The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TMT CCTEAM, 2021-05-10 03:52:56

2020 (2)

2020 (2)

เป้าหมายการพฒั นา ประเด็นความยง่ั ยืน กิจกรรม/โครงการ ประโยชนต์ ่อบริษัท ประโยชนต์ ่อสังคม
ท่ยี ง่ั ยืน (SDGs) ของบริษัท ทส่ี นบั สนุนเปา้ หมาย และสิง่ แวดลอ้ ม

8 การจา้ งงานที่ม ี • การบริหารทรัพยากร • การน�ำระบบ Automation • ประสทิ ธผิ ลท่ีเพมิ่ ขนึ้ ใน • ส่งเสรมิ การจ้างงานท่มี ี
คณุ คา่ และการ บุคคลและสทิ ธมิ นษุ ยชน มาใช้ในกระบวนการ กระบวนการผลิต ประสิทธภิ าพ และการ
เติบโตทาง • การพฒั นาศักยภาพของ ผลิตแทนแรงงานคนใน • สรา้ งความผูกพนั ให้กบั ทำ� งานท่ีเหมาะสม
เศรษฐกจิ พนักงาน บางขั้นตอนการท�ำงานท่ ี พนกั งาน ส�ำหรับผ้หู ญงิ และผชู้ าย
Decent work and มคี วามเส่ียง • อตั ราการลาออกลดลง • สง่ เสรมิ ให้พนักงาน
economics growth • การเลื่อนตำ� แหนง่ ก้าวหนา้ ในอาชพี
พนกั งาน
• การจา้ งงานทไ่ี มผ่ ิด
กฎหมาย

9 อุตสาหกรรม • การจดั การนวัตกรรมและ • การน�ำระบบเทคโนโลย ี • ลดการเกดิ ของเสีย • การลงทุนทางด้าน
นวตั กรรม พัฒนาคณุ ภาพสินคา้ เข้ามาใช้ในกระบวนการ • คุณภาพของสินคา้ และ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
โครงสร้างพื้นฐาน ผลิต /ระบบกงึ่ อัตโนมัติ- บรกิ ารทเี่ พ่มิ ขน้ึ • ผลิตภัณฑ์เหลก็ แผ่นท่ีม ี
Industry, innovation อตั โนมตั ิ เช่น Auto Feed • ประสิทธิผลที่เพิม่ ขน้ึ ใน คณุ ภาพสูง
and infrastructure และ Auto Vacuum กระบวนการทำ� งาน • การผลิตท่ีเปน็ มติ รกับ
• การสง่ เสริมวัฒนธรรม • ความพึงพอใจของลูกค้า ส่ิงแวดล้อม ใช้พลังงาน
การปรบั ปรงุ พฒั นางาน เพม่ิ ข้ึน ลดลง

10 ลดความเหลอ่ื มล้ำ� • การบรหิ ารทรัพยากร • ปฏิบัตติ ่อแรงงานอย่าง • ไม่มกี ารถูกฟอ้ งรอ้ ง • สง่ เสริมความเทา่ เทียม
Reduce บุคคลและสทิ ธมิ นุษยชน เทา่ เทียม ไม่เลือกปฏิบตั ิ ด�ำเนนิ คดจี ากการไม่ ในสังคม
Inequality • การพฒั นาศกั ยภาพของ • การจา้ งงานคนพกิ าร ปฏิบัติตามกฎหมายและ • ผู้พิการมรี ายได้ สามารถ
พนกั งาน • โครงการนวดเพือ่ สขุ ภาพ ไมม่ ีขอ้ พิพาทแรงงาน เล้ียงดตู นเองและ
• การมสี ่วนร่วมและ ส่งเสริมอาชพี ผู้พิการทาง • สร้างความผูกพันให้กับ ครอบครวั
พฒั นาสงั คม/ชุมชน สายตา พนกั งาน

11 เมืองและถ่ินฐาน • การมีสว่ นร่วมและ • โครงการเหล็กเพอ่ื ความ • สร้างความสัมพนั ธท์ ่ดี ี • สนบั สนุนใหช้ ุมชนม ี
มนุษยอ์ ยา่ งยั่งยืน พฒั นาสงั คม/ชมุ ชน ยง่ั ยืน (การสนับสนุน กบั ชุมชน อาคารโครงสร้างเหล็กท่ ี
Sustainable cities เหลก็ เพ่ือใชเ้ ปน็ • บรษิ ทั เป็นที่รูจ้ กั ในชมุ ชน แข็งแรงปลอดภัย และ
and communities สาธารณประโยชน)์ ท่ีหา่ งไกล เหมาะสม
• การสนบั สนนุ เหลก็ เพื่อ • สรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ีดีกับ • การน�ำเหลก็ ไปใช้งาน
การศึกษา สถาบนั การศกึ ษา อยา่ งงานถูกประเภท

12 แผนการบริโภค • การจดั การนวตั กรรมและ • ดำ� เนินการผลิตตาม • ลดการใช้พลังงาน • ใช้ทรพั ยากรธรรมอย่างม ี
และการผลิตท่ียั่งยนื พัฒนาคุณภาพสินค้า นโยบายการลดผล • ลดการเกดิ ของเสยี ใน ประสิทธภิ าพ
Responsible • การจัดการพลังงานและ กระทบด้านส่งิ แวดลอ้ ม กระบวนการผลิต • สนับสนนุ เศรษฐกจิ
Consumption ทรพั ยากรอย่างค้มุ ค่า • เศษเหล็กสามารถขาย หมนุ เวยี น (Circular
and Production • การจดั การก๊าซเรือน และน�ำไปรีไซเคิลได้ 100% Economy)
กระจก

51

บริษทั ทีเอ็มที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

เปา้ หมายการพัฒนา ประเด็นความยง่ั ยืน กิจกรรม/โครงการ ประโยชนต์ อ่ บริษทั ประโยชน์ตอ่ สงั คม
ท่ยี ัง่ ยนื (SDGs) ของบรษิ ัท ท่ีสนบั สนุนเป้าหมาย และสิ่งแวดล้อม

13 การรับมอื การ • การจดั การพลังงานและ • โครงการคารบ์ อน • ลดการพึ่งพาพลังงานหลัก • ลดการปล่อยก๊าซเรือน
เปลี่ยนแปลงสภาพ ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ ฟุตพริ้นท์ และหันมาใช้พลังงาน กระจกทเ่ี ปน็ สาเหตุของ
ภูมิอากาศ • การจดั การกา๊ ซเรอื น • ระบบผลิตไฟฟา้ จาก ทางเลอื กเพม่ิ มากข้ึน ภาวะโลกรอ้ น
Climate Action กระจก พลงั งานแสงอาทิตย์ • ช่วยลดคา่ ใชจ้ ่ายให้ • เกิดความตระหนักในการ
บริษัทได้ในระยะยาว ใชพ้ ลงั งานทางเลือก

มากข้นึ

15 การใชป้ ระโยชน์ • การมสี ่วนร่วมและ • การปลูกตน้ ไมแ้ ละจัดท�ำ • พนื้ ทส่ี ีเขียวภายใน • เพ่มิ พน้ื ทส่ี เี ขยี ว
จากระบบนเิ วศ พัฒนาสังคม/ชมุ ชน ทะเบียนตน้ ไมภ้ ายใน โรงงานท่เี พ่มิ ขนึ้ • สง่ เสรมิ การจัดการปา่
ทางบก • การจัดการพลงั งานและ โรงงาน • มีสว่ นรว่ มกับชมุ ชนท่ี อย่างย่ังยืนและแก้ไขการ
Life on Land ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • ร่วมเป็นพันธมิตรโครงการ หา่ งไกลและท�ำให้บรษิ ัท ตัดไมท้ �ำลายป่า
• การจัดการกา๊ ซเรอื น “คุณดูแลปา่ เราดูแลคณุ ” มคี วามรเู้ พิ่มมากขนึ้ ใน
กระจก เรื่องการดแู ลปา่ และ
ขอ้ มูลดา้ น carbon credit

16 สงั คมสงบสขุ • การกำ� กบั ดแู ลกิจการส่ ู • ปฏบิ ัติตามหลักสทิ ธ ิ • ไม่มีการถกู ฟอ้ งรอ้ ง • ลดความขดั แย้ง
ยตุ ธิ รรม ความย่ังยืน มนุษยชน มาตรฐาน ด�ำเนินคดจี ากการไม่ • ลดปัญหาทางสังคม
ไมแ่ บ่งแยก • การบริหารทรัพยากร แรงงานไทย (มรท.) ปฏบิ ัติตามกฎหมาย • ป้องกันและตอ่ ต้านการ
Peace and บคุ คลและสทิ ธมิ นษุ ยชน • รว่ มโครงการมาตรฐาน และไมม่ ีขอ้ พิพาทแรงงาน ทุจริตคอรร์ ัปชน่ั
justice, strong การปอ้ งกันและแกไ้ ข • สรา้ งความนา่ เชือ่ ถือ
institutions ปัญหายาเสพติดใน และความโปรง่ ใสในการ
สถานประกอบกจิ การ ดำ� เนนิ ธุรกจิ ให้กบั บรษิ ัท
• นโยบายการต่อตา้ นการ
ทุจรติ คอรร์ ปั ช่ันในองค์กร

17 ความรว่ มมือ • การจัดการนวัตกรรมและ • การพฒั นาตอ่ ยอดและ • ไดร้ บั ความรทู้ างดา้ น • ยกระดบั คณุ ภาพของ
เพือ่ การพฒั นา พฒั นาคณุ ภาพสินค้า ขยายผลนวตั กรรมการผลติ เทคโนโลยใี หม่ๆ จาก ผลิตภัณฑ์เหลก็ แผน่ ใน
ท่ียัง่ ยนื ขน้ั สงู Stretcher Leveling คคู่ ้าต่างชาติ ประเทศไทย
Partnership for จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า (USA, China) • ชว่ ยใหธ้ ุรกจิ ของลูกค้า
the goal มาพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ • ประสทิ ธิผลท่ีเพิม่ ขึ้นใน ประสบความส�ำเร็จ
Stay Flat เปน็ เครอ่ื งที่ 2 กระบวนการผลติ เพ่ิมมากข้นึ จากการ
• การนำ� เทคโนโลยแี ละ • คุณภาพของสนิ ค้าและ ใช้ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี คี ณุ ภาพ
เครอื่ งจกั รทที่ นั สมยั มา บริการทเ่ี พมิ่ ขึน้ • ประหยดั พลังงานจาก
พฒั นาตอ่ ยอดโอกาสทาง • ความพึงพอใจของลกู ค้า รอบการขนสินค้าทลี่ ดลง
ธรุ กจิ เชน่ เครอื่ ง Hydro Test เพิม่ ข้นึ
• นำ� หวั ลากทใี่ ชใ้ นสนามบนิ
จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า
มาเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพใน
กระบวนการขนสง่ ภายใน

52

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

ตารางสรปุ ผลการด�ำเนนิ งานด้านความยง่ั ยนื ปี 2562-2563

การจัดการดา้ นความยั่งยนื ในมติ ิเศรษฐกจิ

ประเดน็ ส�ำคญั ตวั ชีว้ ดั หนว่ ย ผลการด�ำเนนิ งาน 2 ปี 25 63 เปา้ หมาย
2562 >90
รางวลั SET
การกำ� กบั ดูแลกิจการ คะแนน CGR รอ้ ยละ 88 89 Sustainability Award
สูค่ วามย่ังยืน ได้รับคดั เลอื กใหอ้ ย่ใู น ใช/่ ไมใ่ ช่ ไม่ใช่ ใช่
รายชื่อหุ้นยง่ั ยืน (THSI)
ตอ่ เน่ือง

การบริหารความเสยี่ ง เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารสนิ ค้าท่ี ใช่/ไมใ่ ช่ ใช่ ใช่ ต่อเน่อื ง / สมำ�่ เสมอ
ม่นั คงและต่อเนื่อง ใช่/ไม่ใช่ ใช่ ใช่ ตอ่ เนื่อง / สมำ�่ เสมอ
ความตอ่ เนื่องในการสง่
มอบคณุ คา่ ของสินคา้
และบรกิ าร

การจดั การนวตั กรรม ผลประเมนิ ความ รอ้ ยละ 88 87 >80 หรอื เพ่มิ ขน้ึ จากปี
และพฒั นาคุณภาพ พึงพอใจของลกู ค้าที่มี ตนั ก่อน
สนิ คา้ ตอ่ สินค้า เรอ่ื ง 962,919 957,701 1 ลา้ นตนั
ปรมิ าณการใช้กำ� ลัง 4 5 มีผลงานต่อเนื่องทกุ ปี
การผลิตเพมิ่ ข้นึ เร่อื ง
จ�ำนวนผลงาน/ 265 711 มีผลงานตอ่ เนือ่ งทกุ ปี
เทคโนโลยีที่ใชเ้ พ่อื
เพมิ่ ประสิทธิภาพใน
กระบวนการทำ� งาน
จ�ำนวนผลงานทเี่ กดิ
จากการปรบั ปรงุ และ
พัฒนางานของพนักงาน

การบริหารหว่ งโซ่ จำ� นวนข้อรอ้ งเรียน ขอ้ 0 00
อปุ ทานอย่าง จากค่คู า้ ใช่/ไม่ใช่ ใช่ ใช่ ต่อเนอื่ ง / สม�่ำเสมอ
รับผดิ ชอบ ความครบถ้วน เพยี งพอ
ของวตั ถดุ ิบ และปัจจยั
ตา่ งๆ ในการดำ� เนนิ ธุรกจิ

การบรหิ าร ผลประเมนิ ความ รอ้ ยละ 86.80 88 >80 หรอื เพิ่มขน้ึ จากปี
ความสัมพันธ์ พงึ พอใจของลูกคา้ กอ่ น
กับลูกคา้ เฉล่ยี รวมทกุ ด้าน

53

บรษิ ทั ทเี อ็มที สตีล จ�ำ กัด (มหาชน)

การจดั การด้านความยงั่ ยนื ในมติ สิ งั คม

ประเด็น ส�ำคญั ตวั ชี้วัด หนว่ ย ผลการด�ำเนินงาน 2 ปี 25 63 เป้าหมาย
2562

การบรหิ ารทรัพยากร ผลประเมนิ ความผูกพนั รอ้ ยละ 86.55 82.54 >80 หรือ เพ่มิ ข้นึ จากปี
บุคคลและ ของพนกั งานต่อองค์กร (ผลส�ำรวจค่า (ผลประเมนิ ก่อน
สิทธมิ นุษยชน หรือผลสำ� รวจคา่ นิยม รอ้ ยละ นยิ มองคก์ ร) ความผกู พนั )
การพัฒนาศกั ยภาพ องคก์ ร ชั่วโมง / คน / ปี
ของพนักงาน อตั ราการลาออกของ 24.94 17.41 <10
พนกั งาน จำ� นวน 23 17 เฉลี่ย 25 ช่ัวโมง / คน / ปี
พนักงาน TMT ได้รับการ ขอ้ ร้องเรียน /
พฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งโดย 0 00
ได้รบั การอบรม ขอ้ พพิ าท
จ�ำนวนกรณพี พิ าทดา้ น
แรงงานและการละเมิด
สิทธมิ นุษยชน

อาชีวอนามัยและความ ความสอดคล้องของ ใช่/ไม่ใช่ ใช่ ใช่ ใช่
ปลอดภยั กฎหมายและข้อกำ� หนด ครงั้ / ชวั่ โมง 7.80 1.32 ลดลงอย่างต่อเนอ่ื งทุกปี
ทีเ่ กีย่ วข้อง การท�ำงาน
อัตราความถ่ขี องการ
ประสบอนั ตรายของ
พนกั งาน (Injury
Frequency Rate : IFR)

การมสี ว่ นรว่ มและ จ�ำนวนข้อรอ้ งเรียนจาก จ�ำนวน 0 00
พฒั นาสังคม/ชุมชน สงั คม/ชมุ ชนภายนอก ข้อร้องเรียน 7 3 ต่อเนือ่ งทุกปี
จำ� นวนโครงการท่ีสรา้ ง จำ� นวนโครงการ
ใหเ้ กิดความรว่ มมือ
ระหวา่ งบรษิ ทั และสงั คม

54

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

การจดั การดา้ นความยง่ั ยนื ในมติ ิสิ่งแวดล้อม

ประเด็น สำ� คญั ตัวชว้ี ัด หนว่ ย ผลการดำ� เนนิ งาน 2 ปี 25 63 เป้าหมาย
2562

การจดั การกา๊ ซ ปริมาณการปล่อยก๊าซ t(otnonPCroOd2uecqt)// 0.00030 0.00018 ลดลง รอ้ ยละ 20 เทียบ
เรือนกระจก เรอื นกระจกลดลงตอ่ ปี (รอ้ ยละ 2.63) (ร้อยละ 1.59) กบั ปฐี าน (พ.ศ. 2561)
การจดั การพลังงาน หนว่ ยการผลติ
และทรพั ยากรอยา่ ง เพิม่ พืน้ ท่สี ีเขียว ร้อยละ 13.46 ภายในปี 2570
คุ้มค่า ลดปรมิ าณการใช้ กิโลวัตต์- 637,064.70 13.50 ร้อยละ 20 ของพน้ื ที่
พลงั งานไฟฟ้า ชั่วโมง/ปี
ประหยดั ค่าไฟฟ้า บาท/ปี กโิ ลวตั ต-์ ท้ังหมด ภายในปี 2570
ลดปริมาณการใช้น�้ำ ลกู บาศก์ ชว่ั โมง/ปี 3,074,926.68 ลดลงทุกปี
ควบคุมปริมาณขยะ เมตร/คน 2,484,552.31
(กากอตุ สาหกรรม) 65 ลกู บาศก์ กิโลวัตต-์
ตนั เมตร/คน ชัว่ โมง/ปี
260.95 11,776,969.20 ลดลงทุกปี
70 ลูกบาศก์ < 80 ลกู บาศก์เมตร/คน
เมตร/คน
445.60 ตามเกณฑ์มาตรฐาน

การจัดการกากอตุ สาหกรรม
และวัสดุท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้

รายงานฉบับน้มี ขี อบเขตข้อมลู ต้งั แต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถงึ 31 ธันวาคม 2563
สอบถามข้อมลู เพิ่มเตมิ และเสนอแนะความคิดเห็นไดท้ :่ี
คณะกรรมการบรรษัทภบิ าลและความยั่งยืน
บรษิ ัท ทีเอ็มที สตลี จ�ำกัด (มหาชน)
179 อาคารบางกอกซิต้ี ทาวเวอร์ ชนั้ 22 ถนนสาทรใต้ แขวงท่งุ มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120
โทรศพั ท์: 0 2685 4000 โทรสาร: 0 2670 9090-2
อเี มล: [email protected] หรอื [email protected] เวบ็ ไซต์: www.tmtsteel.co.th

55

บรษิ ทั ทเี อ็มที สตลี จ�ำ กดั (มหาชน)

การวเิ คราะหแ์ ละคำ� อธบิ ายของฝ่ายบริหาร

ผลการด�ำเนนิ งาน
ปี 2563 บริษัทมผี ลกำ� ไรสทุ ธิ 537.88 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น 133.91% จากปี 2562 โดยมอี ัตรากำ� ไรข้ันต้นเท่ากบั 8.68% เพม่ิ ข้ึน
จากปกี อ่ นที่เท่ากับ 5.45% ถึงแมร้ าคาขายเฉลีย่ ในปี 2563 จะปรบั ตัวลดลง 9.01% เมอ่ื เทียบกับปกี อ่ นกต็ าม

บาท/กโิ ลกรัม
24
23
22

21 21.20
20
19 19.29

18
17
16 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

2562 2563 ราคาขายเฉลยี่ ราคาขายเฉล่ีย
ปี 2562 ปี 2563

แต่ด้วยทิศทางการเคลื่อนไหวของราคาเหล็กภายใน ก็เร่ิมฟื้นตัวข้ึนพร้อมๆ กันในอัตราเร่งหลังผ่านพ้นช่วงการ
ประเทศซ่ึงสอดคล้องกับราคาในตลาดโลกเป็นทิศทางท่ีมีการ ปรบั ตัวดงั กลา่ ว เพ่ือเข้าสูร่ ะดบั การสะสมสินคา้ คงคลงั ในระดบั
ปรับเพ่ิมข้ึนต้ังแต่เดอื นพฤษภาคมในปี 2563 มาอย่างตอ่ เน่ือง ปกติ จงึ ทำ� ใหร้ ะดบั ราคาสนิ คา้ เพมิ่ ขน้ึ จากความตอ้ งการทสี่ งู ขน้ึ
และมีอตั ราเรง่ ตัวในชว่ งไตรมาสสุดท้ายของปี สบื เนือ่ งจากการ มากกว่าปริมาณสินค้าท่ีผลิตเข้าสู่ตลาด ภาวการณ์ดังกล่าว
ฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนหลังการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ส่งผลให้อัตราก�ำไรข้ันต้นกลับเข้าสู่ภาวะปกติในปี 2563 และ
COVID-19 ในขณะทรี่ ะดบั ปรมิ าณสนิ คา้ คงคลงั ในตลาดโดยรวม ดกี วา่ ปี 2562 ทอี่ ยภู่ ายใตแ้ รงกดดนั จากราคาทป่ี รบั ลดลงอยา่ ง
เม่ือต้นปี 2563 อยู่ในระดับต�่ำกว่าปกติ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก ตอ่ เน่ืองจากการแข่งขนั เพอ่ื ระบายสนิ คา้ สว่ นเกินในตลาด
การลดระดับปริมาณเหล็กส่วนเกินในตลาดอย่างต่อเนื่องใน
ปี 2562 จึงเป็นแรงกดดันให้ระดับราคาสินค้าปรับลดลงตั้งแต่ สำ� หรบั ปรมิ าณขายในปี 2563 มจี ำ� นวนทงั้ สนิ้ 757,175 ตนั
เดือนมถิ นุ ายนปี 2562 จากการเรง่ ระบายสินคา้ คงคลงั ส่วนเกิน ลดลงจากปี 2562 คดิ เป็น 2.77% ซ่งึ ดีกวา่ เม่ือเปรยี บเทียบกับ
รวมถึงการลดปริมาณการผลิตของผู้ผลิตและผู้ค้าในตลาด ปริมาณการบริโภคสินค้าเหล็กส�ำเร็จรูปท้ังหมดในประเทศที่
ประกอบกบั ความกงั วลของสงครามการคา้ ระหวา่ งสหรฐั อเมรกิ า ลดลง 11.60%1 ถงึ แมจ้ ะมผี ลกระทบจากการบรโิ ภคสนิ คา้ เหลก็
และจีน ซ่ึงส่งผลใหห้ ลายอุตสาหกรรมตอ้ งปรบั เปลย่ี นฐานการ โดยรวมลดลงและสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยจากอัตราการ
ผลิตในห่วงโซ่อุปทานเพ่ือรับมือกับผลกระทบดังกล่าว ท�ำให้ ขยายตวั ของ GDP ตดิ ลบ บรษิ ทั ยงั คงสามารถรกั ษาฐานลกู คา้ เดมิ
ระดบั ปรมิ าณสนิ คา้ คงคลงั ในตลาดทม่ี ที งั้ เพอื่ ผลติ และจำ� หนา่ ย และเพ่ิมส่วนแบ่งทางการตลาดได้อย่างต่อเนื่อง จากกลยุทธ์
อย่ใู นระดับตำ�่ กว่าปกติ เมอ่ื ตน้ ปี 2563 และเมื่อเรม่ิ มกี ารฟน้ื ตัว ทมี่ งุ่ สกู่ ารเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารครบวงจรและการรกั ษาความเพยี งพอ
จากการผ่อนคลายการ Lock down ท้ังภายในประเทศและ ของปรมิ าณสนิ คา้ คงคลงั ทสี่ ามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งหลากหลาย
ภูมิภาคเอเชีย การกลับมาของการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ ม่ันคงและต่อเนื่อง
1 ขอ้ มลู จากรายงานของสถาบนั เหลก็ และเหลก็ กลา้ แหง่ ประเทศไทย
ฉบับเดอื น มกราคม2564

56

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

การจดั การผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั COVID-19
บรษิ ทั ไดจ้ ดั ทำ� แผนบรหิ ารความตอ่ เนอ่ื งทางธรุ กจิ (Business Continuity Plan) และนำ� มาปรบั ใชเ้ พอ่ื รองรบั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ
จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ COVID-19 รายละเอยี ดตามทป่ี รากฏใน “แนวทางการจดั การภาวะวกิ ฤต COVID-19 ของ TMT”
ท่ีถูกรวบรวมไว้ใน หนังสือ Sustainable Development Showcase 2020 จัดท�ำขึ้นโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศึกษา
ขอ้ มูลเพม่ิ เติมได้ท่ี QR code:

และบรษิ ทั ไดเ้ ผยแพรไ่ วบ้ นเว็บไซตท์ ี่ www.tmtsteel.co.th / Investor Relations / การบรหิ ารความเส่ียง / แนวทางการจดั การ
ภาวะวกิ ฤต COVID-19

รายไดจ้ ากการขาย
บรษิ ทั มรี ายไดจ้ ากการขายในปี 2563 เทา่ กับ 14,576 ลา้ นบาท ลดลง 11.57% เม่ือเปรยี บเทียบกับปกี อ่ น โดยเป็นการลดลง
ของปรมิ าณขาย 2.77% และเป็นการลดลงของราคาขายเฉลีย่ 9.01% ซง่ึ ราคาขายเฉล่ยี ในปี 2563 อยทู่ ่ี 19.29 บาทต่อกิโลกรัม
โครงสรา้ งรายไดจ้ ากการขายแบง่ ตามกลมุ่ ธุรกจิ ได้ดังนี้

โครงสร้างรายได้
(แบ่งตามกลมุ่ ธรุ กิจ)

ผคู้ า้ ส่ง 42%
โมเดิร์นเทรด 7%
เมกะโปรเจกต2์ %
อตุ สาหกรรมกอ่ สร้างทัว่ ไป 14%
อุตสาหกรรมโครงสร้างเหลก็ 11%
อตุ สาหกรรมผลิตชนิ้ ส่วนยานพาหนะ 8%
อตุ สาหกรรมผลิตชนิ้ ส่วนอะไหล่และอปุ กรณ์ 13%
อนื่ ๆ 3%

ในดา้ นของสัดสว่ นการขายสินคา้ ของบรษิ ัท ในปี 2563 บริษทั มีสดั ส่วนของสนิ ค้าท่ีผา่ นกระบวนการแปรรูปต่อสนิ ค้าท่จี ดั หา
เท่ากับ 76 : 24 เทียบกับ 73 : 27 ในปี 2562 ซึ่งเป็นผลมาจากการที่บริษัทได้มีการขยายก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นมาต่อเนื่องต้ังแต่
ปี 2560

ค่าใช้จ่ายในการดำ� เนินงาน การเงินฉบับท่ี 9 และ 16 ท่ีเร่ิมใช้ในปี 2563 รวมประมาณ
ในปี 2563 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขาย เท่ากับ 174.72 27 ล้านบาท ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการต้ังค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ล้านบาท ลดลง 25.46 ล้านบาท หรือ 12.72% จากปีก่อน ตามเกณฑ์ประเมินใหม่ ค่าใช้จ่ายพนักงานเพิ่มข้ึนประมาณ
โดยเป็นการลดลงของค่าขนสง่ ประมาณ 15 ล้านบาท ทีม่ าจาก 22 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานด้านต่างๆ เพิ่มขึ้น
ราคาของนำ�้ มนั ทป่ี รบั ลดลงและคา่ ใชจ้ า่ ยทางการตลาดทลี่ ดลง รวมประมาณ 5 ล้านบาท ได้แก่ ค่าใช้จ่ายส�ำนักงานค่าเสื่อม
ประมาณ 10 ล้านบาท จากปริมาณการขายและกิจกรรมการ ราคา และค่าวิชาชพี ทป่ี รึกษา บรษิ ัทมดี อกเบีย้ จ่ายในปี 2563
ตลาดท่ลี ดลง เทา่ กบั 82.06 ล้านบาท ลดลง 33.59 ล้านบาท หรือ 29.04%
ส่วนค่าใช้จ่ายในการบริหารเท่ากับ 408.74 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยเป็นการลดลงของอัตราดอกเบ้ียเงิน
เพิ่มขนึ้ 53.76 ล้านบาท หรอื 15.14% จากปี 2562 โดยเป็นการ กยู้ มื ระยะสนั้ ในตลาดเงนิ ทยี่ งั มสี ภาพคลอ่ งสว่ นเกนิ ในระดบั สงู
เพ่ิมขึ้นของการปรับปรุงรายการตามมาตรฐานรายงานทาง

