสด์ริ าษฎร์
นุกูล" ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 4 คน ซึ่งมีระดับความสามารถเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และ
ออ่ น 1 คน เพ่อื พิจารณาเก่ียวกับภาษา กจิ กรรม รวมทั้งส่ือตา่ ง ๆ ที่ใช้ในกจิ กรรม แล้วเกบ็ ข้อมูลเพ่อื นำมาพัฒนา
และปรับปรุงแกไ้ ขโดยการสัมภาษณ์และสังเกตพฤติกรรมอยา่ งใกลช้ ิด
2. หาประสิทธิภาพเป็นรายกลุ่ม โดยนำกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคเกม
มฟิ ิเคชัน เพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ เชงิ คำนวณ รายวชิ าเทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ 4 เร่อื งแนวคิดเชิงคำนวณ ชั้น
มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ไปทดลอง รายบคุ คลกับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นทา่ ใหม่ "พูลสวัสด์ิราษฎร์นุ
กูล" ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 8 คน ซึ่งมีระดับความสามารถเก่ง 2 คน ปานกลาง 4 คน และ
อ่อน 2 คน เพื่อพจิ ารณาเกย่ี วกบั ภาษา กจิ กรรม รวมท้ังสอื่ ตา่ ง ๆ ท่ีใช้ในกจิ กรรม แลว้ เก็บขอ้ มลู เพอ่ื นำมาพัฒนา
และปรับปรงุ แก้ไขโดยการสมั ภาษณ์และสงั เกตพฤติกรรมอยา่ งใกล้ชดิ
4.7 นำกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคเกมมิฟิเคชัน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิง
คำนวณ รายวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ 4 เรื่องแนวคิดเชิงคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ที่สมบูรณ์แล้วไป
ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทั้งในรูปแบบ
Online และ Onsite โดยปรบั ตามสถานการณ์และบริบทให้เหมาะสม
4.8 บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดขึ้น และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียน
ทราบเป็นระยะ หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่องใด ให้ ปรับปรุงแก้ไขได้ในระบบ google
classroom ที่ครูสร้างขึ้น สำหรับใช้แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษา และทำการทดสอบใหม่
จนนกั เรียนมผี ลการเรยี นรูผ้ ่านเกณฑท์ ่ีกำหนด

3. ผลลัพธก์ ารพัฒนาท่ีคาดหวัง
3.1 เชิงปรมิ าณ
ผู้เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 6 ห้อง รวมจำนวนนักเรยี น 217 คน ไดร้ บั การพัฒนา

มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ รายวชิ าเทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 4 เรือ่ งแนวคดิ เชงิ คำนวณ ด้วยกิจกรรมการเรยี นรูเ้ กมมิฟิ
เคชั่น โดยมีคะแนนทดสอบปลายภาคผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม) คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียน
ทั้งหมด และนักเรียนทั้งหมดมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เกมมฟิ เิ คชั่น มีค่าเฉลี่ยอย่ใู น
ระดบั มากขึน้ ไป

3.2 เชิงคุณภาพ
นกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 6 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 217 คน

มีความร้คู วามเข้าใจในเน้ือหาแนวคิดเชิงคำนวณ และสามารถนำความรทู้ ี่ได้จากการเรียนร้ไู ปเช่ือมโยงกบั ชีวิตประจำวนั
เพื่อใช้ในการตัดสนิ ใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง

ลงช่ือ..............................................................
(นางทิพยส์ ดุ า สรณะ)

ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ
ผจู้ ัดทำขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน
วนั ที่ 1 เดอื นตลุ าคม พศ. 2564

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เปน็ ข้อตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ หน็ ชอบใหเ้ ป็นขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน โดยมีขอ้ เสนอแนะเพอื่ นำไปแกไ้ ข และเสนอ

เพ่อื พจิ ารณาอีกคร้ัง ดงั นี้
.......................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ วา่ ทีร่ อ้ ยตรี..............................................................
( สชุ าติ สงวนทรัพย์)

ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี นท่าใหม่ "พลู สวสั ด์ริ าษฎร์นุกูล"
................/.............../...............


Click to View FlipBook Version