The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by singhayamilah, 2022-05-18 06:43:38

ชุดวิชา

ชุดวิชา

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผ้งึ ชนั โรง

คำนำ

ชุดวิชาการเลี้ยงผึ้งชันโรงในอำเภอสุไหงปาดี จัดทำข้ึนเพ่ือเป็นหลักสูตรท้องถิ่นของ
สถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนริวาส สืบเน่ืองจาก
นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้จัดทำโครงงานมหัศจรรย์ชันโรงขึ้น และได้มีข้อเสนอแนะจากการทำ
โครงงานให้มีการต่อยอด โดยส่งเสริม พัฒนาการเลี้ยงผ้ึงชนั โรงให้เป็นอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้ในชุมชน ประกอบ
กับมีประชาชนสนใจการเลย้ี งผึ้งชันโรง

จากการศึกษาค้นหาข้อมูล มีประชาชน ได้คิดค้น หาวิธีการลอกเลียนแบบธรรมชาติ การเลี้ยง
ผึ้งชันโรงโพลงประสบความสำเร็จ สามารถเก็บผลผลิตน้ำผ้ึงขายเพ่ิมรายได้ มีคุณค่าทางอาหาร คณะจึงได้
จัดทำชุดวิชาการเล้ียงผึ้งชันโรงขึ้น เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน ของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดีสำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และผู้ที่สนใจ
ท่ัวไป สามารถเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเอง ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจลงมือฝึกปฏิบัติตามข้ันตอนสามารถเล้ียงผึ้ง
ชันโรงได้

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดวิชาเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน และผู้สนใจเลี้ยงผึ้งชันโรง
ได้ใช้เวลาว่าง และใช้พ้ืนที่ว่างให้เป็นประโยชน์ เพิ่มรายได้ สามารถเลี้ยงผึ้งชันโรง และเมื่อลงมือปฏิบัติ จนมี
ทักษะที่ดี สามารถพัฒนาความรู้ ทักษะไปพัฒนาประยุกต์ใช้เพ่ือเพ่ิมขยายจำนวนรัง เพิ่มผลผลิตท่ีมีคุณภาพ
จำหน่ายให้มีรายได้เพิ่มข้ึนเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพท่ีเป็นทางเลือกอีกทางหน่ึง เพ่ือการดำรงชีวิตและอาชีพ
ในทอ้ งถ่ินต่อไป

คณะผจู้ ัดทำ
กศน.ตำบลริโก๋
ศูนยก์ ารศกึ ษาอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี

ชุดวชิ าการเลยี้ งผ้ึงชนั โรง

สารบญั

รายการ หนา้

คำนำ.................................................................................................................................................. (1)

สารบัญ................................................................................................................................................(1)

คำแนะนำการใชช้ ุดวิชา........................................................................................................................1

โครงสรา้ งชดุ วิชาการเล้ยี งผ้งึ ชนั โรง......................................................................................................2

แบบทดสอบความรูก้ ่อนเรียน ..............................................................................................................4

ตอนท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับการเล้ียงผง้ึ ชันโรง.............................................................................5

เร่ืองท่ี 1.1 ชนิดของผ้งึ ในประเทศไทย.............................................................................6

เรอื่ งท่ี 1.2 ชวี ิตและสังคมของผงึ้ .........................................................................................8

เรื่องที่ 1.3 วงจรชวี ติ ของผ้ึง..........................................................................................10

ตอนที่ 2 ลกั ษณะทัว่ ไปของผ้ึงชันโรง.................................................................................................12

เรื่องท่ี 2.1 ลกั ษณะของผงึ้ ชนั โรง...................................................................................13

เรอ่ื งท่ี 2.2 แหลง่ อาหารของผ้งึ ชนั โรง............................................................................15

เรอ่ื งที่ 2.3 การเพิ่มจำนวนรงั ของผึง้ ชนั โรง....................................................................18

ตอนท่ี 3 ประโยชน์ของผ้งึ ชนั โรง.......................................................................................................19

เร่ืองท่ี 3.1 ประโยชน์ของผ้ึงชนั โรง..................................................................................20