57

บรษิ ัท ทีเอม็ ที สตลี จ�ำ กดั (มหาชน)

สถานะทางการเงิน สนิ ทรพั ย์หมนุ เวยี นอ่นื เพิ่มขนึ้ 34 ลา้ นบาท โดยส่วนใหญ่
สินทรพั ย์ เปน็ ลกู หนก้ี รมสรรพากรซง่ึ เปน็ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ทช่ี ำ� ระไวเ้ กนิ
ปี 2563 บรษิ ัทมสี ินทรพั ยร์ วม 8,840.68 ลา้ นบาท เพม่ิ ข้นึ จากการซอ้ื สนิ คา้ ทมี่ ากกว่าขายในช่วงปลายปี
23.67% จากปีกอ่ นทม่ี สี ินทรัพยร์ วมเทา่ กับ 7,148.72 ล้านบาท
โดยมีสินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มข้ึน 1,679.75 ล้านบาท หรือ บริษัทมีสัดส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนสูงกว่าหน้ีสิน
เพิ่มข้ึน 40.88% การเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์หมุนเวียนที่ หมุนเวยี นอยู่ที่ 1.21 เท่า เทียบกับ 1.29 เทา่ ในปี 2562
ส�ำคัญ สรปุ ได้ดงั น้ี บรษิ ทั มสี นิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี นเพมิ่ ขน้ึ 12.21 ลา้ นบาท หรอื
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพ่ิมข้ึนจ�ำนวน 874 เพ่ิมขึ้น 0.40% โดยในปี 2563 มกี ารไดม้ าของสนิ ทรพั ย์เพ่ิมขน้ึ
198.13 ล้านบาท ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นการลงทุนซ้ือเคร่ืองจักร
ล้านบาท ซ่ึงได้มาจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการ โครงการก่อสร้าง อุปกรณ์โรงงาน และซ้ือรถบรรทุกเพื่อรองรับ
เงินเพอ่ื เตรียมไว้ช�ำระคนื ห้นุ กู้ที่จะครบกำ� หนดในปี 2564 การขยายธุรกิจในอนาคต มีการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ออกไป
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อ่ืนลดลงจ�ำนวน 111 ล้านบาท 4.92 ล้านบาท มีสินทรัพย์ท่ีไม่มีตัวตนสุทธิซ่ึงเป็นโปรแกรม
ซ่ึงเป็นการปรับลดตามยอดขายที่ลดลงจากปีก่อน โดยมี คอมพิวเตอร์เพิม่ ขึ้นจ�ำนวน 4.56 ลา้ นบาท มคี า่ เสือ่ มราคาและ
ระยะเวลาเกบ็ หน้ีเฉล่ีย 60 วัน เพมิ่ ข้ึนจากปีกอ่ นที่ 57 วนั คา่ ตดั จำ� หนา่ ยรวม 234.36 ลา้ นบาท สนิ ทรพั ยท์ เี่ ปน็ สทิ ธกิ ารใช้
ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการให้เครดิตเทอมกับลูกค้า ซึ่งเป็นรายการเช่าทรัพย์สินที่แสดงตามมาตรฐานรายงาน
สว่ นใหญท่ ี่ 60 วนั โดยสดั สว่ นการขายเครดติ เทอมทไี่ มเ่ กนิ ทางการเงินฉบบั ที่ 16 เพ่ิมข้นึ จ�ำนวน 36.39 ล้านบาท โดยมคี ่า
60 วันในปี 2563 คิดเป็น 86% เท่ากับปี 2562 ท้ังน้ีค่า เส่อื มราคาสำ� หรับสินทรพั ย์สิทธกิ ารใชจ้ �ำนวน 22.87 ลา้ นบาท
เผื่อหนี้สงสัยจะสูญได้มีการตั้งเพิ่มจากปี 2562 จ�ำนวน และสินทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อตัดบญั ชเี พม่ิ ข้นึ 12.54 ลา้ นบาท
26 ลา้ นบาท ทำ� ใหค้ า่ เผอื่ หนดี้ งั กลา่ วมสี ดั สว่ นเปน็ 2.33% หนสี้ ิน
ของลกู หนี้ การคา้ รวมซงึ่ เปน็ สดั สว่ นทเ่ี พมิ่ ขน้ึ เมอื่ เทยี บกบั ปี 2563 บริษทั มีหน้ีสินทงั้ ส้ิน 5,658.98 ลา้ นบาท เพม่ิ ขึน้
ปีก่อนหน้า ที่ 1.19% ตามเกณฑ์มาตรฐานการรายงาน 1,415.31 ลา้ นบาท หรอื เพิ่มขน้ึ 33.35% จากปีกอ่ น โดยการ
การเงินฉบับที่ 9 ที่เรมิ่ มีผลบังคับใช้ในปี 2563 เปลย่ี นแปลงทส่ี �ำคญั สรปุ ได้ดังน้ี

สนิ คา้ คงเหลอื เพม่ิ ขนึ้ 536 ลา้ นบาท ซงึ่ เปน็ การปรบั เพม่ิ ขนึ้ เงนิ กยู้ มื ระยะสนั้ จากสถาบนั การเงนิ เพมิ่ ขนึ้ 183 ลา้ นบาท
จากปีก่อน ท�ำให้มีระยะเวลาการขายสินค้าเฉล่ียเท่ากับ รวมถึงเจ้าหน้กี ารคา้ และเจ้าหน้อี ื่นท่เี พ่ิมขึน้ 98 ลา้ นบาท
46 วนั สอดคลอ้ งกบั นโยบายการมสี นิ คา้ คงคลงั ใหเ้ พยี งพอ เพ่ือเพ่ิมระดับปริมาณสินค้าคงคลังให้เพียงพอตาม
ต่อระยะเวลาการขายเฉล่ียท่ี 30 - 60 วัน ซึ่งในช่วงสิ้น นโยบาย
ปี 2562 สินค้าคงคลังอยู่ในระดับตำ�่ กว่าปกติโดยมีระยะ
เวลาการขายเฉลี่ยท่ี 37 วันเนื่องจากตลาดในปี 2562 ภาษีเงินได้ค้างจ่ายเพิ่มขึ้น 68 ล้านบาท ตามก�ำไรสุทธิ
มีปริมาณสินค้าส่วนเกินมากกว่าปกติและมีแรงกดดัน ทเ่ี พ่มิ ขึ้น
จากราคาสนิ ค้าทปี่ รับลดลง
เงนิ รบั ลว่ งหนา้ คา่ สนิ คา้ จากลกู คา้ เพม่ิ ขนึ้ 19 ลา้ นบาท จาก
เงินจ่ายลว่ งหน้าค่าซ้อื สนิ คา้ เพมิ่ ขนึ้ 346 ล้านบาท คิดเปน็ การช�ำระเงนิ เพอ่ื จองสินค้าของลกู คา้
ปรมิ าณสนิ ค้าสำ� หรับระยะเวลาการขายสินค้าเฉลย่ี 5 วนั
เพื่อให้ปริมาณสินค้าคงคลังในปี 2564 มีความเพียงพอ ส่วนของเงินกู้ระยะยาวและหุ้นกู้ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายใน
ตามนโยบายการรักษาปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อบริหาร หน่ึงปี เพม่ิ ข้นึ รวมทง้ั สนิ้ 1,198 ลา้ นบาท ซ่ึงเปน็ ผลทำ� ให้
ความเสย่ี งจากการพึ่งพาผู้ผลิตรายใหญ่ การแสดงรายการหุ้นกู้ในส่วนหน้ีสินไม่หมุนเวียนลดลง
997 ล้านบาท เป็นไปตามเง่ือนไขการช�ำระหนี้ท่ีจะถึง
ก�ำหนดในปี 2564 ท้ังน้ีบริษัทได้เตรียมเงินสดส�ำรองไว้
เพอ่ื ช�ำระหนใ้ี นส่วนนที้ ัง้ หมดแลว้

58

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

ปจั จยั ทอ่ี าจมผี ลตอ่ ฐานะการเงนิ หรอื การดำ� เนนิ งานของ
บรษิ ัทในอนาคต

ราคาสินค้าและปรมิ าณสนิ ค้าในตลาด
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
COVID-19 ประกอบกับภาวการณ์ที่ปริมาณเหล็กส่วนเกิน
มีมากในตลาดท�ำให้ในช่วงคร่ึงปีแรกของปี 2563 การผลิต
เหล็กดิบรวมของโลกลดลงประมาณ 7.20% หลังจากนั้นเม่ือ
สถานการณ์การแพร่ระบาดดังกล่าวเร่ิมผ่อนคลายความวิตก
กังวลและระบบเศรษฐกิจท่ีได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงไปแล้ว
นัน้ รฐั บาลทว่ั โลกก็เริ่มผอ่ นคลายมาตรการต่างๆ รวมถงึ การใช้
มาตรการทางด้านการเงินและการคลังเพ่ือฟื้นฟูและกระตุ้น
เศรษฐกิจให้ฟื้นตัวขึ้น จึงมีส่วนช่วยการผลิตเหล็กดิบรวมของ
โลกในปที ีผ่ า่ นมาปรับตัวลดลง 1.80%

เงินก้ยู มื ระยะยาวเพ่มิ ขนึ้ 799 ลา้ นบาท เป็นเงนิ ก้ยู ืมระยะ การทปี่ ระเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทย ไดใ้ ห้ความส�ำคญั
ยาวจากสถาบันการเงินมีอายุ 5 ปี ทยอยช�ำระเป็นงวด กับการใช้มาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจ จึงมีส่วนช่วยท�ำให้ภาคการ
อตั ราดอกเบย้ี คงท่ี 3% เพอื่ ใชเ้ ปน็ เงนิ ทนุ ระยะยาวทดแทน ผลิตส�ำคัญด้านต่างๆ ท่ีหยุดชะงักไป พยายามกลับมาท�ำการ
ห้นุ กูท้ ีจ่ ะถงึ กำ� หนดชำ� ระในปี 2564 ผลิตเพื่อให้กลับเข้าสู่ระดับการผลิตปกติ แต่ด้วยภาวการณ์ท่ีมี
สินค้าส่วนเกินก่อนหน้านั้นท่ีท�ำให้แต่ละส่วนในห่วงโซ่อุปทาน
หนส้ี นิ ตามสญั ญาเชา่ ระยะยาวและสว่ นทถี่ งึ กำ� หนดชำ� ระ ได้ลดการสะสมวัตถุดิบและสนิ ค้าคงคลงั ไปมากแลว้ เมื่อมกี าร
ภายในหน่ึงปี เพิ่มข้ึนรวมทั้งส้ิน 37 ล้านบาท ซึ่งเป็นการ เรม่ิ ฟน้ื ตวั กลบั มาผลติ ใหม่ จงึ ทำ� ใหม้ กี ารเรมิ่ สะสมและเรง่ สะสม
เพิม่ ขน้ึ ตามมาตรฐานการรายงานการเงินฉบบั ท่ี 16 ทเี่ ริม่ วัตถุดิบในขณะท่ีการผลิตของวัตถุดิบต้นน�้ำยังไม่สามารถกลับ
มผี ลบังคับใชใ้ นปี 2563 มาเพิ่มปริมาณการผลิตได้อย่างปกติ จึงมีผลท�ำให้ระดับราคา
ของวัตถุดิบและสินค้าปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่
ภาระผกู พนั ผลประโยชนพ์ นกั งาน เพมิ่ ขน้ึ 10 ลา้ นบาท ตาม กลางปี 2563 และคาดวา่ จะยงั คงระดบั นไี้ ปอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในชว่ ง
เกณฑก์ ารสำ� รองผลประโยชน์ของพนักงานตามกฎหมาย ครึ่งปีแรกของปี 2564 ในขณะที่ปริมาณการผลิตของวัตถุดิบ
ตน้ นำ�้ ของหว่ งโซอ่ ปุ ทานยงั ไมเ่ ปน็ ปกติ การเรม่ิ สะสมวตั ถดุ บิ ใน
บรษิ ัทมีอัตราส่วนหนสี้ นิ ต่อส่วนของผถู้ ือหนุ้ เท่ากบั 1.78 สว่ นตา่ งๆ ของหว่ งโซใ่ นอตุ สาหกรรมเหลก็ ทำ� ใหป้ รมิ าณการผลติ
เทา่ เพิม่ ขึ้นจากปกี อ่ นหนา้ ที่อยู่ที่ 1.46 เทา่ อัตราส่วนหน้ีสนิ ทีม่ ี ของต้นน�้ำไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้ทัน ภาวะ
ดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 1.26 เท่า ลดลงจาก ความไม่เพียงพอของวัตถุดิบจึงเกิดขึ้นต้ังแต่ไตรมาสสุดท้าย
ปีก่อนหนา้ ท่อี ยทู่ ี่ 1.27 เทา่ และอัตราสว่ นความสามารถชำ� ระ ของปี 2563 และคาดวา่ จะต่อเนอ่ื งไปจนถึงกลางปี 2564
ดอกเบย้ี เท่ากบั 8.96 เท่า เพมิ่ ขน้ึ จากปกี อ่ นท่อี ยูท่ ่ี 3.36 เท่า ดังน้ันภาวะระดับราคาท่ีอยู่ในระดับสูงกว่าปีก่อนและ
ส่วนของผูถ้ ือหนุ้ ความไมเ่ พยี งพอของปรมิ าณวตั ถดุ บิ และสนิ คา้ ในตลาด จงึ อาจ
ปี 2563 บรษิ ทั มสี ว่ นของผถู้ อื หนุ้ เทา่ กบั 3,181.70 ลา้ นบาท เป็นปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานและเงินทุน
เพิ่มข้ึน 276.65 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้น 9.52% จากปีก่อนท่ีมี หมุนเวียนของบริษัทท่ีอาจต้องใช้เพ่ิมข้ึนในช่วงที่ระดับราคา
ส่วนของผถู้ ือหุน้ เท่ากบั 2,905.05 ลา้ นบาท โดยเปน็ การเพิ่มข้นึ สนิ ค้าเพ่ิมสงู ข้ึน
ของก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี 537.88 ล้านบาท และจ่าย
เงินปันผล 261.23 ล้านบาท นอกจากน้ีบริษัทได้มีการจัดสรร
กำ� ไรสะสมไปเปน็ เงนิ ทนุ สำ� รองตามกฎหมายในปี 2563 จำ� นวน
11.50 ลา้ นบาท

59

บรษิ ัท ทีเอม็ ที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

สภาวะเศรษฐกิจ การสร้างคุณคา่ ของผู้มีส่วนได้เสยี ในห่วงโซอ่ ปุ ทาน
ในปี 2563 ที่ผ่านมา เศรษฐกิจไทยและโลกได้เผชิญ ความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ
กับปัญหาและปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบอย่างต่อเน่ืองและ
เกยี่ วเน่อื งกนั ทัง้ ปัจจยั จากโรคระบาด ความขดั แยง้ ทางการค้า ของเศรษฐกิจได้ลดลงมาเป็นล�ำดับ ดังนั้นบริษัทจึงให้
ระหว่างประเทศ การเปล่ยี นแปลงทางภมู ริ ัฐศาสตร์ และปจั จัย ความสำ� คญั ในการสรา้ งคณุ คา่ และความรว่ มมอื เพอื่ สง่ เสรมิ
ทางการเมือง ส่งผลให้เกิดภาวะการหยุดชะงักของการลงทุน ความแขง็ แรงทางธรุ กจิ กบั คคู่ า้ และจะเพมิ่ ความสำ� คญั ตอ่
ทั้งจากภาคเอกชนและรัฐบาล และท่ีส�ำคัญความมั่นใจในการ ผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่อุปทาน เพ่ือสร้างเครือข่ายของ
บรโิ ภคของประชาชนไดต้ กตำ�่ และลดลงจนไมเ่ กดิ ความคาดหวงั ความร่วมมอื และพฒั นาธุรกิจไปด้วยกัน
ในการฟื้นตัวกลับมา มีเพียงมาตรการประคับประคองและ การส่งเสริมและพัฒนาศกั ยภาพของพนักงาน
เยียวยาเพ่ือไม่ให้ตกต�่ำไปมากกว่าเดิม ภาวะการถดถอยของ ดว้ ยความมงุ่ มน่ั ทจี่ ะเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารเพอื่ เปน็ โครงสรา้ ง
การส่งออกและการไม่ฟื้นตัวของอุตสาหกรรมบริการและ ให้กับทุกจินตนาการ พนักงานจึงเป็นผู้มีส่วนส�ำคัญที่สุด
ท่องเที่ยว ได้ท�ำให้การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจเป็นไปได้ยาก ของธรุ กจิ ที่จะเป็นผู้สรา้ งและสนับสนุนใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็
และไม่แน่นอน การกระตนุ้ และฟ้ืนตัวของเศรษฐกจิ อาจเกดิ ข้นึ บรษิ ทั จงึ มงุ่ เนน้ การพฒั นาความรู้ และสง่ เสรมิ ศกั ยภาพให้
เปน็ สว่ นๆ อยา่ งไมต่ อ่ เนอื่ งและสลบั กนั ในคนละชว่ งเวลา จงึ อาจ พนักงานได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง และมีส่วนร่วมในการ
ส่งผลให้ธุรกิจในแต่ละประเภทอาจมีวงจรของโอกาสในการ แบง่ ปนั ความรูต้ อ่ ชุมชน สังคม และคู่คา้ ทางธรุ กจิ
ฟ้นื ตวั และไดร้ บั ผลกระทบในชว่ งเวลาที่แตกตา่ งกัน ทิศทางการด�ำเนนิ งานในอนาคต
ดังน้ันฐานการตลาดของบริษัทจึงต้องมีการกระจายให้ บรษิ ทั ยงั คงมงุ่ มน่ั ทจี่ ะดำ� เนนิ ธรุ กจิ ในการเปน็ ศนู ยก์ ลางให้
กวา้ งใน segment ตา่ งๆ เพ่อื ลดความเส่ยี งจากวงจรการตกต่ำ� บรกิ ารเหลก็ ครบวงจร ทมี่ งุ่ ตอบสนองความตอ้ งการลกู คา้ อยา่ ง
และฟื้นตัวท่ีไม่เท่ากันของแต่ละตลาด ตลอดจนการมีส่วนร่วม ครอบคลุมรอบด้าน ด้วยการพัฒนาความพร้อมของบุคลากร
เพ่ือส่งเสริมคุณค่าและสร้างความแข็งแรงทางธุรกิจร่วมกัน ของบริษัทลงทุนอย่างต่อเน่ืองในการขยายอาคารคลังสินค้า
หากบริษัทไม่สามารถกระจายฐานการตลาดและรักษาตลาด เพอ่ื รกั ษาระดบั ปรมิ าณสนิ คา้ คงคลงั ใหอ้ ยใู่ นปรมิ าณทเี่ หมาะสม
ให้ได้อย่างกว้างขวางแล้ว อาจส่งผลกระทบต่อการเติบโตและ เพื่อสร้างความเพียงพอและมั่นคง การสร้างโรงงานพร้อม
การดำ� เนินงานอยา่ งย่ังยนื ได้ เครื่องจักรใหม่เพิ่มขึ้นอีก 4 สายการผลิตในปี 2564 บนท่ีดิน
ปัจจัยดา้ นสงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม แปลงใหม่ท่ีบริษัทได้ลงทุนเพิ่มเติมไปแล้วก่อนหน้า เพ่ือขยาย
จากภาวะเปราะบางทางเศรษฐกิจ และโครงสร้างทาง กำ� ลงั การผลติ สรา้ งความหลากหลายและความมน่ั คงของสนิ คา้
เศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบจากทั้งความเสี่ยงใหม่และความ รองรับการลงทุนของโครงการสาธารณูปโภคจากภาครัฐและ
ขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ได้ท�ำให้บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อ ภาคเอกชนท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต น�ำเทคโนโลยีและ
แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการสร้างคุณค่าต่อ นวตั กรรมใหมๆ่ มาปรบั ปรุงประสิทธภิ าพการผลิตและกระบวน
ผู้มีส่วนได้เสีย เพ่ือเป็นฐานส�ำคัญต่อการพัฒนาและเติบโต การท�ำงานโดยมุ่งเน้นการใช้เคร่ืองมืออย่างเป็นระบบเพ่ือช่วย
รว่ มกนั ประเดน็ ทางดา้ นสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ ำ� คญั ทบี่ รษิ ทั เพม่ิ ความรวดเรว็ ในการบรหิ ารจดั การ การสรา้ งเครอื ขา่ ยความ
จะให้ความสำ� คัญในปีนี้ สามารถสรุปไดด้ งั น้ี รว่ มมอื กนั ระหวา่ งพนั ธมติ รทางธรุ กจิ เพอื่ ชว่ ยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพ
ความปลอดภยั และชวี อนามยั เพอ่ื สรา้ งสภาพแวดลอ้ ม ในการจัดการด้านสินค้าและส่งสินค้า ส่ิงเหล่าน้ีเป็นปัจจัยท่ี
จะท�ำให้บริษัทจะสามารถบรรลุพันธกิจในการขยายส่วนแบ่ง
ทดี่ ีในการท�ำงานและการอยูร่ ว่ มกันของชุมชน ทางการตลาดและสร้างคุณค่าทางธุรกิจแก่ลูกค้าในเวลา
บริษัทตระหนักดีว่าภาวะของโรคระบาดยังคงอยู่ เดียวกัน

ตลอดปีและอาจต่อเนอ่ื งจนถงึ ปถี ดั ไป ดังนน้ั การให้ความ
สำ� คญั ตอ่ ความปลอดภยั และชวี อนามยั ในการทำ� งานและ
ขยายผลเพอ่ื สรา้ งความปลอดภยั ทางสาธารณสขุ ตอ่ ชมุ ชน
ใกล้เคียงตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่อุปทานจะ
ช่วยใหเ้ กิดความมัน่ คงตอ่ การดำ� เนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง

60

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

ข้อมูลสำ� คัญอื่น

ตตาารราางสงสรรปุ ปุงบงบกการาเรงเินงขนิ อขงอบงรบษิ รทัษิ ทั

บรษิ ัท ทีเอม็ ที สตลี จำ�กัด (มหาชน)
ณ วบนั รทิษี่ 3ัทง1บทงธบแเีันอสแวม็ ดาสทคดงมฐีงสาฐพตนำ.ลีนะศท.ะจ2กาำ5งำก6กรัด1าเงรถ(นิเมงึงหนิ พำ.ศช.น2)563
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ถงึ พ.ศ. 2563

ปี 2563 % ปี 2562 % (หน่วย: พนั บำท)
ปี 2561 %

สนิ ทรัพย์ 1,130,671.82 12.79 256,617.10 3.59 232,822.97 3.02
2,707,525.47 35.14
สินทรัพยห์ มุนเวยี น 2,337,438.84 26.44 2,448,856.38 34.26 1,764,619.22 22.90
0.94
เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงินสด 1,931,629.21 21.85 1,395,372.11 19.52 72,569.58 0.03
ลกู หนีก้ ารคา้ และลกู หนีอ้ ่ืน 2,071.79 62.03
สนิ คา้ คงเหลือ - สทุ ธิ 353,288.64 4.00 6,933.43 0.10 4,779,609.03
เงินจ่ายล่วงหนา้ ซอื้ สินคา้
สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียนอ่ืน 35,874.08 0.41 1,376.50 0.02
รวมสินทรัพยห์ มุนเวยี น
5,788,902.59 65.48 4,109,155.52 57.48
สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี น
อสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พ่ือการลงทนุ 55,729.00 0.63 55,729.00 0.78 55,729.00 0.72
ท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์ - สทุ ธิ 2,905,411.57 32.86 2,938,265.46 41.10 2,833,035.69 36.77
สินทรพั ยส์ ิทธิการใช้ – สทุ ธิ 0.41
สนิ ทรพั ยไ์ ม่มีตวั ตน – สทุ ธิ 36,390.16 0.27 - - - -
สนิ ทรพั ยภ์ าษีเงนิ ไดร้ อตดั บญั ชี - สทุ ธิ 23,969.50 0.28 27,709.34 0.39 23,910.59 0.31
สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียนอ่ืน 25,183.93 0.06 12,639.05 0.18 9,578.58 0.12
5,095.39 34.52 5,225.06 0.07 3,843.56 0.05
รวมสินทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี น 3,051,779.55 100.00 3,039,567.90 42.52 2,926,097.41 37.97
รวมสินทรัพย์ 8,840,682.14 7,148,723.42 100.00 7,705,706.44 100.00

61

บรษิ ัท ทีเอ็มที สตลี จ�ำ กัด (มหาชน)

บริษัท ทีเอ็มที สตีล จำ�กัด (มหาชน)
ณ วบันรทิษ่ี 3ัทง1บทงธบแเีันอแสว็มสดาทคดงีมฐงสฐาพตำนลี.นะศะท.จก2ำาำ5กงร6กัดเ1าง(รนิถมเงึงหนิ พำช.ศน.)2563
ณ วนั ท่ี 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ถงึ พ.ศ. 2563

ปี 2563 % ปี 2562 % (หน่วย: พันบำท)
ปี 2561 %

หนีส้ ินและส่วนของเจำ้ ของ 3,136,554.57 35.48 2,953,864.78 41.32 3,567,727.37 46.30
หนีส้ ินหมุนเวียน 351,162.95 4.56
296,448.00 3.35 198,871.66 2.78 -
เงินกยู้ ืมระยะสนั้ จากสถาบนั การเงนิ 26,917.44 -
เจา้ หนีก้ ารคา้ และเจา้ หนีอ้ ่ืน 626.30 0.01 -- 14,935.67 0.35
0.19
หนีส้ นิ อนพุ นั ธ์ 80,671.98 0.91 12,473.79 0.17
ภาษีเงินไดค้ า้ งจ่าย
เงินรบั ลว่ งหนา้ คา่ สนิ คา้ จากลกู คา้ 37,548.63 0.42 18,584.59 0.26

ส่วนของเงินกยู้ ืมระยะยาวจากสถาบนั การเงนิ 199,657.97 2.26 -- --
ท่ถี งึ กาหนดชาระภายในหน่งึ ปี
23,385.97 0.26 -- 758.18 0.01
หนีส้ นิ ตามสญั ญาเช่าส่วนท่ถี งึ กาหนดชาระ
ภายในหน่งึ ปี 999,590.00 11.31 1,542.28 0.02 1,479.83 0.02
3,962,441.44 51.42
หนุ้ กทู้ ่ีถงึ กาหนดชาระภายในหน่งึ ปี 4,774,483.42 54.01 3,185,337.11 44.56
รวมหนีส้ ินหมุนเวยี น
หนีส้ นิ ไม่หมุนเวยี น 799,333.00 9.04 -- - -
- -
เงินกยู้ ืมระยะยาวจากสถาบนั การเงิน 13,532.79 0.15 -- 995,088.06 12.91
43,810.94 0.57
หนีส้ นิ ตามสญั ญาเชา่ - - 996,505.44 13.94 1,038,899.00 13.48
หนุ้ กู้ 5,001,340.44 64.90
ภาระผกู พนั ผลประโยชนพ์ นกั งาน 71,630.35 0.81 61,829.11 0.86
รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน
รวมหนีส้ ิน 884,496.15 10.00 1,058,334.55 14.80

ส่วนของเจำ้ ของ 5,658,979.56 64.01 4,243,671.65 59.36

ทนุ จดทะเบยี น 870,758.03 870,758.03 463,000.00
ทนุ ท่อี อกและชาระแลว้ 435,379.02
สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ 870,758.03 9.85 870,758.03 12.18 427,323.20 5.65
5.55
กาไรสะสม 427,323.20 4.83 427,323.20 5.98
จดั สรรแลว้ - สารองตามกฎหมาย
ยงั ไม่ไดจ้ ดั สรร 75,391.49 0.85 63,894.17 0.89 43,600.00 0.57
1,808,229.85 20.45 1,543,076.36 21.59 1,798,063.79 23.33
รวมส่วนของเจำ้ ของ 3,181,702.57 35.99 2,905,051.77 40.64 2,704,366.00 35.10
รวมหนีส้ ินและส่วนของเจ้ำของ 8,840,682.14 100.00 7,148,723.42 100.00 7,705,706.44 100.00

