The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสัมมนา ไฟล์ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atta-pol1112, 2022-04-03 05:05:47

การสัมมนา ไฟล์ 1

การสัมมนา ไฟล์ 1

การสัมมนา การพฒั นาการเรียนออนไลนข์ องนักเรียนระดับประถมศกึ ษา
โดยใช้ 5 Steps GOCQF

จดั ทำโดย

นางสาว ภาณนิ ี ขบวน รหสั นกั ศกึ ษา 62031280134

นางสาว มรกต วงศ์ถา รหสั นักศกึ ษา 62031280136

นางสาว สรุ ดา แสงปญั ญา รหสั นกั ศกึ ษา 62031280154

นางสาว สุรสั วดี เข็มทอง รหัสนักศึกษา 62031280155

สาขาการประถมศึกษา

กลมุ่ เรียน 02

อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ อิสระ ทับสสี ด

คณะครุศาสตรบ์ ณั ฑิตช้นั ปีท่ี 3 รายวิชา วจิ ัยและสมั มนาปัญหาในชน้ั เรียน
ระดับประถมศกึ ษา รหสั วิชา 1104903 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศกึ ษา 2564 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์

การสัมมนา การพฒั นาการเรยี นออนไลนข์ องนกั เรียนระดับประถมศึกษา

โดยใช้ 5 Steps GOCQF

เรียนออนไลน์ สิง่ ที่จำเปน็ แต่มีข้อจำกัด

การระบาดของโควิด-19 ระลอกน้ี นบั ว่ารนุ แรงกวา่ ทผ่ี ่านมา และคาดวา่ นา่ จะใช้ระยะเวลานานกว่าที่
สถานการณจ์ ะคลี่คลายลง ทำใหก้ ารกลับมาเรียนทีโ่ รงเรยี นจงึ ยงั มคี วามไม่แน่นอนสูง การเรยี นออนไลน์ จึง
เป็นชอ่ งทางเลือกที่จำเป็นในภาวะเชน่ น้ไี ปอีกระยะหนง่ึ จนกวา่ สถานการณ์จะปลอดภัยสำหรบั เด็กนกั เรียนท่ี
จะกลับไปโรงเรยี นอีกครงั้ จากผลสำรวจความพรอ้ มการเรียนออนไลน์ โดยศูนยว์ ิจัยกสกิ รไทย สะท้อนวา่
ผ้ปู กครองส่วนใหญย่ ังพบอุปสรรคและข้อจำกัดในการเรียนออนไลน์ของบตุ รหลาน (79.1%) โดยกลมุ่
ผู้ปกครองท่ีเผชญิ ปัญหาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่มี รี ายไดน้ ้อย ผปู้ กครองตอ้ งออกไปทำงานทุกวนั และกลมุ่ ท่ีมีบตุ ร
หลานมากกวา่ 1 คน อย่ใู นชว่ งวัยเรียนชน้ั ประถมและมธั ยมต้น ขณะที่ผูป้ กครอง 20.9% ไมม่ ีอุปสรรคหรอื
ปัญหาในการเรยี นออนไลน์ของบุตรหลาน

อุปกรณไ์ ม่พร้อม ปัญหาหลกั ของผู้มรี ายไดน้ อ้ ย

อุปสรรคสำคญั ในการเรียนออนไลน์ คือ ความไม่พร้อมในอุปกรณก์ ารเรยี น โดยผูป้ กครองผู้มรี ายได้
น้อยจะเผชิญกับข้อจำกดั ทีส่ งู กว่าเมื่อบุตรหลานต้องเรยี นออนไลนก์ ารเรียนทางออนไลน์สามารถช่วยใหเ้ ข้าถึง
ความรู้ไดต้ ลอดเวลา ลดชอ่ งวา่ งการเข้าถึงการศึกษาหาความรู้ แต่ในอีกมุมหน่ึง ความสามารถในการเข้าถงึ
การเรียนร้อู อนไลน์ในประเทศไทยกย็ งั มีขอ้ จำกัดสงู โดยเฉพาะเมือ่ ต้องปรับมาเรยี นออนไลน์แบบเตม็ รูปแบบ
ความไม่พร้อมในอปุ กรณ์การเรยี นออนไลนอ์ ยา่ งคอมพิวเตอร/์ แท็บเล็ต และอินเทอร์เน็ต (คิดเป็น 59.8%) ซง่ึ
ผลสำรวจสะทอ้ นว่านกั เรยี นส่วนใหญ่เรียนออนไลน์ผ่านโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีสมารท์ โฟน (คิดเปน็ 50.9%) ซง่ึ
การเรียนออนไลนผ์ า่ นโทรศัพท์เคลื่อนทส่ี มาร์ทโฟนมขี ้อจำกดั อาทิ ขนาดหนา้ จอท่เี ล็ก ข้อจำกดั ของโทรศัพท์
ในการลงแอปพลเิ คชัน่ เพื่อการทำการบ้านสง่ ออนไลน์ และการเรยี นเป็นระยะเวลานานจะส่งผลต่อสุขภาพของ
นกั เรยี น นอกจากน้ี ผ้ปู กครองท่มี ีบตุ รหลานในวัยเรยี นมากกว่า 1 คน จะต้องแบง่ ปนั การใชอ้ ปุ กรณ์ในการ
เรยี น และค่าใช้จา่ ยในการซ้ืออุปกรณ์เพ่ือการเรยี นออนไลน์ รวมถงึ ยงั ตอ้ งมภี าระรายจา่ ยค่าอนิ เทอร์เนต็ ที่
เพ่มิ ขึน้ (จากข้อมลู เบื้องตน้ พบว่า คนไทยที่ใชโ้ ทรศพั ท์เคล่ือนทส่ี ่วนใหญ่ยงั ใชร้ ะบบเติมเงนิ ขณะท่กี ารใช้
อินเทอร์เนต็ ความเรว็ สงู มเี พียง 9-10 ล้านคน) และผลสำรวจยังสะทอ้ นว่า กลมุ่ ผปู้ กครองผมู้ ีรายได้นอ้ ยจะ
เผชิญกับขอ้ จำกดั ที่สูงกว่าเมื่อบุตรหลานต้องเรยี นออนไลน์

