The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาภาษาไทย ป.6 เทอม 1-63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by จิรพงศ์ ไมตรีจิตร, 2020-06-15 09:12:54

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาภาษาไทย ป.6 เทอม 1-63

โครงสร้างและแผนการสอน วิชาภาษาไทย ป.6 เทอม 1-63

(คาบที่ 4-5) สาระสาคญั
คาราชาศพั ทแ์ ละ ราชาศัพท์ เป็นระเบยี บของภาษาทต่ี ้องใชใ้ หถ้ กู ต้องเหมาะสมกับระดบั ของบคุ คล เปน็ ถอ้ ยคาทบี่ ่ง
คาสภุ าพ
บอกว่าชาติไทยมีวัฒนธรรมทางภาษามาเกา่ แกช่ ้านาน คาราชาศพั ท์เปน็ คาพิเศษทต่ี อ้ งใช้ให้เหมาะสมกบั บุคคลใน
สังคมท่ีมีความลดหลน่ั ชั้นเชงิ การใช้คาราชาศัพทใ์ ห้ถกู ต้อง จึงเปน็ เครือ่ งแสดงความใสใ่ จในการอนุรักษ์มรดกและ
วัฒนธรรมทางภาษาให้อยู่คูช่ าตไิ ทยตลอดไป
ขนั้ ที่ 1ขั้นรวบรวมข้อมูล

1. นกั เรียนอา่ นแถลงการณส์ านักพระราชวัง แลว้ รว่ มสนทนาโยงเขา้ สูบ่ ทเรยี น โดยครใู ชค้ าถาม
ดังนี้
-เพราะเหตุใดจึงตอ้ งมเี ครื่องหมายวงเล็บแสดงความหมายของคาราชาศัพท์กากับไวใ้ น

แถลงการณ์
-เพราะเหตใุ ด จึงมีการใชร้ ะดับภาษาท่ีแตกตา่ งจากภาษาท่ีใชส้ ือ่ สารในชีวติ ประจาวนั

2. นักเรยี นรวมกลุ่ม ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รื่อง คาราชาศัพท์ ดังนี้
- คาราชาศพั ท์ท่ใี ช้สาหรบั พระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์
- คาราชาศพั ท์ทีใ่ ชส้ าหรบั พระสงฆ์
- คาราชาศัพท์ท่ใี ชส้ าหรับสภุ าพชน

ขน้ั ที่ 2ขัน้ คดิ วเิ คราะห์และสรุปความ
3.นกั เรยี นร่วมกันวเิ คราะห์เก่ียวกบั คาราชาศัพท์ แลว้ รว่ มสนทนาโดยครใู ชค้ าถามดงั นี้
- ทาไมเราตอ้ งเรยี นคาราชาศัพท์ /จาเปน็ หรือไม่ /อยา่ งไร
- ถา้ ไมท่ ราบคาราชาศัพท์เลยจะใช้ชีวติ ปรกตใิ นการศกึ ษาเลา่ เรยี น รับขา่ วสาร อ่าน

วรรณคดีไดห้ รือไม่
- นักเรยี นรจู้ ักแหลง่ ค้นควา้ หาความรู้เร่ือง คาราชาศัพท์ หรอื ไม่ ทใ่ี ด

4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มคดิ ประเมนิ เพื่อเพ่ิมคุณคา่ โดยครูใชค้ าถามดงั ต่อไปน้ี
- นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ไี ด้รับไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างไร

ขัน้ ที่ 3ขั้นปฏิบัติและสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบัติ
5. นกั เรยี นดูภาพพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ประทับนั่งสนทนากบั ราษฎร แล้วรว่ มสนทนาโดย
ครใู ชค้ าถามดังน้ี
- นกั เรยี นคดิ วา่ ราษฎรคนนจ้ี ะกราบบงั คมทลู ในหลวงของเขาด้วยถ้อยคา
อยา่ งไร
6. นักเรยี นร่วมกันสรุปเหตผุ ลท่ีใชค้ าราชาศัพทใ์ นการกราบบงั คมทลู
7. นักเรียนเข้ากลุ่มทากิจกรรม คาราชาศัพท์ โดยครชู บู ตั รคาและใหน้ ักเรียนบอกคาราชาศพั ท์
8.นกั เรยี นรว่ มกันสรุปเกยี่ วกับคาราชาศพั ท์ ดงั นี้
ราชาศัพท์ เป็นระเบียบของภาษาท่ตี อ้ งใชใ้ ห้ถกู ต้องเหมาะสมกับระดับ
ของบุคคล เปน็ ถ้อยคาทบ่ี ง่ บอกวา่ ชาติไทยมวี ัฒนธรรมทางภาษามาเกา่ แก่ช้านาน คาราชาศัพท์
เปน็ คาพิเศษท่ีตอ้ งใชใ้ หเ้ หมาะสมกับบุคคลในสังคมที่มคี วามลดหลัน่ ชัน้ เชิง การใช้คาราชาศพั ท์
ให้ถกู ต้อง จึงเป็นเครอ่ื งแสดงความใส่ใจในการอนรุ ักษ์มรดกและวฒั นธรรมทางภาษาให้อยคู่ ู่ชาติ
ไทยตลอดไป

9.นักเรยี นทาแบบฝึกหัดเรอ่ื งคาราชาศพั ท์
ขนั้ ท่ี 4ข้นั ส่ือสารและนาเสนอ
10.นักเรยี นนาเสนอคาศพั ท์ โดยครูใชไ้ มเ้ รียกเลขที่เรียกใหน้ ักเรียนยกตัวอยา่ งคาทีละคน เพ่ือนๆ

ชว่ ยกนั

ตรวจสอบความถกู ต้อง

ขัน้ ท่ี 5ขนั้ ประเมินเพ่อื เพิ่มคณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ
11.นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามดงั นี้
- นักเรยี นสามารถนาความรูเ้ กี่ยวกบั เร่ืองท่เี รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อย่างไร

6. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ : วธิ ีการ เคร่ืองมือ
การประเมิน -การตอบคาถาม -คาถาม
-ทาแบบฝกึ หัด -แบบฝึกหัด
ดา้ นความรู้ (K) -ทักษะการอา่ น -แบบประเมนิ การอ่าน
ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) -ทกั ษะการเขียน -แบบประเมนิ การเขียนประกาศ
-ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ -แบบฝึกหัด
ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) -คาถาม
-สงั เกตพฤตกิ รรมในการรว่ มกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม
การทางานกลมุ่ และการเขยี นคาขวัญ

7. สอื่ /อุปกรณ/์ แหลง่ การเรียนรู้ :

1.ตวั อยา่ งประกาศ 4. ไมเ้ รียกเลขที่

2. ตวั อย่างแถลงการณส์ านกั พระราชวัง 5.ใบความรู้ ใบงานหลักการใช้คาราชาศัพท์

3. หนังสอื ภาษาไทยช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 6. เฉลยใบงานหลักการใช้คาราชาศัพท์

8. กิจกรรมเสนอแนะ

............................................................................................................................. .........................................................................

............................................................................................................................. .........................................................................

......................................................... ............................................................................................................................. ................

.................................................................................................................. ....................................................................................

ลงช่ือ...........................................ครูผ้สู อน ลงชอ่ื ...........................................ฝา่ ยวิชาการ
( ........................................) ( ........................................)

ลงชือ่ ...........................................ผบู้ รหิ าร
( ........................................)

แบบประเมนิ การเขยี นประกาศท่ีไมเ่ ปน็ ทางการ

ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
321

1 การเขียนประกาศ
2 การเขียนสะกดคา
3 ความสวยงาม

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ

............../.................../................
เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ดี = 3
พอใช้ = 2
ปรบั ปรุง = 1

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8–9 ดี
5–7
ต่ากวา่ 5 พอใช้
ปรบั ปรงุ

ตัวอย่างประกาศ

ประกาศ

ขอให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม ช่วยกันเขยี นประกาศ
เพอ่ื ขอรับบรจิ าคสง่ิ ของ เคร่ืองใชท้ จี่ าเป็น

สาหรบั ผู้ประสบภยั น้าทว่ มในทุกภูมภิ าคของประเทศไทย
เปิดรับบริจาคท่ี

อาคารพลศกึ ษา โรงเรยี นอกั ษรเจรญิ วิทย์
เวลา 08.00 – 16.00 น. (ทุกวนั )

ต้งั แตว่ ันท่ี 20 กรกฎาคม – 30 กนั ยายน 2554

ผู้สนใจร่วมบรจิ าคติดต่อไดท้ ่ี : ครอู ักษร เจรญิ วทิ ยา โทร 0-2622-2999

แถลงการณ์สานักพระราชวัง

แถลงการณ์สานกั พระราชวงั เรือ่ ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เสดจ็ ฯ มาประทับ ณ โรงพยาบาลศริ ิราช
ฉบับท่ี 36