62

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

บรษิ ัท ทเี อ็มที สตีล จำ�กดั (มหาชน)

สำ�หรบั ปสี บนิ้ สริษุดัวทงันงบบททกกเี่ี 3อำำ�1ไ็มไรรทธขขนั ี าำสวดดตาททคีลมุนุนจเเพำบปก.ด็ด็ศัดเ.เสส2(รมร5จ็็จ6ห1ำชถนงึ )พ.ศ. 2563
สำหรบั ปี สนิ้ สุดวนั ท่ี 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ถงึ พ.ศ. 2563

ปี 2563 (หน่วย: พันบำท) ปี 2561
ปี 2562

รายไดจ้ ากการขาย 14,575,724.81 16,483,406.68 17,369,987.82

ตน้ ทนุ ขาย (13,309,865.35) (15,585,837.48) (16,326,337.66)

กำไรข้ันตน้ 1,265,859.46 897,569.20 1,043,650.16

รายไดอ้ ่ืนๆ 52,770.77 46,448.19 49,914.77

คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย (174,716.13) (200,175.30) (193,980.92)

คา่ ใชจ้ ่ายในการบรหิ าร (408,736.08) (354,980.69) (339,533.97)

ตน้ ทนุ ทางการเงนิ – ดอกเบยี้ จ่าย (82,064.85) (115,653.62) (102,647.70)

กำไรก่อนภำษเี งนิ ได้ 635,113.15 273,207.78 457,402.34

ภาษีเงนิ ได้ (115,235.00) (43,261.49) (51,518.87)

กำไรสำหรับปี 537,878.16 229,946.29 405,883.47

กำไรขำดทุนเบด็ เสรจ็ อื่น:
รำยกำรท่ีจะไม่จัดประเภทรำยกำรใหม่ไปยงั กำไรหรือขำดทุน
ในภำยหลัง

การวดั มลู คา่ ใหม่ของภาระผกู พนั ผลประโยชนห์ ลงั ออกจากงาน - 1,520.01 -

ภาษีเงนิ ไดท้ ่เี ก่ียวกบั รายการจะไมจ่ ดั ประเภทรายการใหมไ่ ปยงั - (304.00) -

กาไรหรอื ขาดทนุ ในภายหลงั

กาไรเบด็ เสรจ็ อ่ืนสาหรบั งวด – สทุ ธิจากภาษี - 1,216.01 -

กำไรเบด็ เสร็จรวมสำหรับปี 537,878.16 231,162.30 405,883.47

กำไรต่อหุ้น

กาไรตอ่ หนุ้ ขนั้ พืน้ ฐาน* 0.62 0.26 0.47

หมายเหตุ : *กาไรตอ่ หนุ้ ขนั้ พืน้ ฐานคานวณจากทนุ จดทะเบียนชาระแลว้ จานวน 870,758,034 หนุ้ ท่เี พ่ิมขนึ้ ในปี 2563

63

บรษิ ทั ทีเอม็ ที สตลี จำ�กัด (มหาชน)

บริษทั ทเี อม็ ที สตีล จำ�กดั (มหาชน)
สำ�หรบั ปีสน้ิบสรุดิษวัทันทท่ีเี3งอง1บบม็ กธกทรันรีะวสะแาแตคสสลี มเเงงจพนิ นิำ.สกสศดดัด. 2(5ม6ห1ำถชงึ นพ) .ศ. 2563
สำหรับปี สนิ้ สดุ วนั ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2561 ถงึ พ.ศ. 2563

กระแสเงนิ สดจำกกิจกรรมดำเนินงำน ปี 2563 ปี 2562 (หน่วย: พันบำท)
กาไรก่อนภาษีเงินได้ ปี 2561
653,113.15 273,207.78
รายการปรบั ปรุง 457,402.34
26,144.96 1,213.90
คา่ เผ่ือผลขาดทนุ ท่คี าดวา่ จะเกิดขนึ้ 19,568.09
(พ.ศ. 2561-2562 : หนีส้ งสยั จะสญู ) (3,364.61) (4,306.97)
(กาไร) ขาดทนุ จากการลดลงของมลู คา่ สทุ ธิท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 9,978.55
ของสินคา้ คงเหลือ 257,226.82 204,834.72
(349.04) 316.48 178,194.05
คา่ เส่ือมราคาและคา่ ตดั จาหนา่ ย 626.30 - 961.93
ขาดทนุ (กาไร) จากการจาหน่ายอปุ กรณ์ 9,801.24 -
ขาดทนุ จากการปรบั มลู คา่ ตราสารอนพุ นั ธ์ 82,064.85 20,627.52
115,653.62 6,835.21
คา่ ใชจ้ ่ายผลประโยชนพ์ นกั งาน 1,025,263.67 102,647.70
ดอกเบยี้ จ่าย 611,547.05
กระแสเงนิ สดก่อนกำรเปลย่ี นแปลงในสนิ ทรัพยแ์ ละหนีส้ ิน 85,272.59 775,587.86
ดำเนินงำน (532,892.50) 257,455.20
การเปล่ียนแปลงของสินทรพั ยแ์ ละหนีส้ นิ ดาเนินงาน (346,355.21) 373,554.08 (242,162.61)
(34,497.58) 65,636.16 (110,237.79)
ลกู หนีก้ ารคา้ และลกู หนีอ้ ่ืน 272,515.93
สินคา้ คงเหลือ 129.67 695.28
เงนิ จา่ ยล่วงหนา้ คา่ ซอื้ สนิ คา้ 90,364.37 (1,381.50) 14,115.86
สินทรพั ยห์ มนุ เวียนอ่ืน 18,964.04 (118,347.25) 189.12
4,188.92
สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียนอ่ืน - (1,089.33) (34,891.66)
เจา้ หนีก้ ารคา้ และเจา้ หนีอ้ ่ืน (44,273.09)
เงนิ รบั ลว่ งหนา้ คา่ สินคา้ จากลกู คา้ 306,249.04 1,192,258.60
-
ภาระผกู พนั ผลประโยชนพ์ นกั งานจ่าย (82,053.78) (113,973.93)
เงนิ สดไดม้ ำจำกกจิ กรรมดำเนินงำนก่อนดอกเบยี้ จำ่ ยและภำษี (59,581.69) (61,069.62) 630,843.64
เงนิ ได้ 164,613.57 1,017,215.06
(92,205.43)
การจา่ ยดอกเบยี้ (189,027.45) (337,934.03) (106,056.08)
การจา่ ยภาษีเงนิ ได้ (4,344.13) (11,755.69) 432,582.12
4,700.53
เงนิ สดสุทธิไดม้ ำจำกกจิ กรรมดำเนินงำน 1,029.91 (689,098.57)
(188,671.05) (348,659.81) (11,958.44)
กระแสเงนิ สดจำกกิจกรรมลงทุน
เงนิ สดจา่ ยเพ่ือซอื้ ท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ์ 4,401.86
เงินสดจา่ ยเพ่ือซอื้ สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน (696,655.14)

เงนิ สดรบั จากการขายอปุ กรณ์
เงนิ สดสุทธใิ ช้ไปในกจิ กรรมลงทุน

64

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

บริษัท ทเี อม็ ที สตีล จำ�กดั (มหาชน)
งบกระแสเงินสด (ตอ่ )

สำ�หรบั ปีสน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ถงึ พ.ศ. 2563

กระแสเงนิ สดจำกกิจกรรมจัดหำเงนิ ปี 2563 ปี 2562 ปี 2561
เงนิ สดรบั จากเงินกยู้ ืมระยะสนั้ จากสถาบนั การเงนิ
จา่ ยคืนเงนิ กยู้ ืมระยะสนั้ จากสถาบนั การเงิน 17,905,608.32 32,278,947.17 24,303,913.75
(17,722,918.53) (32,892,809.75) (24,451,206.46)
เงนิ สดรบั จากเงนิ กยู้ ืมระยะยาวจากสถาบนั การเงิน
เงินสดจา่ ยคา่ ธรรมเนียมการจดั หาเงินกยู้ ืม 1,000,000.00 - -
เงินสดจา่ ยดอกเบยี้ จากหนีส้ ินตามสญั ญาเช่าการเงิน (1,010.01) - -
- (13.82) (85.72)
เงินสดจา่ ยชาระหนีส้ ินตามสญั ญาเชา่ การเงนิ - (408.18) (356.36)
เงนิ สดจ่ายชาระหนีส้ ินตามสญั ญาเช่าการเงิน (22,340.24) - -
เงินสดรบั จากการออกหนุ้ กู้ - - 1,000,000.00
เงินสดจ่ายในการออกหนุ้ กู้ - - (3,377.60)
(30,476.53) (522,454.82)
เงนิ ปันผลจ่าย (261,227.35) (644,761.12) 326,432
เงนิ สดสุทธ(ิ ใช้ไปใน)ไดม้ ำจำกกจิ กรรมจัดหำเงนิ 898,112.20 23,794.13 62,359.77
เงนิ สดและรำยกำรเทยี บเท่ำเงนิ สดเพมิ่ ขนึ้ (ลดลง)สุทธิ 874,054.72 232,822.97 170,463.20
ยอดคงเหลือตน้ ปี 256,617.10 256,617.10 232,822.97
1,130,671.82
ยอดคงเหลือปลายปี

เงนิ สดและรำยกำรเทยี บเท่ำเงินสดประกอบด้วย

เงินสดในมือ 429.89 400.15 154.08
232,668.89
เงินฝากสถาบนั การเงิน 1,130,241.94 256,216.95 232,822.97

1,130,671.82 256,617.10 42,457.21
-
รำยกำรทไ่ี มใ่ ชเ่ งนิ สด
รายการท่ีไมใ่ ชเ่ งนิ สดท่ีมีสาระสาคญั สาหรบั ปีสนิ้ สดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ถึง พ.ศ. 2563 มดี งั นี้ 1,115.00
-
เจา้ หนีอ้ ่ืนจากการซอื้ ท่ีดนิ อาคาร และอปุ กรณ์ 16,858.79 8,327.12

เจา้ หนีอ้ ื่นจากการซอื้ สินทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน 212.50 -

เจา้ หนีอ้ ่นื จากการออกหนุ้ กู้ --

ออกหนุ้ ปันผล - 435,379.02

65

บริษัท ทเี อ็มที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

บบรรษิ ษิ ัททั ททเีเี ออ็ม็มทที ี สสตตีลลี จจำำ�กกัดดั ((มมหหำาชชนน))
สำหสำร�หับรปบั ี สปนิ้ ีสสิน้สสดุสรรุปดุปุ ววออนั ันตัตัททรรี่ี่ ำ33าส11ส่วว่ธธนนันันททววาำาำคงงคกมกมำาพรรพ.เเศงง.ศน.ินิ .2ทท52่สีี่ส65ำำ16�คค1ถัญัญงึถงึพ.พศ..ศ2.5265363

ปี 2563 ปี 2562 ปี 2561

อัตรำส่วนสภำพคล่อง (Liquidity ratio) 1.21
0.74
อตั ราส่วนสภาพคล่อง (เทา่ ) 1.21 1.29 0.11
6.72
อตั ราส่วนสภาพคลอ่ งหมนุ เรว็ (เทา่ ) 0.72 0.84 54
9.52
อตั ราสว่ นสภาพคล่องกระแสเงินสด (เทา่ ) 0.04 0.28 38
93.53
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนลกู หนีก้ ารคา้ (เทา่ ) 6.13 6.44 4
88
ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉล่ีย (วนั ) 60 57
6.01
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนสินคา้ คงเหลือ (เทา่ ) 8.00 9.86 2.94
0.85
ระยะเวลาขายสินคา้ เฉล่ีย (วนั ) 46 37 2.34
15.01
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนเจา้ หนี้ (เทา่ ) 146.87 149.30
5.27
ระยะเวลาชาระหนี้ (วนั ) 22 15.69
2.35
Cash Cycle (วนั ) 104 92
1.85
อัตรำส่วนแสดงควำมสำมำรถในกำรทำกำไร (Profitablility ratio) 1.60
5.46
อตั รากาไรขนั้ ตน้ (%) 8.68 5.45 0.33

อตั รากาไรจากการดาเนินงาน (%) 4.68 2.08 6.21
0.47
อตั ราส่วนเงินสดตอ่ การทากาไร (เทา่ ) 0.24 2.97

อตั รากาไรสทุ ธิ (%) 3.69 1.40

อตั ราผลตอบแทนผถู้ ือหนุ้ (%) 16.91 7.92

อัตรำส่วนแสดงประสิทธิภำพในกำรดำเนินงำน (Efficiency ratio)

อตั ราผลตอบแทนจากสินทรพั ย์ (%) 6.08 3.22

อตั ราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ยถ์ าวร (%) 18.25 7.90

อตั ราการหมนุ ของสินทรพั ย์ (เทา่ ) 1.82 2.22

อัตรำส่วนวเิ ครำะหน์ โยบำยทำงกำรเงนิ (Financial policy ratio)

อตั ราส่วนหนีส้ ินตอ่ สว่ นของผถู้ ือหนุ้ (เทา่ ) 1.78 1.46

อตั ราส่วนหนีส้ ินท่มี ีดอกเบีย้ สทุ ธิตอ่ ส่วนของผถู้ ือหนุ้ * (เทา่ ) 1.26 1.27

อตั ราส่วนความสามารถชาระดอกเบยี้ (เทา่ ) 8.96 3.36

อตั ราสว่ นความสามารถชาระภาระผกู พนั (Cash basis) (เทา่ ) 0.29 2.06

ข้อมูลตอ่ หนุ้

มลู คา่ หนุ้ ตามบญั ชีตอ่ หนุ้ (บาท) 3.65 3.34

กาไรสทุ ธิตอ่ หนุ้ ขนั้ พืน้ ฐาน (บาท) (มลู คา่ หนุ้ ท่ตี ราไวห้ นุ้ ละ 1 บาท) 0.62 0.26

* บรษิ ทั ออกหนุ้ กใู้ นปี 2561 ซง่ึ มีขอ้ กาหนดว่า ผอู้ อกหนุ้ กจู้ ะดารงอตั ราสว่ นหนีส้ ินท่มี ีดอกเบยี้ สทุ ธิตอ่ ส่วนของผถู้ ือหนุ้ (Net Interest

Bearing Debt to Equity Ratio) ในอตั ราส่วนไม่เกินกวา่ 2:1 (สองตอ่ หนง่ึ ) ณ วนั สิน้ สดุ รอบปีบญั ชีของแตล่ ะปี โดยคานวณจากขอ้ มลู
ท่ปี รากฏตามงบการเงินรวม ซง่ึ อตั ราส่วนดงั กล่าว ณ วนั สิน้ สดุ รอบบญั ชีของบรษิ ัทเทา่ กบั 1.26 เทา่ ดงั นนั้ บรษิ ัทจงึ ยงั คงสามารถ
ดารงอตั ราส่วนไดต้ ามขอ้ กาหนด

66

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

ข้อพพิ าททางกฎหมาย

ตามที่ บริษัท ทีเอ็มที สตีล จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ได้รับหมายเรียกและส�ำเนาค�ำฟ้องของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ฉบับ
ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2562 ดคีหมายเลขดำ� ท่ี พ. 2880/2562 โดยวธิ ีการปิดหมาย โดย บรษิ ทั โตโยต้า ทูโช (ไทยแลนด์) จำ� กัด
(“โจทก”์ ) ได้ยน่ื ฟ้องบริษัทเป็นคดีแพง่ โดยกล่าวหาว่า บรษิ ัทกระทำ� ผดิ สญั ญาซือ้ ขายเหล็กกบั โจทกใ์ นเงื่อนไขเกีย่ วกับการนำ� สินคา้
ไปจำ� หนา่ ยตอ่ ในอตุ สาหกรรมยานยนต์ อนั เปน็ เหตใุ หโ้ จทกไ์ ดร้ บั ความเสยี หายจากการถกู กรมศลุ กากรประเมนิ เรยี กเกบ็ อากรปกปอ้ ง
สำ� หรบั สนิ คา้ เหลก็ นำ� เขา้ ซ่ึงสืบเนื่องมาจากสนิ คา้ ดังกล่าวโจทก์เป็นผนู้ ำ� เข้าสินค้ามาจ�ำหน่ายในประเทศไทย โดยใชส้ ิทธขิ องโจทก์
ทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ อากรปกปอ้ งสำ� หรบั กรณนี ำ� เขา้ มาเพอ่ื ใชใ้ นอตุ สาหกรรมยานยนต์ และเรยี กรอ้ งคา่ เสยี หาย จากบรษิ ทั เปน็ จำ� นวน
เงนิ รวมทงั้ สนิ้ 173,590,000.96 บาท ซงึ่ โจทกถ์ อื เอาเปน็ ทนุ ทรพั ยใ์ นการฟอ้ งคดนี ี้ คดิ เปน็ มลู ฟอ้ งมากกวา่ รอ้ ยละ 5 ของสว่ นผถู้ อื หนุ้
ของบรษิ ทั โดยศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ ไดน้ ดั ชสี้ องสถานและกำ� หนดแนวทางการดำ� เนนิ คดหี รอื สบื พยานโจทกใ์ นวนั ที่ 27 มกราคม 2563
ซง่ึ ตอ่ มาศาลไดอ้ นญุ าตใหม้ กี ารเลอื่ นนดั ดงั กลา่ วเปน็ วนั ท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 และไดม้ กี ารพจิ ารณากำ� หนดแนวทางในกระบวนการ
พจิ ารณาและสืบพยานใหก้ บั คคู่ วามโดยก�ำหนดวนั เร่ิมตน้ สบื พยานระหว่างวันท่ี 29-31 กรกฎาคม 2563 ตามสารสนเทศท่ีบรษิ ัทได้
เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการ 56-1 ประจำ� ปี 2562 และเผยแพรต่ อ่ ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทยแลว้ นัน้
บริษทั ขอเรียนวา่ เมอ่ื ถึงก�ำหนดนัดการสบื พยานดังกล่าววันแรก (วันที่ 29 กรกฎาคม 2563) โจทกไ์ ม่ประสงค์จะสืบพยานเพอ่ื
สู้คดีเนื่องจากเห็นว่าบริษัทได้น�ำพยานหลักฐานมายืนยันเกี่ยวกับการน�ำสินค้าที่ซ้ือจากโจทก์ไปจ�ำหน่ายต่อให้แก่ลูกค้าใน
อตุ สาหกรรมยานยนต์ จงึ ยน่ื คำ� รอ้ งตอ่ ศาลเพอ่ื ขอถอนฟอ้ งคดี และขอรบั พยานหลกั ฐานจากศาลไปเพอ่ื ใชส้ ทิ ธติ อ่ สขู้ อ้ พพิ าทระหวา่ ง
โจทก์กบั กรมศุลกากรต่อไป และศาลได้อนญุ าตให้โจทกถ์ อนฟ้องบริษัทได้ และไดจ้ �ำหน่ายคดจี ากสารบบความของศาล คดีความ
แพง่ น้จี ึงเป็นอันถงึ ทสี่ ุดตามกฎหมาย


67

บรษิ ทั ทีเอ็มที สตีล จ�ำ กัด (มหาชน)

รายงานผลการดำ� เนินงานส�ำคญั
ดา้ นการก�ำกับดแู ลกจิ การทดี่ ี

คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม
เปน็ แนวทางในการประกอบธรุ กจิ และวางนโยบายตา่ งๆ เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ ปน็ ไปดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ ระมดั ระวงั และซอ่ื สตั ย์
สุจริต อันจะส่งผลให้กิจการสามารถเจริญก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และได้รับความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน
ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จึงได้ก�ำหนดนโยบายการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (บริษัทได้เผยแพร่
รายละเอียดไวบ้ นเว็บไซตท์ ่ี www.tmtsteel.co.th) โดยบริษทั มกี ารดำ� เนนิ การตามนโยบายดงั กล่าว แบง่ เป็น 5 หมวด ดงั น้ี

หมวดที่ 1 : สิทธิของผถู้ ือหุ้น 2. สทิ ธิในการประชุมผถู้ ือหุน้
2.1 บริษัทด�ำเนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมสามัญ
1. สทิ ธใิ นการแต่งต้งั คณะกรรมการ
การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการบริษทั เปน็ ไปตามข้อบงั คบั ของ ผถู้ อื หนุ้ ประจำ� ปี 2563 อนั ประกอบไปดว้ ยรายละเอยี ด
เกย่ี วกับ วัน เวลา สถานที่ ระเบียบวาระการประชมุ
บริษัท กล่าวคือที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีเป็นผู้ ความเห็นของคณะกรรมการ และเอกสารประกอบ
เลอื กต้ังกรรมการตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการดังตอ่ ไปน้ี วาระการประชมุ ใหก้ บั ผถู้ อื หนุ้ ลว่ งหนา้ เปน็ ระยะเวลา
1.1 ผู้ถือหุ้นคนหน่ึงมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหน่ึง ไม่น้อยกว่า 21 วันก่อนวันประชุม รวมทั้งเผยแพร่
ข้อมูลดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ที่ www.tmtsteel.co.th
เสียงตามจำ� นวนหนุ้ ท่ีตนถือ ล่วงหน้าเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวัน
1.2 ผถู้ อื หนุ้ แตล่ ะคนจะตอ้ งใชค้ ะแนนเสยี งทมี่ อี ยทู่ ง้ั หมด ประชุม เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นทุกราย
รวมถึงผู้ถือหุ้นประเภทสถาบัน เข้าร่วมการประชุม
ตาม 1.1 เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็น และมีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการตัดสินใจใน
กรรมการก็ได้ แตจ่ ะแบ่งคะแนนเสยี งให้แกผ่ ู้ใดมาก แต่ละวาระ โดยการจัดท�ำหนังสือเชิญประชุมและ
น้อยเพียงใดไมไ่ ด้ เอกสารประกอบดังกล่าว ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการ
1.3 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เปดิ เผยขอ้ มลู ทโี่ ปรง่ ใส และเพยี งพอตอ่ การตดั สนิ ใจ
เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวน ของผูถ้ ือหุ้น
กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในคร้ังน้ัน 2.2 บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วม
ในกรณีท่ีบุคคลซ่ึงได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลง ประชุมได้ด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้ผู้อ่ืนมา
มามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่จะ รว่ มประชมุ และใชส้ ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนแทน หรอื
พึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธาน มอบฉันทะให้กรรมการอิสระท่ีบริษัทแต่งต้ังให้เป็น
เปน็ ผู้ออกเสยี งช้ีขาด ตัวแทนในการรับมอบฉันทะดังกล่าว โดยบริษัทได้
อ�ำนวยความสะดวกในการจัดท�ำหนังสือมอบฉันทะ
นอกจากน้ี ผู้ถือหุ้นคนหน่ึงหรือหลายคนรวมกัน ซึ่งนับ แนบไปพรอ้ มกบั หนงั สือเชิญประชมุ
จ�ำนวนหุ้นได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบียนที่ 2.3 บริษัทด�ำเนินการลงโฆษณาบอกกล่าวเชิญประชุม
ช�ำระแล้ว สามารถใช้สิทธิในการเสนอช่ือบุคคลเพอ่ื เข้ารับ ผู้ถือหุ้นในหนังสือพิมพ์รายวันเป็นระยะเวลาติดต่อ
การพจิ ารณาเลอื กตงั้ เปน็ กรรมการลว่ งหนา้ ไดต้ ามวนั เวลา กัน 3 วัน และล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน ก่อนวัน
และเงอื่ นไขทบ่ี รษิ ทั ประกาศแจง้ ผา่ นชอ่ งทางการแจง้ ขา่ ว ประชุม เพื่อเป็นการเพ่ิมช่องทางการรับรู้ข้อมูลของ
ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของ ผถู้ อื หุ้น
บรษิ ทั ซง่ึ ในปี 2563 ไมม่ ผี ถู้ อื หนุ้ ทา่ นใดเสนอชอ่ื บคุ คลเพอ่ื
เขา้ รับการเลือกตงั้ เป็นกรรมการลว่ งหน้าดงั กลา่ ว

การแต่งต้ังคณะกรรมการบริษัทในการประชุมสามัญผู้ถือ
หนุ้ ประจ�ำปี 2563 ทป่ี ระชุมได้พจิ ารณาเลอื กตั้งกรรมการ
เป็นรายบุคคล โดยกรรมการผู้มีส่วนได้เสียไม่มีสิทธิ
ออกเสียงลงคะแนน

68

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

2.4 บริษัทอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นในเรื่อง 3. สิทธใิ นการได้รับเงนิ ปนั ผล
ของสถานที่จัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดให้อยู่ในพื้นที่ บรษิ ทั มกี ารกำ� หนดนโยบายการจา่ ยเงนิ ปนั ผล สำ� หรบั ผล
อนั เปน็ ทต่ี ง้ั ของสำ� นกั งานใหญข่ องบรษิ ทั และสะดวก การดำ� เนนิ งานไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของกำ� ไรสทุ ธภิ ายหลงั
ต่อการเดินทางของผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม รวมทั้ง การจัดสรรก�ำไรสุทธิเป็นเงินทุนส�ำรองตามกฎหมาย
จัดเตรียมอุปกรณ์และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ในการประชุมสามญั ผู้ถอื หุ้นประจำ� ปี 2563 ท่ีประชุมมีมติ
ใหก้ ับผถู้ อื หุ้นในการประชมุ เชน่ ใช้ระบบจัดประชุม อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี
ผูถ้ อื หนุ้ ในการลงทะเบียนด้วยระบบบาร์โคด้ จัดใหม้ ี 2563 ในอัตราหนุ้ ละ 0.30 บาท (สามสิบสตางค)์ หรอื คดิ
จุดลงทะเบียนอย่างเพียงพอ จัดเตรียมหนังสือเชิญ เป็นรอ้ ยละ 113.60 ของก�ำไรสทุ ธใิ ห้แกผ่ ู้ถอื หุน้ ท่มี รี ายช่ือ
ประชุมเผ่ือส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้น�ำเอกสารมาจัด ปรากฏ ณ วันเรคคอร์ดเดท ซ่ึงก�ำหนดโดยที่ประชุม
เตรียมบัตรลงคะแนนและมีเจ้าหน้าท่ีเก็บบัตรลง คณะกรรมการบริษัทและผ่านการอนุมัติจากที่ประชุม
คะแนน จดั ใหม้ ไี มโครโฟนซกั ถาม และจอรบั ภาพเพอื่ สามัญผู้ถอื หุ้นประจ�ำปี
รองรับการน�ำเสนอระเบยี บวาระการประชุม เป็นต้น
2.5 บริษัทจัดให้มีวิทยากรชี้แจงวิธีการใช้สิทธิออกเสียง 4. สทิ ธใิ นการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารของกจิ การอยา่ งเพยี งพอ
ลงคะแนนในแต่ละวาระ รวมถึงแจ้งจ�ำนวนผู้ถือหุ้น บริษัทได้ด�ำเนินการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ส�ำคัญ
ท่ีเข้าร่วมประชุมและจ�ำนวนหุ้นท้ังหมดท่ีมีสิทธิ เช่น ผลการด�ำเนนิ งาน หรอื งบการเงิน ผ่านทางระบบข่าว
ออกเสยี งลงคะแนน ใหผ้ ถู้ อื หนุ้ ทราบกอ่ นดำ� เนนิ การ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายในวันและเวลา
ประชมุ ทก่ี ฎหมายกำ� หนด รวมทง้ั เผยแพรไ่ วบ้ นเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั
2.6 บริษัทจัดให้มีที่ปรึกษากฎหมายซึ่งเป็นบุคคลท่ีมี เพ่ือเพ่ิมช่องทางรับรู้ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย
ความเปน็ อสิ ระเปน็ ผสู้ งั เกตการณแ์ ละตรวจสอบการ อีกชอ่ งทางหนึ่ง
ออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระของการประชุม
ผ้ถู ือหุ้น 5. สทิ ธใิ นการแตง่ ตงั้ ผสู้ อบบญั ชแี ละกำ� หนดคา่ สอบบญั ชี
2.7 คณะกรรมการบริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถาม ในปี 2563 คณะกรรมการบริษัทเสนอให้ท่ีประชุมสามัญ
และแสดงความคิดเห็นในแต่ละวาระตามระเบียบ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปีพิจารณาแต่งต้ังผู้สอบบัญชีของบริษัท
การประชุม โดยคณะกรรมการบริษัทได้มีการชี้แจง และกำ� หนดคา่ สอบบญั ชปี ระจำ� ปี 2563 โดยสำ� นกั งานสอบ
ตอบคำ� ถามตา่ งๆ ให้ผูถ้ อื หุ้นเกดิ ความกระจ่าง บัญชีและผู้สอบบญั ชีทเ่ี สนอแต่งตัง้ นัน้ ไมม่ ีความสัมพนั ธ์
2.8 บริษัทได้จัดท�ำรายงานการประชุมและมติที่ประชุม ใดๆ และไม่มีส่วนได้เสียกับบรษิ ัท กรรมการ ผบู้ รหิ าร และ
ผถู้ อื หนุ้ เผยแพรผ่ า่ นระบบขา่ วสารของตลาดหลกั ทรพั ย์ ผถู้ อื หนุ้ รายใหญ่ หรอื บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บคุ คลตา่ งๆ ตาม
แหง่ ประเทศไทย และเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั ภายใน 14 วนั ท่ีไดก้ ลา่ วมา
หลังการประชุม เพ่ือให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบ
ความถูกต้องของข้อมูลและการลงมติในแต่ละ
ระเบียบวาระการประชุม รวมท้ังเพ่ือให้ผู้ถือหุ้นที่
ไมไ่ ดม้ าเขา้ รว่ มประชมุ ดว้ ยตนเองและนกั ลงทนุ อนื่ ๆ
สามารถรับทราบรายละเอียดของการประชุม
2.9 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และ
คณะกรรมการบริหาร ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญใน
การเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นและถือเป็นหน้าที่
ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการทกุ ทา่ น ทำ� ใหก้ าร
ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2563 เม่ือวันท่ี 23
กรกฎาคม 2563 ที่ผา่ นมานัน้ มีคณะกรรมการบริษทั
และคณะกรรมการชุดต่างๆ ดังกล่าว เข้าร่วมการ
ประชุมโดยพร้อมเพรยี งกนั