เรอื่ งที่ 3.2 ผลติ ภัณฑท์ ่ที ำจากน้ำผ้ึง..............................................................................22

ตอนท่ี 4 การเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ชเ้ ลย้ี งผ้งึ ชันโรง.........................................................................27

เรือ่ งที่ 4.1 วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชเ้ ลยี้ งผึง้ ชันโรง.....................................................................28

เร่อื งที่ 4.2 การใช้และการเกบ็ รักษาอปุ กรณเ์ กบ็ นำ้ ผง้ึ ...................................................29

ตอนที่ 5 ขั้นตอนการทำรงั เลี้ยงผง้ึ ชันโรง..........................................................................................30

เรื่องที่ 5.1 วัสดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ทำกลอ่ งหรือรังเล้ียงผ้ึงชนั โรง............................................31

เรอ่ื งที่ 5.2 ขน้ั ตอนการทำกล่องหรือรงั เลี้ยงผ้ึงชันโรง.................................................. 33

ตอนที่ 6 วธิ กี ารดแู ลรกั ษาและการป้องกนั ศัตรูผึ้งชันโรง..................................................................36

เรื่องที่ 6.1 วธิ ีการดูแลรักษา........................................................................................37

เร่อื งที่ 6.2 ศัตรูและการป้องกนั ศัตรผู ง้ึ ชันโรง...............................................................37

ตอนที่ 7 การเก็บนำ้ ผงึ้ ชนั โรง............................................................................................................40

เรือ่ งที่ 7.1 วิธีการเก็บนำ้ ผง้ึ ชันโรง...............................................................................41

ตอนที่ 8 การบรรจภุ ณั ฑ์นำ้ ผึ้งชนั โรง...............................................................................................43

เรื่องที่ 8.1 การบรรจุภณั ฑ์น้ำผ้ึง..................................................................................44

ตอนท่ี 9 การบรหิ ารจดั การและการตลาด......................................................................................46

เรอ่ื งท่ี 10.1 การคดิ ราคาตน้ ทุนและกำหนดราคาขาย..................................................47

เรอื่ งที่ 10.2 การจัดจำหน่าย................................ .......................................................48

ชุดวชิ าการเลี้ยงผึง้ ชันโรง

เรื่องท่ี 10.3 การจดั ทำบัญชรี ับจา่ ยเบ้อื งต้น....................................... ............................49
แบบทดสอบหลงั เรียน......................................................................................................................51
บรรณานกุ รม................................................................................................................... .................55
เฉลย......................................................................................................................... ........................57

ชุดวชิ าการเลย้ี งผ้งึ ชันโรง

คำแนะนำการใชช้ ดุ วชิ า

การศึกษาชุดวิชาการเลย้ี งผึง้ ชนั โรง ตามหลกั สูตรวชิ าชีพระยะส้ัน เลม่ น้ี เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด
แก่ผเู้ รียนโปรดปฏิบตั ิ ดังน้ี

1. ศกึ ษาโครงสรา้ งของชุดวชิ าให้เขา้ ใจเพือ่ จะได้วางแผนการเรียนให้ถูกต้อง
2. ทำแบบทดสอบความรู้เบื้องต้นแล้วตรวจคำตอบที่เฉลยไว้เพ่ือทราบความรู้เบ้ืองต้น
เกี่ยวกบั ผึง้ ชนั โรง
3. ศึกษาสาระสำคัญจุดประสงค์ และขอบข่ายเนื้อหาในแต่ละตอนให้เข้าใจเพื่อทราบ
จุดเนน้ ในตอนนน้ั ๆ
4. ปฏิบัติตามกิจกรรมในแต่ละตอนให้ครบถ้วนเพื่อให้เป็นไปตามลำดับการเรียนรู้และ
สามารถปฏบิ ัตจิ รงิ ได้
5. การศกึ ษาชดุ วชิ าเล่มนี้จะบรรลุตามวัตถุประสงค์ได้นัน้ ข้นึ อยู่กับการฝึกปฏิบัติจริง
6. เมือ่ ศึกษาครบทุกขัน้ ตอนแลว้ ให้ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นเพ่ือจะได้ทราบความก้าวหน้า
ของการศึกษาชดุ วชิ าเลม่ นี้

