The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลศาสตร์พระราชา_ผาบิ้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลศาสตร์พระราชา_ผาบิ้ง

รายงานผลศาสตร์พระราชา_ผาบิ้ง

รายงานผลการดาเนนิ งาน

โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน
“กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรูบ้ ูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน”

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565

กศน.ตาบลผาบ้ิง

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอวังสะพุง
สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั เลย

สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร




คานา

ตามที่ สานักงาน กศน. ได้ให้นโยบายจุดเน้นการดาเนินงาน ข้อที่ 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน ประกอบดว้ ย ยุทธศาสตร์ท่ี 2.2 การ
พัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งย่ังยืน และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่เกษตร
ยั่งยืนเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และนโยบายเรง่ ด่วนเพอ่ื ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยทุ ธศาสตร์
ด้านความมั่นคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความ
ตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจ ในความเป็น
คนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทาง
พระราชดาริต่าง ๆ พร้อมท้ังภารกิจต่อเนื่อง : จัดการศึกษาต่อเน่ือง : จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การ
ประชุมสัมมนาการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูแบบอ่ืนๆ
จัดท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย จึงจัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” ซ่ึงเป็นการสรุปผลการดาเนินงานของ กศน.
ตาบลผาบิ้ง อาเภอวงั สะพงุ จงั หวัดเลย โดยดาเนนิ การในวันที่ 2 ธนั วาคม 2565

รายงานผลการดาเนินงานโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความร้บู ูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” น้ี สามารถนามาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการ
จัดกิจกรรม กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ ซ่ึงสามารถดาเนินการจัด กศน. ได้อย่างครบวงจร
(PDCA)

กศน.ตาบลผาบ้ิง จึงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ท่ีจะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการและจะเป็น
ประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ทั้งในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทางานท่ีตรงตามความต้องการ
ของผู้เรียน ผรู้ ับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกยี่ วข้องและให้
ความรว่ มมือในการตอบแบบสอบถามทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสนด้ี ้วย

จัดทาโดย
กศน.ตาบลผาบิ้ง




สารบญั

คานา หน้า
สารบญั ก
บทท่ี 1 บทนา ข
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การ 4
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 19
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 22
ภาคผนวก 25

- โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการศาสตร์
พระราชาเพ่อื นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน”

- บัญชีลงเวลาผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความรบู้ รู ณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน”

- แบบประเมินความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรม
อบรมให้ความรูบ้ รู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพือ่ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ”

- รูปภาพกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้
บรู ณาการศาสตร์พระราชาเพ่อื นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน”
คณะผจู้ ัดทา


1

บทที่ 1 บทนา

1.1 ความเปน็ มา
ศาสตร์พระราชา หลายคนแต่ยังขาดการนาไปปฏิบัติ หลายคนนาไปปฏิบัติแล้วต่างเข้าใจและซาบซึ้ง

ในศาสตร์น้ัน ศาสตร์พระราชาใช้มานานกว่า 70 ปีมีมากกว่า 4,000 โครงการ เป็นที่ยอมรับท้ังในและ
ต่างประเทศ เป็นศาสตร์แห่งการพัฒนาตามฐานะแห่งตนแบบค่อยเป็นค่อยไป ในหลักการเข้าใจ เข้าถึง และ
พัฒนา ขยายผลผ่านองค์กรของรัฐและเอกชน สู่ระดับรากหญ้าผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาจึงเป็นฐานราก
ของการพัฒนาสังคมศาสตร์ ศาสตร์พระราชา คือภูมิปัญญาของพระราชา (king wisdom) รัชกาลที่ 9 ที่
พระองค์ทรงทดลองใช้ นาไปปฏิบัติจนเป็นผลสาเร็จแล้วจึงนาไปบอกแนะนาให้พสกนิกรของพระองค์นาไปใช้
นอกจากบอกแล้วยังตามไปดูว่า ได้ผลหรือไม่อย่างไร เป็นกระบวนการทางานเชิงวิจัยของพระองค์ ศาสตร์แห่ง
พระราชากับการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน 137 หลักการของศาสตร์พระราชา การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา คือ
หลักการของศาสตร์พระราชา เพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ และพัฒนาชีวิตของ ประชาชน ดาเนินการอย่างมีแผนผ่าน
โครงการและกจิ กรรมต่างๆ ซึ่งใช่ความสาเรจ็ เพียงช่ัวคร้ังชัว่ คราวเท่านัน้ หากแต่เปน็ การพฒั นาเพอื่ ความย่ังยนื 1
ศาสตร์พระราชา จึงเป็นโครงการที่ยังชีพให้ประชาชน ได้อยู่ดีกินดี ไม่ว่าจะเป็นโครงการฝนหลวง โครงการฝาย
ชะลอ ความชุ่มช้ืน โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการแก้มลิง โครงการบาบัดน้าเสียโดยจุลินทรีย์ เป็นต้น จะ
เห็นได้ว่า โครงการหลวงล้วนแต่เป็นการพัฒนาประชากรระดับรากหญ้า เพื่อยกระดับการดารงชีพ ของ
ประชาชนให้สูงข้ึนตามยุคสมัยและกลไกทางสังคม ให้อยู่ดีกินดีมีความสุขตามอัตภาพ เพราะปัจจัยพ้ืนฐานทาง
สังคมน้ันครอบครัวคือหน่วยย่อยหากครอบครัวขาดความอบอุ่น นั่นคือสาเหตุของปัญหาทางสังคมที่จะตามมา
ศาสตร์พระราชาหลักการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี ๙ ทรงยึดแนวทางแบบค่อยเป็น
ค่อยไป ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน หากแต่ให้เกิดความสอดคล้องกับความ
เปน็ อยูโ่ ดย ไมใ่ หเ้ กิดความขัดแย้งกัน ทุกพ้ืนที่ของประเทศไทยไดม้ ีการนอ้ มนาแนวพระราชดาริของพระองค์ คือ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปฏิบัติเพื่อทาให้หลายชุมชนเกิดความเข้มแข็งเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอื่น
นาไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป เพ่ือการดารงชีวิตของตนและชุมชน ประกอบกับ
ความรู้ของตนท่ีคิดค้นการทดลองใช้และทาซ้าครั้งแล้วคร้ังเล่า จนเกิดเป็นผลดี และนาไปบอกต่อหรือแนะนา
ตลอดทง้ั การไปเรยี นรแู้ ละเกดิ ความรู้ใหม่ในชุมชน ต่อไป

กศน.ตาบลผาบ้ิง ได้เห็นความสาคัญที่จะขับเคล่ือนการสร้างความรู้ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์ของ
พระราชากบั พระราชาในพ้ืนทอ่ี าเภอวังสะพงุ นาไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป เพื่อ
การดารงชีวิตของตนและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรม
ใหค้ วามรบู้ รู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน” ข้นึ

1.2 วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้ประชาชนในพ้ืนที่ตาบลผาบงิ้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการบรู ณาการศาสตร์พระราชา
2. เพ่ือให้ประชาชนในพนื้ ทีต่ าบลผาบง้ิ บรู ณาการศาสตร์พระราชาเพ่อื นาไปใชช้ วี ติ ประจาวนั ได้


2

1.3 กลุม่ เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ

ประชาชนทั่วไปในตาบลผาบ้ิง จานวน 6 คน

เชงิ คุณภาพ

ประชาชนท่ัวไปในตาบลวังสะพุง ร้อยละ 90 ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ

นาความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งในการบรู ณาการศาสตร์พระราชาเพอื่ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน

1.4 ขอบเขตในการทากิจกรรม

กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ดี าเนนิ การ ระยะเวลา
7 พ.ย.
1.ประชุมบุคลากรผ้ทู ่ี ขอมติทีป่ ระชมุ บคุ ลากร 27 คน กศน.อาเภอ 2565
เกี่ยวข้อง วงั สะพงุ 8 พ.ย.
2565
2.เขยี นโครงการเสนอ ขออนุมตั โิ ครงการ เจ้าหนา้ ท่งี าน 1 คน กศน.อาเภอ 15 พ.ย.
ขออนุมตั ิ วังสะพงุ 2565
1 ธ.ค.
3.แต่งตง้ั คณะทางาน มอบหมายงาน บุคลากร 26 คน กศน.อาเภอ 2565
วงั สะพงุ
4.จดั เตรียมสถานที่ จดั เตรียมเอกสารที่ใช้ใน บุคลากร 26 คน 2 ธ.ค.
วสั ดุ สอื่ และอปุ กรณ์ โครงการฯ สถานที่ วสั ดุ ศาลาวดั ศรชี มชนื่ 2565
6 คน ตาบลวังสะพุง
อปุ กรณ์ ตามหน้าท่ี อาเภอวงั สะพงุ
1 คน จงั หวดั เลย
5.ดาเนนิ การตาม 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนใน ประชาชนใน 1 คน ศาลาวดั ศรีชมชื่น
โครงการฯ พ้ืนทต่ี าบลผาบ้ิง มีความรู้ ตาบลผาบิ้ง 1 คน ตาบลวงั สะพงุ
ตามกาหนดการที่ ความเขา้ ใจในการบูรณา อาเภอวังสะพุง
แนบ การศาสตร์พระราชา - ผูน้ เิ ทศติดตาม จังหวดั เลย
2. เพอ่ื ให้ประชาชนใน - ครู กศน.ตาบล
6.ติดตามประเมนิ ผล พื้นทีต่ าบลผาบิง้ บรู ณา - ครู ศรช. ศาลาวดั ศรชี มชน่ื 2 ธ.ค.
/ สรุปรายงาน การศาสตร์พระราชาเพื่อ ตาบลวังสะพงุ 2565
นาไปใช้ชวี ิตประจาวันได้ อาเภอวงั สะพงุ
จังหวัดเลย
ประเมนิ ผลการดาเนินงาน
เม่อื แลว้ เสรจ็

1.5 ขอบเขตพื้นท่กี ารจัดกจิ กรรม
ศาลาวัดศรีชมชื่น ตาบลวงั สะพุง อาเภอวงั สะพุง จงั หวดั เลย

1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจดั กจิ กรรม
วนั ท่ี 2 ธันวาคม 2565 เวลา 08.00 น. - 17.00 น.