69

บรษิ ทั ทเี อม็ ที สตีล จำ�กัด (มหาชน)

หมวดที่ 2 : การปฏิบัติต่อผ้ถู อื หุน้ อยา่ งเท่าเทยี มกนั

1. บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเสนอระเบียบวาระ 6. การปอ้ งกันการใช้ข้อมูลภายใน
การประชมุ ผถู้ อื หนุ้ ลว่ งหนา้ โดยกำ� หนดใหผ้ ถู้ อื หนุ้ คนหนง่ึ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของ
หรือหลายคนรวมกัน ซึ่งนับจ�ำนวนหุ้นได้ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบียนท่ีช�ำระแล้ว สามารถใช้สิทธิ การป้องกันการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทเพื่อประโยชน์
เสนอเรอ่ื งดงั กลา่ ว โดยบรษิ ทั ไดป้ ระกาศแจง้ ไวบ้ นเวบ็ ไซต์ ส่วนตนเป็นอย่างย่ิง จึงได้ก�ำหนดนโยบายการซ้ือขาย
ของบรษิ ทั และผา่ นชอ่ งทางการแจง้ ขา่ วของตลาดหลกั ทรพั ย์ หลกั ทรพั ย์ ของกรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน (บรษิ ทั ได้
แห่งประเทศไทย ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เผยแพรไ่ วบ้ นเวบ็ ไซตท์ ี่ www.tmtsteel.co.th) โดยกำ� หนด
2563 เป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 30 วนั ซง่ึ ในปี 2563 ไม่มผี ู้ถอื ให้ กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลท่ีบริษัทก�ำหนดทุกคน
หนุ้ ท่านใดเสนอระเบียบวาระการประชมุ ล่วงหนา้ ดงั กลา่ ว ต้องปฏิบัติตามข้อห้ามในการซ้ือขายหลักทรัพย์โดยใช้
ข้อมูลภายในตามท่ีพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
2. บรษิ ทั ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื เชญิ ประชมุ ผถู้ อื หนุ้ เอกสารประกอบ ตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด และนอกจากกรรมการและ
การประชมุ และหนงั สอื มอบฉนั ทะทง้ั ภาษาไทยและภาษา ผบู้ รหิ ารทมี่ หี นา้ ทต่ี อ้ งรายงานการถอื ครองหลกั ทรพั ยแ์ ละ
อังกฤษ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นทั้งใน รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ต่อ
ประเทศและต่างประเทศ ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก� ำ กั บ ห ลั ก ท รั พ ย ์ แ ล ะ
ตลาดหลักทรัพย์ (“ก.ล.ต.”) ตามที่กฎหมายแล้ว บริษัท
3. การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2563 บริษัทไม่มีการ ยงั ใหบ้ คุ คลทบี่ รษิ ทั กำ� หนด (บคุ คลทมี่ คี วามเกยี่ วขอ้ งและ
เพ่ิมระเบียบวาระการประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ ล่วงรู้หรือครอบครองข้อมูลภายใน) ต้องมีหน้าที่จัดท�ำ
ล่วงหน้า ร า ย ง า น ก า ร ถื อ ค ร อ ง ห ลั ก ท รั พ ย ์ แ ล ะ ร า ย ง า น ก า ร
เปลยี่ นแปลงการถอื ครองหลกั ทรพั ย์ นำ� สง่ เลขานกุ ารบรษิ ทั
4. บริษัทมอบหมายให้กรรมการอิสระท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ดูแล ภายในเวลาที่ก�ำหนดนับแต่วันท่ีมีการซ้ือ ขาย โอน หรือ
ผู้ถือหุ้นรายย่อย โดยผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถส่งข้อ รับโอนหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า นอกจากน้ี
เสนอแนะ ความคิดเห็น หรือแจ้งข้อร้องเรียนท่ีเกี่ยวกับ บริษัทยังได้ก�ำหนดช่วงเวลาห้ามซื้อขายหลักทรัพย์
ผลการด�ำเนินงานของบริษัท ต่อกรรมการอิสระโดยตรง (Blackout Period) โดยหา้ มกรรมการ ผบู้ รหิ าร และบคุ คล
ที่ E-mail: [email protected] ทงั้ นกี้ รรมการอสิ ระจะ ที่บริษัทก�ำหนด ซ้ือขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วงเวลา
เปน็ ผู้พิจารณาด�ำเนินการตามความเหมาะสม ดังนี้
(1) 30 วนั กอ่ นการเปดิ เผยงบการเงนิ ประจำ� ไตรมาสและ
5. กรรมการและผู้บริหารของบริษัท มีการรายงานให้บริษัท
ทราบถึงการมีส่วนได้ส่วนเสียของตนและผู้ที่เกี่ยวข้อง ประจำ� ปี และ 1 วนั ทำ� การ หลงั จากวนั ทม่ี กี ารเปดิ เผย
ซ่ึงเป็นส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการ งบการเงินประจ�ำไตรมาสและประจ�ำปีต่อตลาด
กจิ การของบรษิ ทั ตามทร่ี ะบไุ วใ้ นพระราชบญั ญตั หิ ลกั ทรพั ย์
และตลาดหลักทรัพย์ โดยรายงานผ่านเลขานุการบริษัท หลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย
เพ่ือรวบรวมและเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบและ (2) 14 วัน กอ่ นการเปิดเผยมติของคณะกรรมการบริษทั
คณะกรรมการบรษิ ทั สามารถพจิ ารณาการทำ� ธรุ กรรมของ
บรษิ ทั ทอ่ี าจมคี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ และสามารถ ในการอนุมัติเหตุการณ์ส�ำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยน
ตัดสินใจเพ่ือประโยชน์ของบริษัทโดยรวมได้ ทั้งนี้ การ แปลงราคาหรอื มลู คา่ ของหลกั ทรพั ย์ และ 1 วนั ทำ� การ
พิจารณาการท�ำธุรกรรมดังกล่าว กรรมการและผู้บริหาร หลงั จากทม่ี กี ารเปดิ เผยมตดิ งั กลา่ วของคณะกรรมการ
ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่มีสิทธิในการเข้าร่วมประชุมและ ตอ่ ตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย
ออกเสยี งลงคะแนน และบริษัทยังได้ก�ำหนดช่วงเวลาในการงดให้ข้อมูล
บอกกลา่ ว เผยแพรข่ อ้ มลู ภายในของบรษิ ทั ตอ่ บคุ คลอนื่ ใด
(Quiet Period) ไว้เป็นเวลา 14 วัน ก่อนการเปิดเผยงบ
การเงินประจ�ำไตรมาสและประจ�ำปี รวมถึงมติของคณะ
กรรมการบริษัทในการอนุมัติเหตุการณ์ส�ำคัญท่ีมีผลต่อ
การเปล่ียนแปลง ราคาหรือมูลค่าของหลักทรัพย์ต่อ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

70

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

ท้ังน้ี หากกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนกั งานของบรษิ ทั นำ� อาจถงึ ขน้ั ใหอ้ อกจากงาน รวมทงั้ อาจมคี วามรบั ผดิ ทง้ั ทาง
ข้อมูลภายในของบริษัทไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดๆ ไปใช้เพื่อ อาญาและทางแพ่งตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ประโยชนส์ ว่ นตน และการกระท�ำดงั กล่าวก่อใหเ้ กดิ ความ ตลาดหลักทรพั ย์ พ.ศ.2535 และ/หรือประกาศท่ีเกี่ยวขอ้ ง
เสียหายแก่บริษัท บริษัทจะพิจารณาลงโทษทางวินัยจน ของหน่วยงานภาครฐั

หมวดท่ี 3 : บทบาทของผู้มสี ว่ นได้เสยี

1. ลูกค้า 2. พนกั งาน
1.1 บรษิ ทั ได้ให้คำ� แนะน�ำ แก้ไขปญั หา ชว่ ยเหลอื ในการ บรษิ ทั ใหค้ วามสำ� คญั ในการพฒั นาและฝกึ อบรมพนกั งาน

จัดหาสินค้า สร้างสรรค์บริการรูปแบบใหม่ๆ และ การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมเป็นธรรม
คิดค้นทางเลือกท่ีหลากหลายแก่ลูกค้า รวมท้ังเพิ่ม ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมภายในองค์กรเพ่ือเสริมสร้าง
คุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ภายใต้ระบบการบริหาร บรรยากาศในการทำ� งานอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม สรา้ งความสามคั คี
จัดการแบบบูรณาการ เพื่อให้สามารถตอบสนอง และเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดสร้างสรรค์
ความต้องการของลกู คา้ ไดอ้ ย่างครอบคลมุ รอบด้าน รวมทงั้ ใหโ้ อกาสพนกั งานไดเ้ สนอความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอ
1.2 สนิ คา้ ของบรษิ ทั ผา่ นกระบวนการผลติ ดว้ ยเทคโนโลยี แนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานโดยผ่านช่องทาง
ท่ีทันสมัย มีการตรวจสอบคุณภาพก่อนการส่งมอบ คณะทำ� งานชดุ ยอ่ ยตา่ งๆ รวมทงั้ จดั ใหม้ รี ะบบเฝา้ ระวงั และ
ให้แก่ลูกค้าซ่ึงเป็นไปตามมาตรฐานท่ีก�ำหนดและ รับข้อมูล (Whistle Blowing Process) เพ่ือให้พนักงาน
ขอ้ ตกลงระหว่างกัน สามารถแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนในเรื่องที่อาจท�ำให้
1.3 ข้อมูลผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่น�ำเสนอต่อลูกค้าเป็น บรษิ ทั ได้รบั ความเสยี หายไปยังกรรมการบริษทั ไดโ้ ดยตรง
ข้อเท็จจริงและมีรายละเอียดเพียงพอ ง่ายต่อการ (บริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดไว้ในหัวข้อการขับเคลื่อน
ตัดสนิ ใจของลูกคา้ ธุรกิจเพือ่ ความยั่งยนื / รายงานความย่งั ยืน 2563)
1.4 บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการจัดส่งสินค้าด้วยระบบ 3. คู่คา้
โลจิสติกส์ท่ีมีส่วนช่วยเสริมประสิทธิภาพในการ 3.1 บริษัทปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเป็นธรรม เป็นไปตาม
บริหารงานคลังสินค้า ลดต้นทุน ประหยัดเวลาและ
พ้ืนท่ีจัดเก็บ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการผลิตของ เง่ือนไขทางการคา้ และข้อตกลงระหว่างกนั เพอ่ื ท่จี ะ
ลกู คา้ และเปน็ การสรา้ งความมน่ั ใจและความสะดวก พัฒนาและรกั ษาสัมพนั ธภาพระหว่างคู่คา้ ใหย้ งั่ ยืน
สบายใหแ้ ก่ลกู ค้า 3.2 บรษิ ทั ไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการกระทำ� ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ
1.5 บริษัทได้เก็บรักษาข้อมูลส่วนตัวของลูกค้าเป็น ความขัดแย้งทางการค้าหรือผลประโยชน์โดยมิชอบ
ความลบั และปอ้ งกนั การนำ� ขอ้ มลู ดงั กลา่ วไปเปดิ เผย รวมท้ังไม่มีการส่งเสริมหรือสนับสนุนการท�ำธุรกิจ
หรือน�ำไปใช้หาผลประโยชน์อ่ืนโดยไม่ได้รับความ กับบริษัทท่ีเข้าไปมีส่วนร่วมในการกระท�ำดังกล่าว
ยินยอมจากลกู ค้า เชน่ การฮวั้ ประมลู การกกั ตนุ สนิ คา้ การจำ� กดั ปรมิ าณ
บรษิ ทั ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของ การผลิต และการแข่งขันทางด้านราคาที่ไม่สมควร
ลกู คา้ ทม่ี ตี อ่ สนิ คา้ และบรกิ ารของบรษิ ทั เพอ่ื นำ� มาปรบั ปรงุ เปน็ ต้น
และพัฒนาให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า 3.3 บริษัทมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการประเมินและ
ไดด้ ยี ิ่งข้นึ คัดเลือกคู่ค้าอย่างเป็นธรรม และไม่สนับสนุนการ
กระทำ� ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์

71

บรษิ ัท ทเี อ็มที สตีล จำ�กัด (มหาชน)

4. ผู้ถอื หุ้น 8. ชมุ ชน สังคม และสิง่ แวดล้อม
4.1 บริษัทมุ่งม่ันท่ีจะขยายการเติบโตของธุรกิจอย่าง บริษัทด�ำเนินธุรกิจโดยให้ความส�ำคัญต่อชุมชน สังคม

ต่อเน่ืองและยั่งยืน โดยอยู่บนพ้ืนฐานของความ และสภาพแวดล้อมเป็นส�ำคัญ และยึดถือการปฏิบัติตาม
โปร่งใสและเป็นธรรม จนสามารถก้าวข้ึนเป็นบริษัท กฎหมายและข้อบังคบั เกย่ี วกบั สิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครดั
ชน้ั นำ� ในอตุ สาหกรรมเหลก็ ได้ เพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มนั่ โดยบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
และมูลค่าเพิม่ ใหก้ บั ผ้ถู อื หนุ้ ในระยะยาว และนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังได้ส่ือสารให้กับ
4.2 บรษิ ทั ได้ทำ� หนา้ ท่ีเปดิ เผยข้อมูลข่าวสารตา่ งๆ ทอ่ี าจ บุคลากรภายในบริษัทรับทราบเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
มีผลกระทบต่อผลประโยชน์และการตัดสินใจของ โดยท่วั กัน รวมถึงบรรจุหลักสูตรฝกึ อบรมด้านสิง่ แวดลอ้ ม
ผถู้ อื หนุ้ อยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และภายในกรอบเวลา ไวใ้ นหลักสตู รปฐมนเิ ทศพนกั งาน
ท่กี ฎหมายกำ� หนด (บริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดไว้ในหัวข้อการขับเคล่ือน
4.3 บริษัทได้ด�ำเนินการตรวจสอบเงินปันผลคงค้างท่ี ธรุ กิจเพ่ือความยงั่ ยืน / รายงานความยั่งยืน 2563)
ผู้ถือหุ้นยังไม่ได้รับ และติดตามเพ่ือให้ผู้ถือหุ้นนั้น 9. ภาครฐั
สามารถไดร้ ับเงนิ ปันผลตามสทิ ธทิ ีไ่ ดร้ บั 9.1 บรษิ ทั ยดึ ถอื แนวทางปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบยี บ
5. เจ้าหนี้
บริษัทปฏิบัติตามเง่ือนไขของการกู้ยืมเงินตามข้อตกลง และขอ้ กำ� หนดต่างๆ ของภาครฐั อยา่ งเคร่งครัด
และให้ข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้อง รวมทั้งมีการจ่ายช�ำระ 9.2 บรษิ ทั ยนิ ดใี หค้ วามรว่ มมอื ทางดา้ นขอ้ มลู เกยี่ วกบั การ
หนี้ตรงตามก�ำหนดทุกครั้ง พร้อมทั้งอ�ำนวยความสะดวก
ให้เจ้าหนี้สามารถมีช่องทางในการรับช�ำระเงินที่สะดวก ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั ตอ่ หนว่ ยงานภาครฐั เพอื่ นำ� ไป
รวดเร็ว เช่น การจ่ายช�ำระผ่านศูนย์จ่ายเช็คของธนาคาร ใช้ประโยชน์ในดา้ นต่างๆ ตามความเหมาะสม
การโอนเงนิ เขา้ บัญชี และการรับเงินทีบ่ ริษัท การด�ำเนินการเพื่อปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียตามแนวทาง
6. ผูส้ อบบญั ชอี ิสระ การดแู ลก�ำกับกจิ การที่ดี
บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้สอบบัญชีอิสระปฏิบัติหน้าท่ี บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารทำ� จรรยาบรรณธรุ กจิ เพอ่ื เปน็ แนวทาง
ด้วยความเป็นอิสระ โปร่งใส และเป็นไปตามข้อก�ำหนด ใหก้ รรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยคำ� นงึ ถงึ
ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย และเข้าใจบทบาทหน้าที่ท่ีจะต้องปฏิบัติ
ตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ ตนให้ตั้งมั่นอยู่ในความสุจริต โปร่งใส และจริยธรรมที่ดีงาม
เป็นอย่างดีโดยไม่มีข้อขัดแย้งใดๆ หรือความคิดเห็นท่ี ไม่กระท�ำการใดๆ เพ่ือแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวหรือหาผล
ไมต่ รงกนั ตลอดจนอำ� นวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ประโยชน์จากการปฏิบัติงาน มีจิตส�ำนึกท่ีรับผิดชอบต่อชุมชน
เอกสาร และสามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าท่ีทุกฝ่าย สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม นอกจากนบ้ี รษิ ทั ไดจ้ ดั ทำ� ระบบเฝา้ ระวงั
ทเี่ กย่ี วขอ้ งไดโ้ ดยตรง ทง้ั นบ้ี รษิ ทั ไดจ้ ดั ใหผ้ สู้ อบบญั ชอี สิ ระ และรับข้อมูลความผิดปกติภายในองค์กร เพื่อเป็นการป้องกัน
ได้พบปะกับคณะกรรมการตรวจสอบเพ่ือได้รายงานอย่าง เฝ้าระวังและค้นหาสิ่งผิดปกติท่ีอาจเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน
อิสระต่อคณะกรรมการตรวจสอบโดยไม่มีผู้บริหารร่วม ภายในองค์กร (Whistle Blowing Process) ท้ังทอ่ี าจเปน็ ความ
ประชมุ ด้วย เส่ียงท่ีท�ำให้เกิดความเสียหาย ต่อทรัพย์สิน ช่ือเสียง และ
บุคลากร ข้อร้องเรียนต่างๆ การกระท�ำท่ีผิดกฎหมาย หรือ
7. คู่แขง่ เบาะแสการ กระท�ำทุจริตคอร์รัปชั่นภายในองค์กร โดยบริษัท
บริษัทด�ำเนินธุรกิจตามกรอบกติกาการแข่งขันที่เป็นธรรม ได้เปิดช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายสามารถแจ้งข้อมูล
โดยไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในการแข่งขันการตัดราคาอย่าง ความผิดปกติภายในองค์กร หรือข้อร้องเรียนที่เก่ียวกับการ
ไมส่ มควร และไมก่ ระทำ� การใดๆ ทท่ี ำ� ลายชอื่ เสยี งหรอื กอ่ ด�ำเนินงานของบริษัทต่อกรรมการอิสระได้โดยตรง ท่ี E-mail :
ให้เกิดความเสียหายต่อคู่แข่งอันจะน�ำมาซ่ึงผลประโยชน์ [email protected] หรอื โทรสาร 0 2670 9093
ตอ่ บรษิ ัทโดยมิชอบ

72

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

หมวดท่ี 4 : การเปดิ เผยข้อมูลและความโปรง่ ใส ไม่มีข้อขัดแย้งใดๆ กับผู้บริหาร ซึ่งบริษัทได้มีการเปิดเผย
คา่ สอบบญั ชแี ละคา่ บรกิ ารอน่ื ทผ่ี สู้ อบบญั ชใี หบ้ รกิ ารไวใ้ น
1. คณะกรรมการบริษัทก�ำกับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูล รายงานประจ�ำปี ในส่วนของการตรวจสอบภายในของ
บริษทั คณะกรรมการตรวจสอบไดอ้ นุมัตใิ ห้ บริษัท อวี าย
สำ� คญั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั บรษิ ทั ทงั้ ขอ้ มลู ทางการเงนิ และขอ้ มลู คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จ�ำกัด เสนอแผนงานและด�ำเนิน
ที่มิใช่ข้อมูลทางการเงินตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงาน การตรวจสอบระบบการควบคมุ ภายใน เพอื่ ใหค้ วามมนั่ ใจ
คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ และ ไดว้ า่ บรษิ ทั มรี ะบบการจดั การ กำ� กบั ควบคมุ ตลอดจนการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงข้อมูลอ่ืนๆ ท่ี จดั การความเส่ยี งทีเ่ หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ
เกีย่ วขอ้ ง อยา่ งถกู ต้อง ครบถว้ น ทนั เวลา และโปร่งใส เพอ่ื 4. คณะกรรมการบรษิ ทั ไดจ้ ดั ทำ� รายงานความรบั ผดิ ชอบของ
ให้ผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายของบริษัท ได้รับ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินโดยแสดงควบคู่กับ
สารสนเทศอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ผา่ นชอ่ งทางและวธิ กี ารตา่ งๆ รายงานของผู้สอบบัญชีในรายงานประจำ� ปีของบรษิ ัท
เชน่ ระบบขา่ วของตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย แบบ
แสดงรายการขอ้ มลู ประจำ� ปี รายงานประจำ� ปี และเวบ็ ไซต์
ของบรษิ ทั รวมทงั้ ไดม้ กี ารแตง่ ตงั้ เลขานกุ ารบรษิ ทั เพอ่ื เปน็
ผดู้ �ำเนินการจดั ท�ำและเกบ็ รักษาขอ้ มลู ดงั กลา่ ว

2. ในปี 2563 บริษัทได้จัดให้มีการประชุมนักวิเคราะห์ 5. คณะกรรมการบริษัทดูแลให้มีการเปิดเผยบทบาทหน้าท่ี
หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) ในทุกไตรมาส เพ่ือช้ีแจง การจ่ายค่าตอบแทน และจ�ำนวนครั้งของการเข้าร่วม
ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของบริษัทหลังจาก ประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการโดยแยก
ท่บี ริษทั เปิดเผยงบการเงนิ ต่อตลาดหลกั ทรัพยแ์ ล้ว เป็นรายบคุ คลไวใ้ น 56-1 One Report ของบรษิ ัท

3. การตรวจสอบบัญชีของบริษัทด�ำเนินการโดยผู้สอบบัญชี 6. คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีหน่วยงานส่ือสารองค์กร
รบั อนญุ าตจากบรษิ ทั ไพรซ้ วอเตอรเ์ ฮาสค์ เู ปอรส์ เอบเี อเอส เพื่อท�ำหน้าท่ีติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุน และ
จ�ำกัด และผ้สู อบบญั ชีที่มคี วามเปน็ อิสระ มีความรู้ ความ หนว่ ยงานภายนอก โดยมีชอ่ งทางการติดตอ่ ดงั น้ี
ชำ� นาญ และไดร้ บั การรบั รองจากสำ� นกั งานคณะกรรมการ
ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยการตรวจสอบ โทรศพั ท์ : 0 2685 4000 ตอ่ 4003
บญั ชดี ังกลา่ ว คณะกรรมการตรวจสอบไดร้ ับรายงานจาก โทรสาร : 0 2670 9093
ผสู้ อบบญั ชวี า่ ไดร้ บั ความเปน็ อสิ ระ ไดร้ บั ความรว่ มมอื และ E-mail : [email protected]

73

บรษิ ทั ทเี อม็ ที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรพั ย์ของกรรมการและผบู้ ริหาร
ในปี 2563 กรรมการและผูบ้ ริหารมีการเปลยี่ นแปลงการถอื ครองหลักทรัพย์ ดงั น้ี

จ�ำนวนห้นุ ที่ถือ จำ� นวนห้นุ
ชอ่ื - นาม สกุล ต ำ� แหน่ง เปลยี่ นแปลง
1 ม.ค. 63 31 ธ.ค. 63 เพ่มิ (ลด)

1 นายชยั จรุงธนาภบิ าล ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ 1,045,500 1,045,500 -
กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
และกรรมการอสิ ระ
2 นายสูรย์ ธรสารสมบัต ิ กรรมการ และประธานกรรมการสรรหา 195,500,000 195,300,000 (200,000)
และกำ� หนดคา่ ตอบแทน
3 นายไพศาล ธรสารสมบตั ิ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร 114,349,400 112,349,400 (2,000,000)
และประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร
4 นายคมสัน ธรสารสมบตั ิ กรรมการ กรรมการบริหาร และรองกรรมการ 66,000,150 66,000,150 -
ผอู้ ำ� นวยการสายงานปฏบิ ตั ิการ
5 นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย ์ กรรมการ กรรมการสรรหาและ 4,000,000 4,000,000 -
กำ� หนดค่าตอบแทน กรรมการบรหิ าร
และกรรมการผูอ้ �ำนวยการสายงานการเงนิ
6 นางรัตนวลี กอสนาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา 544,000 544,000 -
และกำ� หนดค่าตอบแทน และกรรมการอิสระ
7 นายเอนก ปิน่ วนชิ ย์กุล กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา 544,000 544,000 -
และก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการอิสระ
8 นายประวาส สนั ตวะกุล กรรมการบรหิ าร 100,000 140,000 40,000
และกรรมการผู้อ�ำนวยการสายงานปฏบิ ตั กิ าร
9 นางสาวเพช็ รรุง้ เมษนิ ทรยี ์ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ 3,031,800 3,317,200 285,400
สายงานกลยทุ ธ์องคก์ รและวางแผน
10 นางพลั ลภา ธรสารสมบตั ิ รองกรรมการผ้อู ำ� นวยการ 35,621,000 35,621,000 -
สายงานบริหารทรัพยากรบคุ คล
11 นายสมศกั ด์ิ โตมรกุล รองกรรมการผู้อ�ำนวยการสายงานการตลาด 2,308,362 2,308,362 -