ชุดวิชาการเล้ยี งผ้ึงชนั โรง

โครงสร้าง ชุดวิชาการเล้ยี งผ้ึงชนั โรง ตามหลกั สูตรวิชาชีพระยะสั้น

สาระสำคญั

การเลย้ี งผง้ึ ชนั โรง เป็นอีกอาชพี หน่ึงทนี่ ่าสนใจ ท้าทาย สำหรับประชาชน ท่ีมีพ้ืนท่ีเป็นป่า

หรือสวนผลไม้ มีแหล่งอาหารของผึ้ง ต้นทุนน้อย ไม่ยุ่งยากในการดูแลรักษาไม่ทำลายธรรมชาติและ

ส่ิงแวดล้อม ผลผลิตน้ำผึ้งมีคุณค่าทางอาหารและยา เหมือนกับน้ำผึ้งป่าท่ัวไป เป็นท่ีต้องการของผู้บริโภค

ซ่ึงยังไม่เพียงพอกับความต้องการ ผู้ท่ีสนใจเรียนรู้การเล้ียงผ้ึงชันโรง จะต้องทราบเก่ียวกับความรู้เบื้องต้น

เก่ียวกบั การเล้ียง ลักษณะท่ัวไปของผ้ึงชันโรง ประโยชน์ของผึ้งชันโรง การเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงผ้ึง

ชันโรง ข้ันตอนการทำกล่องเลี้ยงผึ้งชั้นโรง วิธีล่อผ้ึงชันโรงเข้ารัง วิธีการดูแลรักษาและการป้องกันศัตรูผึ้ง

ชันโรง การเก็บน้ำผ้ึงชันโรง การบรรจุภัณฑ์น้ำผ้ึงชันโรง และการบริหารจัดการและการตลาด เพ่ือนำไป

ประกอบอาชพี เลี้ยงผงึ้ ชันโรงได้เปน็ อาชีพหลกั หรืออาชพี เสริมสรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ครอบครัว

จุดประสงค์

เมื่อศึกษาชดุ วชิ าเล่มนี้จบแลว้

1. ผูเ้ รียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจการประกอบอาชีพเลีย้ งผ้ึงชนั โรงได้

2. ผเู้ รียนสามารถประกอบอาชีพเล้ียงผง้ึ ชันโรง และสรา้ งรายไดท้ ่ีมั่นคง

ขอบขา่ ยเนือ้ หา

ชดุ วิชาการเลยี้ งผ้งึ ชันโรง ตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น

มขี อบขา่ ยเนื้อหา 10 ตอน เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ตอนท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับผง้ึ ชนั โรง เวลาเรียน 3 ชั่วโมง

ตอนท่ี 2 ลกั ษณะของผึ้งชนั โรง เวลาเรยี น 3 ช่วั โมง

ตอนที่ 3 ประโยชนจ์ ากผึ้งชันโรง เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง

ตอนที่ 4 วสั ดุ อปุ กรณท์ ี่ใชเ้ ล้ียงผงึ้ ชนั โรง เวลาเรียน 3 ชวั่ โมง

ตอนท่ี 5 ข้นั ตอนการทำลงั เล้ียงผึ้งชนั โรง เวลาเรียน 10 ชว่ั โมง

ตอนท่ี 6 การดูแลรกั ษาและการป้องกนั ศตั รูผงึ้ ชนั โรง เวลาเรยี น 6 ชั่วโมง

ตอนท่ี 7 การเกบ็ นำ้ ผง้ึ ชันโรง เวลาเรียน 3 ช่วั โมง

ตอนที่ 8 การบรรจุภัณฑ์น้ำผ้ึงชนั โรง เวลาเรยี น 6 ชว่ั โมง

ตอนที่ 9 การจดั การและการตลาด เวลาเรียน 3 ชั่วโมง

ชดุ วิชาการเล้ยี งผ้งึ ชนั โรง

แบบทดสอบความรู้กอ่ นเรยี น

ชดุ วิชา การเลี้ยงผึ้งชนั โรง ตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น