วันนี้ คณะแพทยผ์ ู้ถวายการรักษา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ไดร้ ายงานว่า ตามท่ี พระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงพระประชวร มพี ระปรอท (เป็นไข้) และตอ่ มามพี ระปัปผาสะ (ปอด) อกั เสบ และพระอาการ
อ่อนเพลยี คณะแพทยฯ์ ได้ถวายการรักษาจนหายจากพระอาการประชวรแล้ว แตย่ งั ประทับอยู่ ณ อาคารเฉลมิ
พระเกยี รติ โรงพยาบาลศิรริ าช เพ่ือใหค้ ณะแพทย์ฯ ทากายภาพบาบดั ถวายเพ่อื ฟนื้ ฟพู ระวรกาย และเพ่ิมกาลัง
พระกล้ามเนื้อ ตลอดจนถวายพระกระยาหารบารงุ ตามหลักโภชนาการนน้ั คณะแพทย์ฯ ไดถ้ วายการรกั ษาด้วย
วธิ ีดังกล่าวมาเป็นลาดบั แต่ยังทรงพระดาเนนิ ไม่ม่ันคง จึงไดถ้ วายการตรวจพิเศษตา่ งๆ เปน็ ระยะๆ ตดิ ตอ่ กัน
ผลปรากฏวา่ ทรงมภี าวะน้าไขสนั หลังในโพรงพระสมองมากกว่าปรกติ ซึ่งอาจเป็นเหตใุ ห้ทรงพระดาเนนิ ไมม่ ่ันคง
อาการเชน่ นม้ี ักเกิดข้นึ กับผู้สงู อายุ คณะแพทย์ฯ ไดป้ รกึ ษากับผู้เช่ียวชาญเฉพาะทางทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ตา่ งมคี วามเห็นตรงกนั วา่ ควรถวายการรักษาด้วยวธิ ีใสส่ ายระบายน้าไขสันหลงั จากช่องพระสนั หลงั บริเวณบ้นั
พระองค์ (บน้ั เอว) เข้าสู่ช่องพระนาภี (ช่องท้อง) ซึ่งเป็นการรกั ษาแบบมาตรฐานทวั่ ไป ท้งั นไี้ ดก้ าหนดการถวายการ
รักษาในคนื วันจนั ทรท์ ี่ 2 พฤษภาคม 2554 สว่ นผลการตรวจตา่ งๆ ในระบบอ่ืน อย่ใู นเกณฑ์ปรกติและพระอาการ
ทั่วไปดี เสวยพระกระยาหารไดเ้ ปน็ ปรกติ คณะแพทยฯ์ จะรายงานผลการถวายการรักษาในโอกาสต่อไป

จงึ เรียนมาเพื่อทราบโดยทวั่ กัน
สานักพระราชวัง
2 พฤษภาคม พทุ ธศักราช 2557



สัปดาหท์ ี่ 16

โรงเรียนขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรยี นท่ี 1 / ……………. ชอื่ ผู้สอน ...............................................
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 5 คาบ
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง กว่าแผ่นดินจะกลบหนา้

1 . มาตรฐานการเรียนเรียนรู้ :

มาตรฐานที่ ท 1.1ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพือ่ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนิสยั รัก
การอ่าน
ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 6/1อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง
ตัวชี้วัดที่ ป 6/2อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เปน็ โวหาร
ตวั ชี้วัดท่ี ป 6/5อธบิ ายการนาความรแู้ ละความคิดจากเรื่องทอ่ี า่ นไปตดั สินใจแกป้ ญั หาในการดาเนินชวี ิต

ตัวชว้ี ดั ที่ ป 6/6วเิ คราะห์สานวนและเปรียบเทยี บสานวนทเ่ี ป็นคาพังเพยและสุภาษติ

ตวั ช้ีวัดท่ี ป 6/9มมี ารยาทในการอา่ น

มาตรฐานที่ ท 2.1ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงาน

ขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ตัวช้วี ดั ที่ ป 6/2เขียนสอื่ สารโดยใชค้ าได้ถกู ต้องชัดเจนและเหมาะสม

ตัวชี้วัดท่ี ป 6/9มมี ารยาทในการเขียน

2. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด

สาระสาคัญ
การอา่ นกลอนเสภา

กลอนเสภา เป็นคาประพันธช์ นดิ หนึ่ง ซ่ึงแต่งเพ่อื ใชข้ ับ เพราะใชเ้ ป็นกลอนขบั จงึ กาหนดคาไม่แนน่ อน มุ่งการขบั เสภา
เป็นสาคัญ จึงใชค้ า ๗ คา ถึง ๙ คา การสง่ สมั ผัสนอกเหมือนกบั กลอนสุภาพ แตไ่ มบ่ ังคับหรือห้ามเสียงสงู ต่า ตามจานวนคาแต่
ละวรรค อยูใ่ นเกณฑ์กลอน ๗-๙การแบง่ จังหวะการอา่ นกลอนเสภาได้ถูกต้อง จะทาให้เกิดการอ่านทม่ี ีประสิทธภิ าพ ไพเราะนา่
ฟัง และเป็นการสืบสานวรรณกรรมไทยให้คงอยู่คชู่ าติไทยตลอดไป

การเขยี นการกรอกแบบฝากส่งพัสดุและไปรษณยี ภ์ ณั ฑ์

การฝากส่งสิ่งของทางไปรษณีย์ เป็นการฝากสง่ ของแบบมหี ลักฐาน ชนดิ ลงทะเบยี น รับรอง รับประกนั ไปรษณยี ด์ ่วน
พิเศษ(EMS) พสั ดุไปรษณยี ์ ต้องกรอกแบบฟอร์มทีเ่ รียกว่า "ใบรบั ฝากบรกิ ารไปรษณยี ์ในประเทศ (ป.211)"แล้วย่ืนไปพร้อมกบั
ห่อซองท่ีจะสง่ เพ่ือให้เจา้ หนา้ ทไ่ี ปรษณีย์ดาเนนิ การรบั ฝากแล้วลงรายการ

สานวน สุภาษติ คาพงั เพย

สานวนสภุ าษิตคาพังเพยเป็นถ้อยคาทใ่ี ห้ข้อคิดเตอื นใจในการประพฤติปฏบิ ตั สิ ง่ิ ทดี่ ีงาม สุภาษติ คาพังเพยสานวนไทย

ตา่ งก็เป็นวัฒนธรรมของภาษาทไี่ ดร้ ับการพัฒนามาจากวถิ ชี ีวิตความเปน็ อยู่ของคนไทยในยุคทผ่ี า่ นๆ มาซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความ

งาม ความลกึ ซ้ึงในการใชภ้ าษาทส่ี ะท้อนถึงความเชื่อค่านยิ ม

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้:

1.อธิบายลกั ษณะกลอนเสภาได้ (K)

2.อธบิ ายเกี่ยวกับการกรอกรายการได้ (K)

3.สรปุ ลกั ษณะของคาพงั เพยและสภุ าษติ (K)

4.อา่ นกลอนสภาไดอ้ ย่างถูกต้อง (P)

5.กรอกแบบสง่ พสั ดุและไปรษณียภณั ฑ์ได้อย่างถูกต้อง (P)

6.จาแนกคาพังเพยและสุภาษิต (P)

7.เห็นประโยชนข์ องการอา่ นกลอนเสภา(A)

8.เหน็ ประโยชนข์ องการกรอกแบบรายการ(A)

9.มคี วามกระตอื รือรน้ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม (A)

4. สาระการเรียนรู้:

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ

1.อธบิ ายความหมายและหลักการอ่านจบั ใจความกลอน
เสภาได้
2.สามารถเขยี นแบบฝากพสั ดุไปรษณยี ์ได้
3.อธบิ ายความหมายและแยกสานวนได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน
คาบที่
สาระสาคัญ
(คาบท่ี 1) กลอนเสภา เปน็ คาประพันธช์ นิดหนึง่ ซง่ึ แต่งเพอื่ ใชข้ ับ เพราะใช้เป็นกลอนขบั จึง
การอา่ นกลอนเสภา
กาหนดคาไมแ่ นน่ อน มุ่งการขับเสภาเป็นสาคัญ จึงใช้คา ๗ คา ถึง ๙ คา การสง่ สมั ผสั นอก
เหมอื นกับกลอนสุภาพ แต่ไม่บังคับหรือห้ามเสียงสงู ตา่ ตามจานวนคาแตล่ ะวรรค อยู่ในเกณฑ์
กลอน ๗-๙การแบง่ จังหวะการอา่ นกลอนเสภาไดถ้ ูกต้อง จะทาใหเ้ กิดการอา่ นทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
ไพเราะนา่ ฟัง และเป็นการสบื สานวรรณกรรมไทยให้คงอย่คู ู่ชาติไทยตลอดไป
ขนั้ ท่ี 1ขน้ั รวบรวมข้อมูล

1. ครูเปดิ ซีดีการขับเสภาเรอื่ ง ขุนชา้ งขนุ แผน ตอน กาเนดิ พลายงาม ใหน้ ักเรียนฟัง แล้ว
ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นว่า มีลักษณะคลา้ ยกบั การอา่ นบทร้อยกรองอยา่ งไร

2. ครอู ธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจ และเลา่ มลู เหตุของการขับเสภา เพ่ือให้นักเรยี นเกิดความ
สนใจใครร่ ู้

3. นกั เรียนศกึ ษาการอา่ นขับเสภา

ขนั้ ที่ 2ขัน้ คดิ วิเคราะห์และสรปุ ความ

4. นกั เรยี นฟังขับเสภาเร่ือง ขุนช้างขนุ แผน ตอน กาเนดิ พลายงาม นักเรียนร่วมกัน
วเิ คราะหว์ ่าจากบทกลอนท่ีอ่านสอนแทรกแนวคิดอะไรบ้าง

5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มคิดประเมินเพ่ือเพ่ิมคณุ ค่าโดยครูใช้คาถามดงั ต่อไปนี้
- นกั เรียนสามารถนาความรู้ที่ไดร้ บั ไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งไร

ขั้นที่ 3ขัน้ ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลังการปฏิบัติ

6. นกั เรียนเขา้ กลุ่มรว่ มกนั ถอดความหมายของ เสภาเร่อื ง ขุนช้างขนุ แผน ตอน กาเนดิ
พลายงาม
ขั้นที่ 4ขั้นส่ือสารและนาเสนอ

7.นักเรียนนาเสนอกลอนเสภา ขนุ ช้างขุนแผน ตอน กาเนิดพลายงาม
ขน้ั ท่ี 5ข้ันประเมนิ เพื่อเพ่ิมคุณคา่ บริการสงั คมและจติ สาธารณะ

8.นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามดังนี้
- นักเรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั เร่ืองทีเ่ รียนไปใช้ประโยชน์ในสังคมได้อย่างไร

(คาบท่ี 2-3) สาระสาคญั
การเขยี นการกรอกแบบ การฝากสง่ ส่ิงของทางไปรษณีย์ เปน็ การฝากสง่ ของแบบมีหลักฐาน ชนิดลงทะเบยี น