3

1.7 เครือขา่ ย
1. วดั ศรชี มช่นื ตาบลวังสะพุง อาเภอวังสะพงุ จงั หวดั เลย
2. เครือข่ายกสิกรรมจงั หวดั เลย
ฯลฯ


4

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

2.1 ศาสตรพ์ ระราชา
เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา : วธิ กี ารแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพฒั นาทีย่ ั่งยืน
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เป็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน ที่พระบาทสมเด็จพระ

ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงใช้เป็นวิธีการทรงงานมาตลอดรัชสมัย อย่างไรก็ตาม คาว่า “เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา” เริ่มติดหูคนไทยในคร้ังแรกที่พรุแฆแฆ และหลายคนก็เข้าใจผิดไปเสียอีกว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
ใช้ไดเ้ ฉพาะการพฒั นาในส่ีจงั หวัดชายแดนภาคใต้ซ่ึงไม่เป็นความจรงิ เลย

พน้ื ที่พรแุ ฆแฆ อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี มีเนื้อทีป่ ระมาณ 11,000 ไร่ เป็นพื้นที่พรุเสื่อมโทรม มีน้า
ท่วมขังเกอื บตลอดทัง้ ปี ใช้ประโยชนไ์ มไ่ ด้ ถูกปล่อยรกร้างมานาน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ย
เดชได้เสดจ็ พระราชดาเนนิ ได้ทรงศึกษาแผนท่ี ศึกษาสภาพภมู ศิ าสตร์ หลงั จากน้ันได้ทรงสนทนากับวาเดง็ ปเู ต๊ะ
ซึ่งได้ตอบคาถามถวายพระองค์ ได้ใหข้ ้อมูลของพระองค์ โดยท่ีทรงศึกษาจน เข้าใจ อยา่ งถอ่ งแท้ ทรงเยี่ยมเยียน
ราษฎรจนได้รับการยอมรับและมีผู้ถวายที่ดินเพ่ือเข้าร่วมโครงการพระราชดาริเรียกว่าทรงงานอย่าง เข้าถึง
นามาสู่การ พัฒนา ทไ่ี ดผ้ ลในท้ายที่สุด

พลอากาศเอกกาธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ไดเ้ ขยี นไวใ้ นบทความ “พระมหากษตั ริยน์ ักคดิ …นักปฏิบัติเพื่อความสขุ ของประชาชน” ความว่า

“คร้ังหน่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชปรารภว่า “ฉนั ครองราชยส์ องปแี รก ฉันไม่มผี ลงาน
เพราะฉันยังไม่รู้ว่าราษฎรต้องการอะไร” เป็นท่ีประจักษ์ว่าทรงมองการเป็นพระมหากษัตริย์เป็นเรื่องของงาน
เป็นพระราชภาระ ท่ีจะสนองความต้องการของราษฎร เพ่ือราษฎรจะได้ดารงชีวิต อย่างมีความสุขและการท่ีจะ
ทรงงานใหไ้ ด้ผลตรงเป้าหมายไดน้ ั้น ต้องทราบวา่ ประชาชนตอ้ งการอะไร”

การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้นทรงยึดวิธีการ เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา มาตลอดรัชสมัย ดังที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อดีตเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริและอดีตเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เขียนไว้บทความ “ประสบการณ์สนองพระราชดาริเรียนรู้ หลักการทรงงาน ใน
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นา” ความวา่

“พระองค์ทรงมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” นั่น คือต้องสร้างความ
เข้มแข็งใหค้ นในชมุ ชนท่ีเราเข้าไปพัฒนา ให้มีสภาพพร้อมที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน มิใช่การนาความเจริญหรือ
บุคคลจากสงั คมภายนอกเข้าไปหาชมุ ชนหม่บู า้ นที่ยังไม่ ทันได้มีโอกาสเตรียมตัว

…..ทรงใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” น่ัน คือก่อนจะทาอะไร ต้องมีความเข้าใจเสียก่อน เข้าใจภูมิ
ประเทศ เข้าใจผู้คนในหลากหลายปัญหา ท้ังทางด้านกายภาพด้านจารีตประเพณีและวัฒนธรรม เป็นต้น และ
ระหว่างการดาเนินการนั้นจะต้องทาใหผ้ ู้ที่เราจะไปทางานกบั เขาหรือทางาน ให้เขานัน้ “เข้าใจ” เราด้วย เพราะ
ถ้าเราเข้าใจเขาแต่ฝ่ายเดียว โดยที่เขาไม่เข้าใจเรา ประโยชน์คงจะไม่เกิดข้ึนตามที่เรามุ่งหวังไว้ “เข้าถึง” ก็
เช่นกัน เม่ือรู้ปัญหาแล้ว เข้าใจแล้วก็ต้องเข้าถึง เพื่อให้นาไปสู่การปฏิบัติให้ได้ และเม่ือเข้าถึงแล้ว จะต้องทา
อยา่ งไรก็ตามใหเ้ ขาอยากเขา้ ถึงเราด้วย

…..ดังน้ัน จะเห็นว่าเป็นการสื่อสารสองทางท้ังไปและกลับ ถ้าสามารถทาสองประการแรกได้สาเร็จ เร่อื ง
“การพัฒนา” จะ ลงเอยไดอ้ ยา่ งดี เพราะเมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน ต่างฝา่ ยอยากจะเข้าถึงกันแล้ว การพัฒนาจะ
เป็นการตกลงร่วมกนั ท้ังสองฝ่าย ทง้ั ผูใ้ ห้และผรู้ ับ”


5

หลักการทรงงาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนาน้ัน ทรงใช้กับทั้ง คน วัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และ วัฒนธรรม มี
ความลมุ่ ลกึ และมโี ครงการพระราชดาริหรืองานอืน่ ท่ีทรงทาเป็นตวั อย่างใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน

สรุปวธิ กี ารแหง่ ศาสตรพ์ ระราชา เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา ดงั นี้
เขา้ ใจ (Understanding) นนั้ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบยอ่ ย 4 องค์ประกอบ คอื
1. การใช้ข้อมูลท่ีมีอยู่แล้ว (Existing data) ทรงสนใจค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และทรงรับฟัง
ข่าวสารจากท้ังในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะแผนที่ ทรงตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่ทุกครั้งท่ี
เสด็จทอดพระเนตรสภาพพ้ืนท่ีจริง เมื่อเสด็จประทับบนเฮลิคอปเตอร์พระท่ีนั่งก็ทรงทอดพระเนตรและ
ตรวจสอบ หากไม่ถูกต้องจะทรงส่งข้อมูลให้หน่วยราชการเช่น กรมแผนท่ีทหารไปดาเนินการแก้ไข ในทาง
วิทยาการข้อมูล (Data Science) นั้นการทาความสะอาดข้อมูล (Data cleaning) มีความจาเป็นอย่างยิ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดชได้ทรงทาเช่นน้ันมาโดยตลอด เช่น ทรงสอบถามความถูกต้องของ
แผนท่ีกับพระสหายแห่งสายบุรีเมื่อเสด็จพรุแฆแฆ ที่ปัตตานี เป็นต้น บรรดานักสถิติต่างทราบกันดีว่าเม่ือใส่
ข้อมูลที่ไม่สะอาดเข้าไป วิเคราะห์ดีใช้แบบจาลองดีอย่างไรก็ได้แบบจาลองขยะออกมาเช่น (Garbage-in,
Garbage out (GIGO) model) อันแสดงให้เห็นว่าทรงใช้หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ได้อย่างลึกซ้ึง
เช่นเดียวกันกับที่มีความรู้ทางสถิติศาสตร์อย่างลุ่มลึก ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ใช้หากแต่เป็นผู้ใช้ข้อมูลท่ีมีอยู่อย่างผู้มี
ความรู้ ระมดั ระวัง รอบคอบเปน็ อยา่ งยิ่ง ซง่ึ แม้แต่นักวิทยาการข้อมลู ที่มีอาชีพดงั กล่าวโดยตรงยังรู้สึกเบื่อหน่าย
และตอ้ งใช้เวลามากเปน็ พิเศษในการทาความสะอาดขอ้ มลู ดังกลา่ ว การที่ทรงแก้ไขความถูกต้องของข้อมูลท่ีมอี ยู่
แล้ว เช่น การแก้ไขแผนท่ีนั้นสะท้อนให้เห็นถึงพระนิสัยในการทรงงานอย่างมีวิริยะและมีความเข้าใจในวิชาการ
เปน็ อยา่ งย่ิง
2. การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical data) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเอา
พระทัยใส่ในการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะระบบสถิติทางการ (Official statistics) และการ
การสามะโนประชากร (Census) และสถิติศาสตร์ศึกษา (Statistical Education) [8] ทรงมีความรู้ความเข้าใจ
อยา่ งลุ่มลึกถงึ ความสาคญั ของการใช้สถิติในการพัฒนา
ทรงรับเป็นพระราชภาระในการแก้ไขปัญหาและวางระบบดังกล่าว โดยทรงติดต่อกับ Rockefeller
foundations โดยมีพระราชปรารภขอความช่วยเหลือจาก Dr. David Rockefeller ให้ช่วยส่ง Dr. Stacy May
ผู้เช่ียวชาญด้านสถิติมาช่วยประเทศไทยในราชการสถิติเพื่อการพัฒนาประเทศและจัดต้ังคณะสถิติประยุกต์ ท่ี
สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร์
ทา่ นแรกไดบ้ ันทกึ ไวว้ ่า
“เวลานัน้ ประเทศไทยกาลงั ต่นื ตัวที่จะมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติขนึ้ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานดาริแก่ประธานกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ คือ ม.ล.เดช สนิท
วงศ์ [10] ม.ล. เดช ท่านก็บอกผมว่าในหลวงมีพระราชดาริ ในการพัฒนานั้นต้องใช้ข้อมูล ใช้สถิติมาก และถ้ามี
การตั้งสถาบนั ขึ้นมาสอนวชิ าเกยี่ วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการให้วชิ าในการสรา้ งคนเตรียมไว้เพื่อจะส่งเสริม
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม การเมืองเปน็ ไปไดด้ ีเร็วข้ึน”
พระราชดาริเรื่องการประยุกต์ใช้สถิติศาสตร์ในการวิเคราะห์/ประเมินโครงการเพื่อการพัฒนาสังคม
เศรษฐกิจและประเทศชาตินั้นคงฝังแน่นในพระราชหฤทัยดังท่ีได้ทรงมีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน
ปรญิ ญาบัตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์คร้ังแรก เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี 19 พฤหัสบดีท่ี 19 พฤศจิกายน
2513 ณ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตรค์ วามว่า


6

“…เดิมทีเดียวข้าพเจ้าต้ังข้อคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศไว้ว่า ในการทาโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ
ต่างๆ จะต้องอาศัยใช้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นหลัก และจะต้องใช้นักสถิติที่มีความรู้ความสามารถชั้นสูงเป็นผู้
ปฏบิ ตั ิ…”

3. การวิเคราะห์และวจิ ัย (Analytics and Research)
โครงการพระราชดาริกว่าสี่พันโครงการน้ันอาศัยการวิเคราะห์และการวิจัย สร้างองค์ความรู้ที่มั่นใจว่า
ได้ผลก่อนท่ีจะนาไปปฏิบัติจริง โครงการพระราชดาริโครงการหนึ่งท่ีใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและการวิจัยมากท่ีสุด
โครงการหน่ึงคือโครงการหลวง (Royal Project) โดยเฉพาะการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกพืชเมืองหนาวและการ
เลี้ยงสัตว์จากเมืองหนาวเช่นปลาเทราท์ มีการจัดตั้งสถานีวิจัยโครงการหลวง และสถานีเกษตรหลวงมากมาย
การค้นคว้าวิจัยดังกล่าว รวมไปถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การบรรจุหีบห่อ เทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว ไปจนถึง
การวิจัยตลาด ผลสาเร็จจากการวิจัยทาให้โครงการหลวงมีความก้าวหน้ามาก ทาให้แก้ปัญหาการปลูกฝิ่นและ
การทาไรเ่ ลอ่ื นลอยบนพนื้ ทสี่ ูง ทาให้คนไทยไดบ้ ริโภคสนิ คา้ คุณภาพสงู และทดแทนการนาเข้าไดม้ หาศาล
4. การทดลองจนไดผ้ ลจริง (Experiment till actionable results)
พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน แตกต่างจากพระราชวังของพระมหากษัตริย์อ่ืนๆ ทั่วโลก สวนจิตรลดา
เป็นห้องทดลองขนาดใหญ่ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าใ ห้
ตั้งขึ้น มีท้ังการเลี้ยงโคนม ทานา ปลูกต้นยางนา ปลูกป่า ทดลองทาโรงสี ทดลองทานมผงอัดเม็ด ผลิตถ่าน
ชวี ภาพ และอื่นๆ อีกมากมาย ท้ังหมดน้ที รงทดลองจนกว่าจะทรงมนั่ พระทัยวา่ ได้ผลดีจริง นาไปใช้งานได้จริง จึง
ทรงเผยแพร่ต่อไป ความใส่พระทัยในการทดลองทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ นั้นแสดงให้เห็นเด่นชัด
ตลอดพระชนม์ชพี บางโครงการทดลองใช้เวลาทดลองยาวนานสิบสามถงึ สิบส่ี ปี เพือ่ ให้มั่นใจว่าทาแลว้ ไดผ้ ลจริง
เช่น การทาฝนหลวงหรอื ฝนเทียม ก่อนท่ีจะนาไปสร้างต้นแบบหรอื ขยายผลใหค้ วามรู้แก่ประชาชนท่จี ะทาต่อเอง
ได้ ทรงต้องม่นั ใจผลของการทดลองวา่ ได้ผลจริงก่อนเผยแพร่หรอื ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ประชาชน