คำชี้แจง ใหผ้ ้เู รียนเลือกคำตอบที่ถูกทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดียวโดยทำเครอื่ งหมายXลงในกระดาษคำตอบ

ข้อสอบมีทง้ั หมด 20 ขอ้ ให้ตอบทกุ ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนนเวลา 30 นาที

1. ผ้งึ มีก่ชี นิด ง. ดอกไม้ ผลไม้

ก. 2 ชนดิ 7. เซลล์สบื พันธุเ์ พศผู้ของดอกไม้ท่ีผึ้งไป

ข. 3 ชนิด คลกุ เคลา้ ติดขามากับผง้ึ เรียกว่า อะไร

ค. 4 ชนิด ก. นำ้ ผึง้

ง. 5 ชนดิ ข. นมผึ้ง

2. ครอบครวั ผ้งึ ประกอบดว้ ย 3 วรรณะ ค.เกสรผ้งึ

ขอ้ ใดไม่ใช่ ง. พรอพอลิส

ก. ผ้ึงงาน 8. ส่วนสำคัญที่สดุ ในการเลอื กสถานทีเ่ ลีย้ งผ้ึง

ข. ผ้งึ ตวั ผู้ ชนั โรง คือ ข้อใด

ค. นางพญาผงึ้ ก. แหล่งน้ำ

ง. ผงึ้ นางพญา ข. ดอกไมผ้ ัก

3. ประชากรในรงั ผง้ึ หนงึ่ รงั มีผ้งึ นางพญา ค. ดอกไม้วชั พืช

ก่ีตวั ง. ดอกไม้ผลไม้

ก. หนง่ึ ตวั 9. ผง้ึ ชนั โรงชอบทำรงั ในพื้นท่ที ม่ี ีลกั ษณะ

ข. หลายตวั อย่างไรมากท่ีสดุ

ค. 500 - 800 ตวั ก. พื้นทีป่ ลูกผัก

ง. หนึ่งตวั ขนึ้ ไป ข. พน้ื ที่สวนลำไย

4. ผึ้งตวั ผู้ มีหนา้ ท่ี ข้อใด ค. พื้นทท่ี ี่มีการเผาปา่

ก. หาอาหาร ง. พน้ื ที่ทไี่ ม่มสี ารเคมี

ข. ผสมพันธ์ุ 10. หลงั จากผึง้ ชันโรงเข้ารงั แล้ว ควรตรวจ

ค. ปกปอ้ งรัง สภาพรังสปั ดาห์ละก่คี รง้ั

ง. ทำความสะอาดรงั ก. สัปดาห์ละ 1-2 ครัง้

5. ข้อต่อไปนเี้ ป็นการพัฒนาวงจรชีวิต4ระยะของ ข. 2 สปั ดาห์ 1 ครั้ง

ผึ้งยกเวน้ ขอ้ ใด ค. 3 สัปดาห์ 1 ครง้ั

ก. ไข่ ง. เดือนละ 1 ครั้ง

ข. หนอน 11. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของนำ้ ผง้ึ

ค. ดกั แด้ ก. ใช้ผสมยา

ง. ดว้ ง ข. ใช้ผสมอาหารและเครอ่ื งด่ืม

6. ขอ้ ใด คือ อาหารรองของผ้ึง ค. ใช้ผสมในเครือ่ งสำอาง

ก. ดอกไม้ปา่ ง. ใช้ผสมยาให้เด็กอ่อน

ข. ดอกไมว้ ัชพชื

ค. ดอกไมผ้ ัก

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผ้งึ ชันโรง

12. ข้อใดเป็นคณุ สมบัตขิ องน้ำผง้ึ 18. การทำกล่องหรือรงั เลีย้ งผึ้งชันโรง
ก. บำรงุ สมอง ควรทำส่วนประกอบใดอนั ดับแรก
ข. ยาอายุยนื