เวลาของผู้ปกครอง อีกตัวแปรสำคัญ

ผ้ปู กครองเผชิญปัญหาในการจัดสรรเวลาระหวา่ งการทำงานและการดูแลบุตรหลานระหวา่ งเรยี น
ออนไลน์ (คดิ เปน็ 52.5%) ด้วยการเรียนออนไลน์นักเรยี นจะต้องการเวลาจากผูป้ กครองมากกวา่ ปกติ
โดยเฉพาะผู้ปกครองทตี่ ้องออกไปทำงานทุกวนั ไม่สามารถทำงานทบ่ี า้ นได้ ซึ่งผู้ปกครองต้องใชเ้ วลาในการสอน
เพิ่มเติมเม่ือบตุ รหลานไม่เข้าใจบทเรยี น และการแก้ไขปัญหาเมอื่ อุปกรณ์การเรยี นขัดข้อง เปน็ ตน้

นกั เรยี นเองก็ไมพ่ รอ้ มเช่นกนั

ความไม่พร้อมของผ้เู รยี น (คิดเป็น 44.9%) การเรียนออนไลน์เดก็ นักเรยี นจะตอ้ งมีวนิ ยั ในตนเองสงู
ซึ่งปัญหาที่ผู้ปกครองพบส่วนใหญเ่ ดก็ นักเรียนจะขาดสมาธใิ นการเรยี น โดยเฉพาะในกลมุ่ เด็กเลก็ เน่ืองจาก
หลายสาเหตุ อาทิ สภาพแวดล้อมท่ีอยอู่ าศยั ไม่เหมาะกับการเรียนออนไลน์ นักเรียนจะเปดิ เว็บไซตอ์ ่นื ๆ ทไ่ี ม่
เกี่ยวกบั การเรียนในระหว่างเรียน ความล้าจากการทต่ี อ้ งเรียนผา่ นอนิ เทอร์เน็ตนานๆ และเมื่อมีปญั หาระหวา่ ง
เรยี นไม่สามารถปรึกษาได้ทันทสี ่งผลตอ่ การเรียน เป็นต้น

รปู แบบการสอนก็ไม่พร้อมด้วย

ความไม่พร้อมของรปู แบบการสอน (คดิ เป็น 38.2%) เหตกุ ารณไ์ ม่คาดคิดเม่ือการระบาดของโควดิ -19
เป็นระยะเวลาทย่ี าวนาน ทำใหส้ ถานศึกษาหลายแห่งไมไ่ ด้เตรียมความพร้อมและออกแบบการเรยี นการสอน
ในการรองรับรปู แบบการเรยี นออนไลนแ์ บบเต็มรูปแบบ เชน่ อุปกรณ์คอมพวิ เตอรท์ ใี่ ช้ในการสอน ข้อจำกดั
ของบุคลากรในการใช้เทคโนโลยแี พลตฟอร์มการประชุมออนไลนห์ รอื แอปพลิเคชัน่ เฉพาะสำหรบั การเรยี นท่ี
ชว่ ยให้การสอนออนไลน์เสมือนจรงิ ความพร้อมของเทคโนโลยขี องโรงเรียนในแตล่ ะพ้ืนที่ยังมชี อ่ งวา่ งสงู เช่น
โรงเรียนในเมอื งและในพืน้ ทช่ี นบท เป็นต้น ท่มี า : https://brandinside.asia/e-learning-challenge-in-
covid/