เขา้ ถงึ (Connecting) นน้ั ประกอบดว้ ยองค์ประกอบย่อย 3 องคป์ ระกอบ คือ
1. ระเบดิ จากข้างใน (Inside-out blasting)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงต้องการให้การพัฒนาเป็นการระเบิดจากข้างใน
หมายความว่าให้ประชาชนหรือชุมชนท่ีเข้าไปพัฒนาหรือทางาน เกิดการปรับตัวที่จะพัฒนาตนเอง เกิดความ
ต้องการทีจะพัฒนาตนเองเสียก่อน ไม่ใช่ส่ิงท่ีทางราชการเข้าไปบังคับให้ประชาชนหรือชุมชนทา ซึ่งจะไม่ยั่งยืน
จึงทรงเน้นการพัฒนาคน ให้คนเกิดการเปล่ียนแปลงตนเองก่อน แล้วจึงเข้าไปพัฒนาเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเป็นการ
เข้าถึงกอ่ นจะพัฒนา ไม่ใชน่ าการพัฒนาเข้าไปโดยที่ประชาชนยังไม่ตระหนักหรอื เห็นความสาคัญของการพัฒนา
หรือการเปลี่ยนแปลง หลักการในข้อน้ีตรงกับหลักวิชาการสมัยใหม่ว่าด้วยการนาและการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง (change management) ดังที่ John P. Kotter ได้นาเสนอว่าในการเปลี่ยนแปลงต้องทาให้คน
ตระหนักถึงความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องเปลี่ยนแปลง (Establishing a Sense of Urgency) ต้องสื่อสาร
วสิ ัยทัศน์ (Communicate the vision) เพ่อื ให้คนได้เหน็ ทิศทางทีช่ ดั เจนที่จะเปลี่ยนแปลง
2. เข้าใจกลุ่มเปา้ หมาย (Understand target)
“ฉนั ครองราชยส์ องปแี รก ฉนั ไมม่ ผี ลงาน เพราะฉนั ยังไม่รวู้ ่าราษฎรต้องการอะไร”
พระราชปรารภนี้สะท้อนให้เห็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาในการเข้าถึงแล้วจึงพัฒนาได้เป็นอย่างยิ่ง
ทรงใหค้ วามสาคัญกับการทาความเขา้ ใจกลุม่ เป้าหมาย ซึ่งคือประชาชน วา่ ประชาชนต้องการอะไร ก่อนท่ีจะทรง
งาน ภาพที่คนไทยทุกคนได้พบเห็นจนเจนตาคือภาพที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชโปรดท่ีจะ


7

ประทับกับพ้ืนดินเพ่ือพูดคุยกับชาวบ้านในท้องถิ่นทุรกันดาร เพ่ือที่จะทรงเข้าใจความเดือดร้อน ปัญหา ความ
ทุกขย์ ากของชาวบา้ น เพือ่ หาทางแกไ้ ขตอ่ ไป

ทรงมีพระเมตตาอย่างสูงต่อประชาชนในการท่ีจะเข้าใจปัญหาของประชาชน โดยเฉพาะเมื่อประชาชน
จะถวายฎีกาเพ่ือขอพระราชทานพระเมตตาในการปัดเป่าความทุกข์ร้อนต่างๆ ในหลายครั้งทางราชการเองกลับ
ขัดขวาง ทั้งนี้ทรงพยายามเข้าใจกลุ่มเป้าหมายคือประชาชนของพระองค์ในแต่ละท้องถ่ินอย่างลึกซึ้งมากที่สุด
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้
พระราชทานสัมภาษณ์นักขา่ วหญงิ ในปี 2523 เอาไวว้ ่า

“ชาวบ้านภาคใต้น่ีฉลาด รู้ด้วยว่าจะถวายฎีกาน่ีต้องทาอย่างไร เอาซ่อนไว้ใต้ดอกไม้แล้วเอาดอกไม้น้ัน
มาให้ บอกว่านั่น ข้างล่างน่ะ ฎีกาอยู่ข้างล่าง รู้จักด้วยนะ ซ่อนไว้ ไม่เช่นน้ันฎีกานี่ตารวจเขาจะตรวจค้นก่อน
อย่างท่ีทุ่งใหญ่ นครศรีธรรมราช ถ้าตามไปดูจะเห็นเขามีเวรยามกันแล้วก็พยักหน้า หัวหน้าเขาล่ะ อุตส่าห์ซ่อน
แทรกเขา้ ไปไว้ในดอกไม้ พับเสียจนนดิ เดยี ว” “หนหนง่ึ ข้าขา เส่ียงต๊บุ ๆ ตับ๊ ๆ หันไปมองว่าอะไรกนั ทแ่ี ท้เหน็ สิ
รินธรกับจุฬาภรณ์ไปแย่งฎีกาจากตารวจ โดยมากเป็นตารวจราชสานัก เขาไม่อยากใหย้ ุ่งการเมือง คอื ประชาชน
เห็นเราใกล้เข้ามาก็คง จะชักออกมาจากชายพกหรือตะกร้า ตารวจก็แย่งมาเสีย สององค์น่ีก็วิ่งไปแย่งจากมือ
ตารวจ เสร็จแลว้ แม่เล็กบอก เล็กได้มาแล้ว กบ็ อกเขา โธค่ ุณ ถา้ เผือ่ ปิดนีบ่ ้านเมืองเราจะไปไมไ่ หวนะ ราษฎรไม่รู้
จะออกทางไหน เราก็มีหน้าท่ีเอามาแล้วเอาไปให้แก่รัฐบาลเท่าน้ัน อย่าไปปิดๆ นี่ประชาชนไม่ร้จู ะไประบายทาง
ไหน แย่เลย บา้ นเมืองไม่ปลอดภัย”

3. สรา้ งปัญญา (Educate)
การสร้างปัญญาสังคมเป็นส่วนสาคัญย่ิงในการเข้าถึงประชาชน หากประชาชนยังขาดความเข้าใจก็ต้อง
สร้างปัญญาสังคมให้ประชาชนเข้าใจ ครูแห่งแผ่นดิน เลือกจะใช้วิธีที่ง่ายท่ีสุดในการส่ือสารกับประชาชนเพื่อ
สร้างปัญญา ทรงเลือกใช้วิธีการพูดที่จะสร้างปัญญาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง ในคราวหนึ่งพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน “โคพันธ์ุและสุกร” แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ นักวิชาการของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามเสด็จฯ ไปด้วย พระองค์โปรดฯ ให้นักวิชาการเกษตรแนะนาชาวไทยภูเขา ซ่ึง
การบรรยายนั้นใช้ศัพท์วิชาการยาก ท่ีชาวเขาฟังอย่างไรก็คงไม่เข้าใจ พระองค์ทรงปล่อยให้นักวิชาการพูด
อธบิ ายประมาณคร่งึ ชัว่ โมง ทรงสงั เกตเหน็ ชาวเขาน่งั ฟังทาตาปริบๆ จึงทรงถามวา่ “จบแลว้ หรือยัง” นักวิชาการ
กราบทูลว่า “จบแล้วพระพุทธเจ้าข้า” จึงมีพระราชดารัสวา่ “ถา้ อยา่ งนั้น ฉันพดู บ้างนะ” “ฟงั ใหด้ ๆี นะ จะเลย้ี ง
หมูให้มันอ้วน โตเร็ว ๆ ต้องให้มันกินให้อิ่ม” แล้วทรงหันกลับมารับส่ังกับนักวิชาการว่า “จบแล้ว” ทาเอาผู้ตาม
เสด็จฯ อมยิ้มไปตาม ๆ กัน ครูของแผ่นดิน พระองค์น้ีทรงมีความเมตตาในการสอนถ่ายทอดความรู้ไปจนถึง
ระดับนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาดังท่ีทรงพระกรุณาสอนนักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวลด้วยพระองค์
เอง
การท่ีทรงสอนน้ันไม่ได้เพียงสอนด้วยการพูดให้ฟังเท่านั้น แต่ทรงสร้างแรงบันดาลใจ พลตารวจเอกว
สิษฐ เดชกุญชร ได้เขียนไว้ในหนังสือ “รอยพระยุคลบาท บันทึกความทรงจาของ พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร”
เร่ืองกาแฟต้นเดียว เอาไว้ว่า ในวันที่ 3 ธันวาคม 2517 เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม
ราษฎรบนดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ หลังจากทรงเยี่ยมราษฎรชาวเขาเผ่าม้ง ท่ีบ้านขุนกลาง อ.จอมทอง และ
ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงที่บ้านอังกาน้อยและบ้านท่าฝ่ัง ม.จ ภีศเดช รัชนี ผู้อานวยการโครงการหลวง กราบบังคม
เชิญทูลเสด็จให้ทรงพระดาเนินต่อไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร เพื่อทอดพระเนตรไร่กาแฟของราษฎรชาว
กะเหร่ียง รวมระยะทางที่ทรงพระดาเนินมาท้ังหมดในบ่ายวันน้ัน 6 กิโลเมตร เม่ือไปถึงปรากฏว่า ไร่กาแฟน้ันมี
ต้นกาแฟให้ทอดพระเนตรเพียงต้นเดียว พล.ต.อ. วสิษฐโกรธจนแทบระงับโทสะไว้ไม่ได้และระบายความรู้สึกนี้
กับเพ่ือนรว่ มงานความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท จึงมรี บั สั่งใหเ้ ข้าเฝา้ ฯ


8

“…ตรัสถามวา่ เป็นความจริงหรือท่ีว่าผมโกรธท่านภีศเดช ผมก็กราบบังคมทูลตามความเป็นจริงว่าเป็น
เช่นน้ัน พระเจ้าอยู่หัวตรัสถามต่อไปว่า ผมทราบหรือเปล่าว่า เม่ือก่อนน้ีกะเหรี่ยงท่ีดอยอินทนนท์ ประกอบ
อาชีพอะไร ผมก็กราบบงั คมทูลวา่ ทราบเกลา้ ฯ ว่ากะเหร่ยี งปลูกฝิ่น

“พระเจ้าอยู่หัวตรัสต่อไปด้วยพระสุรเสียงที่เปี่ยมไปด้วยพระเมตตา (ไม่ได้ดุผม) ว่า แต่ก่อนเขาปลูกฝ่ิน
เรา ไปพูดจาชแี้ จง ชักชวนให้เขาลองมาปลูกกาแฟแทน กะเหรี่ยงไม่เคยปลูกกาแฟมาก่อนเลย ที่กาแฟไม่ตายเสีย
หมด แต่ยังเหลืออยู่ 1 ต้นน้ัน ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสาหรับกะเหรี่ยง จึงต้องไปทอดพระเนตร จะได้
แนะนาเขาตอ่ ไปได้วา่ ทาอย่างไรกาแฟจึงจะเหลืออยู่มากกว่า 1 ตน้ ”