74

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

หมวดท่ี 5 : ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ

1 โครงสรา้ งคณะกรรมการ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการให้เป็นไปตาม
1.1 คณะกรรมการบรษิ ทั ขอ้ บงั คบั บรษิ ทั กลา่ วคอื ในการประชมุ สามญั ประจำ�
คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายความ ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งหนึ่งในสาม
ถา้ จำ� นวนกรรมการทจี่ ะแบง่ ออกใหต้ รงเปน็ สามสว่ น
หลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการบริษัท ไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ท่ีสุดกับส่วนหนึ่งใน
(Board Diversity) ให้ประกอบไปด้วยกรรมการที่มี สาม โดยใหก้ รรมการคนทอี่ ยใู่ นตำ� แหนง่ นานทส่ี ดุ นน้ั
คุณสมบัติที่หลากหลายทั้งในด้านทักษะที่จ�ำเป็น เป็นผู้ออกจากต�ำแหน่งและกรรมการที่จะออกตาม
ประสบการณ์และความเช่ียวชาญเฉพาะด้านที่เป็น วาระนอี้ าจไดร้ บั เลือกเขา้ มาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่กไ็ ด้
ประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั โดยไมจ่ ำ� กดั
เพศ เชอ้ื ชาติ ศาสนา อายุ ทจ่ี ะมาด�ำรงตำ� แหน่งและ กรรมการผู้ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการบริษัท
ปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการ เพ่ือผสานความรู้ความ จะต้องไม่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่อาจก่อให้เกิด
สามารถทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้การปฏิบัติ
เสรมิ สรา้ งมมุ มองในหลากหลายมติ เิ พอื่ การตดั สนิ ใจ หน้าท่ีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เว้นแต่ได้มีการ
อย่างมีประสทิ ธิภาพและสรา้ งความยัง่ ยืนแกอ่ งค์กร รายงานข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งดังกล่าวให้บริษัท
และที่ประชุมผู้ถือหุ้นรับทราบก่อนเข้ารับพิจารณา
ณ สิ้นปี 2563 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย เลือกต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท ทั้งน้ี
กรรมการจ�ำนวน 7 ท่าน แบ่งเป็นกรรมการอิสระ ประสบการณ์ท�ำงานของกรรมการบริษัทแต่ละท่าน
3 ทา่ น กรรมการที่เปน็ ผบู้ รหิ าร 3 ทา่ น และกรรมการ ได้เปิดเผยไวใ้ นหวั ข้อประวัตกิ รรมการและผู้บรหิ าร
1 ท่านที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร โดยมีประธานกรรมการ
เป็นกรรมการอสิ ระ ซงึ่ เปน็ สดั สว่ นทสี่ ามารถจัดไดว้ ่า
เปน็ หลกั การถว่ งดลุ ทด่ี ไี ด้ และเปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนด
ของกฎหมาย สำ� หรบั รายละเอยี ดทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ขอบเขต
หน้าท่ี และความรับผิดชอบปรากฏอยู่ในหัวข้อ
โครงสร้าง การจดั การ

สรปุ ผลการปฏิบัติหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการบริษทั มดี งั นี้
การประชมุ คณะกรรมการบริษัทในปี 2563 มีจ�ำนวนท้ังหมด 7 คร้งั โดยมกี รรมการเขา้ รว่ มตามรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้

ช่อื - นามสกลุ ต�ำแหน่ง จ�ำนวนคร้งั ที่เขา้ รว่ มประชมุ /
การประชุมทงั้ หมด (คร้งั )
7/7
1 นายชยั จรงุ ธนาภบิ าล ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 7/7
2 นายสูรย์ ธรสารสมบตั ิ กรรมการ 7/7
3 นายไพศาล ธรสารสมบตั ิ กรรมการ 7/7
4 นายคมสัน ธรสารสมบัต ิ กรรมการ 7/7
5 นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย์ กรรมการ และเลขานกุ ารบรษิ ัท 7/7
6 นางรตั นวลี กอสนาน กรรมการอิสระ 7/7
7 นายเอนก ปน่ิ วนิชย์กลุ กรรมการอสิ ระ

75

บริษัท ทเี อ็มที สตีล จ�ำ กัด (มหาชน)

1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ตามข้อพึงปฏิบัติท่ีดีของบริษัทจดทะเบียน เพื่อให้
ณ สิ้นปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบ บริษัทมีการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนให้การ
แนะนำ� ในเรอ่ื งการบรหิ ารความเสยี่ งและระบบควบคมุ
ด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน โดยมีกรรมการ ภายในต่อผู้บรหิ าร
ผู้อ�ำนวยการสายงานการเงินเป็นเลขานุการ คณะ กรรมการตรวจสอบ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราว
กรรมการตรวจสอบของบริษัทได้รับการแต่งตั้งจาก ละ 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง โดยกรรมการ
คณะกรรมการ บรษิ ทั ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นการสอบทาน ตรวจสอบท่ีครบก�ำหนดตามวาระ อาจได้รับการ
ข้อมูลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการรายงานทางการเงิน เลอื กตั้งให้กลบั เขา้ ด�ำรงต�ำแหน่งตอ่ อกี วาระหนงึ่ ได้
การตรวจสอบภายในและการตรวจสอบโดยผู้สอบ
บญั ชรี บั อนญุ าต พรอ้ มกนั นคี้ ณะกรรมการตรวจสอบ
พยายามส่งเสริมและผลักดันให้บริษัทมีการปฏิบัติ

สรุปผลการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีของคณะกรรมการตรวจสอบมีดังนี้
1. การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2563 มีจ�ำนวนทงั้ หมด 5 ครั้ง โดยมกี รรมการเข้ารว่ มตามรายละเอียด
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ชื่อ - นามสกุล ตำ� แหนง่ จำ� นวนครั้งทีเ่ ขา้ รว่ มประชุม /
การประชุมทัง้ หมด (ครัง้ )
5/5
1 นายชยั จรงุ ธนาภบิ าล ประธานกรรมการตรวจสอบ 5/5
2 นางรตั นวลี กอสนาน กรรมการตรวจสอบ 5/5
3 นายเอนก ปิ่นวนิชย์กุล กรรมการตรวจสอบ

2. ในปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย โดยสรุปได้ดังน้ี
ในการประชุมแต่ละครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้พบปะอย่างอิสระกับฝ่ายบริหารและผู้ตรวจสอบภายใน

และผสู้ อบบญั ชีรับอนุญาตของบริษทั เพอ่ื ทบทวนและประเมินผลเกยี่ วกบั นโยบายและหลักการบัญชี แนวทางการ
ปฏิบัตทิ ี่เก่ยี วข้องกับการบญั ชีและการเงิน การควบคมุ ภายในและแผนการตรวจสอบ รวมถงึ การประชมุ อยา่ งเป็น
อิสระกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตโดยไม่มีผู้บริหารร่วมด้วย นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบยังได้ทบทวนและ
รบั รองขอ้ มลู และรายงานทางการเงนิ สำ� หรบั ทกุ สนิ้ ไตรมาส และไดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� แกค่ ณะกรรมการบรษิ ทั ในการแกไ้ ข
หรอื ลดจดุ อ่อนในการควบคุมภายในและความเส่ยี งทอ่ี าจเกิดขนึ้ กับบริษทั

ผู้ตรวจสอบภายในซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ ได้แต่งต้ังให้ บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท
เซอร์วสิ เซส จำ� กัด โดยมนี ายเตมิ เตชะศรนิ ทร์ เป็นผู้รับผดิ ชอบหลกั ในการปฏิบัติหนา้ ทีเ่ ป็นผตู้ รวจสอบภายใน มีหนา้ ที่
จัดท�ำแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปีเสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินข้อบกพร่องในการควบคุม
ภายในของบริษัท โดยตรวจสอบกระบวนการทางบัญชีและการปฏิบัติงานของบริษัทอย่างมีระบบ จัดท�ำรายงาน
เกย่ี วกบั การควบคมุ ภายในทดี่ ี นำ� เสนอแกผ่ บู้ รหิ ารทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอ่ื กำ� หนดแผนการปฏบิ ตั งิ านในอนาคต และประชมุ
อย่างสม่�ำเสมอกับคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อรายงานผลการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าท่ีสร้าง
ความมนั่ ใจวา่ ขอ้ บกพรอ่ งดา้ นการควบคมุ ภายในตา่ งๆ จะไดร้ บั การแกไ้ ขและปอ้ งกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและภายใน
เวลาท่ีเหมาะสม

คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบได้อนุมัตินโยบายการท�ำรายการและรายงานท่ีอาจมีความ
ขัดแย้งท่เี กิดขนึ้ ในระหวา่ งปี 2563

76

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

จากการปฏิบตั หิ น้าท่ดี ังกลา่ ว คณะกรรมการตรวจสอบมคี วามเหน็ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. รายงานทางการเงินในป ี 2563 มีความถกู ตอ้ ง ครบถว้ นและเปน็ ทีเ่ ชอื่ ถือได้
2. สนิ ทรพั ยข์ องบรษิ ทั มกี ารปอ้ งกนั และรกั ษาเปน็ อยา่ งดี การบนั ทกึ รายการทางบญั ชมี คี วามเหมาะสม และ
ทรัพยากรไดถ้ ูกใช้อยา่ งมีประสทิ ธผิ ลและประสิทธภิ าพ
3. บรษิ ทั ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ ขอ้ กำ� หนดของตลาดหลกั ทรพั ย์ และ
กฎหมายท่เี กีย่ วข้อง
4. นายไพบลู ตนั กลู แหง่ บรษิ ทั ไพรซ้ วอเตอรเ์ ฮาสค์ เู ปอรส์ เอบเี อเอส จำ� กดั ผสู้ อบบญั ชขี องบรษิ ทั ไดป้ ฏบิ ตั ิ
หน้าที่อยา่ งเหมาะสม
5. รายการทอ่ี าจมคี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ ในปี 2563 มคี วามเหมาะสมและเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชน์
สูงสดุ ของบริษทั
6. คณะกรรมการตรวจสอบไดป้ ฏิบัติหนา้ ท่ีตามกฎบัตรที่รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบรษิ ัท
7. คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ให้แต่งตั้ง นายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรับ
อนุญาตเลขท่ี 4298 แห่งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท
ส�ำหรับรอบปีบัญชีส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2564 ซ่ึงการแต่งต้ังผู้สอบบัญชีและค่าสอบบัญชีข้ึนอยู่กับ
การอนุมตั ขิ องผ้ถู อื หุ้นในการประชมุ สามญั ประจำ� ปที ่จี ะมีขึน้ ในวันที่ 8 เมษายน 2564 
1.3 คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษทั มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง 3 ปี
ประกอบดว้ ย กรรมการอสิ ระ 3 ท่าน กรรมการบรษิ ทั 2 ทา่ น โดยมกี รรมการท่ไี มใ่ ช่ผูบ้ รหิ ารเปน็ ประธานคณะกรรมการ
คณะกรรมการบรษิ ทั ไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทนมหี นา้ ท่ี พจิ ารณานโยบาย หลกั เกณฑ์
และวธิ กี ารในการสรรหา คดั เลอื ก กำ� หนดและจดั สรร การเสนอใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ และคา่ ตอบแทนทง้ั ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ และไมใ่ ช่
ตัวเงนิ ใหแ้ ก่ กรรมการบรษิ ัท กรรมการชดุ ย่อย และประธานเจ้าหนา้ ท่ีบรหิ าร รวมถึงการทบทวนการกำ� หนดคณุ สมบตั ิ
และหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนการสำ� รวจความตอ้ งการพฒั นาทกั ษะและความรูข้ อง กรรมการ
บริษทั กรรมการชดุ ย่อย และประธานเจา้ หนา้ ท่ีบรหิ าร

สรุปผลการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดค่าตอบแทน
1. ในปี 2563 คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ จำ� นวน 2 ครง้ั โดยมกี รรมการเขา้ รว่ ม
ตามรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปน้ี

ชอื่ - นามสกลุ ต�ำแหน่ง จำ� นวนครั้งทเ่ี ขา้ รว่ มประชุม /
การประชมุ ท้งั หมด (ครงั้ )
2/2
1 นายสูรย์ ธรสารสมบัติ ประธานกรรมการสรรหา
และกำ� หนดค่าตอบแทน 2/2
2 นายชยั จรุงธนาภบิ าล กรรมการสรรหาและกำ� หนดค่าตอบแทน 2/2
3 นางรตั นวลี กอสนาน กรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน 2/2
4 นายเอนก ปิ่นวนชิ ยก์ ลุ กรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน 2/2
5 นายสมเจตน์ ตรีธารทพิ ย ์ กรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน

2. ในปี 2563 คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน ไดป้ ฏิบัติหน้าท่ีตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย โดยสรปุ ได้ดังน้ี
พจิ ารณาเสนอคา่ ตอบแทนกรรมการเพอ่ื เสนอคณะกรรมการบรษิ ทั ใหเ้ สนอตอ่ ทป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ เพอื่ อนมุ ตั ิ และ
พจิ ารณาวธิ กี ารจดั สรรคา่ ตอบแทนดงั กลา่ วใหแ้ กก่ รรมการบรษิ ทั โดยพจิ ารณาจากผลประกอบการของบรษิ ทั
หน้าท่ีความรับผิดชอบ ความส�ำเร็จตามเป้าหมาย และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ตลอดจนการเปรียบเทียบ
ข้อมูลของบริษทั อ่ืนในอตุ สาหกรรมเดยี วกนั

77

บริษทั ทีเอ็มที สตลี จ�ำ กดั (มหาชน)

พิจารณาคัดเลือกบุคคลท่ีเหมาะสมเพ่ือเสนอคณะกรรมการบริษัทให้เสนอต่อท่ีประชุมผู้ถือหุ้น เพ่ือแต่งตั้งให้
ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทแทนกรรมการบริษัทท่ีพ้นต�ำแหน่งตามวาระ โดยพิจารณาถึงคุณสมบัติที่
เหมาะสมประสบการณ์ ความรแู้ ละความสามารถทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านไดส้ ำ� เรจ็ ตามแนวทางและเปา้ หมายของบรษิ ทั

พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมเพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทให้แต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการ
ชุดย่อย 2 คณะได้แก่ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและพัฒนาองค์กร คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและ
ความยงั่ ยนื โดยคำ� นงึ ถงึ คณุ สมบตั ิ ความรู้ ความสามารถและประสบการณท์ เี่ หมาะสมกบั ภารกจิ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

พิจารณาแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการบริษัทเป็นรายคณะและรายบุคคล รวมถึงการ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านและการกำ� หนดคา่ ตอบแทนของประธานเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารใหแ้ กค่ ณะกรรมการบรษิ ทั

พิจารณาทบทวนคุณสมบัติและส�ำรวจความต้องการพัฒนาทักษะและความรู้ของกรรมการบริษัท เพื่อให้
คณะกรรมการบริษทั มีศกั ยภาพในการนำ� และพฒั นาองค์กรสกู่ ารเติบโตอย่างย่งั ยืน

1.4 คณะกรรมการบริหารความเส่ียงและพัฒนากลยทุ ธ์องค์กร
คณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ งและพฒั นากลยทุ ธอ์ งคก์ ร ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากคณะกรรมการบรษิ ทั ในปี 2563 ประกอบ

ด้วยกรรมการอิสระ 1 ทา่ น กรรมการบรหิ าร 3 ทา่ น และมีผู้บริหารระดับสูง 1 ท่านเป็นเลขานุการคณะกรรมการ มีวาระ
การด�ำรงต�ำแหน่ง 3 ปี โดยก�ำหนดใหป้ ระธานคณะกรรมการตอ้ งเปน็ กรรมการอสิ ระ คณะกรรมการมหี นา้ ที่ในการก�ำกบั
ดูแลติดตาม ทบทวน ประเมินผล และสนับสนุนให้บริษัทมีระบบการบริหารและจัดการความเส่ียงอย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถควบคุมความเส่ียงได้อย่างเหมาะสม และช่วยพัฒนากลยุทธ์ขององค์กรเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจท่ีสร้าง
คุณค่าและประโยชน์ต่อผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียใหเ้ ตบิ โตร่วมกันอย่างย่ังยืน
สรปุ ผลการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีของคณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ งและพัฒนากลยุทธอ์ งค์กร
ในปี 2563 คณะกรรมการได้จัดใหม้ ีการประชุมท้งั หมด 3 ครัง้ โดยมีกรรมการเขา้ ร่วมตามรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

ช่อื - นามสกลุ ต�ำแหนง่ จ�ำนวนครง้ั ท่เี ขา้ รว่ มประชมุ /
การประชุมทง้ั หมด (ครงั้ )
3/3
1 นายเอนก ป่นิ วนิชยก์ ลุ ประธานกรรมการบรหิ ารความเส่ยี ง 3/3
และพฒั นากลยทุ ธอ์ งคก์ ร 3/3
2 นายสมเจตน์ ตรีธารทิพย์ กรรมการบริหารความเสยี่ ง 3/3
และพฒั นากลยทุ ธ์องคก์ ร
3 นายคมสนั ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรหิ ารความเสยี่ ง
และพัฒนากลยุทธ์องค์กร
4 นายประวาส สนั ตวะกลุ กรรมการบรหิ ารความเสี่ยง
และพฒั นากลยุทธอ์ งคก์ ร

2. ในปี 2563 บริหารความเสย่ี งและพัฒนากลยุทธ์องค์กรไดป้ ฏบิ ัตหิ น้าท่ีตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย โดยสรุปได้ดงั น้ี
กำ� กับดูแลการบริหารความเส่ยี ง
คณะกรรมการบริหารความเส่ียงได้จัดท�ำนโยบายการบริหารความเส่ียงและคู่มือการบริหารความเสี่ยง
และพัฒนากลยุทธ์องค์กร ซ่ึงได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดวิธี
ปฏบิ ตั งิ าน การสอื่ สารความเขา้ ใจ และพฒั นากระบวนการทำ� งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพภายใตค้ วามเสย่ี งทค่ี วบคมุ
ได้อยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล COSO - ERM 2017 ซ่ึงครอบคลุมการบริหารความเสย่ี งทั้ง
6 ดา้ น ได้แก่
ดา้ นกลยุทธ์
ด้านการปฏบิ ตั งิ าน

78

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

ด้านการเงิน
ด้านกฎหมาย ขอ้ บังคบั และกฎระเบียบ
ด้านสังคมและสิง่ แวดลอ้ ม
ด้านสภาวะแวดล้อมและภูมิทัศนท์ างธุรกิจท่เี กิดขึน้ ใหม่

พิจารณาและตดิ ตามการบรหิ ารความเสี่ยงขององค์กรทเ่ี กิดข้ึนระหวา่ งปี 2563
คณะกรรมการได้ติดตามผลการด�ำเนินงานตามปัจจัยเส่ียงธุรกิจท้ัง 6 ด้านจากฝ่ายบริหารและคณะท�ำงาน
รวมถงึ การใหข้ อ้ เสนอแนะ และความเหน็ ในการปรบั ปรงุ ประเมินและทบทวน แผนการบรหิ ารความเสีย่ งให้
สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ผันผวน ไม่แน่นอน และซับซ้อนขึ้น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกับแผนการบริหารความเส่ียงที่อุบัติขึ้นใหม่จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 เพ่ือให้
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายมีความม่ันใจได้ว่า การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทจะมีประสิทธิภาพและต่อเน่ือง โดย
รายละเอยี ดแนวทางการจัดการภาวะวกิ ฤต COVID-19 ของบริษทั ท้ังนี้ ท่านสามารถดขู อ้ มลู
เพ่ิมเติมได้จากหนงั สือ Sustainable Development Showcases 2020 ของตลาดหลักทรพั ย์
แห่งประเทศไทย

สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารสรา้ งวฒั นธรรมในการบรหิ ารความเสยี่ งและการพฒั นากลยทุ ธอ์ งคก์ ร
คณะกรรมการได้ใหค้ วามส�ำคญั (Tone from the Top) ในการส่งเสรมิ และปลกู ฝังคา่ นิยมองค์กรเพ่อื ให้เกิด
วฒั นธรรมในการทำ� งานทต่ี ระหนกั ถงึ การบรหิ ารความเสยี่ ง ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาและสรา้ งวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน
ที่มีประสิทธิภาพ และร่วมกันสร้างเครือข่ายในการจัดการความเส่ียงหรือพัฒนากลยุทธ์ร่วมกันกับผู้มีส่วนได้
สว่ นเสยี โดยการกำ� หนดหลกั การใหม้ กี ารสอื่ สารเขา้ ใจถงึ ปจั จยั เสยี่ ง การกำ� หนดใหก้ ารบรหิ ารความเสย่ี งและ
การสรา้ งเครือข่ายเพื่อแลกเปล่ียนความรแู้ ละจดั การบรหิ ารความเสี่ยงร่วมกัน รวมถึงการสื่อสารและรายงาน
ให้กับคณะกรรมการบรษิ ทั และคณะกรรมการชุดยอ่ ยตา่ งๆ ไดร้ บั ทราบแนวทางและผลการดำ� เนนิ งานในการ
บรหิ ารความเสีย่ งและพฒั นากลยุทธข์ ององคก์ ร

1.5 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและความย่งั ยืน
คณะกรรมการบรษิ ทั ไดอ้ นมุ ตั กิ ารแตง่ ตงั้ คณะกรรมการบรรษทั ภบิ าลและความยงั่ ยนื ในปี 2563 ซงึ่ ประกอบดว้ ยกรรมการ

อิสระ 1 ท่าน กรรมการบรหิ าร 2 ทา่ น และผ้บู รหิ ารระดบั สูง 2 ท่าน โดยมกี รรมการอิสระเป็นประธานคณะกรรมการ มี
วาระการดำ� รงต�ำแหน่ง 3 ปี คณะกรรมการมีหนา้ ที่กำ� กับดแู ล สนับสนนุ และตดิ ตาม ประเมินผล ให้บริษัทมีการด�ำเนนิ
งานท่ีสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจและพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้เสียท้ังในมิติด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม ตามเปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งยั่งยืนของกรอบสหประชาชาติ (The United Nations
Sustainable Development Goals: SDGs) พจิ ารณาทบทวนและสอ่ื สารนโยบาย แนวปฏบิ ตั ิ ผา่ นคณะอนกุ รรมการและ
คณะท�ำงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัททั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ด้านการก�ำกับดูแลองค์กร ด้านเศรษฐกิจ ด้านการ
พฒั นาสังคมและชุมชน ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภัย ด้านแรงงานและสิทธิมนุษยชน ด้านการพฒั นานวัตกรรม
และเทคโนโลยี ด้านการสื่อสารและการรับแจ้งเบาะแส เพื่อให้บริษัทเป็นองค์กรที่ด�ำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบ มีความ
โปรง่ ใส เป็นธรรม สรา้ งความเชือ่ มน่ั ตอ่ ผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี ทุกกล่มุ และพฒั นาไปสูก่ ารเติบโตอย่างย่ังยืน

สรุปผลการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของคณะกรรมการคณะกรรมการบรรษทั ภิบาลและความยง่ั ยืน
1. ในปี 2563 คณะกรรมการบรรษัทภบิ าลและความยัง่ ยนื ไดจ้ ัดให้มกี ารประชมุ 2 ครัง้ โดยมกี รรมการเข้าร่วมตาม
รายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

79

บริษทั ทีเอม็ ที สตลี จ�ำ กัด (มหาชน)

ช่อื - นามสกุล ตำ� แหน่ง จำ� นวนครั้งท่เี ข้ารว่ มประชมุ /
การประชุมทงั้ หมด (คร้ัง)
2/2
1 นางรัตนวลี กอสนาน ประธานกรรมการบรรษทั ภิบาล
และความยัง่ ยนื 2/2
2 นายไพศาล ธรสารสมบัติ กรรมการบรรษทั ภบิ าลและความยั่งยนื 2/2
3 นายคมสัน ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรรษทั ภิบาลและความยั่งยืน 2/2
4 นางพัลลภา ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรรษัทภบิ าลและความยงั่ ยืน

2. ในปี 2563 คณะกรรมการคณะกรรมการบรรษัทภบิ าลและความย่งั ยนื ได้ปฏิบตั หิ น้าท่ตี ามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
โดยสรุปไดด้ ังน้ี
ด้านการก�ำกับดแู ลกจิ การทีด่ ี
คณะกรรมการไดม้ กี ารทบทวนและปรบั ปรงุ หลกั การกำ� กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ปี ระจำ� ปี เพอื่ ใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั และสอดคลอ้ ง

กบั แนวทางของสำ� นกั งาน ก.ล.ต. มกี ารทบทวนการนำ� CG code ไปปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ททางธรุ กจิ พจิ ารณา
อนมุ ตั นิ โยบายการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยข์ องกรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน เพอื่ ปอ้ งกนั และใหต้ ระหนกั ถงึ จรรยาบรรณ
ความรับผิดชอบต่อการใช้ข้อมูลภายใน พิจารณารับทราบและติดตามผลการด�ำเนินงานด้านการต่อต้านทุจริต
กำ� หนดนโยบาย No Gift Policy ติดตามการดำ� เนนิ งานและได้รับการรบั รองผลการประเมนิ ตอ่ อายุสมาชิกแนวรว่ ม
ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต (CAC) อกี วาระหนึง่

ดา้ นการพฒั นาอย่างย่งั ยนื
คณะกรรมการไดม้ กี ารอนมุ ตั กิ รอบการรายงานดา้ นความยงั่ ยนื ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย นโยบายดา้ นความยง่ั ยนื หว่ งโซ่
ขององค์กร และประเด็นส�ำคัญด้านความยั่งยืน 11 ข้อ เพอ่ื เป็นกรอบแนวทางการดำ� เนินงานและติดตามผลประจ�ำ
ปี รวมถึงการประเมนิ ผลดา้ นความยง่ั ยนื ท้งั 3 มิติ ได้แก่ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม ซึง่ บรษิ ัทไดร้ ับการ
คัดเลอื กใหอ้ ย่ใู นรายชือ่ บริษัทจดทะเบียนท่อี ยูใ่ น Thailand Sustainability Investment (THIS) ประจ�ำปี 2563 ของ
ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย และไดร้ บั สถานะกจิ การวถยี งั่ ยนื ESG100 จากการประเมนิ ของสถาบนั ไทยพฒั น์
เป็นปที ี่ 5 ตดิ ต่อกัน

2. กรรมการอิสระ 3. เลขานุการบรษิ ทั
กรรมการอิสระของบริษัท มีคุณสมบัติครบถ้วนตาม คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เพ่ือท�ำ

ประกาศคณะกรรมการกำ� กับตลาดทนุ ที่ ทจ.4/2552 หนา้ ทใ่ี นการจดั ประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั คณะกรรมการ
เรอ่ื ง การขออนญุ าตและการอนญุ าตใหเ้ สนอขายหนุ้ ชดุ ตา่ งๆ และการประชมุ ผถู้ อื หนุ้ รวมทง้ั จดั ทำ� รายงานการ
ทอ่ี อกใหม่ (ฉบบั ที่ 2) ประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ
กรรมการอสิ ระของบรษิ ทั ทง้ั 3 ทา่ น เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ชุดต่างๆ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี
ด้านบัญชีและการเงิน และมีประสบการณ์ในการ ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายก�ำหนด พร้อมทั้ง
บริหารงานระดับสูงในหลายอุตสาหกรรม รวมถึงมี อ�ำนวยการและดูแลให้บริษัทปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ
ความรู้ความเข้าใจในธุรกิจของบริษัท จึงสามารถ ขอ้ บงั คบั และขอ้ กำ� หนดตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย
เข้าใจข้อมูลในงบการเงิน และตรวจสอบการบริหาร โดยรายละเอยี ดอน่ื ๆ บรษิ ทั ไดเ้ ปดิ เผยไวใ้ นหวั ขอ้ โครงสรา้ ง
งานได้ การจดั การ

80

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

4. การประชมุ กรรมการ
ในปี 2563 บริษทั ไดจ้ ดั การประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั รวมทั้งส้นิ 7 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งส้นิ 5 ครงั้ และ

คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทนรวมทงั้ สน้ิ 2 ครงั้ คณะกรรมการอสิ ระรวมทง้ั สนิ้ 2 ครงั้ (เปน็ การประชมุ โดย
ไม่มีฝ่ายบรหิ าร) คณะกรรมการบรหิ ารความเส่ยี งและพฒั นากลยทุ ธอ์ งค์กรรวมทัง้ สนิ้ 3 ครัง้ และคณะกรรมการบรรษทั
ภิบาลและความย่ังยืนรวมทั้งส้ิน 2 ครั้ง โดยเปน็ การประชมุ ในวาระตามปกติทกุ ไตรมาสและการประชมุ ในวาระติดตาม
ทบทวน ทศิ ทางธรุ กจิ โครงการทไ่ี ดม้ กี ารอนมุ ตั ไิ ป รวมถงึ การประเมนิ วสิ ยั ทศั น์ กลยทุ ธแ์ ละความเสยี่ งในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ
และการก�ำกบั กิจการทีด่ ี ทัง้ น้บี ริษัทอาจจัดให้มีการประชุมพเิ ศษตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ซง่ึ ไดม้ ีการตกลงกนั ไว้
และแจ้งให้กรรมการรับทราบล่วงหนา้