ฝากสง่ พสั ดุและ รับรอง รบั ประกัน ไปรษณยี ์ด่วนพิเศษ(EMS) พสั ดุไปรษณีย์ ต้องกรอกแบบฟอร์มที่เรียกว่า "ใบ

ไปรษณยี ์ภัณฑ์ รบั ฝากบรกิ ารไปรษณยี ์ในประเทศ (ป.211)"แลว้ ยืน่ ไปพร้อมกับหอ่ ซองที่จะส่งเพื่อให้เจ้าหนา้ ที่

ไปรษณยี ์ดาเนินการรบั ฝากแลว้ ลงรายการ

ขน้ั ท่ี 1ข้ันรวบรวมข้อมูล

1. นักเรยี นดูการเขยี นกรอกแบบฝากส่งพสั ดแุ ละไปรษณียภณั ฑ์ สนทนาเกย่ี วกับ

ประสบการณ์การกรอกแบบการเขยี นกรอกแบบฝากส่งพัสดแุ ละไปรษณยี ภณั ฑ์ แลว้

รว่ มสนทนาโยงเขา้ สู่บทเรยี นโดยครใู ชค้ าถามดงั นี้

- นักเรียนเคยการเขียนการกรอกแบบฝากสง่ พสั ดุและไปรษณยี ภณั ฑ์ หรอื ไม่

- นักเรียนการเขยี นกรอกแบบฝากส่งพัสดแุ ละไปรษณียภณั ฑ์ ทไ่ี หน

2. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ศึกษา การเขยี นกรอกแบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณยี ภัณฑ์ ครู
สังเกตการอา่ นของนักเรยี นแตล่ ะคนว่าปฏิบตั ิได้ถกู ต้องหรือไม่

ข้ันที่ 2 ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความ
3. นกั เรยี นศึกษาตัวอยา่ งการเขยี นกรอกแบบฝากสง่ พัสดุและไปรษณียภณั ฑ์ แล้ว

ร่วมกันสนทนาถงึ รปู แบบการเขยี น
4.นักเรียนแต่ละกลมุ่ คดิ ประเมนิ เพอื่ เพ่มิ คณุ คา่ โดยครใู ช้คาถามดงั ตอ่ ไปน้ี
-จากการศึกษาเรื่องการเขยี นกรอกแบบฝากสง่ พัสดแุ ละไปรษณียภัณฑ์ นักเรียน

สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างไร
ข้ันที่ 3 ข้นั ปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรหู้ ลังการปฏบิ ัติ

5.นกั เรียนทากิจกรรมการเขียนกรอกแบบฝากสง่ พสั ดแุ ละไปรษณียภณั ฑ์
6.นกั เรียนรว่ มกันสรปุ การเขียนกรอกแบบฝากส่งพัสดแุ ละไปรษณยี ภณั ฑ์

(คาบที่ 4-5) ข้ันท่ี 4 ข้นั สอื่ สารและนาเสนอ
สานวน สุภาษติ 7.นักเรยี นนาเสนอการเขียนกรอกแบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณียภัณฑ์
คาพังเพย
ขน้ั ที่ 5 ขนั้ ประเมนิ เพื่อเพ่ิมคณุ คา่ บริการสงั คมและจติ สาธารณะ
8.นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- นักเรยี นสามารถนาความรู้เกย่ี วกับเร่ืองทีเ่ รยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อยา่ งไร

สาระสาคญั
สานวนสภุ าษิตคาพงั เพยเปน็ ถ้อยคาทีใ่ ห้ข้อคิดเตือนใจในการประพฤตปิ ฏบิ ตั สิ ่งิ ท่ีดี

งาม สภุ าษติ คาพงั เพยสานวนไทยตา่ งกเ็ ป็นวฒั นธรรมของภาษาทไ่ี ดร้ ับการพัฒนามาจากวิถชี วี ิต
ความเป็นอยู่ของคนไทยในยุคทผ่ี า่ นๆ มาซึง่ แสดงให้เหน็ ถงึ ความงาม ความลึกซ้งึ ในการใชภ้ าษาที่
สะทอ้ นถึงความเช่อื คา่ นยิ ม
ขัน้ ที่ 1ขนั้ รวบรวมข้อมูล

1. นกั เรยี นออกมาหยบิ ดอกไม้ประดิษฐ์ คนละ 1 ดอก จากนัน้ ให้นกั เรียนท่หี ยิบดอกไม้สี
เดยี วกนั รวมกลมุ่ กันสมาชกิ แต่ละกลุ่มอา่ นคาท่ตี ิดอยู่หลงั ดอกไม้แตล่ ะดอกให้ถูกต้องและชดั เจน
จากน้นั ชว่ ยกนั เรยี งลาดับคาตามความเห็นของสมาชกิ กลมุ่

2.นกั เรยี นสังเกตการเรียงลาดบั คาจากดอกไม้ แล้วรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และสรุป
ความรูใ้ นประเด็นทีก่ าหนด ดังนี้

- กลมุ่ คาหรือประโยคท่ีอา่ นมีลักษณะอย่างไร
3. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาความรู้เร่ือง สานวน จากหนังสือเรยี น
ข้ันที่ 2ขน้ั คิดวิเคราะห์และสรปุ ความ
4. นกั เรยี นวิเคราะห์ และเปรียบเทยี บความแตกต่างของความหมาย และการใช้คา
พังเพยและสุภาษิต

ฝนท่ังให้เปน็ เข็ม สองหวั ดีกวา่ หัวเดียว
. จากน้นั ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติตามประเดน็ ที่ครกู าหนด ดงั นี้

1) บอกลกั ษณะการใช้
2) แตง่ ประโยค เพ่อื ชว่ ยอธบิ ายความหมายการใชท้ เ่ี หมาะสม
5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มคดิ ประเมนิ เพ่อื เพมิ่ คณุ ค่าโดยครูใช้คาถามดังต่อไปนี้

- นักเรยี นสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ บั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างไร
ขน้ั ท่ี 3ขนั้ ปฏิบตั ิและสรุปความรู้หลังการปฏบิ ตั ิ

6. นกั เรยี นเลน่ เกมทายสุภาษิต คาพังเพย โดยการให้นักเรยี น แตล่ ะกลุม่ เตรียมสุภาษติ
คาพงั เพย มาชนิดละ 3 สานวน ให้นา มาทายเพ่ือนกลุ่มอ่ืน ว่าทน่ี ักเรียนยกมาเป็นสานวนชนดิ
ใด

7.นกั เรียนทากิจกรรมการใชส้ ุภาษิต คาพังเพย โดยการแตง่ ประโยคปากเปล่า
8.นกั เรยี นสรปุ สุภาษิต คาพงั เพย ดังน้ี
สานวนสุภาษิตคาพงั เพยเป็นถ้อยคาทใ่ี ห้ข้อคิดเตือนใจในการประพฤตปิ ฏิบตั สิ ิ่งที่ดี
งาม สุภาษิตคาพังเพยสานวนไทยตา่ งกเ็ ป็นวัฒนธรรมของภาษาทีไ่ ด้รบั การพัฒนามาจากวิถีชีวิต
ความเปน็ อยู่ของคนไทยในยุคทผ่ี ่านๆ มาซงึ่ แสดงให้เห็นถงึ ความงาม ความลกึ ซงึ้ ในการใช้ภาษาที่

สะทอ้ นถงึ ความเชื่อค่านิยม
9.นักเรียนทาแบบฝึกหัด

ข้ันท่ี 4ขนั้ สื่อสารและนาเสนอ
10. นักเรียนนาเสนอการทาแบบฝึกหดั หนา้ ชนั้ เรียน

ขน้ั ที่ 5ขนั้ ประเมนิ เพอ่ื เพ่ิมคณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
11.นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- นกั เรยี นสามารถนาความรูเ้ ก่ียวกับเรื่องที่เรียนไปใช้ประโยชน์ในสงั คมได้อย่างไร

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ :

การประเมนิ วิธีการ เครอื่ งมือ

ด้านความรู้ (K) -การตอบคาถาม -คาถาม
-แบบฝกึ หัด
-ทาแบบฝกึ หัด
-แบบประเมนิ การอ่าน
ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) -ทกั ษะการอ่าน
-แบบประเมนิ การเขียนไปรษณียภณั ฑ์
-ทกั ษะการเขียน
-แบบฝกึ หัด
-ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ -คาถาม
-แบบสงั เกตพฤติกรรม
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) -สงั เกตพฤตกิ รรมในการร่วมกิจกรรม
การทางานกลุ่ม และการเขียนคาขวญั

7. สอื่ /อุปกรณ์/แหลง่ การเรยี นรู้ :

1. ใบความร้เู รื่องการอ่านกลอนเสภา 2. ใบความรู้เรอื่ งแบบกรอกรายการ 3. ใบงานเรือ่ งสานวนสุภาษิตคาพงั เพย

4. ไม้เรยี กเลขที่ 5.หนังสือภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 6. ใบความรเู้ ร่ืองสานวน สภุ าษิต คาพงั เพย

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

............................................................................................................................. .........................................................................
......................................................... ............................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ....................................................................................
............................................................................................................................. .........................................................................

ลงชอ่ื ...........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................ฝา่ ยวิชาการ
( ........................................) ( ........................................)

ลงชื่อ...........................................ผบู้ ริหาร
( ........................................)