เมื่อการ "เรยี นออนไลน์" ของเด็กไทย อาจไม่ได้ประสทิ ธิภาพอย่างใจหวงั แถมยังส่งผลเสยี ต่อสุขภาพ
รา่ งกายและสุขภาพจติ ใจของเด็กมากกวา่ ท่ีคิด โดยมีผลสำรวจจากสถาบนั วจิ ัยประชากรและสงั คม ม.มหิดล
ออกมายืนยันวา่ นอกจาก "เด็กยคุ โควดิ " จะตอ้ งพบเจอกับทง้ั ปัญหาเรยี นไม่ทนั การบา้ นเยอะจนทำไมท่ นั
และปัญหาการสอบแลว้ อีกหน่ึงปัญหาทีน่ ่ากังวลเชน่ กันกค็ ือ ปัญหาด้านสขุ ภาพ

กรงุ เทพธุรกจิ ออนไลน์ ชวนไปสอ่ งเสยี งสะท้อนของเดก็ ยคุ โควดิ ว่าต้องเผชญิ กบั ปญั หาสุขภาพดา้ น
ไหนบา้ ง? แล้วผู้ใหญซ่ ึง่ อยู่ในแวดวงการศกึ ษาจะเสนอแนวทางแกป้ ัญหาเรอ่ื งนอ้ี ยา่ งไร?

เดก็ ไทยยุคโควดิ มีอาการเนือยน่ิง 79.0% และเครยี ดสงู 74.9%

มีผลสำรวจของศนู ย์พัฒนาองคค์ วามรดู้ ้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย สถาบนั วิจยั ประชากรและ
สังคม มหาวทิ ยาลยั มหิดล ระบุวา่ ผลกระทบสขุ ภาพทเี่ กดิ ข้นึ จากการ "เรยี นออนไลน์" ของเด็ก เปน็ ประเด็นที่
ยังไมถ่ ูกพูดถงึ มากนัก และเมื่อทำการสำรวจเพิ่มเติม ก็ได้ทราบถงึ เสียงสะท้อนจากเด็กๆ ที่เรยี นจากที่บ้าน ว่า
พวกเขาต้องปรับเวลาชวี ติ ใหม่หมด ตงั้ แตต่ ืน่ นอนยันเข้านอน ทมี่ า :
https://www.bangkokbiznews.com/social/957001

(ผศ.ดร.ปยิ วฒั น์ เกตุวงศา) หวั หนา้ ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ฯ ช้ีใหเ้ ห็นผลสำรวจในชว่ งเดอื นที่ผ่านมา พบว่า 7
อนั ดับปัญหาทางสุขภาพในชว่ งเรียนอยู่ทบ่ี า้ นของเด็กๆ ได้แก่

1. ปวดตา ปวดเมื่อย ปวดหลงั เพราะนั่งนาน เนอื ยนงิ่ 79.0%
2. เครียดและกังวลใจ โดยเฉพาะเดก็ ท่เี ตรียมขึ้น ม.1 ม.4 หรือเข้ามหาวิทยาลยั 74.9%
3. การบ้านเพม่ิ ขนึ้ ทำให้พักผ่อนและนอนน้อยลง 71.6%
4. เบือ่ หน่ายไม่อยากเรยี น 68.3%
5. มีกิจกรรมทางด้านรา่ งกาย ออกกำลังกายนอ้ ยลง 58.0%
6. สภาพแวดล้อมไม่เอ้ือ ขาดสมาธิ 57.2%
7. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา 56.0%
(ดร.สุริยะใส กตะศลิ า) คณบดวี ทิ ยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวทิ ยาลยั รังสติ กลา่ ววา่ ในฐานะนักวิชาการท่ีสอน
หนังสอื ก็หนไี มพ่ น้ ถูก disrupt ไปกบั เขาดว้ ย วนั นีจ้ งึ ขอมาแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารสอนผา่ นออนไลนท์ ่ีมี
ทัง้ ข้อดแี ละขอ้ เสยี
ข้อดี
1. นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นเกือบ 100% ทกุ คาบ เพราะการเรยี นในช้นั เรยี นปกติมักจะพบปัญหานักศึกษาขาด
เรียนหรอื โดดเรยี น สารพดั ข้ออ้างจรงิ เทจ็ บ้างก็มี แต่พอเรียนออนไลน์ แม้ป่วยไมห่ นกั หนาสาหสั ก็ยงั สามารถ
เปดิ อินเตอรเ์ น็ตโปรแกรมเข้าเรยี นได้
2. เข้าเรยี นตรงเวลามากขนึ้ เพราะไม่ต้องเดนิ ทาง ไม่มคี วามเสี่ยงเร่ืองปญั หาจราจร พอถึงเวลาใครท่ยี ังไม่
log in เขา้ มากโ็ ทรถามไถ่ตามตัวได้วา่ นักศึกษามีปัญหาอะไร
3. เรยี นไปดว้ ย ชว่ ยงานทบี่ ้านไปด้วยก็ได้ หรอื ดแู ลผู้ปกครองพ่อแม่ ทอี่ าจจะปว่ ยอยทู่ ่ีบ้านด้วย
4. ลดภาระค่าใช้จา่ ย อนั น้ีแน่นอนครบั ไม่ต้องมาเชา่ หอพัก ไม่ต้องเดนิ ทาง และไม่ต้องมากินขา้ วนอกบา้ น
หรืออาจโดนเพอื่ นชวนไปเทีย่ วกนั ตอ่ ก็ได้
5. กลับมาเรยี นซ้ำ เรียนชดเชยได้ เพราะทกุ โปรแกรมออนไลนส์ ามารถบนั ทึกระหว่างเรยี นไวไ้ ด้ เรยี นแลว้
ไม่เขา้ ใจสามารถกดย้อนกลับมาดไู ด้ คนทข่ี าดเรียนก็มาเรยี นยอ้ นหลงั ได้