ท้ังหมดนี้แสดงให้เห็นว่าทรงเข้าใจจิตวิทยาในการสอน ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดินผู้ปลูกปัญญาสังคม
กาแฟต้นแรกต้นนั้นที่ทรงพระดาเนินหลายกิโลเมตร ทรงสอนโดยสร้างแรงบันดาลใจ ได้ทาให้การปลูกฝ่ินและ
การทาไรเ่ ล่อื นลอยลดลงไปอย่างนา่ มหัศจรรย์

ในการท่ีทรงเป็นครูของแผ่นดิน ผนู้ าการพัฒนานั้น กลับทรงถ่อมพระองค์ในการทจี่ ะเรียนรูจ้ ากนักเรยี น
ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตอาสาสมัครพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ ศูนย์ศึกษาการ
พฒั นาภูพานอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ อ.เมือง จ.สกลนคร วันท่ี 22 พฤศจิกายน 2528

“…เราเป็นนักเรยี น เราไม่ใช่เป็นผู้เชี่ยวชาญ……. ถ้าหากวา่ ในด้านไหนก็ตาม เวลาไปปฏิบัติให้ถือวา่ เรา
เป็นนักเรียน ชาวบ้านเป็นครู หรือ “ธรรมชาติเป็นครู” การที่ท่านทั้งหลายจะออกไปก็จะไปในหลายๆด้าน…ก็
ต้องเข้าใจว่า เราอาจจะเอาความรูไ้ ปใหเ้ ขา แต่กต็ ้องนบั ถอื ความรขู้ องเขาดว้ ย จึงจะมคี วามสาเรจ็ ….”

พัฒนา แนวพระราชดารใิ นการพัฒนานน้ั เมอ่ื ทรงเขา้ ใจ เขา้ ถึง แลว้ จงึ พัฒนาน้ันทรงมีหลักการสาคัญคือ
1.เรมิ่ ตน้ ดว้ ยตนเอง (Self-initiated)
ประเทศไทยมีปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้อย่างรุนแรง ทรงเข้าใจปัญหาดังกล่าวเป็นอย่างดี เม่ือคราว
เสด็จพระราชดาเนินไปหนว่ ยงานต้นนา้ พฒั นาท่งุ จือ จงั หวดั เชียงใหม่ พ.ศ.2514 พระองค์ทรงมีพระราชดารสั กับ
เจ้าหน้าทที่ ่เี ฝ้ารบั เสดจ็ ฯความว่า
“…ควรจะปลูกต้นไม้ในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษา
ตน้ ไมด้ ว้ ยตนเอง…”
แนวพระราชดารใิ นการพฒั นาทรงเน้นการพัฒนาทีเ่ กดิ จากประชาชนต้องการจะพัฒนา ตลอดรัชสมยั ใน
การทรงงานในบางคร้ัง ประชาชนก็ไม่ได้ให้ความร่วมมือกับโครงการพระราชดาริเช่นกัน ไม่เคยทรงฝืนบังคับ
ประชาชนให้ร่วมมือแต่อย่างใดด้วยเหตุผลท่ีแตกต่างกัน กลับทรงเริ่มต้นโครงการพระราชดาริใหม่ อย่าง
สม่าเสมอจนมีโครงการพระราชดาริกว่าส่ีพันโครงการ ทรงเคยมีรับสั่งกับนายปราโมทย์ ไม้กลัดว่า “…
พระราชดาริเป็นแนวคิดของฉัน ไม่ได้เป็นพระบรมราชโองการ หรือคาส่ังนะ…” ซึ่งสะท้อนความเป็น
ประชาธปิ ไตยและความต้องการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเต็มท่ี ดังที่ทรงเน้นเสมอว่าการพัฒนานั้น
ต้องระเบิดจากข้างในกอ่ น
2. พงึ่ พาตนเองได้ (Self-reliance)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเน้นว่าการพัฒนาต้องทาให้ประชาชนพ่ึงพา
ตนเองได้ ทรงโปรดให้ประชาชนทาอะไรได้ดว้ ยตนเอง ไม่ต้องรอความชว่ ยเหลือจากรัฐ พระราชดารัสเกี่ยวกับใน
พิธีพระราชทานปริญญา บัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวนั ที่ 20 ธันวาคม 2516 ได้เน้นเรอ่ื งของการพึ่งพา
ตนเองเอาไวว้ ่า
“…การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ันตอน ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้
ของประชาชนส่วนใหญเ่ ป็นเบ้ืองต้นก่อนโดยใช้วิธีการและอปุ กรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ เมื่อได้


9

พ้ืนฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจชั้นท่ีสูงข้ึน
โดยลาดับ…”

อีกตอนหนึ่งของพระราชดารัสท่ีรับส่ังกับนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เม่ือวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ.
2523 ว่า

“…ในการสรา้ งความเจริญก้าวหน้าน้ี ควรอย่างย่ิงที่จะค่อยสร้างค่อยเสริมทีละเล็กละน้อยให้เป็นลาดับ
ให้เป็นการทาไปพิจารณาไป และปรับปรุงไป ไม่ทาด้วยอาการเร่งรีบตามความกระหายที่จะสร้างของใหม่เพื่อ
ความแปลกใหม่ เพราะความจริงส่ิงท่ีใหม่แท้ๆ น้ันไม่มี ส่ิงใหม่ทั้งปวงย่อมสืบเนื่องมาจากสิ่งเก่าและต่อไปย่อม
จะต้องกลายเปน็ สงิ่ เกา่ …”

ทรงโปรดความเรียบง่ายและพึ่งพาตนเองได้ ดังท่ีได้พระราชทานพระราชดาริ “การปลูกป่าโดยไม่ต้อง
ปลูก” ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยในการฟ้ืนฟูธรรมชาติ หรือแม้กระท่ัง “การปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง”
ไดแ้ ก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไมผ้ ลและไม้ฟนื นอกจากได้ประโยชน์ตามประเภทของการปลกู แลว้ ยังช่วยสร้างความชุ่ม
ช้ืนให้แก่ พ้ืนดินด้วย พระองค์จึงทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์ที่อยู่อย่างเกื้อกูลกัน ทาให้คนอยู่ร่วมกับป่าไม้ได้
อย่างยั่งยืน แนวพระราชดาริในเรื่องการพ่ึงพาตนเองได้ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่เร่งร้อนจะพัฒนาโดย
การยัดเยียดเทคโนโลยีต่าง ๆ หรือเงิน เข้าไปในการพัฒนาก็สะท้อนออกมาอย่างชัดเจนในเร่ืองของการปลูกป่า
ดังพระราชดารสั เกี่ยวกบั การปลกุ ป่าในหลายโอกาสดงั น้ี

“…ทิ้งป่านัน้ ไว้ 5 ปี ตรงน้ันไม่ต้องทาอะไรเลย แต่ป่าเจริญเติบโตเป็นป่าสมบูรณ์ โดยไม่ต้องปลูกสักต้น
เดยี ว คือว่าการปลูกป่าน้ัน สาคัญอยู่ที่ปล่อยให้เขาขึ้นเอง…” “ถ้าเลือกได้ที่ท่ีเหมาะสมแลว้ ก็ท้ิงป่าน้ันไวต้ รงน้ัน
ไมต่ ้องไปทาอะไรเลย ปา่ จะเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นปา่ สมบรู ณโ์ ดยไม่ต้องไปปลูกเลยสักต้นเดยี ว”

“ไม่ไปรังแกป่าหรือตอแยตน้ ไม้เพยี งแตค่ ุ้มครองใหข้ ึ้นเองได้เท่านนั้ …”
“ในสภาพป่าเต็งรังป่าเสื่อมโทรมไม่ต้องทาอะไรเพราะตอไม้ก็จะแตกกิ่งออกมาอีกถึงแม้ต้นไม้สวยแต่ก็
เป็นตน้ ไม้ใหญ่ได”้
3. ตน้ แบบเผยแพร่ความรู้ (Prototype and role model)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดการสร้างต้นแบบการเผยแพร่ความรู้ โดย
ทรงตง้ั ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตา่ งๆ เช่น ทหี่ ้วยทราย เขาหนิ ซ้อน ภูพาน ห้วยฮ่องไคร้
อ่าวคุ้งกระเบย และ พิกุลทอง โครงการชั่งหัวมัน หรือแม้แต่พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน ที่เปิดโอกาสให้
เกษตรกรได้ศึกษา เรียนรู้ ดูงาน สาหรับเกษตรทฤษฎีใหม่ส่งสร้างต้นแบบแห่งการเรียนรู้ให้ประชาชนได้ศึกษาที่
วัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี ทรงโปรดที่จะเลือกพ้ืนที่ท่ีมีปัญหาท่ีสุดเพ่ือต้ังเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ยกตัวอย่างเช่น บริเวณหว้ ยทรายนนั้ มีการบุกรกุ ตดั ไมท้ าลายป่า ทาการเกษตรแบบผิดวธิ ีจนดนิ เส่ือมโทรม แห้ง
แล้ง เป็นดินดาน เพราะหน้าดินพังทลายไปหมดสิ้น เมื่อวันท่ี 5 เมษายน พุทธศักราช 2526 ได้เสด็จพระราช
ดาเนินไปทอดพระเนตรพ้นื ท่ี หว้ ยทราย มพี ระราชดารัสดว้ ยนา้ พระราชหฤทัยห่วงใยว่า
“หากปล่อยทิ้งไว้ จะกลายเป็นทะเลทรายในท่ีสุด”
ทรงใช้ความอุตสาหะพยายามในการพัฒนาห้วยทราย ซ่ึงมีแต่ดินดานแข็ง ในชั้นแรกต้องเจาะดินดาน
เพื่อปลูกแฝง ให้หญ้าแฝกหยั่งรากลึกทลายดินดานออกให้โปร่งเพ่ือให้รากพืชอ่ืนๆ สามารถชอนไชไปเติบโตได้
เนื่องจากพ้ืนที่แห้งแล้งและมีการกัดเซาะของหน้าดินมาก ต้องมีการสร้างฝายชะลอน้าและหลุมกักเก็บน้าเล็กๆ
ไว้ในพื้นทีเ่ พิม่ ความชุ่มช้ืน


10

ในขณะที่ทตี่ ้ังของโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง เป็นพื้นที่ป่าพรุ ดินพรุ ซึ่งเปรี้ยวจดั มากจนไม่
สามารถจะปลูกพืชใดๆ ไดเ้ ลย ก็ทรงใชก้ ารแกล้งดนิ ในการแก้ปัญหาจนเปน็ พื้นท่กี ารเกษตรได้

การท่ีทรงเลือกใช้พ้ืนทีท่ ี่มีปัญหาและความยากลาบากในการพฒั นานั้นกเ็ พื่อเป็นตน้ แบบให้ประชาชนได้
เห็นและทาตาม ซ่ึงหากแม้พ้ืนที่ท่ีมีปัญหามากที่สุดก็ยังพัฒนาให้ดีได้ ประชาชนเองก็น่าจะทาตามได้เป็นการ
เรยี นรูจ้ ากตัวแบบ (Role model) ท่เี ปน็ แรงบนั ดาลใจการพัฒนาประชาชนและประเทศชาติ

เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา จึงเป็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน และเป็นการปกครอง
แผน่ ดินโดยธรรมเพอ่ื ประโยชนส์ ุขแห่งมหาชนชาวสยามอย่างแท้จรงิ