สัปดาห์ที่ 17

โรงเรยี นขจรเกยี รตพิ ฒั นา
แผนการจัดการเรยี นรู้

ภาคเรียนท่ี 1 / ……………. ช่อื ผูส้ อน ...............................................
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 5 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ เรือ่ ง ไม้งามในสวนแกว้

1 . มาตรฐานการเรยี นเรียนรู้ :

มาตรฐานที่ ท 1.1ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รัก
การอา่ น
ตวั ช้ีวัดท่ี ป 6/1อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ตวั ช้วี ัดที่ ป 6/2อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร
ตวั ชี้วัดท่ี ป 6/4แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรื่องที่อ่าน

ตัวชี้วัดท่ี ป 6/5อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องท่ีอ่านไปตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในการดาเนนิ ชีวิต

ตัวชว้ี ดั ที่ ป 6/9มีมารยาทในการอ่าน

มาตรฐานที่ ท 2.1ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน

ข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ตัวชี้วัดที่ ป 6/2เขยี นสอ่ื สารโดยใช้คาได้ถกู ต้องชดั เจนและเหมาะสม

ตัวชว้ี ดั ท่ี ป 6/9มีมารยาทในการเขียน

2. สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด

สาระสาคัญ
การอ่านจับใจความ

การอ่านจบั ใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพื่อจบั ใจความหรือข้อคดิ ความคิดสาคัญหลักของข้อความ หรือเรอ่ื งทอ่ี ่าน
การอ่านจบั ใจความสาคญั ถือเปน็ ทักษะสาคัญที่ใช้ในการอา่ นเพ่ือการส่อื สารมากทส่ี ุด เพราะเปน็ พน้ื ฐานสาคัญในการศกึ ษาหา
ความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญ

การเขียนย่อความนทิ าน

การยอ่ ความเปน็ การนาใจความสาคญั ของแตล่ ะตอนจากเนอ้ื เรือ่ งมาเรยี บเรยี งใหมใ่ ห้สอดคล้องกลมกลนื และกระชบั
ซ่ึงจะชว่ ยให้การส่อื สารเกิดความเขา้ ใจไดง้ ่ายย่งิ ข้ึน

เครอ่ื งหมายวรรคตอน

เครอื่ งหมายวรรคตอน เปน็ เครื่องหมาย หรือสญั ลักษณ์ท่ีเขียนขึ้นเพื่อใชป้ ระกอบการเขยี นอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อ

ประโยชน์ในการแบง่ วรรคตอน มักจะไมเ่ กยี่ วกบั ระบบเสียงใด ๆ ทั้งสนิ้ . ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน

และมกี ฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กนั ซ่งึ ผใู้ ชภ้ าษาน้นั จะต้องทราบ และใช้ตามกฎทปี่ ฏิบตั ิกนั มา เพ่ือใหม้ คี วามเข้าใจในภาษาไป

ในทางเดยี วกัน

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร:ู้

1.อธบิ ายความหมาย และหลักการอ่านจบั ใจความสาคญั (K)

2.อธบิ ายเก่ยี วกับการเขยี นย่อความ (K)

3.รแู้ ละเข้าใจเคร่ืองหมายวรรคตอนไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (K)

4.อ่านเรอ่ื งได้คล่องแคล่ว รวดเรว็ และถูกต้องตามอักขรวธิ ี (P)

5.แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเร่อื งทอี่ า่ น (P)

6.อ่านเขยี นและใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนได้อยา่ งถูกต้อง(P)

7.เขยี นยอ่ ความได้อย่างถูกต้องตามรปู แบบการเขยี นย่อความ (P)

8.เหน็ ความสาคัญของการอ่านและมารยาทในการอา่ น (A)

9.เหน็ ความสาคัญของการเขยี นย่อความตามหลักการเขยี นย่อความ (A)

10.กระตือรือร้นและมีส่วนร่วมกับการจัดกิจกรรม (A)

4. สาระการเรียนร้:ู

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ

1.อธิบายความหมายและหลกั การอา่ นจบั ใจความได้
2.สามารถเขียนย่อความนิทานได้
3.อธิบายความหมายและนาเคร่อื งหมายวรรคตอนไป
ใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน
คาบที่
สาระสาคญั
(คาบที่ 1) การอา่ นจับใจความสาคัญ คือ การอ่านเพ่ือจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสาคัญหลกั
การอา่ นจับใจความ
ของข้อความ หรือเรื่องท่ีอา่ น
การอ่านจบั ใจความสาคัญ ถือเปน็ ทักษะสาคญั ท่ีใชใ้ นการอา่ นเพื่อการสอ่ื สารมากทสี่ ุด เพราะ
เปน็ พ้นื ฐานสาคัญในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้เกิดความชานาญ

ขั้นที่ 1ขั้นรวบรวมข้อมูล
1.นักเรยี นดภู าพตน้ ไม้ แลว้ ร่วมสนทนาโดยครูใช้คาถามดงั น้ี
-ภาพท่นี ักเรียนเหน็ เกย่ี วกับอะไร
-ทีบ่ ้านนกั เรยี นปลกู ตน้ ไม้หรือไม่

(คาบที่ 2-3) -ต้นไม้มปี ระโยชน์อยา่ งไร
การเขียนย่อความ *ในการตอบคาถามให้ครใู ชไ้ ม้เรียกเลขที่ เพ่ือให้นักเรียนตอบทีละคน โดยถามคาถามก่อน
นิทาน จะเรียกเลขทเ่ี พื่อใหท้ ุกคนได้คดิ ในแต่ละคาถามควรใหน้ ักเรียนนาเสนอ 4-5 คน
2.นักเรยี นทบทวนเก่ยี วกับการอ่านสรุปใจความ โดยใชค้ าถามดงั ต่อไปนี้

- การอ่านสรปุ ใจความคอื อะไร
- นกั เรียนใชท้ ักษะอะไรบา้ งในการอ่านสรุปใจความ
3. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ให้แตล่ ะกลุ่มอ่านในใจเรอื่ งไมง้ ามในสวนแกว้ จากหนังสือภาษาพาที
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
โดยนาหลักการอ่านในใจมาใช้ ครูสงั เกตการอา่ นของนักเรยี นแต่ละคนวา่ ปฏิบตั ิได้ถูกต้องตาม
หลักการอา่ นหรือไม่
ข้นั ท่ี 2ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความ
4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรปุ ใจความสาคญั ของเรื่องไม้งามในสวนแก้ว
5.นกั เรียนแต่ละกลมุ่ คดิ ประเมนิ เพื่อเพิ่มคณุ ค่าโดยครใู ชค้ าถามดงั ต่อไปน้ี
-จากการศึกษาเร่ืองไมง้ ามในสวนแก้วนกั เรยี นสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ใน
ชวี ติ ประจาวันไดอ้ ย่างไร
ขน้ั ที่ 3ขั้นปฏิบตั แิ ละสรุปความร้หู ลังการปฏิบตั ิ
6. นกั เรยี นเข้ากล่มุ ทากิจกรรม ตงั้ คาถามกลุม่ ละ 5 คาถาม การตง้ั คาถามให้คณุ ครูแบ่ง
เนอ้ื หาให้แต่กลุ่มเพือ่ ความหลากหลายของคาถาม
7. นักเรียนร่วมกันสรปุ ขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากเร่ือง
ขั้นท่ี 4ข้ันส่ือสารและนาเสนอ
8. ตวั แทนกลมุ่ อา่ นคาถามและใหเ้ พื่อนๆในช้ันเรยี นตอบคาถาม
ข้ันที่ 5ข้นั ประเมนิ เพ่ือเพ่ิมคุณค่าบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ
9.นักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามดังนี้
- นักเรียนสามารถนาความรู้เกีย่ วกบั เรอ่ื งทีเ่ รียนไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อยา่ งไร

สาระสาคญั
การย่อความเปน็ การนาใจความสาคญั ของแต่ละตอนจากเนอื้ เรอื่ งมาเรยี บเรยี งใหม่ให้

สอดคล้องกลมกลนื และกระชับ ซง่ึ จะช่วยให้การส่อื สารเกิดความเขา้ ใจได้งา่ ยย่ิงข้ึน
ขน้ั ท่ี 1ขั้นรวบรวมข้อมูล

1.นกั เรียนทากิจกรรมการสนทนาเกยี่ วกับเร่ืองไม้งามในสวนแก้ว แลว้ ร่วมสนทนาโดยครู
ใช้คาถามดังนี้

-ตัวละครในเรื่องไม้งามในสวนแก้ว มใี ครบ้าง
-เรื่องไม้งามในสวนแกว้ เรมิ่ ตน้ เหตกุ ารณ์อย่างไร และดาเนินเรือ่ งอยา่ งไร
-เรอ่ื งไม้งามในสวนแก้ว จบอย่างนนั้ นกั เรยี นมีความคิดเหน็ อย่างไร
-นักเรียนไดค้ ติข้อคิดเตือนใจอะไรบา้ งจากเร่ืองไม้งามในสวนแก้ว
ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ ว่าการย่อความช่วยให้เราจาเร่อื งราวตา่ งๆไดด้ ี
2.นกั เรียนดู PowerPoint หลักการยอ่ ความ

ข้ันท่ี 2ข้นั คดิ วเิ คราะห์และสรปุ ความ
3.นักเรียนรว่ มกนั วเิ คราะห์เก่ียวกบั รูปแบบการย่อนิทาน จากตวั อยา่ งการเขยี นย่อความ
4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มคิดประเมนิ เพือ่ เพิ่มคณุ ค่าโดยครูใช้คาถามดงั ต่อไปนี้
- นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ไดร้ บั ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้อย่างไร

ขั้นท่ี 3ขั้นปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรู้หลังการปฏบิ ัติ
5.นกั เรยี นอ่านนทิ านคนละ 1 เร่ือง จากนน้ั เขียนย่อความใหถ้ ูกต้องตามหลักการเขียนย่อ

ความ
6.นกั เรยี นสรุปเก่ยี วกับหลักการเขยี นย่อความ

ขน้ั ที่ 4ข้ันส่ือสารและนาเสนอ
7.นักเรยี นนาเสนอการเขียนย่อความหน้าชนั้ เรยี น

ขนั้ ท่ี 5ขนั้ ประเมนิ เพื่อเพ่ิมคุณค่าบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
8.นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถามดงั นี้
- นักเรยี นสามารถนาความรูเ้ กยี่ วกบั เร่ืองทเี่ รยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อย่างไร

(คาบที่ 4-5) สาระสาคญั
เครื่องหมายวรรคตอน เคร่ืองหมายวรรคตอน เปน็ เครอื่ งหมาย หรือสัญลักษณ์ทีเ่ ขียนข้นึ เพื่อใช้ประกอบการเขียน