6. อย่ทู ไ่ี หนกเ็ รียนได้ ขอใหม้ ีอินเทอรเ์ นต ช่วงไวรัส Covid-19 แพร่ระบาดนักศึกษาบางคนไปเปน็
อาสาสมคั รช่วยชุมชนในจังหวัดตา่ งๆ ก็ทำหนา้ ท่เี ปน็ นักวจิ ัย เก็บข้อมลู มาเสนอใหเ้ พ่ือนท่ีอยูจ่ ังหวดั อ่นื ได้เห็น
ไดฟ้ ังสดๆกนั ไปเลยกม็ ี

7. กล้าและม่ันใจได้การแสดงความคดิ เหน็ มากขึ้น เพราะไมต่ ้องแสดงตัวตน อากัปกิริยาหนา้ ชน้ั เรียนหรือ
ในห้องเรียน ไมจ่ ำเปน็ ต้องเปิดเผยตัวตนท้งั หมด

8. เชญิ แขกหรือวทิ ยากรได้งา่ ยและมีคณุ ภาพข้ึน เพราะเมอื่ เป็นมนุษย์โชเชียล กต็ อบรับคำเชญิ งา่ ยแค่ log
in เขา้ โปรแกรม ก็ทำหน้าท่ีเปน็ วทิ ยากรได้เลย ไม่ต้องจา่ ยค่าวทิ ยากรหรือเสียเวลาเดนิ ทางมาห้องเรียนดว้ ยซำ้

9. การสนับสนนุ ระหว่างเรียนคล่องตัว ยดื หยุน่ และมีประสิทธิภาพสงู ข้ึนมาก เช่น การเปดิ slide
powerpoint, youtube ฯลฯ ประกอบการบรรยายทำได้ตลอดเวลา

10. บางวิชาผู้ปกครองขอนั่งเรยี น นง่ั ฟงั ไปดว้ ย เป็น home school อกี รปู แบบหน่ึงกว็ ่าได้ อนั นผี้ มเจอ
มาแลว้ นกั ศึกษาบางคนอาจารยค์ รับผมขออนญุ าตใหค้ ุณพ่อคณุ แมน่ ่ังฟงั ด้วยนะครับ แคฟังไม่พอครับ
ผปู้ กครองขอแลกเปลยี่ นดว้ ยก็สนกุ และตน่ื เต้นไปอกี แบบครับ
ข้อเสยี

1. ต้องเขม้ งวด เชน่ ต้องเปิดกล้องสดๆ ตลอดเวลา เพราะอาจมบี ้างทน่ี ักศึกษาปิดกล้อง โชวร์ ูปน่งิ แล้วหนี
ไปทำอย่างอน่ื หรอื ไมต่ ้งั ใจเรียน

2. การพัฒนาความสัมพันธ์ แลกเปล่ียนประสบการณ์โดยตรง กับอาจารย์และเพ่ือนๆ นักศึกษาทำไดย้ าก
กว่า

3. อาจต้องจ่ายค่าซอฟต์แวร์ที่อัปเดตเพอื่ เขา้ ถงึ โปรแกรมออนไลน์หรือจ่ายเงนิ เพ่ิมเพอ่ื อัปเกรดเป็น
อินเทอรเ์ น็ตความเร็วสงู หรือตอ้ งพัฒนาทกั ษะในการใช้แต่ละโปรแกรมตลอดเวลา (technology skills)

4. ตรวจสอบความสงสยั และความเข้าใจของนักศึกษาอาจทำได้ยากกว่าเพราะในห้องเรยี นสามารถกุม
สภาพได้ละเอียดกว่าว่าใครทำหนา้ มึนงง สงสยั หรอื อยากถามแต่ไม่กลา้ ถาม

5. การสรา้ งแรงจูงใจ (motivation) ในหอ้ งเรยี นปกติทำได้ดีกว่า กระตุ้นได้ดีกว่า เพราะเป็นการ
เผชญิ หน้ากันทำใหเ้ หน็ สภาพความพร้อมหรือไม่พร้อมของนักศึกษาแตล่ ะคนไดล้ ะเอียดกวา่