2.2 หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว 23 ขอ้
ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ท่ีนอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็น

พระราชาท่ีเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของพระองค์ และนานาประเทศอีกด้วย
ผู้คนต่างประจักษถ์ ึงพระอัจฉรยิ ภาพของพระองค์ และมีความสานกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณเป็นล้นพ้น อนั หาที่สุด
มไิ ด้ ซ่ึงแนวคิดหรือ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มคี วามน่าสนใจ ที่สมควรนามาประยุกต์ใช้กบั ชีวิต
การทางานเป็นอย่างย่ิง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ท่านสามารถนาหลักการทรงงาน
ของพระองคไ์ ปปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ ดงั นี้

1. จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูล
เบ้ืองต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี นักวิชาการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง
เพ่อื นาขอ้ มูลเหล่านนั้ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามเปา้ หมาย

2. ระเบิดจากภายใน จะทาการใดๆ ต้องเร่ิมจากคนท่ีเกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจาก
ภายในให้เกิดความเข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การส่ังให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานน้ัน
อาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพื่อให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการ
ตอ่ ไป

3. แก้ปัญหาจากจดุ เล็ก ควรมองปญั หาภาพรวมกอ่ นเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองในส่ิง
ทคี่ นมักจะมองข้าม แล้วเรม่ิ แก้ปัญหาจากจดุ เล็กๆ เสียก่อน เมื่อสาเรจ็ แล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเร่ือยๆ ทลี ะ
จดุ เราสามารถเอามาประยุกตใ์ ชก้ ับการทางานได้ โดยมองไปท่ีเป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละช้นิ แล้วเร่ิมลงมือทา
จากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละช้ินก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวด
หวั คิดอะไรไม่ออก กต็ อ้ งแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน มันไม่ได้แกอ้ าการจริง แต่ตอ้ งแกป้ ัญหาทท่ี าให้เราปวดหัวให้ได้
เสียกอ่ น เพอื่ จะใหอ้ ย่ใู นสภาพทดี่ ไี ด้…”

4. ทาตามลาดับขั้น เริ่มต้นจากการลงมือทาในส่ิงที่จาเป็นก่อน เม่ือสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือส่ิงที่จาเป็น
ลาดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตามหลักน้ีได้ งานทุกสิ่งก็จะสาเร็จได้โดยง่าย… ในหลวง
รชั กาลที่ 9 ทรงเริ่มต้นจากส่ิงที่จาเปน็ ท่ีสุดของประชาชนเสยี กอ่ น ไดแ้ ก่ สุขภาพสาธารณสุข จากน้นั จึงเป็นเรื่อง
สาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน และส่ิงจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภค
บริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนา
ประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็น
เบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือได้พ้ืนฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร
สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันที่สูงข้ึนโดยลาดับต่อไป…” พระบรม
ราโชวาทของในหลวงรชั กาลที่ 9 เมอื่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517


11

5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณน้ันว่า
เปน็ อยา่ งไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกบั ลกั ษณะนสิ ัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละทอ้ งถน่ิ ท่ีมคี วาม
แตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคม
วิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอ่ืนไมไ่ ด้ เราต้องแนะนา เขา้ ไปดูว่าเขาต้องการอะไร
จริงๆ แลว้ ก็อธบิ ายให้เขาเข้าใจหลักการของการพฒั นาน้ีกจ็ ะเกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ”

6. ทางานแบบองค์รวม ใช้วิธีคิดเพื่อการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองส่ิงต่างๆ ท่ีเกิด
อยา่ งเป็นระบบครบวงจร ทุกสง่ิ ทกุ อย่างมมี ติ ิเช่อื มต่อกนั มองสงิ่ ท่ีเกดิ ข้ึนและแนวทางแกไ้ ขอยา่ งเชอื่ มโยง

7. ไม่ติดตารา เม่ือเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอยา่ งยดื หยนุ่ กับสภาพและสถานการณ์นัน้ ๆ ไม่ใชก่ าร
ยดึ ตดิ อย่กู ับแค่ในตาราวิชาการ เพราะบางท่ีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไมร่ อด บางครง้ั เรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไป
จนทาอะไรไม่ไดเ้ ลย สงิ่ ทเี่ ราทาบางคร้งั ต้องโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม สงั คม และจติ วทิ ยาด้วย

8. รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลท่ี 9
ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถ่ินและ
ประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่ในภูมิภาคน้ันมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดัง
พระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัด
งบประมาณ…”

9. ทาให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแกไ้ ขงาน การพฒั นาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้
โดยงา่ ย ไม่ย่งุ ยากซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคอื สอดคล้องกบั สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนเิ วศ
โดยรวม “ทาให้งา่ ย”

10. การมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่
ทุกระดับได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สาคัญที่สุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความ
คิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อ่ืนอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์
อันหลากหลายมาอานวยการปฏิบัตบิ รหิ ารงานให้ประสบผลสาเร็จทสี่ มบูรณ์นั่นเอง”

11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ ดัง
พระราชดารัสตอนหนึ่งว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพ่ือส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญ
ดว้ ยซ้าวา่ ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอใหค้ ิดถึงประโยชน์สว่ นรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรอื่ ยแลว้ ส่วนตัวจะได้
อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็นเพ่ือส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพ่ือตัวเองสามารถท่ีจะมี
สว่ นรวมทจ่ี ะอาศยั ได้…”

12. บริการท่ีจุดเดียว ทรงมีพระราชดาริมากวา่ 20 ปีแลว้ ให้บริหารศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาหลายแหง่ ทั่ว
ประเทศโดยใช้หลกั การ “การบริการรวมท่จี ุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเนน้ เร่ืองรรู้ ักสามัคคแี ละการ
ร่วมมอื ร่วมแรงรว่ มใจกนั ดว้ ยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง

13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและ
ตอ้ งการให้ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการ
แกไ้ ขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลอื เราด้วย

14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนาความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็น
หลักการแนวทางปฏบิ ัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะท่ไี ม่ปกติเข้าสูร่ ะบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่า
เสียโดยให้ผักตบชวา ซ่งึ มีตามธรรมชาติใหด้ ดู ซึมสงิ่ สกปรกปนเปอื้ นในน้า


12

15. ปลูกป่าในใจคน การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็น
ประโยชน์กับส่ิงที่จะทา…. “เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควรจะปลกู ต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แลว้ คนเหลา่ น้ันกจ็ ะพากันปลูก
ตน้ ไมล้ งบนแผ่นดินและจะรักษาตน้ ไมด้ ว้ ยตนเอง”

16. ขาดทุนคือกาไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ท่ีมีต่อพสกนิกรไทย “การ
ให้” และ “การเสียสละ” เปน็ การกระทาอนั มีผลเปน็ กาไร คอื ความอยู่ดมี สี ุขของราษฎร

17. การพ่ึงพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้นด้วยการแก้ไข
ปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอท่ีจะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชน
สามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดลอ้ มและสามารถ พงึ่ ตนเองไดใ้ นที่สุด

18. พออยู่พอกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยาย
ให้มีขีดสมรรถนะท่กี ้าวหน้าต่อไป

19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาที่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 พระราชทานพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการ
ดาเนินชีวติ ให้ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพือ่ ให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้
กระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซ่ึงปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งระดับบุคคล องค์กร
และชุมชน

20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทา
ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกวา่ ผู้ที่มีความรมู้ าก แตไ่ มม่ ีความสุจริต ไม่มคี วามบรสิ ทุ ธิ์ใจ

21. ทางานอยา่ งมีความสุข ทางานต้องมีความสุขดว้ ย ถ้าเราทาอย่างไม่มคี วามสขุ เราจะแพ้ แตถ่ า้ เรามี
ความสุขเราจะชนะ สนุกกบั การทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสขุ ท่ีเกิด
จากการได้ทาประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุข
รว่ มกัน ในการทาประโยชนใ์ ห้กบั ผอู้ ื่น…”

22. ความเพียร การเร่มิ ตน้ ทางานหรือทาส่ิงใดนั้นอาจจะไมไ่ ดม้ ีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและ
ความมุ่งมั่น ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝ่ังก็จะว่ายน้าต่อไป
เพราะถา้ ไมเ่ พียรวา่ ยกจ็ ะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ไดพ้ บกับเทวดาทช่ี ว่ ยเหลอื มใิ หจ้ มนา้

23. รู้ รัก สามคั คี
- รู้ คอื รูป้ ญั หาและรู้วิธแี กป้ ัญหานัน้
- รัก คือ เม่อื เรารถู้ งึ ปัญหาและวิธแี ก้แลว้ เราตอ้ งมีความรกั ทีจ่ ะลงมอื ทา ลงมือแก้ไขปัญหานน้ั
- สามัคคี คือ การแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ไมส่ ามารถลงมอื ทาคนเดยี วได้ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื รว่ มใจกัน

2.3 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่

ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่ือใหก้ ้าวทันตอ่ โลกยุคโลกาภวิ ัตน์

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้
จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการ
วางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทุกระดบั ให้มสี านึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ และให้
มคี วามรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดาเนนิ ชีวติ ด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล


13

และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
จากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี

การนาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของ
ไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาท่ี
สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพ่ือความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมท่ีมีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า สังคมสีเขียว
(Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับท่ี 10 น้ีจะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกัน
ระหวา่ งเศรษฐกจิ ชมุ ชนเมอื งและชนบท
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกส่ิงน้ีว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนาปรัชญานี้ไปใช้ทา
อะไร กลายเป็นว่าผู้นาสังคมทุกคน ท้ังนักการเมืองและรัฐบาลใช้คาว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทา
กิจกรรมใด ๆ เพื่อให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดารัสและให้เกิดภาพลักษณ์ท่ีดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจ
พอเพียง ถกู ใช้เพือ่ เป็นเครื่องมอื เพื่อตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจน้ีอาจเกดิ จากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับ
ทฤษฎีใหม่น้ันเป็นเร่ืองเดียวกัน ทาให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรม
แลว้ กลับไปสเู่ กษตรกรรม ซ่ึงเปน็ ความเข้าใจทผ่ี ดิ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ใน
ฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime
Achievement Award แกพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียงวา่ เปน็ ปรัชญาท่สี ามารถเริ่มได้จากการสรา้ งภมู ิคมุ้ กันในตนเอง สู่หมู่บา้ น และสู่เศรษฐกจิ ในวง
กว้างขึ้นในท่ีสุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติได้
สนบั สนุนใหป้ ระเทศต่างๆที่เป็นสมาชกิ 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสูก่ ารพัฒนาประเทศแบบยัง่ ยนื
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่
ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีหลกั พิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดงั นี้
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี
พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง
ระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ม่งุ เนน้ การรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพ่ือความม่ันคง และความย่งั ยนื ของการพฒั นา
2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนามาประยุกตใ์ ช้กบั การปฏิบัติตนไดใ้ นทกุ ระดับ โดยเน้นการ
ปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
3. คานิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบด้วย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กันดงั นี้

- ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเอง และผู้อ่ืน เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยใู่ นระดับพอประมาณ

- ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทาน้ัน ๆ อยา่ ง
รอบคอบ


14

- การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล้
และไกล

4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอาศัยทั้งความรู้
และคณุ ธรรมเปน็ พืน้ ฐาน กล่าวคือ

- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วิชาการตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้น
ปฏบิ ัติ

- เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์
สุจริต และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ

5. แนวทางปฏิบัติ / ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ
การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้ และเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ
เศรษฐกจิ พอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เปน็ แนวทางในการพัฒนาท่ีนาไปสู่ความสามารถ
ในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นข้ันตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือ
การเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มี
ความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซงึ่ กันและกนั และความสามคั คี
เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยท่ีเศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดท่ีช้ีบอก
หลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะท่ี แนวพระราชดาริเก่ียวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎี
ใหม่ ซง่ึ เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนน้นั เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทาง
ปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพ้ืนที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ซงึ่ มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบพ้นื ฐาน กบั แบบกา้ วหน้า
ข้นั ท่ี 1 ที่มุ่งแกป้ ัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝน และประสบความเส่ียงจากการ
ท่ีน้าไม่พอเพียง แม้กระท่ังสาหรับการปลูกข้าวเพ่ือบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีท่ีดินพอเพียงในการขุดบ่อเพื่อ
แก้ปัญหาในเรอื่ งดงั กลา่ ว จากการแก้ปญั หาความเสย่ี งเรื่องน้า จะทาใหเ้ กษตรกรสามารถมขี ้าวเพอ่ื การบริโภคยัง
ชีพในระดับหนึ่ง และใช้ท่ีดินส่วนอ่ืน ๆ สนองความต้องการพ้ืนฐานของครอบครวั รวมท้ังขายในส่วนที่เหลือเพื่อ
มีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นใน
ระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระท่ัง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ก็จาเป็นที่เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือ
จากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองค์กร
เป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบก้าวหนา้ ซงึ่ ครอบคลมุ ทฤษฎใี หม่
ขั้นท่ี 2 เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง
ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เม่ือสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองค์กรต่าง ๆ มีความ
พอเพียงข้ันพื้นฐานเป็นเบ้ืองต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพ่ือร่วมมือกันสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่ม และส่วนรวมบน
พ้ืนฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามกาลังและความสามารถของตน ซึ่งจะ
สามารถทาให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจน้ัน ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงความ
พอเพียงในระดบั ประเทศ เปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งแบบก้าวหน้า ซึง่ ครอบคลมุ ทฤษฎีใหม่


15

ข้ันท่ี 3 ซ่ึงส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สรา้ งความร่วมมือกับองค์กรอ่ืน ๆ ในประเทศ เช่น
บรษิ ัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบนั วิจัย เปน็ ตน้

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้ จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดภมู ิปัญญา แลกเปล่ียน
ความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทาให้
ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ท่ีดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็น
เครอื ข่ายชุมชนพอเพียงทีเ่ ชือ่ มโยงกันดว้ ยหลกั ไมเ่ บยี ดเบียน แบ่งปนั และช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ได้ในทีส่ ุด

ประการท่สี าคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอท่ีจะมีไว้กินเองใน
ครวั เรือน เหลอื จงึ ขายไป
พออยูพ่ อใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหมน็ ใช้แต่ของท่ีเป็นธรรมชาติ (ใช้จลุ ินทรียผ์ สม
น้าถูพืน้ บ้าน จะสะอาดกว่าใชน้ ้ายาเคม)ี รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีขึน้ (ประหยดั ค่ารกั ษาพยาบาล)
พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อ่ืน เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ
ปัญญาจะไม่เกิด
"การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ
พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดารัสใน
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวฯ

2.4 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นท่ีมาของนิยาม “3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ที่

คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางส่ือต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่ง
ประกอบด้วยความ “พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ ุม้ กนั ” บนเงอื่ นไข “ความรู้” และ “คณุ ธรรม”

ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มา
อย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หน้ียืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็
แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อ่ืนบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพ่ือปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนว
ทางการดารงชีวติ อย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชวี ิตของสังคมทุน
นิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรอื กระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเร่ืองท่ีไม่เก่ียวข้องหรือเกินกว่า
ปจั จัยในการดารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตวั ความบันเทิงหลากหลายรปู แบบ ความสวยความงาม การแต่งตัว
ตามแฟช่นั การพนันหรอื เส่ียงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพ่ือตอบสนองความต้องการเหล่าน้ัน ส่งผล
ให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการ
ดารงชีวิต

บทสรปุ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง

ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและผู้อ่นื เช่น การผลิตและการบริโภคทอ่ี ยูใ่ นระดับพอประมาณ

หว่ ง 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงน้ันจะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทาน้ัน ๆ อย่าง
รอบคอบ


16

ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
และไกล
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เง่ือนไข

1. เง่ือนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบทีจ่ ะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น
ปฏิบตั ิ

2. เง่ือนไข คุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์
สจุ ริต และมคี วามอดทน มีความพากเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ

รปู ภาพแสดงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข


17

บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ การ

3.1 วิธกี ารดาเนนิ การตามระบบการดาเนินงานครบวงจร (PDCA)
การวางแผน (Plan)
1. ประชุมรับนโยบายการดาเนินงาน
บุคลากร กศน.ตาบลผาบ้ิง ประชุมเพื่อวางแผนจัดโครงการตามแผนการดาเนินงาน กาหนดชื่อ

โครงการ กาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย เพ่อื ดาเนินการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. สารวจความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายในพื้นที่
กศน.ตาบลผาบ้ิง สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ โดยการใช้แบบสารวจความ

ตอ้ งการในการเขา้ รว่ มโครงการ และได้กลุ่มเป้าหมายตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
3. วิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อนาไปใชใ้ นการดาเนินงาน
กศน.ตาบลผาบิ้ง วิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ และนา

ข้อมูลที่วเิ คราะห์ดาเนินการจัดเตรยี มข้อมลู เพื่อจัดทาส่ือตา่ ง ๆ
4. จดั เตรียมข้อมลู รายละเอยี ดและส่อื ตา่ งๆเพ่ือนาไปใช้ในการประชาสัมพนั ธ์รับสมคั ร
กศน.ตาบลผาบิ้ง นาข้อมูลที่วิเคราะห์ดาเนินการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อจัดทาส่ือต่าง ๆ และ

ประชาสัมพนั ธร์ ับสมคั รใหป้ ระชาชนในพ้นื ที่เข้าร่วมโครงการ
การนาไปปฏบิ ตั ิ (DO)
1. สรุปข้อมูลพ้นื ฐานและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
กศน.ตาบลผาบิ้ง ได้นาข้อมูลจากการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ สรุปข้อมูล

พืน้ ฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือจัดทาโครงการ
2. จัดทาโครงการเพือ่ ขออนุมตั ิ
กศน.ตาบลผาบิ้ง จัดทาโครงการ หลักการและเหตุผล กาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตใน

การทากิจกรรม ขอบเขตพ้นื ที่การจัดกิจกรรม ขอบเขตระยะเวลาการจดั กจิ กรรม และเครอื ขา่ ย
3. ประสานเครือขา่ ย / วิทยากร
กศน.ตาบลผาบ้ิง ดาเนินการจัดทาหนังสือเชิญวิทยากรเพ่ือให้ความรู้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ี และ

ประสานเครือขา่ ยในการขอความความอนเุ คราะหใ์ ชส้ ถานทใี่ นการจัดโครงการ
4. ดาเนนิ การฝึกอบรมตามโครงการ
กศน.ตาบลผาบิ้ง ดาเนินการจัดโครงการตามแผนท่ีกาหนดไว้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนใน

ตาบลวงั สะพุงเข้าอบรมในโครงการ
5. สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน
กศน.ตาบลผาบ้ิง จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานโดยการสรปุ ผล อภิปรายผล หลังเสร็จส้นิ โครงการ

และนาเสนอรายผลการดาเนนิ งานตอ่ ผู้บริหารสถานศึกษา
การตรวจสอบ (Check)
1. ดาเนินการประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผ้เู ข้ารว่ มโครงการท่ีมตี อ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้
กศน.ตาบลผาบิ้ง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมีต่อการจัด

กระบวนการเรียนรู้ โดยใหผ้ ู้เข้าร่วมโครงการทาแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการ


18

2. ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสาเร็จของโครงการและกระบวนการ
บริหารจัดการของสถานศกึ ษา

กศน.ตาบลผาบ้ิง ดาเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสาเร็จของโครงการ
และกระบวนการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการทาแบบประเมินความพึงพอใจในการ
เขา้ ร่วมโครงการ

3. นเิ ทศตดิ ตามผลโครงการ
กศน.ตาบลผาบง้ิ ได้ลงพน้ื ทีเ่ พ่ือนิเทศติดตามผเู้ ข้าร่วมโครงการหลงั จากการจดั โครงการเสรจ็ สิน้ โดย

ใช้แบบนเิ ทศตดิ ตามผเู้ ขา้ ร่วมโครงการหลงั จากการจดั โครงการเสร็จสน้ิ
ปรบั ปรุงแก้ไข (Act)
1. วเิ คราะหป์ ญั หา/ข้อเสนอแนะ
กศน.ตาบลผาบิ้ง นาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล จาก

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการ
2. สรุปปัญหา/ขอ้ เสนอแนะ
กศน.ตาบลผาบงิ้ สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่วมโครงการมาวิเคราะหข์ ้อมูล จาก

แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ
3. หาวธิ กี ารดาเนินการปรบั ปรงุ แกไ้ ข โครงการ/กจิ กรรมต่อไป
กศน.ตาบลผาบง้ิ นาปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อดาเนนิ การปรบั ปรุง

แกไ้ ข โครงการ/กิจกรรมต่อไป โดยการจัดกจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมายใหม้ ากขนึ้

3.2 ดัชนชี วี้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ
ตัวช้ีวัดผลผลติ
รอ้ ยละ 90 ของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านการอบรม
ตวั ช้ีวัดผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้

ในชวี ิตประจาวัน


19

3.3 วิธกี ารดาเนินการ

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ดี าเนินการ ระยะเวลา
บุคลากร 27 คน 7 พ.ย.
1.ประชุมบคุ ลากรผทู้ ่ี ขอมติทีป่ ระชุม 1 คน กศน.อาเภอ 2565
เกีย่ วข้อง เจา้ หน้าทงี่ าน 26 คน วังสะพงุ 8 พ.ย.
26 คน 2565
2.เขยี นโครงการเสนอ ขออนุมัตโิ ครงการ บคุ ลากร กศน.อาเภอ 15 พ.ย.
ขออนมุ ัติ 6 คน วังสะพุง 2565
1 ธ.ค.
3.แตง่ ต้ังคณะทางาน มอบหมายงาน 1 คน กศน.อาเภอ 2565
1 คน วงั สะพุง
4.จัดเตรียมสถานท่ี จัดเตรยี มเอกสารทใ่ี ช้ใน บุคลากร 1 คน 2 ธ.ค.
วัสดุ สอื่ และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วัสดุ ศาลาวดั ศรีชมชน่ื 2565
ตาบลวงั สะพงุ
อปุ กรณ์ ตามหน้าท่ี อาเภอวงั สะพงุ
จงั หวดั เลย
5.ดาเนนิ การตาม 1. เพื่อใหป้ ระชาชนใน ประชาชนใน ศาลาวดั ศรชี มช่นื
โครงการฯ พน้ื ที่ตาบลผาบิ้ง มีความรู้ ตาบลผาบิ้ง ตาบลวังสะพุง
ตามกาหนดการที่ ความเขา้ ใจในการบรู ณา อาเภอวังสะพุง
แนบ การศาสตร์พระราชา - ผ้นู เิ ทศตดิ ตาม จังหวัดเลย
2. เพ่ือใหป้ ระชาชนใน - ครู กศน.ตาบล
6.ติดตามประเมินผล พ้ืนท่ีตาบลผาบ้ิง บูรณา - ครู ศรช. ศาลาวดั ศรชี มช่นื 2 ธ.ค.
/ สรุปรายงาน การศาสตร์พระราชาเพื่อ ตาบลวังสะพุง 2565
นาไปใชช้ ีวติ ประจาวันได้ อาเภอวังสะพงุ
จงั หวดั เลย
ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
เม่อื แล้วเสร็จ