อักษรในภาษาหนงึ่ ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มกั จะไมเ่ กี่ยวกบั ระบบเสยี งใด ๆ
ทัง้ ส้นิ . ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนตา่ ง ๆ กนั และมีกฎเกณฑก์ ารใชต้ า่ ง ๆ กัน ซง่ึ
ผใู้ ชภ้ าษานนั้ จะตอ้ งทราบ และใช้ตามกฎท่ีปฏบิ ัติกนั มา เพ่ือใหม้ ีความเข้าใจในภาษาไปในทาง
เดยี วกนั
ขน้ั ท่ี 1ขั้นรวบรวมข้อมูล

1. ครูติดบตั รเคร่อื งหมายวรรคตอนต่อไปนี้ แล้วถามนักเรียนว่าเป็นเครือ่ งหมายอะไร
. เรียกวา่ มหพั ภาค

“ ” เรียกว่า อญั ประกาศ
! เรียกวา่ อศั เจรีย์
- เรยี กวา่ ยัติภังค์
....... เรียกว่า จดุ ไข่ปลา
2. นกั เรยี นศึกษาความรูเ้ ร่ือง เคร่อื งหมายวรรคตอน แลว้ ร่วมสนทนาโดยครูใช้คาถาม
ดังนี้

-เครื่องหมายวรรคตอนมีความสาคัญอย่างไร
-เครื่องหมายวรรคตอนมีก่ชี นิดและอะไรบ้าง
ข้ันที่ 2ขั้นคิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความ
3.นกั เรียนแบง่ เปน็ 4 กลุม่ เพ่อื ทากจิ กรรม “เครอื่ งหมายอะไรเอ่ย” โดยเรม่ิ ทีก่ ลุ่มท่ี
1 จบั บตั รคาเคร่ืองหมายวรรคตอนมา 1 ใบ แล้วดูเคร่ืองหมายทีป่ รากฏในบัตรคา และตอบ
วา่ เป็นเคร่ืองหมายวรรคตอนทีม่ ชี ือ่ เรียกวา่ อะไร มวี ธิ กี ารใช้อย่างไร ถ้าตอบไมไ่ ด้ใหก้ ลุ่มอน่ื
ตอบแทน กลุ่มทตี่ อบถูกจะได้ 1 คะแนน จากน้ันให้กลุ่มท่ี 2-4 จับบัตรคาต่อไป เม่อื จบเกม

กลมุ่ ทม่ี ีคะแนนรวมมากทสี่ ดุ จะเป็นฝ่ายชนะ
4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มคดิ ประเมินเพื่อเพ่มิ คณุ ค่าโดยครูใชค้ าถามดังต่อไปน้ี
- นักเรยี นสามารถนาความรู้ท่ีได้รบั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดอ้ ย่างไร

ขน้ั ที่ 3ข้นั ปฏิบัตแิ ละสรุปความรู้หลงั การปฏิบัติ
5. นกั เรยี นทากจิ กรรมเติมเครอ่ื งหมายวรรคตอนเพื่อฝกึ การใช้
- อยุ๊ ตกใจหมดเลย ( ! )
- สนกุ อา่ นวา่ สะ หนกุ ( - )
- 14 ตุลาคม พ ศ 2516 ( . )
- เด็ก ชอบกนิ ขนม ( ๆ )
- นอ้ ยไปเทีย่ วกรงุ เทพ ( ฯ )
6.นกั เรียนสารวจเคร่ืองหมายวรรคตอนจากนิทานทีค่ ุณครเู ตรียมมาให้
7. นักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้เรอ่ื งเคร่ืองหมายวรรคตอนและทาแบบฝึกหัด

ขั้นท่ี 4ขน้ั ส่ือสารและนาเสนอ

8.นักเรียนนาเสนอเครื่องหมายวรรคตอนทส่ี ารวจจากนิทาน
ขั้นท่ี 5ขั้นประเมินเพอื่ เพิ่มคุณคา่ บรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ

9.นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามดังนี้
- นักเรียนสามารถนาความรเู้ กี่ยวกบั เรื่องทีเ่ รยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นสังคมได้อยา่ งไร

6. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ :

การประเมิน วิธีการ เครอ่ื งมือ

ด้านความรู้ (K) -การตอบคาถาม -คาถาม
-ทาแบบฝึกหัด -แบบฝกึ หัด

ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) -ทักษะการอ่าน -แบบประเมินการอ่าน

-ทักษะการเขียน -แบบประเมินการเขียนย่อความนิทาน

-ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ -แบบฝึกหดั

-คาถาม

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) -สังเกตพฤตกิ รรมในการร่วมกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม

การทางานกลุ่ม และการเขยี นย่อความ

นิทาน

7. สอ่ื /อปุ กรณ/์ แหล่งการเรียนรู้ : 2. สลากเครอ่ื งหมายวรรคตอน 3. หนังสอื ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6
5. แบบฝกึ หัด 6. นทิ าน
1. PowerPoint หลักการยอ่ ความ
4. ไม้เรยี กเลขท่ี

8. กจิ กรรมเสนอแนะ

............................................................................................................................. .........................................................................
............................................................................................................................. .........................................................................
......................................................... ............................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ....................................................................................

ลงชอื่ ...........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................ฝ่ายวิชาการ
( ........................................) ( ........................................)

ลงช่อื ...........................................ผูบ้ ริหาร
( ........................................)

สัปดาห์ท่ี 18

โรงเรยี นขจรเกียรติพฒั นา
แผนการจดั การเรยี นรู้

ภาคเรียนที่ 1 / ……………. ชื่อผสู้ อน ...............................................
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 จานวน 5 คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ เรอื่ ง ไมง้ ามในสวนแกว้

1 . มาตรฐานการเรียนเรยี นรู้ :

มาตรฐานที่ ท 1.1ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรกั
การอา่ น
ตัวชว้ี ัดที่ ป 6/1อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง
ตวั ชวี้ ดั ท่ี ป 6/2อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็นโวหาร
ตวั ชี้วัดที่ ป 6/3อ่านเร่ืองสั้นๆอยา่ งหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน
ตวั ชวี้ ดั ที่ ป 6/4แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งที่อ่าน

ตวั ช้ีวัดที่ ป 6/9มีมารยาทในการอ่าน

มาตรฐานที่ ท 2.1ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงาน

ข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ

ตัวชี้วัดที่ ป 6/6เขยี นจดหมายส่วนตวั

ตวั ชว้ี ัดท่ี ป 6/9มมี ารยาทในการเขียน

2. สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด

สาระสาคัญ
การอา่ นจับใจความนิทานพ้นื บา้ น

การอา่ นจับใจความสาคัญ คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคดิ สาคัญหลักของข้อความ หรือเร่อื งทอ่ี ่าน
การอา่ นจับใจความสาคญั ถือเปน็ ทักษะสาคัญท่ีใช้ในการอา่ นเพ่ือการส่อื สารมากท่ีสดุ เพราะเปน็ พนื้ ฐานสาคัญในการศกึ ษาหา
ความรู้ จงึ ควรฝึกฝนให้เกดิ ความชานาญ

การเขียนจดหมายแสดงความยนิ ดี

จดหมายส่วนตัวเปน็ การเขียนสอ่ื สาร ซงึ่ มเี น้อื หาเปน็ เร่ืองเฉพาะบุคคล เพ่ือสื่อสารบอกเลา่ เร่ืองราว แจง้ ความตอ้ งการ
หรือแสดงความคดิ เห็นตา่ งๆ โดยใช้ถอ้ ยคาและสานวนภาษาท่ีเหมาะสมตามกาลเทศะ

การอ่านอกั ษรย่อและตวั เลข

อกั ษรย่อ หมายถึงตัวอักษรที่ใชเ้ ขียนย่อคาใหส้ น้ั ลง เพื่อความสะดวกในการเขยี น โดยการเขยี นอักษรย่อจะต้องใช้
เครอ่ื งหมายมหัพภาค หรือ จุด (.) ไวท้ า้ ยอักษรย่อดว้ ย

3. จุดประสงค์การเรยี นร้:ู

1.อธิบายความหมายและหลกั การอา่ นจบั ใจความสาคัญ (K)

2.อธิบายเกี่ยวกบั จดหมายและหลกั การเขยี นจดหมายแสดงความยนิ ดีได้ (K)

3.รู้และเข้าใจหลักการอ่านการเขียนอกั ษรยอ่ และตัวเลขได้(K)

4.อ่านเร่อื งได้คล่องแคลว่ รวดเร็ว และถูกต้องตามอักขรวธิ ี (P)

5.เขยี นจดหมายแสดงความยินดไี ด้(P)

6.อ่านเขียนอักษรยอ่ และตวั เลขได้ถูกตอ้ ง (P)

7.เหน็ ความสาคญั ของการอ่านและมารยาทในการอ่าน(A)

8.เหน็ ประโยชน์ของการปฏบิ ัติตามหลักการเขียนจดหมายได้อยา่ งถูกต้อง(A)

9.กระตือรือร้นและมีสว่ นร่วมกบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้(A)

4. สาระการเรยี นรู้:

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ

1.อธิบายความหมายและหลกั การอ่านจับใจความได้
2.สามารถเขียนจดหมายแสดงความยินดีได้
3.สามารถอา่ นและเขียน อกั ษรยอ่ และตวั เลขได้

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ กิจกรรมการเรียนการสอน

(คาบที่ 1) สาระสาคัญ

การอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอา่ นเพื่อจับใจความหรือข้อคดิ ความคดิ สาคัญหลักของ

นทิ านพนื้ บ้าน ข้อความ หรือเรอ่ื งท่ีอา่ น

การอา่ นจับใจความสาคญั ถือเปน็ ทักษะสาคญั ที่ใชใ้ นการอ่านเพื่อการสอ่ื สารมากท่ีสุด เพราะเปน็

พืน้ ฐานสาคญั ในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึกฝนให้เกิดความชานาญ