เอาเข้าจรงิ ขอ้ ดีและข้อเสียอาจจะมีมากกว่าท่ีกลา่ วมา ซง่ึ มาจากประสบการณ์โดยตรงเฉพาะตัว อย่างไรก็
ตามที่สุดแล้วเราไมค่ วรเลือกแบบใดแบบหนง่ึ ระหวา่ งการเรียน (online learning) กับการเรียนแบบปกติ
(usual instruction) แม้แตน่ ักศกึ ษาจำนวนมากทีส่ อบถามกย็ ังอยากมาเรียนที่มหาวทิ ยาลยั เพราะได้พบปะ
เพื่อน อาจารย์แบบ face to face ท่มี า : https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online-detail/Article-
online%20learning

การเรียนการสอนออนไลนเ์ ป็นแนวทางแก้ไขปัญหาวธิ ีการหนง่ึ ในชว่ งการระบาดของไวรัสโคโรนา่
2019 (COVID-19) เป็นการนำแนวคดิ วธิ กี าร กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหมๆ่ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรยี นรอู้ ย่างมปี ระสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายของหลกั สตู ร ซง่ึ จะชว่ ยให้
การศึกษาและการเรยี น การสอนมีประสทิ ธภิ าพดียงิ่ ขน้ึ ผเู้ รยี นสามารถเกิดการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ มี
ประสทิ ธผิ ลสูงกว่าเดิม เกดิ แรงจงู ใจ ในการเรยี นด้วยนวัตกรรมเหล่านัน้ และประหยดั เวลาในการเรียนได้อีก
ด้วย

กระบวนการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF โรงเรียนบ้านสนั ป่าสกั สพป.เชียงใหม่ เขต 4
ประกอบไปดว้ ย 5 ข้นั ตอน ดังน้ี

Step 1 G ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรียนทกั ทาย (Greeting)

เปน็ ขัน้ ตอนที่ครูจะทกั ทายนกั เรยี นผา่ น Application อาทิ Line หรือ Facebook เพื่อให้นกั เรียน
เตรียมความพร้อมในการเรยี นรอู้ อนไลน์ ใหน้ ักเรยี นทยอยเขา้ ช้นั เรยี น

Step 2 O ข้ันสอนออนไลนใ์ หค้ วามรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online
Assignment)

ข้นั ตอนนเี้ ป็นขัน้ ตอนสำคัญท่ีนกั เรยี นจะได้รบั ความรโู้ ดยครอู าจจะมอบหมายภาระงานหรอื สอนให้
ความรูแ้ กน่ ักเรยี นผา่ น Application ใดๆ ตามทคี่ ุณครแู ละนักเรยี นมคี วามพร้อม อาทิ Google classroom
คุณครูอาจจะเตรยี มคลิปการสอนใหน้ ักเรยี นดูค่ะ

Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรยี นรู้ (Checking)

เปน็ ข้ันตอนท่จี ะตรวจสอบความรู้ว่านักเรียนเขา้ ใจบทเรียนหรือไม่ ซ่ึงครอู าจจะหมายงานหรือข้อสอบ
ใหน้ กั เรยี นทำ จากนัน้ ครตู รวจสอบงานนักเรียนแลว้ ให้คะแนน

Step 4 Q ขัน้ ตอบข้อซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A Meeting)

ในข้นั ตอนน้ีครจู ะเชญิ นักเรียนเขา้ มาประชมุ ออนไลน์ผ่าน Application อาทิ google meet สำหรับ
ให้ครูและนักเรียนประชมุ ออนไลนร์ ่วมกนั สอบถามปัญหาของนักเรียนและตอบขอ้ สงสัยในเน้อื หาการเรยี นรู้
เพือ่ นำไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในครง้ั ต่อไป

Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up)

ข้นั นเ้ี ปน็ การติดตามประเมินผลเพื่อใหส้ ามารถนำผลการจัดการเรยี นรู้ไปปรบั ปรุงและติดตามนักเรียน
ท่ยี ังไม่เขา้ ใจบทเรียน โดยครูตรวจสอบรายช่ือนักเรยี นท่ยี ังไมไ่ ดท้ ำงานส่งผา่ น Application google
classroom แล้วติดตามนกั เรียน อาทิ ผา่ น Application Line ซึ่งครูอาจจะเสรมิ แรงโดยการกล่าวชมเชย

นักเรยี นทที่ ำภารกิจทไ่ี ด้รับมอบหมายครบ และสอบถามปัญหาของนักเรียนท่ีทำมปี ัญหาในการทำกจิ กรรม
พรอ้ มทงั้ ชว่ ยเหลือแก้ไขปัญหาในการทำกจิ กรรมให้นักเรยี น ทมี่ า : https://inskru.com/idea/-
MQ2Yn4XrqsjDF9SlslH

เปดิ ประตูการศกึ ษา เรียนรู้-สวู้ กิ ฤติ (โควิด-19)

ความเปล่ยี นแปลง สู่โลกอนาคต

จากวิกฤติ โควดิ -19 เป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงของการศึกษา ทวา่ เราจะตัง้ รับได้
อย่างไร แนวโนม้ ของการศึกษาไทยในอนาคตจะเปล่ยี นไปอย่างไรบา้ ง กับความท้าทายของโลก (การศึกษา) ท่ี
เปลีย่ นไปอยา่ งรวดเรว็ จากผลกระทบจาการระบาดครงั้ ใหญน่ ้ี และสง่ ผลกระทบการศกึ ษาในระยะยาวอย่างไร
เรารวบรวมประเดน็ ที่น่าสนใจจากหลาย ๆ แหล่งไว้ในบทความนี้