คร้งั ท่ ี การประชมุ การประชมุ การประชุม การประชมุ การประชุม การประชุม
คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ
บริษัท ตรวจสอบ สรรหาและกำ� หนด บริหารความเสยี่ ง บรรษัทภิบาล
ค่าตอบแทน และความยั่งยนื อิสระ
และพัฒนา 7 สงิ หาคม 24 กุมภาพันธ์
กลยุทธ์องค์กร
1 24 กุมภาพนั ธ ์ 24 กุมภาพนั ธ ์ 24 กุมภาพนั ธ์ 8 พฤษภาคม 2563 2563
2563 2563 2563 18 ธันวาคม 18 ธนั วาคม
2 24 มนี าคม 8 พฤษภาคม 18 ธนั วาคม 2563
2563 2563 2563 13 พฤศจิกายน 2563 2563
3 8 พฤษภาคม 7 สงิ หาคม
2563 2563 2563
4 4 มิถุนายน 13 พฤศจกิ ายน 18 ธันวาคม

2563

2563 2563
5 7 สงิ หาคม 18 ธันวาคม
2563 2563
6 13 พฤศจกิ ายน
2563
7 18 ธนั วาคม
2563

โดยกรรมการทกุ ทา่ นถอื เปน็ หน้าทใี่ นการเขา้ รว่ มประชุมอยา่ งพรอ้ มเพรยี งกนั ในการประชมุ แต่ละครงั้ ประธานกรรมการ
มกี ารจดั สรรเวลาอยา่ งเพยี งพอเพอื่ ใหก้ รรมการแตล่ ะทา่ นไดแ้ สดงความคดิ เหน็ และปรกึ ษาปญั หาทสี่ ำ� คญั อยา่ งรอบคอบ
และถถ่ี ว้ น โดยใหเ้ ลขานกุ ารบรษิ ทั เปน็ ผดู้ แู ลรบั ผดิ ชอบการจดั เตรยี มเอกสารการประชมุ รวมทงั้ จดั สง่ หนงั สอื เชญิ ประชมุ
และเอกสารประกอบการประชุมให้กรรมการทุกท่านล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุมเพ่ือให้กรรมการมีเวลาใน
การศึกษาระเบยี บวาระการประชมุ แต่ละวาระ

คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับองค์ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพ่ิมเติมในกฎบัตร โดยก�ำหนดให้
องคป์ ระชมุ ข้ันตา่ํ ณ ขณะทค่ี ณะกรรมการบริษัทจะลงมตใิ นทปี่ ระชุม จะต้องมีกรรมการอย่ใู นท่ปี ระชมุ ไมน่ ้อยกวา่ 2 ใน 3
ของจ�ำนวนกรรมการทงั้ หมด

81

บรษิ ทั ทีเอม็ ที สตีล จำ�กัด (มหาชน)

5. การสรรหาและแตง่ ตง้ั กรรมการและผบู้ รหิ ารระดบั สงู การอทุ ศิ เวลาและความสามารถเพ่ือพัฒนาบรษิ ัท
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เป็นผู้ การเขา้ รว่ มประชมุ และกจิ กรรมต่างๆ ของบริษัท
พจิ ารณา สรรหา คดั เลอื ก และเสนอชอื่ บคุ คลทมี่ คี ณุ สมบตั ิ มคี ณุ ธรรม และจริยธรรมในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ที่ได้ก�ำหนดไว้ ประกอบกับ
พิจารณาคุณสมบัติอ่ืนๆ ให้มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์ กระบวนการสรรหาและการแตง่ ต้ัง
ในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั รวมถงึ จดั ทำ� แผนการสบื ทอด 1. คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
ต�ำแหน่ง (Succession Plan) เพื่อทดแทนกรรมการและ พิจารณา สรรหา คัดเลือก และเสนอช่ือบุคคลที่มี
ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ทพ่ี น้ จากตำ� แหนง่ ตามวาระหรอื ตำ� แหนง่ คุณสมบัติเหมาะสมตามหลักเกณฑ์ท่ีได้ก�ำหนดไว้
ท่ีว่างลง หรือตามท่ีคณะกรรมการบริษัทหรือกฎหมาย ประกอบกับพิจารณาคุณสมบัติอ่ืนๆให้มีความ
ก�ำหนดขึ้นใหม่ น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท
ที่ประชมุ ผู้ถอื หุ้นพจิ ารณาอนุมัตโิ ดยมีหลักเกณฑ์ดงั นี้ เพื่อทดแทนกรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงที่พ้นจาก
ต�ำแหน่งตามวาระหรือต�ำแหน่งท่ีว่างลง หรือตามที่
การสรรหา/แตง่ ตง้ั กรรมการและผบู้ รหิ ารระดบั สงู (ราย คณะกรรมการบรษิ ทั หรอื กฎหมายก�ำหนดขน้ึ ใหม่
ใหม)่ พจิ ารณาจากองคป์ ระกอบดังตอ่ ไปน้ี
เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติสอดคล้องตามกฎหมาย ข้อ 2. ตรวจสอบรายชื่อบุคคลท่ีจะถูกเสนอว่ามีคุณสมบัติ
ก�ำหนดทเี่ ก่ยี วข้อง และข้อบังคบั ของบริษทั ตามกฎหมายและขอ้ กำ� หนดตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งดำ� เนนิ
เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ม่ี ที กั ษะ ความรคู้ วามสามารถ และ การทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์
ประสบการณใ์ นสาขาวชิ าชพี ตา่ งๆ และความรคู้ วาม ที่ก�ำหนดไว้เพื่อให้ม่ันใจว่าบุคคลดังกล่าวมีความ
ช�ำนาญเฉพาะด้าน (Board Skill Matrix) ท่ีเป็น ยินดีท่ีจะรับต�ำแหน่งหากได้รับการแต่งตั้งจากคณะ
ประโยชนต์ ่อการปฏิบัตหิ นา้ ที่ กรรมการบริษัท และ/หรอื ผู้ถอื หุ้น น�ำรายชอ่ื บคุ คลท่ี
พิจารณาเร่ืองการมีส่วนได้เสียหรือความขัดแย้งทาง มีความเหมาะสม ท่ีสุด พร้อมข้อมูลบุคคล และ
ผลประโยชนท์ ี่อาจมีกบั บรษิ ัท เอกสารหลักฐานต่างๆ เสนอคณะกรรมการบริษัท
คุณสมบัติอ่ืนๆ ท่ีมีความจ�ำเป็นและสอดคล้องกับ และ/หรอื ทปี่ ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ พจิ ารณาอนมุ ตั กิ ารแตง่ ตงั้
กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจและปฏิบัติหน้าที่ของ
บริษทั Board Skill Matrix ของคณะกรรมการบรษิ ัทประจ�ำปี
มีคุณธรรม และจริยธรรมในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ 2563
ในปี 2563 บริษัทจัดท�ำ Board Skill Matrix เพื่อเป็น
กรณีการสรรหากรรมการอิสระ จะพจิ ารณาเพ่ิมเติมดงั นี้ แนวทางในการพฒั นาความรู้ ความเช่ยี วชาญ และความ
จ�ำนวนกรรมการอิสระในองค์ประกอบของคณะ สามารถเฉพาะด้านท่ีจําเป็นต้องมีส�ำหรับบริษัท โดย
กรรมการบรษิ ทั ใหม้ ีความสอดคลอ้ งตามข้อกำ� หนด พจิ ารณาคณุ สมบตั ทิ มี่ คี วามเหมาะสมและหลากหลายทงั้
ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ในดา้ นคณุ วฒุ ิ วชิ าชพี ทกั ษะ อายุ ประสบการณ์ เพศ ความ
ตลาดหลกั ทรัพย์ (ก.ล.ต.) เชย่ี วชาญ และความสามารถเฉพาะดา้ นทจ่ี าํ เปน็ ตอ้ งมใี น
มีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระท่ีก�ำหนดไว้ใน คณะกรรมการบรษิ ัทและก�ำหนดไวใ้ น Board Skill Matrix
ประกาศคณะกรรมการกำ� กบั ตลาดทนุ ท่ี ทจ. 4/2552 ดังนี้
เรอื่ งการขออนญุ าตและการอนญุ าตให้เสนอขายหุน้ ด้านอุตสาหกรรมเหลก็
ที่ออกใหม่ (ฉบับท่ี 2) หรือตามท่ีกฎหมายจะมีผล ด้านบญั ชีและการเงนิ
บังคับใช้ในอนาคต ด้านเศรษฐศาสตร์
ด้านบรหิ ารจดั การองค์กร
การสรรหา/แตง่ ตั้งกรรมการและผบู้ ริหาร (รายเดมิ ) ด้านบรหิ ารความเส่ียงและจดั การภาวะวิกฤต
พิจารณาจากองค์ประกอบดังตอ่ ไปนี้ ดา้ นธรุ กจิ /การตลาด การขนสง่ และการกระจายสนิ คา้
ผลการปฏิบัติงานในระยะทีผ่ ่านมา ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การแสดงความคดิ เหน็ และการใหข้ อ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ดา้ น Information Technology & Cyber Security
ประโยชน์ต่อบริษัท ด้านวิจัยและพัฒนา

82

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

ด้านกฎหมาย
ดา้ นสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม

6. การปฐมนเิ ทศและการเขา้ รับการฝกึ อบรมของกรรมการ
และผูบ้ ริหาร อบรมในหลักสูตรที่เก่ียวข้องโดยได้จัดสรรงบประมาณไว้
ในกรณที มี่ กี ารแตง่ ตง้ั กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารขนึ้ ใหม่ ซงึ่ เปน็ อยา่ งเพยี งพอ เพอื่ นำ� ทกั ษะ ความรแู้ ละประสบการณท์ ไ่ี ด้
ผทู้ ไ่ี มเ่ คยดำ� รงตำ� แหนง่ เปน็ กรรมการหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู รบั มาพัฒนาบริษัทอย่างต่อเน่อื ง
ของบรษิ ทั ทเี อ็มที สตีล จำ� กัด (มหาชน) มากอ่ น จะได้รบั
การปฐมนิเทศโดยผู้บริหารระดับสูงหรือเลขานุการบริษัท เนื่องจากในปี 2563 จากสถานการณ์การแพร่ระบาด
เพื่อให้ทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ส�ำคัญ ข้อมูล โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา หรือ COVID-19 จึงท�ำให้หลาย
เกย่ี วกบั บรษิ ทั ลกั ษณะและแนวนโยบายการประกอบธรุ กจิ สถาบันงดการจัดฝึกอบรม อย่างไรก็ดี กรรมการและ
นโยบายการก�ำกับดแู ลกิจการที่ดี จรรยาบรรณธรุ กจิ และ ผบู้ รหิ ารไดเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมผา่ นระบบ E-Learning ตาม
ข้อมูลส�ำคญั อื่นๆของบรษิ ทั นอกจากนบ้ี รษิ ัทส่งเสรมิ และ ท่ีสถาบันต่างๆ เปิดหลักสูตรเพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้
สนับสนุนใหก้ รรมการและผู้บรหิ ารระดบั สูง เขา้ รบั การฝกึ ในการปฏิบตั ิงาน ดงั น้ี

ช่อื – นามสกุล ตำ� แหนง่ หลักสตู ร สถาบัน

1 นายไพศาล ธรสารสมบัติ กรรมการ กรรมการบรรษัทภบิ าล หลกั นิติธรรมเพ่ือประชาธิปไตย ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนญู
และความย่งั ยืน (นธป.) TMT
ประธานกรรมการบริหาร Executive Workshop 2020
และประธานเจา้ หน้าทบี่ รหิ าร

2 นายสมเจตน์ ตรีธารทพิ ย์ กรรมการ CFO Refresher รุน่ 1 ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
กรรมการบริหารความเสย่ี ง “เตรยี มพรอ้ มรบั มอื ภาวะ TMT
และพัฒนากลยุทธ์องค์กร เศรษฐกิจ กลยุทธก์ ารใช้
กรรมการสรรหาและก�ำหนด เครือ่ งมอื ทางการเงนิ และสร้าง
ค่าตอบแทน กรรมการบริหาร การเตบิ โต”
และกรรมการผู้อ�ำนวยการ Executive Workshop 2020
สายงานการเงนิ

3 นายประวาส สันตวะกลุ กรรมการบรหิ ารความเส่ียง รายงานสถานภาพความยงั่ ยนื สถาบนั ไทยพัฒน์
และพัฒนากลยทุ ธอ์ งคก์ ร ของกจิ การปี 2563 และ
กรรมการบรหิ าร และกรรมการ ESG Benchmark : The New ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
ผู้อ�ำนวยการสายงานปฏบิ ัติการ Corporate Sustainability Tool ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
ความรพู้ น้ื ฐานการพฒั นา TMT
ความยงั่ ยืนของธุรกิจ
การวิเคราะห์ประเด็นด้าน
ความยง่ั ยนื
Executive Workshop 2020

4 นายคมสัน ธรสารสมบตั ิ กรรมการบริหารความเสย่ี ง พ.ร.บ.คุ้มครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล ORBIS - BANGKOK
และพฒั นากลยุทธ์องคก์ ร พ.ศ.2562
กรรมการบรรษทั ภิบาลและ (Personal Data Protection
ความย่งั ยนื กรรมการบริหาร Act : PDPA) for Executive
และกรรมการผู้อ�ำนวยการ การวเิ คราะหป์ ระเดน็ ด้าน ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
สายงานปฏิบตั ิการ ความยง่ั ยนื
Executive Workshop 2020 TMT

83

บริษัท ทเี อ็มที สตลี จ�ำ กดั (มหาชน)

ช่ือ – นามสกุล ตำ� แหนง่ หลักสตู ร สถาบนั

5 นางพลั ลภา ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรรษทั ภบิ าลและ พ.ร.บ.ค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ORBIS - BANGKOK
ความยั่งยนื รองกรรมการ พ.ศ.2562
ผู้อำ� นวยการสายงานบรหิ าร (Personal Data Protection
ทรพั ยากรบุคคล Act : PDPA) for Executive
THAILAND HR FORUM 2020 สมาคมการจดั การงานบคุ คล
แห่งประเทศไทย
ความรูพ้ ืน้ ฐานการพฒั นา ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
ความยงั่ ยนื ของธรุ กิจ
Executive Workshop 2020 TMT

6 นางสาวเพช็ รรุ้ง เมษินทรีย์ รองกรรมการผอู้ �ำนวยการ 1 ทศวรรษ เอฟทเี อ อาเซยี น-จีน กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ
สายงานกลยุทธ์องคก์ ร ก้าวตอ่ ไปของเอกชนไทยใน
และวางแผน แดนมังกร
Executive Workshop 2020 TMT

7 นายสมศักด์ิ โตมรกุล รองกรรมการผ้อู ำ� นวยการ Macroeconomic Update : TDRI
สายงานการตลาด A Conversation with the
Governor of Bank of Thailand ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
การวเิ คราะห์ประเดน็ ด้าน TMT
ความยงั่ ยนื
Executive Workshop 2020

7. ภาวะผ้นู ำ� และวิสัยทัศน์ กระบวนการประเมินผลงาน ของคณะกรรมการและ
คณะกรรมการบรษิ ัทเปน็ ผ้ทู ีม่ ภี าวะผู้นำ� วิสัยทัศน์ และมี ประธาน เจา้ หนา้ ท่ีบริหาร

ความเป็นอิสระในการตัดสินใจ ก�ำหนดนโยบาย วาง 1. คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ทบทวนและอนุมัติแบบ
เปา้ หมาย พฒั นาแผนธรุ กจิ และพจิ ารณางบประมาณ เพอ่ื ประเมินผลงานของคณะกรรมการท้ังรายคณะและ
ประโยชนส์ งู สดุ ของผูถ้ ือหนุ้ และการเติบโตของบรษิ ทั โดย รายบุคคล และแบบประเมินผลงานของประธาน
การประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั ในปี 2563 คณะกรรมการ เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารเพอ่ื ใหม้ คี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ ง
บริษัทได้มีการประชุมทบทวนวิสัยทัศน์ นโยบาย และ กบั กลยทุ ธแ์ ละแผนงานในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั
กลยทุ ธข์ องบรษิ ทั ในรอบปที ผี่ า่ นมา รวมถงึ ไดม้ กี ารตดิ ตาม โดยกำ� หนดแบบประเมนิ ผลไว้ ดงั น้ี
ดูแลให้มีการน�ำกลยุทธ์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผลอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง และไดก้ ำ� หนดเปา้ หมายของปี 2563 พรอ้ มสอ่ื สาร แบบประเมนิ ผลงานคณะกรรมการ แบง่ เปน็ 3 ชดุ
ไปยังผู้บริหารและพนักงานทุกระดับในองค์กรให้รับทราบ ดังนี้
เพอ่ื นำ� ไปกำ� หนดเปน็ ตวั ชว้ี ดั ผลการปฏบิ ตั งิ าน (KPI) รว่ มกบั
ผบู้ ังคับบญั ชาต้นสังกดั เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายขององคก์ ร ชุดท่ี 1 : แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ
การประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการและ บรษิ ทั รายคณะ เพอื่ ใชป้ ระเมนิ การทำ� งาน
ประธานเจา้ หนา้ ทีบ่ ริหาร (CEO) ของคณะกรรมการในภาพรวมขององค์
คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาก�ำหนดให้มีการประเมิน คณะ
ผลงานคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ คณะกรรมการราย
บคุ คล คณะกรรมการชดุ ยอ่ ยทกุ ชดุ และประธานเจา้ หนา้ ท่ี ชดุ ท่ี 2 : แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ
บริหาร โดยให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างน้อย ชุดย่อยแบบรายคณะ เพ่อื ใช้ประเมนิ การ
ปลี ะ 1 ครั้ง เพื่อให้คณะกรรมการรว่ มกนั พจิ ารณาผลงาน ท�ำงานของคณะกรรมการชุดย่อยท่ีได้รับ
ท่ีผ่านมาและน�ำมาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเน่ือง มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใน
รายละเอยี ดดงั น้ี ภาพรวมขององค์คณะ

ชุดที่ 3 : แบบประเมนิ ของคณะกรรมการบรษิ ทั และ
คณะกรรมการชุดย่อยรายบุคคล เพื่อใช้
ประเมินการท�ำหน้าที่อย่างเหมาะสมของ
การเป็นกรรมการ (รายบุคคล)

84

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

โดยในแบบประเมินทั้ง 3 ชุด มีหัวข้อหลักในการ 3 = เหน็ ด้วยคอ่ นขา้ งมากหรือ มกี ารดำ� เนินการ
ประเมิน 3 สว่ น ดังนี้ ในเร่อื งนน้ั ดี

ส่วนท่ี 1 โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะ 4 = เห็นดว้ ยอย่างมากหรือมีการดำ� เนนิ การใน
กรรมการบริษัท / คณะกรรมการชดุ ยอ่ ย เรอื่ งนน้ั อย่างดีเย่ยี ม

สว่ นท่ี 2 การประชมุ ของคณะกรรมการบรษิ ทั /คณะ 2. เลขานกุ ารบรษิ ทั ดำ� เนนิ การจดั สง่ แบบประเมนิ ผลงาน
กรรมการชดุ ยอ่ ย ของคณะกรรมการ (ชดุ ท่ี 1-3) และแบบประเมนิ ผล
งานประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารใหก้ รรมการทกุ ทา่ นและ
ส่วนที่ 3 บทบาท หน้าท่ี และความรับผิดชอบของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารภายในเดือนธันวาคมของ
คณะกรรมการบริษัท / คณะกรรมการ ทกุ ปี
ชดุ ย่อย
3. กรรมการทกุ ทา่ นและประธานเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารจดั ทำ�
แบบประเมินผลงานประธานเจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ าร แบบประเมินผลงาน และส่งคืนเลขานุการบริษัท
หวั ข้อหลกั ในการประเมิน 3 สว่ น ดงั น้ี ภายในเดือนมกราคมของทุกปี
สว่ นที่ 1: เป้าหมายขององค์กร
4. เลขานุการบริษัทรวบรวมข้อมูลการประเมินของ
1.1 ดา้ นผลลพั ธท์ างธรุ กจิ พจิ ารณาจาก รอ้ ยละของ ทกุ ทา่ น และสรปุ ผลใหค้ ณะกรรมการบรษิ ทั รบั ทราบ
EBITDA อยใู่ นเกณฑท์ เี่ หมาะสม และรายไดจ้ ากการ ภายในเดอื นกุมภาพันธ์ของทกุ ปี
ขาย หรือปริมาณการขายเป็นไปตามเป้าหมายที่
ก�ำหนดไวใ้ นแตล่ ะปี 5. คณะกรรมการบริษัทพิจารณา ทบทวน และอนุมัติ
ผลการประเมิน ภายในเดือนกมุ ภาพันธ์ของทกุ ปี
1.2 ด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และนวัตกรรม
พจิ ารณาจากปรมิ าณการผลติ ทเี่ พม่ิ ขน้ึ ตามเปา้ หมาย โดยในปี 2563 คณะกรรมการบรษิ ทั คณะกรรมการชดุ ยอ่ ย
ในแต่ละปี และร้อยละความพึงพอใจของลูกคา้ (ทุกชุด) และประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารได้ด�ำเนินการ
ประเมินผลการปฏิบัติงานประจ�ำปี ตามกระบวนการท่ี
1.3 ด้านสังคม / สิ่งแวดล้อม พิจารณาจากร้อยละ กำ� หนด โดยเลขานกุ ารบรษิ ัทไดส้ รุปผลการประเมนิ เสนอ
ความพึงพอใจของพนักงาน ควบคู่กับ ข้อร้องเรียน ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา ทบทวน และอนุมัติผล
จากชุมชน / สังคมภายนอกเทา่ กบั ศูนย์ และปริมาณ การประเมินในการประชุมคณะกรรมการบริษัทคร้ังท่ี
การปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ 1/2564

1.4 ดา้ นการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทดี่ ี พจิ ารณาจากการ 9. คา่ ตอบแทนกรรมการ
ด�ำเนินธุรกิจได้สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแล คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทนเปน็ ผพู้ จิ ารณา
กจิ การที่ดี และจรรยาบรรณธรุ กจิ ของบรษิ ัท
ก�ำหนดองค์ประกอบของค่าตอบแทนคณะกรรมการ
สว่ นท่ี 2: การปฏบิ ตั งิ าน พจิ ารณาจากผลการปฏบิ ตั ิ ชุดต่างๆ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ค่าตอบแทนประจ�ำ
งานของประธานเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารเทยี บกบั ค่าเบ้ียประชุม และเงินบ�ำเหน็จจากผลการด�ำเนินงาน
เปา้ หมายท่ีก�ำหนดไว้ในแตล่ ะดา้ น ตามหลักเกณฑ์ท่ีก�ำหนดไว้ ในระดับที่เหมาะสมและ
เปรยี บเทยี บไดก้ บั ระดบั ของกรรมการทอ่ี ยใู่ นอตุ สาหกรรม
สว่ นท่ี 3: การพัฒนาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เดียวกัน และสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษัท
พิจารณา จากข้อเสนอแนะของคณะ ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขต บทบาทและความ
กรรมการบริษัทในประเด็นที่ประธาน รับผิดชอบ รวมท้ังผลการบริหารงานของกรรมการและ
เจ้าหน้าที่บริหารควรได้รับการพัฒนา ผบู้ รหิ ารแตล่ ะทา่ น เพอื่ จงู ใจและรกั ษากรรมการทมี่ คี ณุ ภาพ
ในแต่ละปี โดยแนวทางท่ีคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่า
ตอบแทนใช้ในการก�ำหนดค่าตอบแทนดังกล่าวจะเป็นไป
หลกั เกณฑ์ ในการใหค้ ะแนน ในแบบประเมนิ ผลงาน ตามนโยบายท่ีคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ก�ำหนด ท้ังน้ี
แบ่งเป็น อัตราค่าตอบแทนส�ำหรับคณะกรรมการดังกล่าวจะต้อง
0 = ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่งหรอื ไมม่ กี ารด�ำเนินการ ได้รับอนุมัติจากท่ีประชุมสามัญผ้ถู อื หุน้ ประจ�ำปี
ในเรอ่ื งนั้น
1 = ไมเ่ ห็นดว้ ยหรือมกี ารด�ำเนินการในเร่อื งน้ัน

เล็กนอ้ ย
2 = เหน็ ด้วยหรือ มีการด�ำเนินการในเรอ่ื งน้ัน

พอสมควร

85

บริษัท ทเี อม็ ที สตลี จำ�กัด (มหาชน)

10. จรยิ ธรรมทางธรุ กิจ Touch Point, SMART TV, Line@ TMT, E-mail และ
คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการมี E-learning ในระบบ HRMS
3. พนักงานใหม่ทุกคนต้องได้รับการอบรมในหลักสูตร
จริยธรรมทางธุรกิจ จึงได้จัดท�ำคู่มือจรรยาบรรณธุรกิจ การปฐมนเิ ทศ หวั ขอ้ นโยบายและระเบยี บปฏบิ ตั ดิ า้ น
เพอื่ เปน็ แนวทางใหแ้ กฝ่ า่ ยบรหิ ารในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ อยา่ ง การต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น โดยในปี 2563
โปรง่ ใส ยดึ มน่ั คณุ ธรรม คำ� นงึ ถงึ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทกุ ฝา่ ย เปน็ มจี �ำนวนรวมทง้ั ส้ิน 325 คน
ไปตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย และเพื่อเป็นแนวทางแก่ 4. ทบทวน นโยบายและระเบยี บปฏบิ ตั ดิ า้ นการตอ่ ตา้ น
พนกั งานในการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ดว้ ยวถิ ี การทจุ รติ และมกี ารประกาศใชเ้ มอ่ื วนั ที่ 21 กนั ยายน
ทางท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยบริษัทมีการส่งเสริมและสร้าง 2563
ความตระหนักเก่ียวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณธุรกิจ 5. บรษิ ทั ไดร้ บั การรบั รองตอ่ อายใุ นฐานะสมาชกิ แนวรว่ ม
ให้กับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานโดยการสื่อสารใน ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต
หลากหลายชอ่ งทาง ได้แก่ (Thai Private Sector Collective Action Against
• การปฐมนิเทศ Corruption หรอื CAC)ในไตรมาสที่ 3 ประจำ� ปี 2563
• การเผยแพร่เป็นเอกสารให้พนักงานลงนามรับทราบ โดยการรับรองดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี ต้ังแต่ วันที่
31 ธันวาคม 2563 และครบก�ำหนดอายุการรับรอง
เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ในวันที่ 31 ธนั วาคม 2566 ซึง่ บรษิ ัทไดร้ ับการรับรอง
• การเผยแพรผ่ ่านการประชมุ คณะต่างๆ เขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ ตง้ั แต่ วนั ที่ 18 สิงหาคม 2560
• การเผยแพร่ผา่ นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Mail) 12. ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์
• การเผยแพรผ่ ่านเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั คณะกรรมการบริษัทร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ
ในการเข้าไปดูแลอย่างรอบคอบเม่ือเกิดรายการท่ีอาจมี
นอกจากน้ีคณะกรรมการได้มีการติดตามการปฏิบัติตาม ความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพื่อตรวจสอบความสมเหตุ
สมผลและความจ�ำเป็นในการท�ำรายการท่ีอาจมีความ
แนวทางดังกล่าวผ่านการประชุมคณะกรรมการอย่าง ขัดแย้งทางผลประโยชน์น้ัน พร้อมกันน้ีคณะกรรมการ
สม่�ำเสมอ พร้อมมอบหมายให้ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบมีการ บรษิ ทั ไดด้ แู ลใหบ้ รษิ ทั มกี ารเปดิ เผยขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั การทำ�
รายงานการไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณธุรกิจดังกล่าวให้ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อผู้มีส่วน
คณะกรรมการผ่านเลขานุการบรษิ ัทรับทราบโดยทันที ได้เสียและหน่วยงานที่เก่ียวข้องภายหลังจากมีมติอนุมัติ
11. การตอ่ ต้านทจุ ริตคอร์รัปช่ัน เข้าท�ำรายการดังกล่าว
บริษัทให้ความส�ำคัญกับการต่อต้านการทุจริต และ 13. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน
คอรร์ ปั ชน่ั ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดบั มจี ติ สำ� นกึ บริษัทได้ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน ผู้ควบคุม
ในการต่อต้านการทุจริต และคอร์รัปชั่นในทุกรูปแบบ และประเมินผลแยกจากกันอย่างชัดเจน เพื่อให้มีการ
คณะกรรมการบรษิ ทั จงึ ไดก้ ำ� หนดนโยบายการปอ้ งกนั และ ตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม รวมทั้งก�ำหนดให้
ต่อต้านการทุจริต การให้หรือรับสินบน (Anti-Corruption คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ติดตามตรวจสอบดูแลการ
and Anti-Bribery Policy) ไวใ้ นนโยบายและระเบยี บปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งสมำ่� เสมอ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้
ด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ัน บริษัท ทีเอ็มที สตีล มอบหมายให้ บรษิ ัท อีวาย คอรป์ อเรท เซอร์วสิ เซส จำ� กัด
จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อให้ผู้บริหาร พนักงานทุกระดับต้อง ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ทม่ี คี วามนา่ เชอ่ื ถอื และมคี วามเปน็ อสิ ระ เปน็
ปฏิบัติตามแนวทางท่ีได้ก�ำหนดไว้ และเผยแพร่ข้อมูล ผู้เสนอแผนงานการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจสอบ
ดงั กล่าวไวบ้ นเวบ็ ไซตท์ ี่ www.tmtsteel.co.th อนมุ ตั แิ ละดำ� เนนิ การตรวจสอบตามแผนงานนน้ั และเสนอ
รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพ่ือรายงานผล
ในปี 2563 บริษัทได้มีรายงานผลการด�ำเนินงานต่อ การตรวจสอบและให้ค�ำแนะน�ำต่อฝ่ายปฏิบัติการ อัน
คณะกรรมการบริษัท ผ่านคณะกรรมการบรรษัทภิบาล เปน็ การสรา้ งเสรมิ ระบบการควบคมุ และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
และความยงั่ ยนื ในการประชมุ ครง้ั ที่ 7/2563 ในปที ผ่ี า่ นมา ในการท�ำงานให้ดียงิ่ ข้ึน
ไมพ่ บผกู้ ระทำ� การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ และบรษิ ทั ไดด้ ำ� เนนิ การ
เพ่อื ต่อต้านทุจริตคอรร์ ปั ชนั่ ดงั ต่อไปน้ี
1. ประกาศ No Gift Policy ประจ�ำปี 2563
2. สื่อสาร และประชาสัมพันธ์ อย่างสม่�ำเสมอ ผ่าน