ขัน้ ท่ี 1ข้นั รวบรวมข้อมูล

1. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด

2. ครูถามนักเรยี นวา่ นักเรยี นมนี ทิ านในดวงใจหรือไม่ หากมใี หน้ ักเรียนลองยกตัวอยา่ งหรอื

ออกมาเล่าให้เพ่ือนฟังทห่ี น้าช้ันเรยี น 2-3 คน

3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นว่า การฟงั นิทานทาใหเ้ กิดจินตนาการทก่ี วา้ งไกล

ไดจ้ รงิ หรือ

คำถำมกระตุ้นควำมคดิ

 การฟังนทิ านกอ่ นนอน ทาให้นอนหลบั ฝนั ดีจรงิ หรอื ไม่ เพราะเหตุใด

(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยอย่ใู นดุลยพนิ ิจของครูผูส้ อน)

ข้ันที่ 2ขนั้ คดิ วิเคราะหแ์ ละสรุปความ

4.ครเู ลา่ นิทานเร่อื ง ปลาบทู่ อง ใหน้ กั เรียนฟัง เมือ่ เล่าจบแล้วตง้ั ประเดน็ คาถามให้นักเรียน

ช่วยกนั ตอบ
5. ครูถามนักเรยี นว่า นกั เรียนคนใดเคยได้ยินเร่ืองเลา่ หรือนทิ านเรือ่ งปลาบู่ทอง ท่มี เี นื้อเรื่อง

แตกต่างจากที่ครูเลา่ บ้าง จากนั้นครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่ นิทานดังกล่าวจดั เปน็ นิทานพน้ื บ้าน
ท่เี ป็นเร่ืองเล่าที่สืบตอ่ กันมา และอาจมีเนื้อหาความแตกต่างกันบ้างในแตล่ ะทอ้ งถิ่น
ขน้ั ที่ 3ขนั้ ปฏิบัติและสรปุ ความรูห้ ลังการปฏบิ ตั ิ

6. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ
7. นักเรยี นรวมกลุ่มเดมิ จากนนั้ ให้นกั เรยี นศึกษาความรูเ้ ร่ือง ลกั ษณะนิทานพ้นื บ้าน จาก
หนังสอื เรียน หอ้ งสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
8. นกั เรยี นชว่ ยกันวเิ คราะห์ว่า นิทานเรอื่ ง ปลาบู่ทอง มลี ักษณะตรงกับนิทานพ้ืนบ้าน หรือไม่
อยา่ งไร
9. สมาชิกแต่ละกลุ่มศึกษาตวั อย่างนทิ านพื้นบา้ น เร่ือง ราหูอมจันทร์จากหนังสอื เรียน
จากน้นั ร่วมกนั สรุปใจความสาคัญของนทิ าน แลว้ บันทึกลงในแบบบันทึกการอ่าน
คาถามกระตนุ้ ความคดิ
นักเรยี นเคยคดิ หาคาตอบของเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึน้ ในนิทานหลายๆ เร่อื งหรอื ไม่
เพราะเหตุใด
(พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยอยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครูผู้สอน)
ขั้นที่ 4ขั้นสื่อสารและนาเสนอ
10. ครตู ัง้ ประเดน็ คาถามให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ หาคาตอบ เพ่อื เปน็ การเชื่อมโยงใหเ้ หน็
ลกั ษณะทีช่ ดั เจนของนทิ านพื้นบา้ น
11. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ วเิ คราะหป์ ระเด็นคาตอบ และหาคาตอบร่วมกันครูสมุ่ เรียกนักเรียน 2-
3 กลุ่ม นาเสนอคาตอบของกลุ่ม
ขน้ั ท่ี 5ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพิ่มคุณคา่ บริการสงั คมและจิตสาธารณะ
12.ครูต้งั ประเดน็ คาถามให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ หาคาตอบ เพ่อื เปน็ การเชือ่ มโยงให้เห็น
ลักษณะท่ชี ดั เจนของนทิ านพ้ืนบา้ น
13. นักเรียนแต่ละกลมุ่ วเิ คราะห์ประเดน็ คาตอบ และหาคาตอบร่วมกันครสู มุ่ เรียกนักเรยี น 2-
3 กลมุ่ นาเสนอคาตอบของกลุ่ม และนาความรู้และข้อคิดทไี่ ด้จากนิทานไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
คาถามกระตุน้ ความคิด
 นิทานพ้ืนบ้านในท้องถิ่นของนักเรียนมีผลตอ่ ความเช่ือของนักเรียนหรือไม่
เพราะเหตุใด
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของครผู สู้ อน)

(คาบที่ 2-3) สาระสาคัญ
การเขยี นจดหมาย จดหมายส่วนตวั เป็นการเขียนสือ่ สาร ซึง่ มีเน้ือหาเปน็ เรอื่ งเฉพาะบุคคล เพื่อสื่อสารบอกเลา่
แสดงความยนิ ดี
เร่ืองราว แจ้งความต้องการ หรอื แสดงความคิดเห็นต่างๆ โดยใช้ถอ้ ยคาและสานวนภาษาท่ีเหมาะสม
ตามกาลเทศะ
ขัน้ ที่ 1ข้ันรวบรวมข้อมูล

1. นกั เรยี นดูตวั อย่างการเขียนจดหมายสว่ นตวั เพ่ือแสดงความยนิ ดี และการเขียนจา่ หน้าซอง

จดหมาย จากหนังสอื เรยี น
2.ครนู ารูปแบบการเขยี นจดหมายส่วนตัว มาใหน้ ักเรียนดู แลว้ รว่ มกัน อภปิ รายเกีย่ วกบั

รูปแบบการเขยี นจดหมายส่วนตวั ทีถ่ กู ต้อง
3. นกั เรียนศึกษาความรเู้ รื่อง การเขยี นจดหมายส่วนตัวจากหนังสอื เรียน
4. ครูอธิบายเกี่ยวกบั การใชค้ าข้ึนต้น คาลงท้าย และคาสรรพนามท่ีถูกต้อง เหมาะสมกับ

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งผเู้ ขียนกับผรู้ ับจดหมาย
5.นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

คาถามกระตุน้ ความคิด
นักเรียนคดิ วา่ การเขียนจดหมายในปัจจุบนั มีความสาคัญ หรือจาเปน็ หรอื ไม่ เพราะเหตุใด
(พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครูผู้สอน)

ขน้ั ท่ี 2ข้ันคิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความ
6.นักเรยี นฝกึ เขยี นจดหมายส่วนตัวเพ่อื แสดงความยินดีกบั เพอ่ื นตามโอกาสทนี่ กั เรียนสมมตุ ิ

ข้นึ มาโดยดตู ัวอยา่ งจากการเขยี นจดหมายสว่ นตัวเพือ่ แสดงความยนิ ดี จากหนงั สือเรียน
7.นักเรียนตรวจสอบความถูกตอ้ งของจดหมาย ตามประเด็นท่คี รู กาหนด ดงั น้ี
-การวางตาแหนง่ ต่างๆ ตามรูปแบบการเขยี นจดหมาย
-การใชค้ าขน้ึ ต้น คาลงท้ายจดหมาย
-เนือ้ ความจดหมายความเป็นระเบียบ สะอาดเรียบรอ้ ย และสวยงาม

ข้ันที่ 3ขนั้ ปฏบิ ัติและสรปุ ความรู้หลังการปฏิบัติ
8.นักเรียนจับสลากประเภทของการเขยี นจดหมายส่วนตัว โดยครูกาหนดหมายเลข ดังนี้
-สลากหมายเลข 1 การเขียนจดหมายสว่ นตัวเพอ่ื ขอโทษ
-สลากหมายเลข 2 การเขียนจดหมายส่วนตวั เพอื่ แสดงความขอบคณุ
-สลากหมายเลข 3 การเขียนจดหมายส่วนตวั เพื่อแสดงความเห็นใจ
9. นกั เรียนเขยี นจดหมายสว่ นตัวตามหมายเลขท่ีตนเองจับสลากได้
10. นักเรียนแลกเปลี่ยนผลงานการเขยี นจดหมายกับเพือ่ นทเ่ี ขียน
จดหมายประเภทเดยี วกัน เพื่อตชิ มหรือเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์
11. นักเรยี นนาผลงานสง่ ครตู รวจ จากนัน้ ครชู มเชยหรอื เสนอแนะใหแ้ ก้ไขข้อบกพรอ่ ง เป็น

รายบุคคล
12. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคิด

ขัน้ ท่ี 4ขัน้ ส่ือสารและนาเสนอ
13. ครูมอบหมายให้นักเรียนเขยี นจดหมายส่วนตัวถงึ เพ่ือน 1 ฉบับ พรอ้ มจ่าหนา้ ซอง

จดหมายให้เรียบรอ้ ย
ขั้นที่ 5ข้ันประเมนิ เพอ่ื เพ่ิมคุณคา่ บรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ

14. นักเรยี นชว่ ยกันสรปุ บทเรียน ครสู รุปเพ่มิ เตมิ ดว้ ยการสุ่มถามนักเรยี นบางคน เพ่ือเปน็
การประเมนิ ความเขา้ ใจไปในตวั ด้วย

15. ใหน้ กั เรยี นนาความรเู้ รื่อง การเขียนจดหมายส่วนตัว ทไี่ ดเ้ รียนร้ไู ปใชเ้ พ่ือการฝึก
ทกั ษะการอ่านส่ือสารและแนะนาเพ่ือนๆ น้อง ๆ หรือคนใกล้ชิด

(คาบท่ี 4-5) สาระสาคัญ
การอ่านอักษรยอ่ อักษรย่อ หมายถึงตัวอักษรท่ีใช้เขยี นย่อคาให้สนั้ ลง เพื่อความสะดวกในการเขียน โดยการเขยี น
และตวั เลข
อกั ษรย่อจะต้องใชเ้ ครอ่ื งหมายมหพั ภาค หรอื จุด (.) ไวท้ า้ ยอกั ษรย่อด้วย
ขัน้ ที่ 1ขัน้ รวบรวมข้อมูล

1. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ
2. ครูนาพาดหัวข่าวหนงั สอื พิมพท์ ีม่ ีตวั ย่องา่ ยๆ มาให้นกั เรียนช่วยกันอา่ นพาดหวั ขา่ ว

และเขยี นคาอา่ น พรอ้ มบอกความหมายของพาดหวั ขา่ วท่ีไดร้ บั ลงในกระดาษท่ีครแู จกให้
3.ครูใหต้ ัวแทนนักเรียน 2-3 คน ออกมาอ่านพาดหวั ขา่ ว พรอ้ มบอกความหมาย ครู

ตรวจสอบความถูกตอ้ ง หากนักเรยี นอ่านและบอกความหมายผดิ ครูแจง้ ใหแ้ ก้ไขใหถ้ ูกต้อง
4. นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ วา่ เหตใุ ดการพาดหวั ขา่ วของหนังสือพมิ พ์ มักจะใช้

ตวั ยอ่
5. ครูใหน้ ักเรยี นยกตัวอยา่ งอักษรย่อ และคาย่อที่พบไดบ้ ่อยในชวี ติ ประจาวนั จากนัน้ ครู

เขยี นรวบรวมบนกระดานหน้าชน้ั เรียน เช่น ร.ร. ผอ. อบต. โทร.
6. นกั เรียนช่วยกนั อา่ นคาเต็มของอกั ษรยอ่ และคายอ่ ต่างๆ ครตู รวจสอบความถูกต้อง
7. นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ วา่ อกั ษรย่อ และคายอ่ จะช่วยในการเขียนสอ่ื สารได้

อยา่ งไร
ขัน้ ท่ี 2ขน้ั คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรุปความ

8. นกั เรยี นจับคู่เดิม แล้วร่วมกันวางแผนการสบื คน้ ความรเู้ กี่ยวกับหลกั ในการเขียนและอ่าน
อักษรย่อ และคาย่อจากหนังสือเรยี น ห้องสมุด และแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ
ขน้ั ท่ี 3ขนั้ ปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏบิ ัติ

9. นักเรียนแต่ละค่รู ่วมกันสืบคน้ ความรเู้ กย่ี วกบั หลกั ในการเขยี นและอ่านอกั ษรย่อและคายอ่
จากหนงั สือเรียน ห้องสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
ข้ันท่ี 4ขัน้ ส่ือสารและนาเสนอ

10.นักเรียนแต่ละคู่นาข้อมลู ความรู้เกี่ยวกับหลกั ในการเขียนและอา่ น อักษรย่อ และคาย่อ
ทไ่ี ดจ้ ากการสืบค้นมาเรยี บเรียงและสรุปข้อมลู เพ่อื อธบิ ายความรู้ โดยผลดั เปลีย่ นกนั อธบิ ายและ
ตรวจสอบความรูซ้ ง่ึ กนั และกัน จากนนั้ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ในสว่ นทีบ่ กพร่องและสรุป
ประเดน็ ความรู้

11. ครูสุ่มเรยี กนกั เรียน 2-3 คู่ ออกมาอธบิ ายหลักในการเขยี นอักษรย่อ และคาย่อ
และให้เพือ่ นกลมุ่ อื่นรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องจากนนั้ นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ

12.นักเรียนทาใบงานท่ี 5.1 เรื่อง การเขียนอักษรย่อและคายอ่ เสร็จแล้วนาสง่ ครตู รวจ
คาถามกระตนุ้ ความคิด

หากพบคายอ่ กม. นักเรียนจะอ่านออกเสียงอย่างไร เพราะเหตใุ ด
(อา่ นออกเสยี งวา่ กิ – โล – เม้ด หรือ กด – หมายโดยพิจารณาจากคาแวดล้อมของอักษรยอ่
ดังกล่าว)
ขน้ั ท่ี 5ขน้ั ประเมนิ เพอื่ เพิ่มคุณค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ

13. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกันบอกประโยชนข์ องการอักษรย่อและการอ่านตวั เลข

14.นักเรยี นรว่ มกนั สรุปหลกั การใชอ้ ักษรย่อและการอ่านตวั เลข โดยครเู น้นย้าให้นักเรียน
ตระหนกั ถึงความถกู ต้องและเหมาะสม

6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ :

การประเมนิ วธิ ีการ เครื่องมือ
-คาถาม
ด้านความรู้ (K) -การตอบคาถาม -แบบฝึกหดั

-ทาแบบฝึกหดั -แบบประเมนิ การอ่านนทิ านพืน้ บ้าน
-แบบประเมินการเขียนจดหมาย
ด้านทักษะและกระบวนการ (P) -ทกั ษะการอ่านจับใจความ -แบบฝึกหดั
-แบบสงั เกตพฤติกรรม
-ทกั ษะการเขียน

-ทักษะการอ่าน

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยม (A) -สังเกตพฤตกิ รรมในการร่วมกิจกรรม

การทางานกลมุ่ และการเขียน

จดหมาย

7. ส่ือ/อุปกรณ/์ แหล่งการเรยี นรู้ :

1.นทิ านพ้นื บ้านเรื่องปลาบทู่ อง 2. ใบงานเรอื่ งอักษรย่อ 3. เฉลยใบงานเรอื่ งอักษรย่อ
6. ใบงานเรื่องการเขียนจดหมายส่วนตวั
4. ไมเ้ รียกเลขท่ี 5.หนังสือภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

6. กจิ กรรมเสนอแนะ

............................................................................................................................. .........................................................................
......................................................... ............................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ....................................................................................
............................................................................................................................. .........................................................................

ลงช่อื ...........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................ฝา่ ยวิชาการ
( ........................................) ( ........................................)

ลงชอ่ื ...........................................ผบู้ ริหาร
( ........................................)

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน

เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑ์การประเมิน การผ่านการประเมนิ ทกุ รายการต้องได้ 1 ข้นึ ไป

คะแนน สรุป

ข้อ รายการประเมิน ท่ีได้ ผ่าน ไม่ผา่ น หมายเหตุ

1 การวางแผน
2 ความกระตือรอื รน้
3 การแสดงความคิดเหน็
4 มรมารยาทในการพูด
5 มีมารยาทในการฟัง

รวมคะแนน

ประเมินกลุ่มท…ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

( ลงชอื่ ) …………………………………………………….… ผ้ปู ระเมิน ( ครผู ู้สอน )
( ……………………………………………………… )
………. / …………… / ……….

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการรายงาน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ ให้ 1 ควรปรับปรุง ให้ 0
เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ นการประเมนิ ทุกรายการต้องได้ 1 ข้ึนไป

ข้อ รายการประเมนิ คะแนน สรุป หมายเหตุ
ท่ไี ด้ ผ่าน ไม่ผา่ น
1 พดู ทักทายแนะนาตวั เองได้
2 พูดตรงกับหัวขอ้ เร่ืองท่ีอภิปราย
3 บุคลิกท่าทางและมีความม่ันใจในตนเอง
4 เหตุผลสอดคลอ้ งกบั หวั ข้อเรอื่ งอภิปราย
5 พดู สรุปได้ตรงประเดน็

รวมคะแนน

ประเมินกลุ่มท่ี …………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ …………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

( ลงช่ือ ) …………………………………………………….… ผูป้ ระเมนิ ( ครผู ู้สอน )
( ……………………………………………………… )
………. / …………… / ……….

แบบประเมินการเขียนจดหมายส่วนตัว (ชิ้นงานท่ี 1)

ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
321

1 รปู แบบการเขียนจดหมาย

2 การใชค้ าข้ึนต้น และคาลงท้ายจดหมาย

3 เนื้อความจดหมาย

4 การจา่ หนา้ ซองจดหมาย

5 มารยาทในการเขียน

รวม

ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............../.................../................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ดี = 3 12 - 15 ดี
พอใช้ = 2 8 - 11
ปรบั ปรุง = 1 ตา่ กว่า 8 พอใช้
ปรับปรุง
เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

รปู แบบการเขยี นจดหมายส่วนตัว

ท่ีอยู่

1 นิ้ว เส้น —1
กึ่งกลาง ซ

วนั ท่ี

คาข้ึนตน้
เน้อื ความ

คาลงทา้ ย

ชอื่ ผู้เขยี น

ใบงานเรื่องอกั ษรย่อ
คาชแี้ จงให้นักเรียนเขียนคาเตม็ ของคาย่อในประโยคใหถ้ ูกตอ้ ง

1. น.ส. มาลีวลั ย์ คงชนะ เปน็ ผอ. รร. อกั ษรวทิ ย์
2. นิลุบล ทางานท่ี อบต. หวั นา อ. เขมราฐ จ. อุบลราชธานี
3. เมอ่ื เวลา 10.00 น. ด.ญ. รสา เดนิ ไปสง่ จม. ทีต่ ู้ ปณ.
4. อ. ชูวทิ ย์ โทร. แจง้ วา่ คณะ นร. จาก รร. อักษรวิทย์ กาลังจะเดนิ ทางมาถึงแลว้
5. เดือน ก.พ. เปน็ ช่วงฤดูหนาว นพ. ประจา รพ. จงึ แจ้งเตือนใหร้ ะมดั ระวงั โรคหวดั
6. ด.ญ. ฟ้าใส กับ ด.ช. ม่านหมอก เดนิ ทางลงจากภูเขาเพ่ือไป รร. วันละ 10 กม.
7. จนท. หอ้ งสมุด ขอใหน้ ักเรียนแสดงบตั รก่อนเขา้ ห้องสมุด
8. รศ. อัญชนั ขอให้ นศ. ทุกคนตงั้ ใจเรยี นเพื่ออนาคตที่ดที ่กี าลังรออยู่
9. งานแขง่ ขันฟุตบอลปนี ี้มี ส.ห. เขา้ มารักษาความปลอดภัยใหค้ นท่ีไปร่วมงานมัน่ ใจมากยงิ่ ข้ึน