คร-ู นักเรียน ปรบั ตัวสโู่ หมด “ออนไลน์”

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารยป์ ระจำคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่งึ ใน
อาจารย์มหาวทิ ยาลยั กลุ่มแรก ๆ ที่เปลยี่ นมาใช้วิธกี ารสอนนักศึกษาออนไลน์ตง้ั แต่กอ่ นท่ีรัฐบาลจะออก
ประกาศปิดสถานศกึ ษา อ.อรรถพล กลา่ ววา่ ไมใ่ ช่ทุกวชิ าหรือทกุ คณะจะเปลย่ี นมาสอนออนไลนไ์ ด้ท้งั หมด
เพราะต้องคำนงึ ถึงความเหมาะสม และประสทิ ธิภาพของการสอนทีส่ ำคญั ทสี่ ดุ คือหอ้ งเรยี นออนไลนย์ งั ทดแทน
"ห้องเรียนออฟไลน์" หรอื หอ้ งเรยี นจรงิ ๆ ไมไ่ ด้ คอื "ปฏสิ มั พันธ์”

วิกฤติ คือ โอกาส การเรียนออนไลน์นนั้ มีข้อจำกัดเรอ่ื งความพร้อมสว่ นบุคคลมากมาย โดยเฉพาะใน
โรงเรียนทีอ่ ยตู่ ่างจงั หวดั ท่ีคณุ ครกู ็ยงั ไม่มีความคุ้นชินกับโปรแกรมต่าง ๆ นักเรยี นก็ไมม่ ีอุปกรณ์ รวมถงึ
สญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตที่ไม่ดีนัก หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต้องวางแผนอย่างจริงจังวา่ จะสนบั สนนุ คุณครนู บั แสนคน
อย่างไร ต้องประเมินความพร้อมอย่างรอบด้าน เป้าหมายท่ีแท้จรงิ ของการศึกษา ก็คอื การพัฒนาผเู้ รยี น การ
แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ การถกเถียง การมปี ฏิสมั พันธ์กนั ถึงแมว้ ่าการเรยี นออนไลน์จะมขี อ้ จำกดั และ
อปุ สรรคบา้ ง แต่ อ.อรรถพลบอกวา่ “วกิ ฤตใิ นครั้งนี้ทำให้สถาบันการศึกษา ทง้ั ผู้เรียนผู้สอนได้ปรับตวั ใหช้ นิ กับ
การเรยี นออนไลน์ หลายวชิ าเริม่ เห็นทศิ ทางความเปน็ ไปได้ในการเรียนออนไลน์ ซ่ึงเปน็ เรื่องทีม่ หาวทิ ยาลยั
พยายามสนับสนนุ มาโดยตลอด และนอ่ี าจเป็นโอกาสในการตอ่ ยอดการศึกษาในอนาคต”

(ข้อมูลอา้ งอิงจาก BBC Thai : เม่ือการเรยี นการสอนต้องดำเนนิ ตอ่ ไป
https://www.bbc.com/thai/thailand-51975231 )

คาดการณ์ การศึกษาในอนาคต

1. การเรียนออนไลน์ผา่ นเทคโนโลยที ี่เปน็ จรงิ ได้ในวนั น้ี ก็เพราะเทคโนโลยที ่ีถึงพร้อมโดยเฉพาะการ
พฒั นาเทคโนโลยีทำให้การศึกษา เกิดนวัตกรรมการเรียนรู้แบบใหม่ที่ไมเ่ คยคาดคิด

2. เกดิ การร่วมมือกัน ระหว่าง ภาครฐั และเอกชน พัฒนาชอ่ งทางการเรียนรู้แบบใหม่ สรา้ ง
แพลตฟอร์มการเรียนรู้ชัว่ คราวเพ่ือแก้ปญั หาในชว่ งเวลาวิกฤติแบบน้ี เชน่ กระทรวงศกึ ษาธิการของจีนจัดตง้ั
รวบรวมหนว่ ยงานหลายองค์กรมารว่ มกันทำแพลตฟอรม์ การเรียนท้ังแบบออนไลนแ์ ละถ่ายทอดสดผ่านทาง
โทรทศั น์ รวมทั้งพัฒนาระบบพืน้ ฐานที่เอื้อกับการเรยี นรู้อน่ื ๆ เสริมเขา้ ไปด้วย