20

บทที่ 4 ผลการดาเนนิ การ

ตอนที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไป

ตารางที่ 1 แสดงเพศผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

เพศ จานวน (คน)

ชาย 3

หญิง 3

รวมทั้งหมด 6

จากตารางที่ 1 ผ้เู ข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จานวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง จานวน 3

คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 ซ่งึ รวมทัง้ หมด 6 คน

ตารางท่ี 2 แสดงอายเุ ข้ารว่ มโครงการ

อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปีขนึ้ ไป รวมทั้งหมด

จานวน (คน) 6 - - - - 6

จากตารางท่ี 2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีอายุ 15 - 30 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งรวมช่วงอายุ

ทง้ั หมด 6 คน

ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาเขา้ รว่ มโครงการ

ระดับการศึกษา จานวน (คน)

ประถมศกึ ษา -

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 3

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3

รวมทั้งหมด 6

จากตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการกาลงั ศึกษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อย

ละ 50 และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50 ซ่งึ รวมทัง้ 2 ระดับชน้ั ท้งั หมด 6 คน

ตารางท่ี 4 แสดงอาชีพเขา้ ร่วมโครงการ

อาชีพ ธรุ กิจสว่ นตวั รบั จา้ ง เกษตรกร อนื่ ๆ รวมทั้งหมด

จานวน (คน) - - -6 6

จากตารางที่ 4 ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ประกอบอาชพี อื่นๆ (ว่างงาน) จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึง

รวมผูป้ ระกอบอาชพี ทงั้ หมด 6 คน


21

ตอนที่ 2 ระดบั ความพงึ พอใจ

ตารางท่ี 5 แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นเน้อื หา

ข้อ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
มากท่ีสุด มาก ปาน น้อย น้อย
กลาง ท่ีสุด

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

1 เนอื้ หาตรงตามความต้องการ 6= 100%

2 เนอ้ื หาเพียงพอต่อความต้องการ 6= 100%

3 เน้อื หาปจั จบุ ัน ทันสมัย 6= 100%

4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 6= 100%

สรุป 100%

จากตารางที่ 5 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมินโครงการการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพงึ พอใจด้านเนือ้ หา ดังน้ี เนือ้ หาตรงตามความต้องการ เนอื้ หาเพียงพอต่อความต้องการ เน้ือหา
ปัจจุบัน ทันสมัย และเน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คิดเป็นร้อยละ 100
ตามลาดับ

ตารางที่ 6 แสดงระดบั ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
มากท่ีสดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
กลาง ทสี่ ดุ

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม

1 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6= 100%

2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 6= 100%

3 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 6= 100%

4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 6= 100%

5 วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 6= 100%

สรุป 100%

จากตารางที่ 6 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมินโครงการการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ดังนี้ การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม การ
ออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกบั เวลา และวธิ กี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ คิดเป็นร้อยละ 100 ตามลาดับ


22

ตารางท่ี 7 แสดงระดบั ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร

ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร มากทสี่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
1 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด กลาง ทส่ี ุด
2 วทิ ยากรมีเทคนคิ ในการถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสม 6= 100%
3 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม 6= 100%
6= 100%
สรปุ 100%

จากตารางท่ี 7 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมินโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจต่อวิทยากร ดังนี้ วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด และวิทยากรเปิด
โอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม และวิทยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 100
ตามลาดับ

ตารางท่ี 8 แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก

ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย
เหตุ
มากทีส่ ดุ มาก ปาน น้อย น้อย
กลาง ท่ีสดุ

ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก

1 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 6= 100%

2 การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกดิ กาเรยี นรู้ 6= 100%

3 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา 6= 100%

สรุป 100%

จากตารางท่ี 8 ผ้เู ข้ารว่ มโครงการแสดงความคดิ เห็นในการประเมินโครงการการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ดังน้ี การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา การ
สื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดกาเรียนรู้ และสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก คิดเป็น
ร้อยละ 100 ตามลาดบั


23

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผล
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ

ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” เป็นเพศชาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง
จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และมีอายุ 15 - 30 ปี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน คิด
เป็นร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นประชาชนทั่วไปในตาบลผาบ้ิง พร้อมท้ังประกอบอาชีพอ่ืนๆ (ว่างงาน)
จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และมีประเด็นวัดความพึงพอใจในการจัดโครงการฯ ดังน้ี ความพึงพอใจด้าน
เนื้อหา คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจต่อวิทยากร คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัด
กิจกรรมการอบรม คิดเป็นร้อยละ 100 และความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ 100
ตามลาดับ จากผู้ตอบแบบสอบถามทัง้ หมด 6 คน

5.2 อภปิ รายผล
การจัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ

ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในด้านเน้ือหาตรงตามความ
ตอ้ งการและเพียงพอ มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม กิจกรรมเหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์และเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด เปิดโอกาสให้มีสว่ น
รว่ มและซกั ถาม พรอ้ มทงั้ มีการชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา

การจัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ
ศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน” ได้ดาเนินการตามเป้าหมายของโครงการ โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วม
อบรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซ่ึงผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้เก่ียวกับเรื่องแนวทาง “ศาสตร์
พระราชา” แนวทางวิถพี อเพียงเศรษฐกจิ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ และความรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง พรอ้ มการดาเนินชีวติ ให้ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง”

5.3 ขอ้ เสนอแนะ
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ

ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน” ไม่มีขอ้ เสนอแนะในการจัดกิจกรรม


ภาคผนวก


โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน
“กจิ กรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ”
1. ชอ่ื โครงการ โครงการการจัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาสงั คมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการ

ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน”
2. สอดคลอ้ งนโยบายจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.

2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขนั ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ท่ี 2.2 การพัฒนา

ภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแขง็ ยั่งยนื และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยส่เู กษตรยง่ั ยืน เป็น
มิตรกับสง่ิ แวดล้อม

2.2 นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ

โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและ
ความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริตา่ ง

ภารกิจต่อเน่ือง : จัดการศึกษาต่อเนื่อง: จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและ
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุมสัมมนาการ
จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฎิบัติ และรูแบบอื่นๆจัดที่เหมาะสมกับ
กลุม่ เป้าหมาย
3. หลกั การและเหตุผล

ศาสตร์พระราชา หลายคนแต่ยังขาดการนาไปปฏิบัติ หลายคนนาไปปฏิบัติแล้วต่างเข้าใจและซาบซ้ึง
ในศาสตร์น้ัน ศาสตร์พระราชาใช้มานานกว่า 70 ปีมีมากกว่า 4,000 โครงการ เป็นท่ียอมรับทั้งในและ
ต่างประเทศ เป็นศาสตร์แห่งการพัฒนาตามฐานะแห่งตนแบบค่อยเป็นค่อยไป ในหลักการเข้าใจ เข้าถึง และ
พัฒนา ขยายผลผ่านองค์กรของรัฐและเอกชน สู่ระดับรากหญ้าผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาจึงเป็นฐานราก
ของการพัฒนาสังคมศาสตร์ ศาสตร์พระราชา คือภูมิปัญญาของพระราชา (king wisdom) รัชกาลท่ี 9 ท่ี
พระองค์ทรงทดลองใช้ นาไปปฏิบัติจนเป็นผลสาเร็จแล้วจึงนาไปบอกแนะนาให้พสกนิกรของพระองค์นาไปใช้
นอกจากบอกแล้วยังตามไปดูว่า ได้ผลหรือไม่อย่างไร เป็นกระบวนการทางานเชิงวิจัยของพระองค์ ศาสตร์แห่ง
พระราชากับการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน 137 หลักการของศาสตร์พระราชา การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา คือ
หลักการของศาสตร์พระราชา เพื่อแก้ปัญหาพ้ืนท่ี และพัฒนาชีวิตของ ประชาชน ดาเนินการอย่างมีแผนผ่าน
โครงการและกิจกรรมต่างๆ ซึง่ ใชค่ วามสาเรจ็ เพยี งชั่วคร้ังชัว่ คราวเท่านัน้ หากแตเ่ ปน็ การพฒั นาเพ่อื ความย่ังยืน1
ศาสตร์พระราชา จึงเป็นโครงการท่ียังชีพให้ประชาชน ได้อยู่ดีกินดี ไม่ว่าจะเป็นโครงการฝนหลวง โครงการฝาย
ชะลอ ความชุ่มชื้น โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการแก้มลิง โครงการบาบัดน้าเสียโดยจุลินทรีย์ เป็นต้น จะ
เห็นได้ว่า โครงการหลวงล้วนแต่เป็นการพัฒนาประชากรระดับรากหญ้า เพ่ือยกระดับการดารงชีพ ของ
ประชาชนให้สูงขึ้นตามยุคสมัยและกลไกทางสังคมให้อยู่ดีกินดีมีความสุขตามอัตภาพ เพราะปัจจัยพื้นฐานทาง
สังคมน้ันครอบครัวคือหน่วยย่อยหากครอบครัวขาดความอบอุ่น น่ันคือสาเหตุของปัญหาทางสังคมท่ีจะตามมา
ศาสตร์พระราชาหลักการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ ๙ ทรงยึดแนวทางแบบค่อยเป็น
ค่อยไป ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน หากแต่ให้เกิดความสอดคล้องกับความ
เป็นอยโู่ ดย ไม่ให้เกดิ ความขัดแย้งกัน ทกุ พ้ืนที่ของประเทศไทยไดม้ ีการน้อมนาแนวพระราชดาริของพระองค์ คือ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปฏิบัติเพื่อทาให้หลายชุมชนเกิดความเข้มแข็งเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอ่ืน


นาไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อการดารงชีวิตของตนและชุมชน ประกอบกับ

ความรู้ของตนท่ีคิดค้นการทดลองใช้และทาซ้าครั้งแล้วคร้ังเล่า จนเกิดเป็นผลดี และนาไปบอกต่อหรือแนะนา
ตลอดทง้ั การไปเรียนร้แู ละเกิดความรู้ใหมใ่ นชมุ ชน ต่อไป

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอวังสะพุง ได้เห็นความสาคัญที่จะขับเคลื่อน

การสร้างความรู้ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์ของพระราชากับพระราชาในพ้ืนท่ีอาเภอวังสะพุง นาไปสู่การ
ปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป เพ่ือการดารงชีวิตของตนและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัด
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนาไปใช้ใน

ชีวิตประจาวัน” ข้ึน
4. วัตถุประสงค์

4.1 เพื่อใหป้ ระชาชน อาเภอวังสะพงุ มีความรู้ ความเข้าใจในการบูรณาการศาสตร์พระราชา

4.2 เพ่ือให้ประชาชน อาเภอวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใช้
ชวี ิตประจาวนั ได้

5.เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ

ประชาชนอาเภอวงั สะพุง ทง้ั 10 ตาบล รวมทั้งสน้ิ จานวน 78 คน

เชงิ คณุ ภาพ

ประชาชนอาเภอวังสะพุง ร้อยละ 90 ท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาความรู้

ความเข้าใจในเรื่องในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

6. วธิ ดี าเนนิ การ

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ีดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

1.ประชมุ ขอมติทป่ี ระชุม บุคลากร 27 คน กศน.อาเภอ 7 พ.ย. -
บุคลากรผู้ที่ ขออนมุ ตั โิ ครงการ
เกย่ี วข้อง มอบหมายงาน วงั สะพุง 2565

2.เขียน เจา้ หนา้ ที่งาน 1 คน กศน.อาเภอ 8 พ.ย. -
โครงการเสนอ วังสะพงุ 2565
ขออนุมตั ิ
บุคลากร 26 คน กศน.อาเภอ 15 พ.ย. -
3.แตง่ ตัง้
คณะทางาน วงั สะพงุ 2565

4.จัดเตรยี ม จดั เตรียมเอกสารท่ใี ช้ใน บคุ ลากร 26 คน ศาลาวดั ศรชี มชื่น 1 ธ.ค. -
สถานท่ี วสั ดุ โครงการฯ สถานที่ วสั ดุ
สอื่ และ อปุ กรณ์ ตามหน้าท่ี ตาบลวงั สะพุง 2565 25,600
อปุ กรณ์ บาท
1. เพือ่ ให้ประชาชนใน อาเภอวงั สะพุง
5.ดาเนนิ การ พ้นื ท่ีอาเภอวังสะพงุ มี
ตามโครงการฯ ความรู้ ความเขา้ ใจใน จังหวดั เลย
ตาม การบรู ณาการศาสตร์
กาหนดการท่ี ประชาชนใน 78 คน ศาลาวดั ศรีชมชืน่ 2 ธ.ค.