10. ภ. เรอ่ื งตานานสมเด็จพระนเรศวร ให้ความรู้ทางดา้ นประวตั ศิ าสตร์แกผ่ ู้ชม

เฉลยใบงานคาเต็มของคาย่อในประโยคใหถ้ ูกต้อง

1. น.ส. มาลีวลั ย์ คงชนะ เป็น ผอ. รร. อกั ษรวิทย์
นางสาวมาลีวลั ย์ คงชนะ เปน็ ผอู้ านวยการโรงเรียนอักษรวิทย์

2. นิลบุ ล ทางานท่ี อบต. หัวนา อ. เขมราฐ จ. อบุ ลราชธานี
นลิ ุบล ทางานที่องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหวั นา อาเภอเขมราฐ จงั หวัดอุบลราชธานี

3. เมอ่ื เวลา 10.00 น. ด.ญ. รสา เดนิ ไปส่ง จม. ที่ตู้ ปณ.
เม่ือเวลา 10.00 นาฬิกา เด็กหญิงรสา เดินไปสง่ จดหมายที่ต้ไู ปรษณยี ์

4. อ. ชวู ิทย์ โทร. แจ้งวา่ คณะ นร. จาก รร. อักษรวิทย์ กาลังจะเดนิ ทางมาถึงแล้ว
อาจารยช์ ูวทิ ย์ โทรศพั ท์แจ้งว่า คณะนักเรียนจากโรงเรียนอักษรวิทย์ กาลังจะเดินทางมาถงึ แลว้

5. เดอื น ก.พ. เปน็ ชว่ งฤดหู นาว นพ. ประจา รพ. จึงแจ้งเตือนให้ระมัดระวงั โรคหวดั
เดอื นกุมภาพันธ์ เปน็ ช่วงฤดหู นาว นายแพทย์ประจาโรงพยาบาล จึงแจ้งเตอื นให้ระมัดระวังโรคหวดั

6. ด.ญ. ฟ้าใส กับ ด.ช. มา่ นหมอก เดนิ ทางลงจากภเู ขาเพ่ือไป รร. วันละ 10 กม.
เด็กหญิงฟา้ ใส กับ เด็กชายมา่ นหมอก เดนิ ทางลงจากภเู ขาเพือ่ ไปโรงเรยี น วนั ละ 10 กโิ ลเมตร

7. จนท. หอ้ งสมดุ ขอให้นกั เรียนแสดงบัตรก่อนเขา้ ห้องสมุด
เจา้ หน้าท่หี อ้ งสมุด ขอใหน้ กั เรยี นแสดงบตั รก่อนเข้าห้องสมดุ

8. รศ. อัญชัน ขอให้ นศ. ทุกคนต้ังใจเรยี นเพ่ืออนาคตท่ีดีที่กาลงั รออยู่
รองศาสตราจารย์อัญชัน ขอใหน้ ักศกึ ษาทุกคนต้ังใจเรยี นเพ่ืออนาคตท่ดี ีที่กาลังรออยู่

9. งานแข่งขันฟุตบอลปนี มี้ ี ส.ห. เข้ามารักษาความปลอดภัยให้คนที่ไปรว่ มงานม่นั ใจมากยิง่ ขึน้
งานแข่งขนั ฟุตบอลปนี ้มี ีสารวัตรทหารเขา้ มารักษาความปลอดภัยใหค้ นที่ไปรว่ มงานมน่ั ใจมากยิ่งขึ้น

10. ภ. เร่ืองตานานสมเดจ็ พระนเรศวร ให้ความรู้ทางด้านประวัตศิ าสตรแ์ ก่ผ้ชู ม
ภาพยนตร์เรื่องตานานสมเด็จพระนเรศวร ใหค้ วามรทู้ างด้านประวตั ศิ าสตร์แกผ่ ชู้ ม

นิทาน เรื่อง ปลาบทู่ อง

ชายผูห้ น่ึงชือ่ นายทอง เปน็ ชาวบ้านเมอื งพาราณสี นายทองมีภรรยา 2

คน ชอื่ นางขนษิ ฐา และนางขนิษฐี นางขนษิ ฐาเปน็ ผทู้ ี่มจี ิตใจเมตตา

โอบอ้อม ไม่ฆ่าสัตว์ตดั ชีวิต นางมีลูกสาวท่ีสวยนา่ รกั ชอ่ื เอื้อย ซึง่ เป็นเด็ก

สาวท่มี ีจิตใจดีงาม ส่วนนางขนิษฐีภรรยาอกี คนของนายทอง เป็นผทู้ ่ีมีจิตใจหยาบ

กระดา้ ง อจิ ฉารษิ ยาขนษิ ฐาและเอ้ือยอยู่ตลอดเวลา ขนิษฐมี ีลกู สาววัยไลเ่ ลีย่ กับ

เอ้อื ย 2 คน ชอื่ อ้าย กับ อี่ ซึง่ อุปนิสยั และจิตใจเช่นเดยี วกบั ผู้เปน็ แม่ ขนษิ ฐี

และลูกสาวทง้ั สองมักหาโอกาสกลั่นแกลง้ รังแกขนษิ ฐาและเอื้อย โดยหวงั กาจดั ให้

พ้นไปจากบ้าน

วันหนึง่ นายทองออกไปจบั ปลาตัง้ แตเ่ ชา้ จนเที่ยงไดป้ ลาบู่มาหน่งึ ตัว จงึ
นามาบ้านใหข้ นิษฐาทาตม้ ยา ขนษิ ฐาพยายามขอชีวติ ปลาบูไ่ ว้แต่ไม่สาเร็จ จึง
ทาทีว่าจะฆ่าปลาบู่แลว้ แกลง้ ปล่อยให้หนีลงนา้ ไป นายทองและ ขนษิ ฐีโกรธจัด
จับขนษิ ฐาลงเรือบงั คบั ใหอ้ อกไปจบั ปลากลับมาทาอาหาร แต่ขนษิ ฐาไม่สามารถจบั
ปลาได้ ซา้ ยงั ประสบอบุ ัตเิ หตุจนตกจากเรือจมนา้ เสียชวี ิตไป ขนษิ ฐอี ยู่บนบ้าน
เห็นขนษิ ฐาตกน้าก็ดใี จ และไมไ่ ด้ชว่ ยเหลือแต่ อย่างใด เออ้ื ยกลบั มาบา้ นใน
ตอนเย็นและทราบวา่ แม่ตกนา้ หายไป ก็รอ้ งไหเ้ ศร้าโศกเสยี ใจ

ดว้ ยผลแห่งกรรมดีที่ขนษิ ฐากระทาไว้ เทวดาจงึ ยอมให้ขนิษฐาซงึ่ เปน็
นางฟ้าอยู่บนสวรรคก์ ลับลงมาอยู่ ใกลๆ้ เอ้ือยในร่างของปลาบู่ทอง เม่ือเอ้อื ยรูว้ ่าแม่
มาเกิดเปน็ ปลาบู่ทองอยู่ท่ีท่านา้ ก็ดใี จ ทุกวันเอ้อื ยจะมาพูดคุย และนาอาหารมาให้
แม่ปลาบทู่ อง ขนษิ ฐีและลกู ๆ สงสัยทเ่ี หน็ เอือ้ ยมีความสขุ จึงสืบจนรเู้ รอื่ งปลาบู่ทอง
และ วางแผนฆ่าปลาบู่ทองไดส้ าเรจ็ แต่แมเ่ ป็ดเก็บเกล็ดปลาบู่ทองได้และนามาให้
เอือ้ ย ขณะเดียวกนั ขนษิ ฐากอ็ ้อนวอน เทวดาขอลงมาอย่กู ับลูกอกี เออ้ื ยนา

เกล็ดปลาไปฝงั ไว้ในดิน เทวดาสงสารขนษิ ฐาจงึ แปลงรา่ งให้กลายเป็นตน้ มะเขือ

ตอ่ มาขนษิ ฐีสงสัยว่า ต้นมะเขือท่ีมผี ลหวานอร่อยคือขนษิ ฐากลับมาเกิด
จงึ ทาลายต้นมะเขือท้ิงไป บงั เอิญอี่ทาลกู มะเขือหลน่ ลงไปใตถ้ ุนบ้าน ปนู าซงึ่ เป็น
เพอื่ นของเอือ้ ยเกบ็ ได้ จงึ นาไปใหแ้ มเ่ ป็ด เออื้ ยไดร้ บั ลูก มะเขือจากแมเ่ ปด็ ก็แอบ
ไปฝังท่ีชายป่า เทวดายอมให้ขนิษฐาลงมาอยู่กบั ลกู อีกคร้ัง เปน็ ตน้ โพธิ์เงินโพธ์ิทอง

ซง่ึ เมือ่ ตอ้ งลมก็จะบังเกิดเสียงไพเราะดังกรงุ๊ กริง๊ ๆ เอ้ือยก็มีโอกาสมาหาแม่

ท่เี ป็นต้นโพธิ์เงนิ โพธ์ทิ องได้ทุกวนั โดย สามแมล่ กู ไม่สงสัย

วันหน่งึ พระเจา้ พรหมทัตผู้ครองกรงุ พาราณสีเสด็จประพาสย่านหัวเมือง
เพอ่ื เยย่ี มเยียนราษฎร เม่ือมาถงึ ชายปา่ ทรงสดับเสียงกรุ๊งกริ๊งๆ ที่ไพเราะ จึงทรง
ม้าออกตามหาที่มาของเสียง จนพบตน้ โพธ์เิ งนิ โพธิ์ทองและเอ้ือย เออ้ื ยตกใจว่ิง
หนไี ปก่อน พระเจ้าพรหมทตั มีพระราชประสงค์จะนาตน้ โพธ์ไิ ปปลกู ในวงั แต่ก็ไม่

สามารถนาไปได้ จงึ ทรงประกาศวา่ ผู้ทีเ่ คล่ือนย้ายตน้ ไม้ได้จะไดร้ ับรางวัล
อย่างงาม


Click to View FlipBook Version