ช่องทางการสื่อสารต่างๆ ได้แก่ TMT Magazine,

86

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

14. รายงานความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการตอ่ รายงาน ความเหมาะสมของการน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดี
ทางการเงนิ ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) ของ
คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ซ่งึ คณะกรรมการบรษิ ัทเหน็ วา่ บรษิ ทั ได้
น�ำหลักปฏิบัติส่วนใหญ่มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบท
ข้อมูลทางการเงินท่ีปรากฏในรายงานประจ�ำปี ซึ่งงบการ ของธุรกิจแล้ว เพื่อให้บริษัทมีการด�ำเนินธุรกิจอย่างมี
เงินดังกล่าว ได้จัดท�ำข้ึนตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรอง ประสทิ ธภิ าพ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ปราศจากการทจุ รติ คอรร์ ปั ชน่ั
ทว่ั ไปในประเทศไทย โดยพจิ ารณาเลอื กใชน้ โยบายบญั ชที ่ี โปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ สร้างความเช่ือมั่นต่อ
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั การดำ� เนนิ ธรุ กจิ และถอื ปฏบิ ตั ิ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย สังคม และผู้เก่ียวข้อง
อยา่ งสมำ�่ เสมอ รวมถงึ การใชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการประมาณการ ทกุ ฝา่ ย โดยการประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั ครง้ั ท่ี 7/2563
ต่างๆ อย่างสมเหตุผลในการจัดท�ำงบการเงินและมีการ ได้พิจารณาอนุมัตินโยบายด้านความยั่งยืน และนโยบาย
เปดิ เผยขอ้ มลู ทส่ี ำ� คญั อยา่ งเพยี งพอ ไวใ้ นหมายเหตปุ ระกอบ การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยข์ องกรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน
งบการเงิน ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทได้จัดท�ำรายงาน รวมถึงพิจารณาอนุมัติกระบวนการสรรหากรรมการและ
ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการในเรอ่ื งดงั กลา่ ว โดยจะ Board Skill Matrix เพ่ือก�ำกับดูแลให้บริษัทมีการปฏิบัติ
แสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชีที่แสดงไว้ใน ตามนโยบายการกำ� กบั ดแู ลกจิ การทบ่ี รษิ ทั กำ� หนด โดยถอื
รายงานประจ�ำปีของบริษทั เปน็ ภาระหนา้ ทส่ี ำ� คญั ของกรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน
15. การน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีส�ำหรับบริษัทจด ทุกคนที่มีหน้าท่ีน�ำพาธุรกิจของบริษัทให้ด�ำเนินไปอย่างมี
ทะเบียนปี 2560 (CG Code) ไปปรบั ใช ้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความมั่นคงและสร้าง
ในปี 2563 คณะกรรมการบรษิ ัทได้มีการพิจารณาทบทวน มลู ค่าของกิจการใหส้ ูงขึน้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและย่งั ยืน

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี
บรษิ ัทไดจ้ า่ ยคา่ ตอบแทนใหแ้ กส่ ำ� นกั งานสอบบัญชที ่ผี สู้ อบบญั ชสี งั กดั ในระยะเวลา 3 ปที ผ่ี ่านมาดงั นี้

ป ี คา่ ตอบแทนจากการสอบบัญช ี ค่าบรกิ ารอ่นื
2563 1,650,000 13,650
2562 1,650,000 15,400
2561 1,600,000 18,500

โดยมีรายนามผสู้ อบบญั ชีจากบรษิ ทั ไพรซ์วอเตอร์เฮาสค์ เู ปอรส์ เอบเี อเอส

ชอื่ – นามสกลุ ผู้สอบบญั ชีรบั อนญุ าต ปีท่ีดำ� เนินการ จ�ำนวนปี
ท่ีเป็นผูส้ อบบัญชขี องบริษทั

1 นายไพบลู ตันกลู ผสู้ อบบัญชีรับอนญุ าต 2560 - 2563 4 ปี
เลขท่ี 4298 2555 - 2559 5 ปี
2 นายประสิทธ์ิ เยอ่ื งศรกี ุล ผ้สู อบบัญชรี บั อนญุ าต 2550 - 2554 5 ปี
เลขท่ี 4174
3 นายวิเชียร ก่งิ มนตรี ผู้สอบบญั ชรี ับอนญุ าต
เลขท่ี 3977

ทั้งน้ีส�ำนักสอบบัญชีและผู้สอบบัญชีดังกล่าว ไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัท กรรมการ ผู้บริหาร
หรอื ผถู้ ือหนุ้ รายใหญ่

87

บรษิ ทั ทเี อม็ ที สตีล จำ�กัด (มหาชน)

โครงสรา้ งการจดั การ

โครงสรา้ งองคก์ ร ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563

คณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรหิ ารความเสีย่ งและ
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน พฒั นากลยทุ ธอ์ งคก์ ร

คณะกรรมการบรรษัทภบิ าลและความย่งั ยนื

คณะกรรมการบรหิ าร
ประธานเจา้ หน้าทีบ่ รหิ าร

เลขานกุ ารบรษิ ทั

รองกรรมการ รองกรรมการ กรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการ กรรมการผูอ้ �ำนวยการ
ผอู้ ำ� นวยการ ผู้อำ� นวยการ สายงานปฏิบตั ิการ ผูอ้ �ำนวยการ สายงานการเงนิ
สายงานกลยุทธ์ สายงานการ รองกรรมการ รองกรรมการ
องคก์ รและ ผอู้ �ำนวยการ สายงาน ผู้อำ� นวยการ
ตลาด สายงาน ทรพั ยากร สายงานการเงิน
วางแผน ปฏบิ ตั กิ าร และบัญชี
ฝา่ ยจัดหา บุคคล
ผลติ ภณั ฑ์
ฝา่ ยขายและ ฝ่าย ฝา่ ย ฝา่ ย ฝ่าย ฝ่าย
การตลาด โลจิสติกส์ โรงงาน ทรัพยากร สอื่ สาร การเงิน
องค์กร และบัญชี
บุคคล

88

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

คณะกรรมการบริษทั
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 ประกอบดว้ ยกรรมการจ�ำนวน 7 ทา่ น ดังนี้

ชอื่ - นามสกุล ต�ำแหนง่
1 นายชัย จรงุ ธนาภบิ าล ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ
2 นายสูรย์ ธรสารสมบัติ กรรมการ
3 นายไพศาล ธรสารสมบัต ิ กรรมการ
4 นายคมสนั ธรสารสมบัต ิ กรรมการ
5 นายสมเจตน์ ตรีธารทพิ ย์ กรรมการ และเลขานกุ ารบรษิ ัท
6 นางรตั นวลี กอสนาน กรรมการอิสระ
7 นายเอนก ปิน่ วนชิ ยก์ ลุ กรรมการอิสระ

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผกู พนั บรษิ ทั 3. จดั ให้มีการท�ำงบการเงินของบริษทั ณ วนั ส้นิ สุดรอบ
1. นายไพศาล ธรสารสมบัติ ระยะเวลาบัญชีของบริษัท ซึ่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบ
2. นายคมสัน ธรสารสมบัติ แล้วและน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา
3. นายสมเจตน์ ตรีธารทิพย์ และอนุมตั ิ
กรรมการสองในสามคนน้ีลงลายมอื ชอื่ รว่ มกนั และประทบั
4. คณะกรรมการบริษัทอาจมอบอ�ำนาจให้กรรมการ
ตราส�ำคัญของบรษิ ทั คนหน่ึงหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการ
ขอบเขต หน้าท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ อย่างหน่ึงอย่างใดแทนคณะกรรมการบริษัทได้ โดย
บริษทั อยู่ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบรษิ ทั มีขอบเขตอ�ำนาจ หนา้ ที่ และความ หรืออาจมอบอ�ำนาจเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีอ�ำนาจ
รับผิดชอบในการบริหารจัดการบริษัท ให้เป็นไปตามกฎหมาย ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควรและภายใน
วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ ตลอดจนมติของท่ีประชุมผู้ถือหุ้น ระยะเวลาท่ีคณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร ซึ่ง
ท่ีชอบด้วยกฎหมาย ด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตและระมัดระวัง คณะกรรมการบรษิ ทั อาจยกเลกิ เพกิ ถอนเปลย่ี นแปลง
รักษาผลประโยชน์ของบริษัท เว้นแต่ในเรื่องที่ต้องได้รับอนุมัติ หรือแก้ไขบุคคลท่ีได้รับมอบอ�ำนาจหรืออ�ำนาจน้ันๆ
จากทป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ กอ่ นดำ� เนนิ การ เชน่ เรอื่ งทก่ี ฎหมายกำ� หนด ไดเ้ มอ่ื เหน็ สมควร ทง้ั นี้ คณะกรรมการบรษิ ทั อาจมอบ
ให้ต้องได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน อำ� นาจใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารมอี ำ� นาจหนา้ ทใ่ี นการ
และการซื้อหรือขายสินทรัพย์ท่ีส�ำคัญตามกฎเกณฑ์ของ ปฏิบัติงานต่างๆ โดยมีรายละเอียดการมอบอ�ำนาจ
ตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย หรอื ตามทหี่ นว่ ยงานราชการ ตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
อ่นื ๆ ก�ำหนด เปน็ ต้น ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั อาจมอบหมาย ซ่ึงการมอบอ�ำนาจน้ันต้องไม่มีลักษณะเป็นการ
ใหก้ รรมการคนหนึ่ง หรอื บคุ คลอนื่ ไปปฏิบตั กิ ารอยา่ งหนึ่งอยา่ ง มอบอ�ำนาจที่ท�ำให้คณะกรรมการบริหารสามารถ
ใดแทนคณะกรรมการบริษัทก็ได้ โดยปัจจุบันคณะกรรมการ พิจารณาและอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจ
บริษัทมีขอบเขต หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบ สรุปได้ดังน้ี มีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
อื่นใดที่ท�ำกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ยกเว้นเป็นการ
1. จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญ อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์
ประจ�ำปี ภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะ ท่คี ณะกรรมการบรษิ ทั พจิ ารณาและอนุมตั ไิ วแ้ ล้ว
เวลาบัญชขี องบรษิ ทั

2. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย
3 เดอื นต่อครง้ั

89

บรษิ ทั ทเี อ็มที สตลี จ�ำ กัด (มหาชน)

5. กำ� หนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงาน และ ขอบเขต หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของประธานกรรมการ
งบประมาณของบรษิ ทั ควบคมุ กำ� กบั ดแู ลการบรหิ าร บริษัท
และการจัดการของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไป
ตามนโยบายท่ีได้รับมอบหมาย เว้นแต่ในเรื่อง 1. ประธานกรรมการบริษัทมีขอบเขต หน้าท่ีและความ
ดังต่อไปนี้ที่คณะกรรมการบริษัทต้องได้รับมติอนุมัติ รบั ผดิ ชอบในฐานะกรรมการบริษัท
จากท่ีประชุมผู้ถือหุ้นก่อนการด�ำเนินการ อันได้แก่
เร่ืองที่กฎหมายก�ำหนดให้ต้องได้รับมติอนุมัติจาก 2. สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหค้ ณะกรรมการบรษิ ทั ปฏบิ ตั ิ
ทป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ เชน่ การเพม่ิ ทนุ การลดทนุ การออก หน้าที่อยา่ งเต็มความสามารถ
หุ้นกู้ การขายหรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมดหรือ
บางส่วนท่ีส�ำคัญให้แก่บุคคลอื่น หรือการซ้ือหรือ 3. ดแู ล ตดิ ตามการบรหิ ารงานของคณะกรรมการบรษิ ทั
รับโอนกิจการของบริษัทอ่ืนมาเป็นของบริษัท การ และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ให้บรรลุตามวัตถุ
แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับของบริษัท ประสงคท์ ีก่ �ำหนดไว้
เปน็ ตน้ นอกจากน้ี คณะกรรมการบรษิ ทั ยงั มขี อบเขต
หนา้ ทใ่ี นการกำ� กบั ดแู ลใหบ้ รษิ ทั ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย 4. เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ การ
ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อ ประชุมผถู้ ือหนุ้
ก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ อาทิ การท�ำรายการท่ี
เกย่ี วโยงกนั การรายงานการมสี ว่ นไดเ้ สยี ของกรรมการ 5. เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/
ผู้บริหาร และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง และการซื้อหรือขาย หรือ ที่ประชุมผ้ถู อื ห้นุ
ทรพั ยส์ นิ ทส่ี ำ� คญั ตามกฎเกณฑข์ องตลาดหลกั ทรพั ย์
แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ 6. ส่งเสริมให้กรรมการ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นทุกคนมีส่วน
ของบริษัท ร่วมในการประชุม เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น
หรอื ขอ้ เสนอแนะอยา่ งเตม็ ทใี่ นเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละเปน็
6. พิจารณาโครงสร้างการบริหารงาน แต่งตั้งคณะ อิสระ รวมทั้งควบคุมการประชุมดังกล่าวให้ด�ำเนิน
กรรมการ บริหาร กรรมการผู้อ�ำนวยการ และคณะ ไปไดด้ ว้ ยความเรยี บร้อยส�ำเรจ็ ลุลว่ ง
กรรมการอืน่ ตามความเหมาะสม
7. เป็นผู้วินิจฉัยลงคะแนนเสียงชี้ขาดในที่ประชุม
7. ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานและ คณะกรรมการบรษิ ทั และ/หรอื ทปี่ ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ กรณี
งบประมาณอย่างตอ่ เน่อื ง มีการลงคะแนนเสยี ง 2 ฝ่ายเทา่ กนั

8. กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่าง ขอบเขตอำ� นาจอนมุ ตั ขิ องคณะกรรมการบรษิ ทั เปน็ ไปตาม
เดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท กฎบัตร รวมถึงเร่ืองดังตอ่ ไปนี้
หรอื เขา้ เปน็ หนุ้ สว่ นในหา้ งหนุ้ สว่ นสามญั หรอื เปน็ หนุ้
ส่วนไม่จ�ำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด หรือ 1. อนมุ ตั งิ บประมาณรายรบั และรายจ่ายประจ�ำปี
เป็นกรรมการของบริษัทเอกชน หรือบริษัทอ่ืนท่ี 2. อนุมัติงบประมาณการด�ำเนินโครงการต่างๆ ประจ�ำ
ประกอบกจิ การอนั มสี ภาพอยา่ งเดยี วกนั และเปน็ การ
แขง่ ขนั กบั กจิ การของบรษิ ทั ไมว่ า่ จะทำ� เพอ่ื ประโยชน์ ปี ในส่วนท่ีเกินกว่าอ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการ
ส่วนตนหรือเพ่ือประโยชน์ผู้อื่น เว้นแต่จะได้แจ้งให้ บรหิ าร
ท่ปี ระชมุ ผถู้ อื หุน้ ทราบก่อนที่จะมีมติแตง่ ตั้ง 3. อนมุ ตั งิ บประมาณในการลงทนุ ทงั้ ระยะสนั้ และระยะ
ยาวในสว่ นทเ่ี กนิ กวา่ อำ� นาจอนมุ ตั ขิ องคณะกรรมการ
9. กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้าหากมี บรหิ าร
ส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาท่ี 4. อนุมัติการหาแหล่งเงินทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว
บรษิ ทั ทำ� ขน้ึ หรอื มกี ารเปลย่ี นแปลงจำ� นวนการถอื หนุ้ ในส่วนที่เกินกว่าอ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการ
หรอื หนุ้ ก้ใู นบรษิ ัท หรือบรษิ ทั ในเครือ บรหิ าร
5. อนมุ ตั ยิ กเลกิ งบประมาณทงั้ หมดหรอื บางสว่ นในสว่ น
ท่เี กนิ กวา่ อ�ำนาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบรหิ าร
6. อนมุ ตั กิ ารทำ� รายการทเี่ กย่ี วโยงกนั ตามขนาดรายการ
ทกี่ ฎหมายได้กำ� หนดไว้
7. อนุมัติรายการต่างๆ ท่ีต้องเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น
พจิ ารณาอนุมตั ิ

90

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2563 ประกอบดว้ ยกรรมการตรวจสอบผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จ�ำนวน 3 ทา่ น ดังนี้

ชอื่ - นามสกลุ ต�ำแหนง่
1 นายชยั จรงุ ธนาภิบาล ประธานกรรมการตรวจสอบ
2 นางรัตนวลี กอสนาน กรรมการตรวจสอบ
3 นายเอนก ปนิ่ วนชิ ย์กลุ กรรมการตรวจสอบ

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบ
ตรวจสอบ ควบคุมภายในของบรษิ ทั
คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขต อ�ำนาจ หน้าท่ี และ
ความรบั ผดิ ชอบตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการบรษิ ทั 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่า
รวมทง้ั การรายงานตอ่ คณะกรรมการบรษิ ัท สรปุ ไดด้ ังน้ี ดว้ ยหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ ขอ้ กำ� หนด
ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่าง กบั ธุรกจิ ของบรษิ ัท
ถูกตอ้ งและเพยี งพอ
6.4 ความเห็นเก่ียวกับความเหมาะสมของผู้สอบ
2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน 7. บัญชี
(Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน 8.
(Internal Audit) ทเี่ หมาะสมและมปี ระสิทธิผล และ 6.5 ความเห็นเกยี่ วกบั รายการท่อี าจมคี วามขดั แยง้
พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ทางผลประโยชน์
ภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา
แตง่ ต้ัง โยกย้าย เลกิ จ้างหวั หนา้ หนว่ ยงานตรวจสอบ 6.6 จำ� นวนการประชมุ คณะกรรมการตรวจสอบและ
ภายในหรือหน่วยงานอ่ืนใดท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ
ตรวจสอบภายใน แตล่ ะท่าน

3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย 6.7 ความเหน็ หรอื ขอ้ สงั เกตโดยรวมทค่ี ณะกรรมการ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าท่ีตาม
ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ กฎบัตร (Charter)
ของบริษัท
6.8 รายการอ่ืนที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไป
4. พจิ ารณา คดั เลือก เสนอแตง่ ตงั้ ถอดถอน บุคคลซึง่ มี ควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับ
ความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ ผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
บรษิ ทั และเสนอคา่ ตอบแทนของบคุ คลดงั กลา่ ว รวม บรษิ ทั
ทง้ั เขา้ รว่ มประชมุ กบั ผสู้ อบบญั ชโี ดยไมม่ ฝี า่ ยจดั การ
เข้ารว่ มประชุมด้วย อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง รายงานการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ให้คณะกรรมการบริษัททราบเป็นประจ�ำอย่างน้อย
5. พิจารณารายการท่ีเกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมี ไตรมาสละ 1 ครง้ั
ความขดั แยง้ ทางผลประโยชนใ์ หเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่คณะกรรมการของบริษัท
และขอ้ กำ� หนดของตลาดหลกั ทรพั ย์ ทงั้ นเี้ พอ่ื ใหม้ น่ั ใจ มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์ ตรวจสอบ
สงู สดุ ตอ่ บรษิ ทั
นอกจากน้ี คณะกรรมการบรษิ ทั ไดม้ กี ารกำ� หนดวาระการ
6. จดั ท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดิ ด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้
เผยไว้ใน 56-1 One Report ของบริษทั ซ่ึงรายงาน ประธานกรรมการตรวจสอบ 3 ปี
ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการ กรรมการตรวจสอบ 3 ปี
ตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย
ดงั ต่อไปนี้ ท้ังนี้ เมื่อครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งแล้ว ประธาน
กรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบท่ีพ้นจากต�ำแหน่ง
6.1 ความเหน็ เกยี่ วกบั ความถกู ตอ้ ง ครบถว้ น เปน็ ที่ ตามวาระอาจได้รบั การแตง่ ตัง้ ใหก้ ลบั เขา้ ด�ำรงต�ำแหนง่ ได้อีก
เช่ือถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั

91

บริษทั ทีเอม็ ที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

คณะกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วยกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน จ�ำนวน 5 ท่าน ดงั น้ี

ชือ่ - นามสกุล ต�ำแหน่ง
1 นายสูรย์ ธรสารสมบัติ ประธานกรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน
กรรมการสรรหาและก�ำหนดคา่ ตอบแทน
2 นายชยั จรงุ ธนาภบิ าล กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
3 นางรัตนวลี กอสนาน กรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน
4 นายเอนก ปนิ่ วนิชย์กลุ กรรมการสรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน
5 นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย์

ขอบเขต หน้าท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3. พจิ ารณากำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละกำ� หนดคา่ ตอบแทน
สรรหาและกำ� หนดคา่ ตอบแทน คณะกรรมการบรษิ ทั กรรมการชดุ ยอ่ ย และกรรมการ
ผอู้ ำ� นวยการ ทงั้ ทเี่ ปน็ ตวั เงนิ และมใิ ชต่ วั เงนิ เสนอตอ่
1. พิจารณากำ� หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธกี ารในการ คณะกรรมการบรษิ ทั เพอื่ ใหค้ วามเหน็ ชอบ และคณะ
ก�ำหนดค่าตอบแทนและกระบวนการในการสรรหา กรรมการบรษิ ทั จะนำ� เสนอคา่ ตอบแทนของกรรมการ
ส�ำหรับกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และ ทุกทา่ นรวมเป็นวงเงนิ ในแตล่ ะปีให้ผู้ถอื หนุ้ พิจารณา
กรรมการผอู้ ำ� นวยการ ปฏิบตั ิ อนุมตั ิต่อไป

2. สรรหา คดั เลือก และเสนอบคุ คลท่ีมีความเหมาะสม 4. ทบทวนความเหมาะสมของหลักเกณฑ์การจ่ายค่า
ตามหลักเกณฑท์ ่ไี ด้กำ� หนดไว้ เพ่อื ทดแทนกรรมการ ตอบแทนและการสรรหาทใี่ ช้อย่ใู นปัจจุบัน
บริษัท กรรมการชุดยอ่ ย หรอื กรรมการผู้อำ� นวยการ
ที่พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระหรือต�ำแหน่งท่ีว่างลง 5. ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบ
หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการบรษิ ทั หรอื กฎหมายกำ� หนด หมาย
ขึ้นใหม่ น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ท่ี
ประชุมผู้ถอื ห้นุ พิจารณาอนมุ ัติ

คณะกรรมการบริหารความเส่ยี งและพฒั นากลยุทธ์องคก์ ร
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วยกรรมการบริหารความเสี่ยงและพัฒนากลยุทธ์องค์กร จ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

ชื่อ - นามสกุล ต�ำแหนง่
1 นายเอนก ปน่ิ วนิชยก์ ุล ประธานกรรมการบรหิ ารความเสยี่ งและพฒั นากลยทุ ธอ์ งคก์ ร
กรรมการบริหารความเสี่ยงและพฒั นากลยุทธอ์ งค์กร
2 นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย ์ กรรมการบรหิ ารความเสยี่ งและพัฒนากลยุทธอ์ งค์กร
3 นายคมสัน ธรสารสมบัติ กรรมการบริหารความเสย่ี งและพฒั นากลยทุ ธอ์ งค์กร
4 นายประวาส สนั ตวะกลุ

ขอบเขต หน้าท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอ่ เนอื่ งและเหมาะสมกบั สภาวะการดำ� เนนิ ธรุ กจิ เพอื่
บรหิ ารความเส่ยี งและพัฒนากลยทุ ธอ์ งคก์ ร ให้มั่นใจว่าความเส่ียงได้รับการบริหารจัดการอย่าง
เพยี งพอ เหมาะสม และสามารถสนบั สนนุ การเตบิ โต
1. พิจารณานโยบาย แนวทางและกรอบการบริหาร ไดอ้ ยา่ งยั่งยนื
ความเส่ียง และพัฒนากลยุทธ์องค์กร เพื่อน�ำเสนอ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปรับปรุงและพัฒนา
ตอ่ คณะกรรมการบรษิ ัทเพอื่ อนุมตั ิ ระบบการบริหารความเสี่ยง โดยบูรณาการร่วมกับ
แนวทางการพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ระบบการปฏบิ ตั งิ าน
2. ดูแล เสนอแนะวิธีป้องกัน และวิธีลดความเส่ียงให้ เพอ่ื สรา้ งประสทิ ธภิ าพ ความเขม้ แขง็ และคณุ คา่ ทาง
อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ติดตาม ประเมินผล และ ธุรกจิ
ปรับปรุงแผนการด�ำเนินงานเพ่ือลดความเสี่ยงอย่าง

92

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

4. ศึกษาและแสวงหาแนวทางในการพัฒนาและ 5. สื่อสารแลกเปล่ียนข้อมูล และประสานงานเก่ียวกับ
ปรบั ปรงุ รปู แบบธรุ กจิ เพอื่ สร้างโอกาสทางธุรกิจใหม้ ี ความเสี่ยงด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีหรือการ
การเตบิ โตอยา่ งยั่งยืน ควบคมุ ภายในกบั คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรอื
คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและความย่ังยืน อย่าง
น้อยปีละ 1 ครั้ง

คณะกรรมการบรรษัทภบิ าลและความยัง่ ยืน
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วยกรรมการบรรษัทภิบาลและความยง่ั ยืนจ�ำนวน 4 ท่าน ดงั น้ี

ชอื่ - นามสกุล ตำ� แหนง่
1 นางรัตนวลี กอสนาน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและความยง่ั ยนื
2 นายไพศาล ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรรษทั ภบิ าลและความยง่ั ยนื
3 นายคมสนั ธรสารสมบัติ กรรมการบรรษัทภบิ าลและความยั่งยืน
4 นางพลั ลภา ธรสารสมบตั ิ กรรมการบรรษัทภบิ าลและความยงั่ ยืน

ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ดา้ นความย่งั ยืน
บรรษัทภบิ าลและความยั่งยนื 1. พิจารณานโยบายและแนวปฏบิ ตั ิ ตลอดจนแผนการ
ด้านบรรษัทภิบาล ดาํ เนนิ งาน เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั การดาํ เนนิ ธรุ กจิ อยา่ ง
ยั่งยืน ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม
1. พจิ ารณานโยบายและแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นการกาํ กบั ดแู ล และสิ่งแวดลอ้ ม
กิจการที่ดี การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นภายใน 2. ทบทวนนโยบาย และแนวปฏบิ ัตดิ า้ นการดำ� เนนิ งาน
องคก์ ร และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ให้สอดคลอ้ งกบั เพื่อความยั่งยืน ให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเน่ือง อย่าง
ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย น้อยปีละ 1 คร้ัง โดยเปรียบเทียบกับกฎหมาย
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด แนวทางปฏบิ ตั ขิ องสากลและบรษิ ทั ชนั้ นาํ รวมทง้ั ขอ้
หลกั ทรพั ยห์ รอื หนว่ ยงานกาํ กบั ดแู ล หรอื แนวทางการ เสนอแนะของสถาบันตา่ ง ๆ เสนอต่อคณะกรรมการ
ก�ำกับกิจการที่ดีตามมาตรฐานสากล พร้อมท้ังนํา บริษทั เพอ่ื พจิ ารณาและอนมุ ตั ิ
เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพ่ือพิจารณาและ 3. พจิ ารณาเหน็ ชอบรายงานความยงั่ ยนื (Sustainability
อนมุ ัติ Report) ก่อนการเผยแพร่ต่อไป

2. ทบทวนนโยบาย และแนวปฏิบัติด้านการกํากบั ดูแล 1) สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล และประสานงานใน
กิจการที่ดี การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปช่ันภายใน เรื่องการก�ำกับดูแลกิจการท่ีดีและความยั่งยืน
องค์กร และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ให้เป็นปัจจุบัน กับคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ คณะ
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 ครง้ั โดยเปรยี บเทยี บ กรรมการชดุ ย่อยอืน่ ๆ อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั
กับกฎหมาย แนวทางปฏิบัติของสากลและบริษัท
ช้ันนํา รวมทั้งข้อเสนอแนะของสถาบันต่างๆ เสนอ 2) รายงานผลการประชุมท่ีมีนัยส�ำคัญและเป็น
ตอ่ คณะกรรมการบริษัท เพอื่ พจิ ารณาและอนมุ ตั ิ ประโยชน์กบั บริษทั ตอ่ คณะกรรมการบรษิ ทั

3) ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีคณะกรรมการบริษัท
มอบหมาย

93

บรษิ ัท ทเี อม็ ที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

คณะกรรมการบริหาร
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2563 ประกอบด้วยกรรมการบรหิ าร จ�ำนวน 4 ท่าน ดังนี้

ชอ่ื - นามสกลุ ต�ำแหน่ง
1 นายไพศาล ธรสารสมบตั ิ ประธานกรรมการบริหาร
2 นายคมสัน ธรสารสมบัติ กรรมการบริหาร
กรรมการบรหิ าร
3 นายสมเจตน์ ตรีธารทิพย์ กรรมการบริหาร
4 นายประวาส สันตวะกลุ

ขอบเขต หน้าท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 6. จัดสรรเงินบ�ำเหน็จรางวัลซ่ึงได้รับอนุมัติจากคณะ
บริหาร กรรมการบริษัทแล้ว ให้แก่พนักงานหรือลูกจ้างของ
คณะกรรมการบรหิ ารมขี อบเขต หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ บริษัทหรือบุคคลใดๆ ทีก่ ระท�ำกจิ การใหบ้ รษิ ทั
การบรหิ ารงานในเรอ่ื งเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ งานตามปกตธิ รุ ะและ
งานบรหิ ารของบรษิ ทั กำ� หนดนโยบาย แผนธรุ กิจ งบประมาณ 7. ควบคุมดูแลการด�ำเนินการและ/หรือบริหารงาน
โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน และอำ� นาจการบรหิ ารตา่ งๆ ของบรษิ ทั ประจ�ำวนั ของบรษิ ทั
หลักเกณฑ์ในการด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
เพ่ือเสนอให้ท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติและ/ ทั้งน้ี อ�ำนาจของคณะกรรมการบริหารจะไม่รวมถึงการ
หรือให้ความเห็นชอบ รวมถึงการตรวจสอบและติดตามผล อนุมัติรายการใดท่ีอาจมีความขัดแย้ง หรือรายการใดท่ีคณะ
การด�ำเนินงานของบริษัทตามนโยบายที่ก�ำหนด โดยปัจจุบัน กรรมการ บริหาร หรือบุคคลทีเ่ ก่ยี วโยงกันกับผบู้ ริหาร มสี ่วนได้
คณะกรรมการบริหาร มีขอบเขต หน้าท่ี และความรับผิดชอบ เสียหรือผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดขัดแย้งกับบริษัทหรือ
สรปุ ไดด้ ังน้ี บริษัทย่อย (ถ้ามี) ตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ประเทศไทย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะดังกล่าวจะต้อง
1. พิจารณาเร่ืองการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปีตามท่ี เสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือท่ีประชุมผู้ถือ
ฝ่ายจัดการเสนอก่อนที่จะน�ำเสนอให้คณะกรรมการ หนุ้ เพอื่ พจิ ารณาและอนมุ ตั ริ ายการดงั กลา่ วตามทข่ี อ้ บงั คบั ของ
บริษัทพิจารณาอนุมัติ ทั้งน้ี ให้รวมถึงการพิจารณา บริษัทหรือกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องก�ำหนด เว้นแต่เป็นการอนุมัติ
และอนมุ ตั กิ ารเปลย่ี นแปลงและเพมิ่ เตมิ งบประมาณ รายการที่เป็นลักษณะการด�ำเนินธุรกรรมการค้าปกติท่ัวไปของ
รายจ่ายประจ�ำปีในระหว่างท่ีไม่มีการประชุม บรษิ ทั ทค่ี ณะกรรมการบรษิ ทั กำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาไว้
คณะกรรมการบรษิ ทั ในกรณเี ร่งดว่ น และใหน้ ำ� เสนอ ชดั เจนแลว้
คณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบในท่ีประชุมคราว
ตอ่ ไป

2. อนมุ ตั กิ ารซอ้ื ขายสนิ คา้ อนั เปน็ ปกตธิ รุ ะของบรษิ ทั ใน
วงเงินไม่เกิน 1,000 ลา้ นบาท

3. อนุมัติค่าใช้จ่ายในการซื้อทรัพย์สินอันมีลักษณะ
เป็นการลงทุนนอกเหนือจากท่ีระบุไว้ในงบประมาณ
ประจำ� ปี ในวงเงนิ ไมเ่ กิน 50 ลา้ นบาท

4. อนุมัติการใช้จ่ายเงินลงทุนท่ีส�ำคัญๆ ท่ีได้ก�ำหนดไว้
ในงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีตามท่ีจะได้รับ
มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท หรือตามที่
คณะกรรมการบริษัทได้เคยมีมติอนุมัติในหลักการ
ไวแ้ ลว้

5. เป็นคณะที่ปรึกษาฝ่ายจัดการในเร่ืองเกี่ยวกับ
นโยบายดา้ นการเงนิ การลงทนุ การตลาด การบรหิ าร
ทรัพยากรบคุ คล และด้านการปฏิบัตกิ ารอน่ื ๆ

94

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

คณะผู้บรหิ าร
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2563 ประกอบด้วยผบู้ รหิ าร จ�ำนวน 7 ทา่ น ดงั นี ้

ชือ่ - นามสกุล ตำ� แหนง่
1 นายไพศาล ธรสารสมบัต ิ ประธานเจา้ หนา้ ทบ่ี ริหาร
2 นายประวาส สนั ตวะกลุ กรรมการผู้อ�ำนวยการสายงานปฏิบตั ิการ
3 นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย์ กรรมการผู้อำ� นวยการสายงานการเงิน
4 นางสาวเพ็ชรรงุ้ เมษนิ ทรีย์ รองกรรมการผอู้ ำ� นวยการสายงานกลยทุ ธอ์ งคก์ รและวางแผน
5 นายคมสัน ธรสารสมบตั ิ รองกรรมการผ้อู ำ� นวยการสายงานปฏิบัตกิ าร
6 นางพัลลภา ธรสารสมบัต ิ รองกรรมการผอู้ ำ� นวยการสายงานบริหารทรัพยากรบคุ คล
7 นายสมศักดิ์ โตมรกุล รองกรรมการผ้อู �ำนวยการสายงานการตลาด

ขอบเขต หนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของประธานเจา้ หนา้ ท่ี ท้ังนี้ อ�ำนาจของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะไม่รวมถึง
บรหิ าร อำ� นาจในการอนมุ ตั ริ ายการใดทอ่ี าจมคี วามขดั แยง้ หรอื รายการ
ขอบเขต หนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบของประธานเจา้ หนา้ ที่ ใดท่ีประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร หรือบุคคลท่ีเกี่ยวโยงกันกับ
บริหาร ในการบริหารงานในเร่ืองเก่ียวกับการด�ำเนินงานตาม ประธานเจา้ หนา้ ทบี่ รหิ าร มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี หรอื ผลประโยชน์ ใน
ปกตธิ ุระและงานบริหารของบรษิ ทั สรุปได้ดังนี้ ลักษณะอ่ืนใด ขดั แยง้ กบั บรษิ ทั หรอื บริษทั ย่อย ตามกฎเกณฑ์
ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซ่ึงการอนุมัติรายการใน
1. ควบคุมดูแลการด�ำเนินกิจการและ/หรือบริหารงาน ลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัท
ประจำ� วนั ของบรษิ ัท และ/หรือท่ีประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติรายการ
ดังกล่าวตามที่ข้อบังคับของบริษัท หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. ดำ� เนนิ การหรอื ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายแผน ก�ำหนด เว้นแตเ่ ป็นการอนุมตั ริ ายการท่เี ป็นลักษณะการด�ำเนิน
งานและงบประมาณทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการ ธุรกรรมการค้าปกติทั่วไปของบริษัท ที่คณะกรรมการบริษัท
บริษทั และ/หรือ คณะกรรมการบริหารของบรษิ ัท ก�ำหนดหลกั เกณฑก์ ารพิจารณาไวช้ ัดเจนแล้ว

3. เปน็ ผู้รบั มอบอ�ำนาจของบรษิ ทั ในการบริหารกิจการ
ของบริษัท ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ
นโยบาย ระเบยี บ ขอ้ กำ� หนด คำ� สั่ง มตทิ ีป่ ระชมุ ผถู้ อื
หนุ้ และ/หรอื มตทิ ีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั หรอื
คณะกรรมการบรหิ าร ทุกประการ

เลขานกุ ารบริษัท
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2563

ชือ่ - นามสกลุ ต�ำแหน่ง

นายสมเจตน์ ตรธี ารทิพย์ เลขานุการบริษทั

ขอบเขต หนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบของเลขานกุ ารบรษิ ทั จดั เก็บเอกสารตามทกี่ ฎหมายก�ำหนด พร้อมทงั้ อำ� นวยการและ
จดั การประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั คณะกรรมการชดุ ตา่ งๆ ดูแลให้บรษิ ทั ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคบั และข้อก�ำหนด
และการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งจัดท�ำรายงานการประชุม ตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย
คณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการชุดต่างๆ
รายงานการประชมุ ผถู้ อื หนุ้ รายงาน 56-1 One Report ตลอดจน

95

บรษิ ัท ทเี อม็ ที สตลี จ�ำ กดั (มหาชน)

ค่าตอบแทนของกรรมการและผบู้ รหิ าร
คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน เป็นผกู้ �ำหนดหลักเกณฑแ์ ละพจิ ารณากล่นั กรองคา่ ตอบแทนของกรรมการและ
ผู้บริหาร โดยพิจารณาเทียบเคียงค่าตอบแทนท่ีอยู่ในระดับเดียวกับกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกันประกอบกับผลการด�ำเนินงานของ
บรษิ ัท รวมถงึ ความเหมาะสมกบั หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการและผบู้ รหิ าร โดยมรี ายละเอียดของคา่ ตอบแทนดังนี้

1. ค่าตอบแทนกรรมการบริษทั และกรรมการชุดย่อย
ในการประชมุ สามญั ผถู้ อื หนุ้ ประจำ� ปี 2563 เมอื่ วนั ที่ 23 กรกฎาคม 2563 ทผี่ า่ นมา ทปี่ ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ มมี ตอิ นมุ ตั คิ า่ ตอบแทน

ของคณะกรรมการบรษิ ัทในวงเงิน 6,000,000 บาท และเงินบ�ำเหนจ็ จากผลการด�ำเนนิ งานในปี 2562 สำ� หรบั กรรมการ
ทั้งคณะเป็นจ�ำนวนเงิน 1,700,000 บาท (ลดลงจากปีก่อนท่ีเท่ากับ 3 ล้านบาท) ซ่ึงคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด
ค่าตอบแทนเปน็ ผจู้ ดั สรรใหส้ �ำหรับกรรมการท้ังคณะรวม 7 ท่าน โดยจดั สรรวงเงินคา่ ตอบแทนเป็น 2 ส่วน แบง่ เปน็ วงเงิน
ค่าตอบแทน 5,720,000 และวงเงินเบ้ียประชุม 280,000 บาท โดยรายละเอียดของการจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าว มี
ดังต่อไปน้ี

ค่าตอบแทน ค่าเบยี้ คา่ บำ� เหน็จจาก รวม
ชือ่ - นามสกุล ต�ำแหนง่ (บาท) ประชุม ผลการด�ำเนินงาน (บาท)
(บาท) ในปี 2562 (บาท)
40,000 290,000 1,490,000
1 นายชยั จรุงธนาภบิ าล ประธานกรรมการ 1,160,000
ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการ สรรหาและก�ำหนด 850,000
ค่าตอบแทนและ 670,000
กรรมการอสิ ระ 670,000
2 นายสรู ย์ ธรสารสมบัติ กรรมการ และประธาน 670,000 40,000 240,000 1,130,000
กรรมการสรรหาและกำ� หนด 850,000
คา่ ตอบแทน
3 นายไพศาล ธรสารสมบตั ิ กรรมการ และกรรมการ 40,000 230,000 940,000
บรรษทั ภบิ าลและความย่ังยืน 40,000 230,000 940,000
4 นายคมสนั ธรสารสมบัต ิ กรรมการ กรรมการบริหาร
ความเสย่ี งและพัฒนากลยุทธ์
องค์กร และกรรมการ
บรรษทั ภิบาลและความยง่ั ยนื
5 นายสมเจตน์ ตรีธารทพิ ย ์ กรรมการ กรรมการสรรหา 40,000 230,000 940,000
และกำ� หนดค่าตอบแทน และ
กรรมการบรหิ ารความเสี่ยง
และพัฒนากลยทุ ธอ์ งคก์ ร
6 นางรัตนวลี กอสนาน กรรมการอิสระ กรรมการ 40,000 240,000 1,130,000
ตรวจสอบ กรรมการสรรหา
และกำ� หนดค่าตอบแทน และ
ประธานกรรมการบรรษัทภบิ าล
และความย่ังยนื

96

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)

ชื่อ - นามสกลุ ตำ� แหนง่ คา่ ตอบแทน ค่าเบย้ี คา่ บำ� เหนจ็ จาก รวม
(บาท) ประชมุ ผลการดำ� เนนิ งาน (บาท)
(บาท) ในปี 2562 (บาท)

7 นายเอนก ป่นิ วนชิ ย์กุล กรรมการอิสระ กรรมการ 850,000 40,000 240,000 1,130,000
ตรวจสอบ กรรมการสรรหา 5,720,000 280,000 170,000 7,700,000
และกำ� หนดคา่ ตอบแทน
และประธานกรรมการบริหาร
ความเสีย่ งและพัฒนา
กลยทุ ธ์องคก์ ร
รวม

หมายเหตุ : กรรมการบรษิ ทั และกรรมการชุดยอ่ ยในตำ� แหน่งดงั กล่าวไมไ่ ด้รับสทิ ธิประโยชน์อื่นๆ นอกเหนือจากค่าตอบแทนดังกลา่ วข้างต้น

2. ค่าตอบแทนกรรมการบรหิ ารและคณะผบู้ รหิ าร
ในปี 2563 บรษิ ทั ไดจ้ ่ายค่าตอบแทนกรรมการบรหิ าร 4 ราย และคณะผู้บรหิ าร 7 ราย ในรปู เงนิ เดอื นและโบนสั รวมเปน็

จ�ำนวนเงินทั้งส้ิน 35,192,740 บาท โดยมีค่าตอบแทนส�ำหรับประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น
6,745,000 บาท ซ่งึ ค่าตอบแทนพจิ ารณาจากผลการด�ำเนนิ งานของบริษทั ประกอบกับผลการประเมินของ CEO ในแต่ละปี

และบรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ กี องทนุ สำ� รองเลย้ี งชพี ใหแ้ กผ่ บู้ รหิ าร โดยบรษิ ทั ไดส้ มทบในอตั ราสว่ นรอ้ ยละ 5 % ของเงนิ เดอื น โดย
ในปี 2563 บรษิ ทั ได้จ่ายเงินสมทบกองทนุ สำ� รองเลีย้ งชีพส�ำหรับผบู้ ริหาร 7 ราย รวมทง้ั สนิ้ 1,504,800 บาท

บคุ ลากร
ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563 บรษิ ทั มีพนักงานรวมทง้ั ส้ิน 1,268 คน แบง่ ตามโครงสร้างองค์กร ดงั ต่อไปน้ี

สังกัด จำ� นวนพนักงาน  (คน)
ผบู้ ริหาร (Executive) 7
ฝา่ ยสอื่ สารองคก์ ร (Corporate Communication Dept.) 5
ฝา่ ยจดั หาผลติ ภณั ฑ์ (Procurement Dept.) 8
ฝ่ายขายและการตลาด  (Sales & Marketing Dept.) 109
ฝา่ ยโลจิสติกส์ (Logistics Dept.) 481
ฝ่ายโรงงาน (Plant Dept.) 540
ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (Human Resources Dept.) 76
ฝา่ ยการเงินและบัญชี (Finance & Accounting Dept.) 42
รวม
1,268
ในจ�ำนวน 1,268 คน แบง่ ออกเปน็ เพศชาย 879 คน เพศหญงิ 389 คน

97

บริษทั ทเี อม็ ที สตลี จำ�กดั (มหาชน)

ในปี 2563 บริษทั จา่ ยค่าตอบแทนสำ� หรับบุคลากรดงั กลา่ ว (ไมร่ วมผ้บู รหิ าร) ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย เงินเดือน คา่ แรง ค่าลว่ งเวลา
โบนสั และเงนิ สมทบกองทุนส�ำรองเลย้ี งชพี โดยไม่รวมค่าใชจ้ ่ายพนกั งานด้านอน่ื ๆ รวมเป็นเงนิ ทั้งส้ิน 344,675,971.42 ล้านบาท
โดยในปี 2563 ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2563 สดั สว่ นพนกั งานทเ่ี ขา้ รว่ มกองทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี เมอื่ เทยี บกบั จำ� นวนพนกั งานทงั้ หมด ดงั น้ี

บรษิ ทั จ�ำนวนพนกั งานท่ีเขา้ รว่ มกองทุนส�ำรอง สดั สว่ นพนกั งานเข้าร่วมกองทุน
เล้ียงชีพ (คน) สำ� รองเลย้ี งชพี /พนกั งานทั้งหมด (%)
บรษิ ทั ทีเอม็ ที สตลี จ�ำกดั (มหาชน)
685 68.09%

นโยบายการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
พนกั งาน TMT เป็นหน่ึงในหวั ใจหลักของโครงสรา้ งที่สำ� คัญที่สุด เราจึงพฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามเปน็ มอื อาชพี มีความรู้ ทกั ษะ
ความสามารถ ประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญ พรอ้ มใหค้ �ำปรกึ ษา ด้วยการจดั การความรูอ้ ย่างเป็นระบบ เปดิ โอกาสให้ทกุ คน
มีสว่ นร่วมในการน�ำเสนอความคดิ ท่จี ะน�ำไปสกู่ ารปฏิบัติ และวธิ กี ารทำ� งานท่ีมงุ่ มน่ั ไปสู่ความส�ำเรจ็ สนับสนนุ ทุกการเรียนรูใ้ นเร่ือง
เทคโนโลยี และนวตั กรรมใหมๆ่ เพือ่ รองรบั ความต้องการของการใชง้ านเหล็กท่ีไร้ขีดจ�ำกัด และเพ่ือใหค้ น TMT มีความพรอ้ มทีจ่ ะ
เป็นโครงสร้างให้กับทุกจินตนาการอย่างแท้จริง โดยบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน เพื่อตอบสนอง
วสิ ัยทศั น์ (รายละเอียดอนื่ ๆบรษิ ทั ได้เปิดเผยไวใ้ น หัวข้อการขบั เคลื่อนธรุ กิจเพื่อความยง่ั ยนื / รายงานความยง่ั ยืน 2563)
ข้อพิพาทด้านแรงงานในระยะเวลา 3 ปีทผี่ า่ นมา
-ไม่มี-

98

รายงานประจำ�ปี 2563 (56-1 One Report)

การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเส่ียง โดยมอบหมายให้
คณะกรรมการตรวจสอบ ทำ� หน้าท่สี อบทานการประเมนิ ระบบการควบคุมภายในและติดตามประเมนิ ผลอย่างสมำ่� เสมอ มงุ่ เน้นให้
มีระบบการควบคมุ ภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสมกบั ความเสยี่ งในดา้ นตา่ งๆ ของบริษัทท้งั 5 องคป์ ระกอบ คือ การควบคุมภายใน
องค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม
คณะกรรมการบรษิ ทั มคี วามเหน็ วา่ ระบบการควบคมุ ภายในของบรษิ ทั มคี วามเพยี งพอและเหมาะสม โดยบรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ บี คุ ลากร
อยา่ งเพียงพอท่จี ะด�ำเนนิ การตามระบบไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สามารถป้องกนั และด�ำรงรกั ษาไว้ซ่ึงทรพั ย์สนิ ของ บริษทั ตลอดจน
ไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการด�ำเนินงานที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ รวมถึงให้ความม่ันใจได้อย่างสมเหตุสมผลว่าการท�ำธุรกรรม
ตา่ งๆ กบั บคุ คลทอี่ าจมคี วามขดั แยง้ และบคุ คลทเ่ี กย่ี วโยงกนั มกี ารดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตาม กฎ ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั ของกฎหมาย
เพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กิดผลเสยี หายตอ่ บริษัท
คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเส่ียงของบริษัทอยู่ในระดับท่ีดี
มปี ระสทิ ธิภาพเพียงพอ และสามารถสรา้ งความเชอื่ มัน่ อยา่ งมีเหตผุ ลได้วา่ การปฏบิ ัติงานของระบบงานตา่ งๆ ในบริษัทเป็นไปตาม
หลักการการจัดการทีด่ ี มีการจัดการบริหารความเสีย่ งท่เี หมาะสม และปฏบิ ตั ถิ ูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบยี บท่ีเกย่ี วข้อง
ในปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบไดพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ บริษทั อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จำ� กดั เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบในการจดั
ทำ� แผนและดำ� เนนิ การตรวจสอบหรอื สอบทานตามแผนตา่ งๆ ทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ ซงึ่ คณะกรรมการตรวจสอบ
ไดพ้ จิ ารณาคณุ สมบตั ขิ องบรษิ ทั ผตู้ รวจสอบภายในดงั กลา่ วแลว้ เหน็ วา่ มคี วามเหมาะสมและเพยี งพอตอ่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี เนอื่ งจาก
ผู้ตรวจสอบภายในจากบริษัทดังกล่าวมีความเป็นอิสระและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ในธุรกิจหรือ
อตุ สาหกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั บรษิ ทั โดยบรษิ ทั ไดแ้ ตง่ ตงั้ บคุ ลากรเพอื่ ทำ� หนา้ ทป่ี ระสานงานกบั ผตู้ รวจสอบภายในของบรษิ ทั ผตู้ รวจสอบ
ภายในดังกล่าว

99

บริษัท ทเี อ็มที สตีล จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหวา่ งกนั

บริษทั คอนเนค บสิ สิเนส ออนไลน์ จำ� กัด
ลักษณะความสัมพนั ธ์ :
นายไพศาล ธรสารสมบัติ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามและประธานเจ้าหน้าท่ีบริหาร และนายสมเจตน์ ตรีธารทิพย์ กรรมการ
ผู้มีอ�ำนาจลงนามและกรรมการผ้อู ำ� นวยการสายงานการเงนิ แตล่ ะทา่ นด�ำรงต�ำแหน่งเปน็ กรรมการ และถือหุ้นในบริษทั คอนเนค
บิสสิเนส ออนไลน์ จ�ำกัด คดิ เป็นสดั สว่ นรอ้ ยละ 4 ของจ�ำนวนหุน้ ทอี่ อกและจ�ำหน่ายแลว้ ท้งั หมด นายคมสัน ธรสารสมบตั ิ กรรมการ
ผ้มู ีอำ� นาจลงนาม และรองกรรมการผู้อำ� นวยการสายงานปฏิบัตกิ าร เป็นพ่ีชายของนายชำ� นาญ ธรสารสมบตั ิ กรรมการผ้มู อี �ำนาจ
ลงนาม และเปน็ ผถู้ ือหนุ้ รายใหญข่ องบรษิ ทั คอนเนค บิสสเิ นส ออนไลน์ จ�ำกดั อีกทั้งยังเป็นหนึง่ ในผู้ถอื หุ้นสงู สุด 10 อนั ดบั แรกของ
บริษัท โดยถอื ห้นุ ในสัดส่วนร้อยละ 7.82 ของจำ� นวนหนุ้ ทอ่ี อกและจ�ำหน่ายแลว้ ท้ังหมด

ลักษณะโดยทั่วไปของรายการ :

1. รายการท�ำสัญญาบริการบ�ำรุงรักษาระบบงาน Warehouse Management System (WMS) ระยะเวลาตั้งแต่วันท่ี
1 มกราคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563

2. รายการท�ำสญั ญาบริการบำ� รงุ รกั ษาระบบ TMT งานตาชงั่ ระยะเวลาตง้ั แตว่ ันที่ 1 มกราคม 2563 ถงึ วนั ที่ 31 ธันวาคม
2563

3. รายการท�ำสัญญาบ�ำรงุ รกั ษาระบบ CC Online ระยะเวลาต้ังแต่ 1 มกราคม 2563 ถงึ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563
4. รายการท�ำสัญญาออกแบบและสร้าง Software ระบบ Customer Relationship Management (CRM) ส�ำหรับใช้งานใน

บริษัท ระยะเวลา 10 เดือน
รวมมลู ค่าของรายการ :
6,049,143 บาท
ความเห็นคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ / ความจำ� เปน็ และความสมเหตสุ มผลของรายการ :
เปน็ รายการทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามเงอ่ื นไขการคา้ ปกตทิ บี่ รษิ ทั ตอ้ งดำ� เนนิ การเพอ่ื ประกอบธรุ กจิ ถา้ บรษิ ทั ไมท่ ำ� รายการดงั กลา่ วกต็ อ้ งทำ�
กบั บคุ คลอน่ื อยแู่ ลว้ ซง่ึ อตั ราคา่ บรกิ ารไมส่ งู ไปกวา่ ราคาตลาดทบี่ รษิ ทั สามารถจดั ซอ้ื จากบคุ คลอน่ื และบรษิ ทั ดงั กลา่ วมคี วามเขา้ ใจ
ในธรุ กิจของบรษิ ทั เป็นอย่างดี ท�ำให้บรษิ ัทไดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ จากการทำ� รายการในคร้งั น้ี

100

รายงานประจ�ำ ปี 2563 (56-1 One Report)


Click to View FlipBook Version