อาเภอวงั สะพุง ตาบลวงั สะพุง 2565

อาเภอวังสะพงุ

จงั หวัดเลย


กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ทีด่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
แนบ
พระราชา 1 คน ศาลาวดั ศรชี มช่ืน 2 ธ.ค. -
6.ติดตาม ครู กศน. ตาบลวงั สะพงุ 2565
ประเมินผล / 2. เพือ่ ใหป้ ระชาชนใน 10 ตาบล อาเภอวังสะพงุ
สรุปรายงาน จังหวัดเลย
พืน้ ที่อาเภอวงั สะพงุ

บรู ณาการศาสตร์

พระราชาเพื่อนาไปใช้

ชวี ติ ประจาวนั ได้

ประเมนิ ผลการดาเนินงาน - ผู้นเิ ทศติดตาม

เมือ่ แล้วเสร็จ - ครู กศน.ตาบล

7. วงเงินงบประมาณ

ใช้งบประมาณ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4

ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน งบ

ดาเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 แหล่งของเงิน 6611200 เพ่ือเป็นค่าจ่ายในการจัด

กิจกรรม จานวน 25,600 บาท (สองหมน่ื ห้าพนั หกร้อยบาทถ้วน ) ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

1. คา่ อาหาร จานวน 78 คน x 70 บาท x 1 มือ้ จานวนเงนิ 5,460 บาท

2. ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม จานวน 78 คน x 25 บาท x 2 มอ้ื จานวนเงิน 3,900 บาท

3. ค่าตอบแทนวทิ ยากร 1 คน x 200 บาท x 6 ช่ัวโมง จานวนเงนิ 1,200 บาท

4. คา่ วัสดุโครงการ จานวนเงนิ 15,040 บาท

(สองหม่ืนห้าพนั หกรอ้ ยบาทถว้ น) รวมเงนิ ทง้ั ส้นิ 25,600 บาท

หมายเหตุ คา่ ใชจ้ า่ ยถัวเฉลยี่ ตามท่จี า่ ยจรงิ

8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ต.ค.-ธ.ค.65) (ม.ค.-มี.ค.66) (เม.ย.-มิ.ย.66) (ก.ค.-ก.ย.66)
กิจกรรมหลัก
25,600 บาท - - -
โครงการการจัดการศึกษา
เพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมใหค้ วามรบู้ ูรณา
การศาสตร์พระราชาเพือ่ นาไปใช้
ในชีวิตประจาวนั ”

9.ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
9.1 ครู
9.2 ครู อาสาสมคั ร ฯ
9.3 ครู กศน.ตาบล 10 ตาบล
9.4 ครู ศรช.


10. เครอื ข่าย
10.1 ท่ีว่าการอาเภอวงั สะพงุ
10.2 เครือขา่ ยกสิกรรมจงั หวัดเลย
10.3 ส่วนราชการในอาเภอวังสะพุง
ฯลฯ

11.โครงการ/กจิ กรรมที่เก่ยี วขอ้ ง
11.1 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
11.2 โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั
ฯลฯ

12.ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ(Out come)

ประชาชน อาเภอวังสะพุงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ ความเข้าใจใน
เร่ืองในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่อื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน

13.ตวั ช้ีวดั ผลสาเร็จของโครงการ
13.1 ตัวชี้วัดผลผลติ ( Out put )

รอ้ ยละ 90 ของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านการอบรม
13.2 ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์ ( Out comes )

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อ
นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน
14.การประเมนิ ผล

14.1 ภาพถา่ ยกิจกรรม

14.2 ประเมินความพึงพอใจ


ผ้เู สนอโครงการ

ลงชอื่ ………......……………........… ลงช่ือ………......……………........…
(นางดวงเดือน สขุ บวั ) (นายทววี ัฒน์ เหลาสพุ ะ)
ครู ผู้ชว่ ย ครู ชานาญการ

ผ้อู นมุ ัติโครงการ

ลงช่อื ..............................................
(นางพชิ ามณชุ์ ลามะนา)

ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอวังสะพงุ


กาหนดการ

โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน
“กิจกรรมอบรมให้ความรู้บรู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ”

วันท่ี 2 ธันวาคม 2565

ณ ศาลาวัดศรีชมช่นื ตาบลวงั สะพุง อาเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอวงั สะพงุ
************************************************************************

เวลา 08.00 น. – 08.30 น. ลงทะเบียน

เวลา 08.30 น. – 08.40 น. ชแี้ จงวัตถุประสงค์โครงการ/พบปะ

โดย นางพิชามญชุ์ ลามะนา ผอ.กศน.อาเภอวงั สะพุง

เวลา 08.40 น. - 09.00 น. พธิ ีเปดิ โครงการ
เวลา 09.00 น. – 10.30 น. นายภูรวิ จั น์ โชตินพรัตน์ นายอาเภอวังสะพงุ
วิทยากรบรรยายให้ความรู้แนวทาง “ศาสตรพ์ ระราชา”

เวลา 10.30 น. - 10.40 น. แนวทางวถิ พี อเพียงเศรษฐกิจ
โดยวทิ ยากร เครือข่ายกสิกรรมจังหวดั เลย
พักรับประทานอาหารวา่ งและเคร่ืองด่มื

เวลา 10.40 น. - 12.00 น. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรแู้ นวทาง หลกั การทรงงาน
ของในหลวงรัชกาลท่ี ๙
โดยวทิ ยากร เครือขา่ ยกสิกรรมจังหวัดเลย

เวลา 12.10 น. - 13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวนั
เวลา 13.00 น. – 14.30 น. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และการดาเนนิ ชีวติ ใหด้ าเนินไปบน “ทางสายกลาง”

เวลา 14.30 น. – 14.40 น. โดยวิทยากร เครอื ขา่ ยกสิกรรมจังหวดั เลย
เวลา 14.40 น.- 16.30 น. พกั รบั ประทานอาหารว่างและเครื่องดม่ื
แบ่งกลมุ่ /ถอดบทเรยี น/แลกเปลย่ี นเรียนร/ู้ ปญั หา/วธิ ีการแก้ไข

เวลา 16.30 น.- 17.00 น. โดยวิทยากร เครือขา่ ยกสิกรรมจังหวดั เลย
พิธีปิดโครงการ
โดย นางพิชามญช์ุ ลามะนา ผอ.กศน.อาเภอวงั สะพุง

หมายเหตุ : กาหนดการนี้เปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม
เช้า เวลา 10.30 น. – 10.40 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดืม่
เวลา 12.00 น. - 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน


บา่ ย เวลา 14.30 น. – 14.40 น. พกั รบั ประทานอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม


แบบประเมินความพึงพอใจ
โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมใหค้ วามรูบ้ ูรณาการศาสตร์พระราชาเพอ่ื นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน”

วันที่ 2 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2565
ณ ศาลาวัดศรชี มชน่ื ตาบลวังสะพุง อาเภอวงั สะพงุ จังหวัดเลย
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอวงั สะพงุ จังหวดั เลย
********************************************
คาชแ้ี จง : แบบประเมินความพึงพอใจน้ี มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาความคิดเห็นของนกั ศึกษา ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ฯ
ขอให้ตอบตรงตามความเปน็ จรงิ มากทีส่ ุด และผลท่ไี ดจ้ ะนามาปรับปรงุ และพฒั นาการดาเนินงานต่อไป

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป ชาย หญิง
1. เพศ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี
2. ช่วงอายุ 41- 50 ปี 51- 60 ปี
60 ปขี ึ้นไป

3. ระดบั การศึกษา ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น
4. อาชพี มัธยมศึกษาตอนปลาย อ่ืนๆ............................................
ธรุ กจิ สว่ นตวั เกษตร
ลูกจ้าง/รับจ้าง อืน่ ๆ..............................................

สว่ นท่ี 2 : ความคิดเห็นเกย่ี วกับการดาเนินงานโครงการ ( ขดี  ชอ่ งระดับความพงึ พอใจ )

ระดบั ความพึงพอใจ

ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย หมายเหตุ
ทสี่ ุด กลาง
ทส่ี ดุ

ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ

2 เนือ้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ

3 เนื้อหาปัจจบุ ัน ทนั สมยั

4 เนือ้ หามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม

5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม

6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์

7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา

8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย

9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์


ระดบั ความพึงพอใจ

ข้อ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ
ทสี่ ุด กลาง
ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ทสี่ ุด
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด
11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ ในการถ่ายทอดใช้ส่อื เหมาะสม
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก
14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ กาเรียนรู้
15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา

ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


รูปภาพกจิ กรรม

โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการศาสตร์พระราชาเพอื่ นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน”

วนั ที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565
ณ ศาลาวัดศรชี มช่ืน ตาบลวังสะพุง อาเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย


ทีป่ รกึ ษา ลามะนา คณะผจู้ ดั ทา
นางพิชามญช์ุ เหลาสพุ ะ
นายทววี ฒั น์ สขุ บัว ผอ.กศน.อาเภอวงั สะพุง
นางดวงเดือน จันทวนั ครู
นางบวั คา อันทะระ ครูผ้ชู ่วย
นางลาไย ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
คณะทางาน
นางดารนีนุช รตั นมงคล ครู กศน.ตาบลผาบ้ิง
นางสาวปลายมาศ จนั ทวัน ครู ศรช.ตาบลผาบง้ิ

รวบรวม / เรยี บเรียงข้อมลู ครู กศน.ตาบลผาบ้ิง
นางดารนีนชุ รัตนมงคล ครู ศรช.ตาบลผาบิ้ง
นางสาวปลายมาศ จันทวัน
ครู กศน.ตาบลผาบิ้ง
ภาพประกอบออกแบบรปู เลม่ /พิมพ์ ครู ศรช.ตาบลผาบิ้ง
นางดารนีนชุ รตั นมงคล
นางสาวปลายมาศ จนั ทวัน


Click to View FlipBook Version