3. ความเหล่อื มล้ำทีเ่ กดิ จากโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศท่ไี ม่เท่าเทยี ม อาจกวา้ งขึน้ การเรียน
ออนไลน์เป็นหนง่ึ ในวธิ แี กป้ ัญหาอยา่ งเรว็ และทำได้จริงมากที่สดุ แตก่ ารทำเชน่ น้ไี ด้ ประเทศนนั้ ต้องมีโครงการ
การสอื่ สารและอนิ เทอร์เนต็ ท่ีดีและราคาถูก ทุกคนเขา้ ถึงได้ แตต่ ้องยอมรบั ว่าในประเทศที่ยงั ไม่พฒั นา และ
ประเทศกำลงั พัฒนา ทย่ี งั ไมไ่ ดพ้ ัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานตอบรับเทคโนโลยเี หลา่ นี้ การเข้ามาของการเรยี น
ออนไลน์ ยิ่งทำใหเ้ ด็กยากจนและผทู้ เี่ ข้าไม่ถงึ เทคโนโลยี ถกู ละท้งิ และมองขา้ มไป

ทง้ั น้ีการคาดการณ์ต่าง ๆ เพียงเพอ่ื ใหอ้ ุดรอยรวั่ กบั การเปลีย่ นแปลงการศึกษา การศึกษาจะคงอยู่ได้
และมีประสิทธภิ าพ ก็ข้ึนอยู่กับการปรับตวั ทักษะ รวมถงึ การคิดคน้ พฒั นาการเรียนรู้ส่งิ ใหม่ โควิด-19 อาจจะ
ไมโ่ หดรา้ ยต่อการศึกษาเสมอไป แต่เปน็ การเตือนให้ เราเกิดการตง้ั รบั ต่นื ตวั สร้างสรรค์นวัตกรรม เทคโนโลยี
ยดื หยุน่ กบั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม หรือโรคระบาดท่จี ะเกิดข้ึน ให้เกดิ การสมดุล ในอนาคตสถานการณจ์ ะเปน็
อยา่ งไรตอ่ ไปเราไดแ้ ตค่ าดการณ์ แตก่ ารเรียนรู้ผ่านออนไลน์ ไมใ่ ชเ่ ร่อื งไกลตวั เราอกี ต่อไป ไม่วา่ การศึกษาจะ
เปน็ รปู แบบใด สิ่งที่เราทกุ คน และทกุ ประเทศ หนีไมพ่ ้นเลยก็คอื “การเปลี่ยนแปลง” เราทกุ คนต้องไม่หยุดที่
จะเรยี นร้สู ิ่งใหม่ ๆ กลา้ ท่ีจะเริ่มต้น และยอมรับในการเปลี่ยนแปลง

( ขอบคุณข้อมูล The potential บทความโรงเรียนอาจไม่เหมอื นเดิม
https://thepotential.org/2020/03/27/coronavirus-pandemic-could-reshape-education/ )

การเปลย่ี นแปลง และความท้าทายคร้ังใหญท่ ีส่ ุด

บทความจากสภาเศรษฐกจิ โลก

ที่ผ่านมา นกั การศกึ ษาทัว่ โลกไดพ้ ดู ถึงการสะท้อนวิกฤติครงั้ นี้ ว่าจะเปลีย่ นแปลงเรื่องการศกึ ษาใหม่
สำหรับเดก็ ในอนาคต เราควรสอนอะไร และเตรียมนักเรียนใหพ้ รอ้ มกบั สถานการณแ์ บบไหน จากสถานการณ์
โรคระบาด “โคโรน่าไวรัส (โควิด-19)” ทเ่ี ข้ามาเปน็ ตวั แปรสำคัญ ทำใหน้ กั เรียนต้องปรบั ไปเรยี นท่บี ้าน ระบบ
การศกึ ษาทัว่ โลกต้องปรบั ตัวและคิดนวตั กรรม เปลีย่ นการศึกษาจาก “ออฟไลน์” มาเป็น “ออนไลน”์ อย่าง

เตม็ รปู แบบ เดก็ ได้เรียนรพู้ ลังแห่งความร่วมมือกันเพื่อแก้ปญั หาความท้าทายคร้งั ใหญ่ท่ีสุดของโลก สภา
เศรษฐกจิ โลกวิเคราะหว์ ่า นีเ่ ปน็ 4 บทเรียนท่เี ราต้องเตรยี มรุ่นต่อไป

1. สอนให้รุน่ ต่อไปอยูใ่ นโลกท่ีเชอื่ มต่อกัน

การระบาดของไวรัสสายพันธ์ุใหม่ (โควิด 19) เปลี่ยนแปลงโลก ทำใหเ้ ห็นภาพวา่ โลกเราเช่อื มต่อกัน
ขนาดไหน ไมม่ ีสิง่ ท่เี รยี กว่า พฤติกรรม “โดดเดี่ยว” อกี ต่อไปแลว้ คนทีป่ ระสบความสำเร็จในทศวรรษต่อไป
ต้องเป็นคนท่ีเขา้ ใจความสัมพันธ์กันของโลก และสามารถหาเสน้ ทางขา้ มขีดจำกดั ใชค้ วามแตกตา่ งใหเ้ ปน็
ประโยชน์ และทำงานด้วยวิธีทใี่ ช้ความรว่ มมือจากโลกท่ีเชื่อมต่อกัน

2. คำจัดกดั ความใหมข่ อง “นักการศึกษา”

ความคิดท่วี า่ นักการศึกษาเป็นผกู้ ำความรู้ท่จี ะสรา้ งสติปญั ญาของนักเรียน ไมใ่ ชค่ วามคิดท่ีตรงกบั
การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 อีกตอ่ ไป เม่ือนกั เรียนสามารถเสาะหาความรู้ หรอื ทักษะได้ทางออนไลน์ หรือทาง
โทรศพั ท์ เราต้องปรับเปลยี่ นบทบาทของนักการศึกษาในห้องเรยี นและห้องบรรยาย น่ีอาจหมายถึงบทบาท
ของนักการศกึ ษาต้องเดนิ หนา้ เขาสกู่ ารเป็นแรงสนบั สนุนให้คนรุ่นใหม่พฒั นาตวั เองใหเ้ ป็นส่วนหนงึ่ ท่มี ีคุณค่า
ตอ่ สังคม

3. สอนทักษะชีวติ ท่ีจำเป็นในอนาคต

ในสภาพแวดล้อมโลกท่เี ปล่ยี นแปลงไป คนร่นุ ใหม่ต้องมคี วามยดื หยุ่นและสามารถปรับเปล่ยี นตวั เอง
ได้ ซึ่งเป็นทักษะท่จี ำเปน็ ท่จี ะหาเส้นทางฝ่าฟนั วิกฤตคิ ร้ังน้ี มองไปในอนาคต หนง่ึ ในทกั ษะท่ีสำคญั ที่สดุ ที่
นายจา้ งจะมองหา คือความคิดสรา้ งสรรค์ ความสามารถในการส่ือสาร และความสามารถในการทำงานร่วมกับ
ผอู้ ื่น ควบคูไ่ ปกบั ความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกผอู้ ่นื และมวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ คนที่จะสามารถทำงาน
ร่วมกับคนทแ่ี ตกต่าง

4. ปลดล็อกเทคโนโลยีท่จี ะช่วยส่งเสริมการศึกษา

การระบาดของโควดิ -19 เปลี่ยนแปลงโลก ส่งผลใหส้ ถาบนั การศึกษาทัว่ โลกต้องปรับตัวใชเ้ ครื่องมือ
เทคโนโลยีอย่างรวดเรว็ และสร้างสรรคค์ อนเทนต์เพือ่ การเรียนทางไกลให้กบั นักเรยี นในทุกระดับช้นั นกั
การศกึ ษาทว่ั โลกกำลังเผชิญกับความเป็นไปไดท้ จี่ ะไดท้ ำอะไรท่ีแตกตา่ ง และแตกต่างดว้ ยความยดื หยนุ่ ท่จี ะ
เกดิ ประโยชน์ในการเขา้ ถึงการศกึ ษาของเดก็ ทว่ั โลก (ขอบคุณขอ้ มลู บทความจากสภาเศรษฐกจิ โลก

ทม่ี า www.springnews https://www.springnews.co.th/alive/edutainment-alive/639508 )

บรรณานกุ รม

Aksorn. 2563. เมือ่ เกดิ ความเปล่ยี นแปลงของโลกการศึกษาจากวิกฤติ โควิด-19 แล้วอนาคตทางการศึกษา
จะเป็นอย่างไรต่อไป [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า https://www.aksorn.com/ (1 มีนาคม 2565)

BrandInside admin. 2564. อปุ กรณ์ไม่พร้อม เวลาไมม่ ี รูปแบบไม่ได้ อุปสรรคเรียนออนไลน์ ยุคโควดิ ระบาด
ทตี่ ้องเรง่ แก้ไข [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า https://brandinside.asia/ (1 มีนาคม 2565)

Preeyada Tapingkae. 2564. กระบวนการจัดการเรยี นรูอ้ อนไลน์ 5 steps GOCQF
[ระบบออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า https://inskru.com/idea/-MQ2Yn4XrqsjDF9SlslH
(1 มีนาคม 2565)

Starfish Academy. 2564.การศกึ ษาออนไลน์ เรยี นรู้-สวู้ กิ ฤต (โควดิ -19) [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า
https://www.starfishlabz.com/ (1 มนี าคม 2565)

กรงุ เทพธรุ กจิ ออนไลน์. 2564. เรียนออนไลน’์ กบั 7 ปัญหาสุขภาพที่เด็กไทยตอ้ งเจอ แกย้ ังไงดี?
[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า https://www.bangkokbiznews.com/ (1 มีนาคม 2565)

ดร.สรุ ยิ ะใส กตะศลิ า. 2563. เปดิ มุมมอง "ข้อดี-ข้อเสีย" เรยี นออนไลน์ให้เทา่ ทนั การศกึ ษา
ยุค NEW NORMAL [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า https://www2.rsu.ac.th/ (1 มีนาคม 2565)


Click to View FlipBook Version