ค. รกั ษาโรคความจำเสื่อม ก. ฐาน
ง. รักษาโรคข้อกระดกู เส่ือม ข. ตวั
ค. ฝา
13. สว่ นสำคญั ท่สี ุดในการเลือกสถานทเี่ ลย้ี งผง้ึ ง. ผนงั
ชันโรงคือ ข้อใด 19. การเก็บน้ำผ้ึงไม่ควรเก็บฤดใู ด
ก. แหล่งนำ้ ก. ฤดฝู น
ข. ดอกไม้ผัก ข. ฤดูรอ้ น
ค. ดอกไม้วชั พืช ค. ฤดหู นาว
ง. ดอกไม้ผลไม้ ง. ฤดูแล้ง
20. ถ้าเลอื กใชอ้ ุปกรณก์ ารทำรังผ้ึงไมเ่ หมาะสม
14. การเกบ็ น้ำผึง้ ควรเก็บช่วงใดดที สี่ ดุ จะมีผลอย่างไร
ก. ฤดดู อกไม้โรย ก. งานจะออกมาไมด่ เี ท่าทค่ี วร
ข. ฤดูดอกไมบ้ าน ข. อาจทำใหผ้ ูใ้ ช้เกิดอันตรายได้
ค. ฤดดู อกเริ่มผลิดอก ค. ไม่มีปัญหาถ้าผใู้ ชร้ ูจ้ กั ระมัดระวัง
ง. ได้ทุกฤดู ง. ทำให้รวู้ า่ เครอ่ื งมือบางอยา่ งใชแ้ ทนกันได้

15. หากตอ้ งการเลีย้ งผง้ึ โพรงไทยควร
ทำอยา่ งไรเปน็ ลำดับแรก
ก. วางแผนอยา่ งเป็นระบบ
ข. ทำรังเลี้ยง
ค. หาแหล่งอาหาร
ง. หางบประมาณ

16. ผึ้งโพรงไทยชอบเขา้ ทำรังในรัง
ทม่ี ีลักษณะใด
ก.กล่องไมเ้ กา่
ข.กลอ่ งไม้ใหม่
ค.กล่องพลาสตกิ
ง.กล่องขยะ

17. การนำผึง้ นางพญามาใส่ในรงั เปน็ การล่อผง้ึ
เข้ารงั แบบใด
ก. แบบบงั คับ
ข. แบบธรรมชาติ
ค. แบบวางแผน
ง. แบบทางการ

ชุดวชิ าการเล้ียงผง้ึ ชันโรง

ตอนท่ี 1
ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกับผงึ้ ชนั โรง

จดุ ประสงค์

เม่ือศึกษาชดุ วชิ าตอนน้ีแล้วผูเ้ รยี นสามารถ
1. บอกชนดิ ของผึง้ ในประเทศไทยได้
2. อธบิ ายชวี ิตและสังคมของผึง้ ได้
3. อธบิ ายวงจรชวี ิตของผึ้งได้

ขอบข่ายเนอื้ หา
เรือ่ งท่ี 1.1 ชนดิ ของผง้ึ ในประเทศไทย
เรื่องที่ 1.2 ชวี ิตและสังคมของผึ้ง
เรือ่ งท่ี 1.3 วงจรชีวิตของผึง้

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผ้งึ ชนั โรง

1.1 ชนิดของผ้ึงในประเทศไทย
ชนิดของผง้ึ ในประเทศไทย

ผ้ึง หมายถึงแมลงท่ีเก็บน้ำหวานจากดอกไม้มาทำน้ำผ้ึงเป็นแมลงในวงศ์ Apidaeสกุล
Apis ผึง้ กินนำ้ หวานเป็นอาหาร ที่สำคัญมอี ยู่ 5 ชนิด ดังน้ี

1. ผ้ึงหลวง(A. ceranacerana)
ผึ้งหลวงมีขนาดตัวและรังใหญ่ท่ีสุด ขนาดของลำตัวผ้ึงยาวประมาณ 1.5 - 2 เซนติเมตร ส่วนท้อง

เป็นปล้องสีเหลืองสลับดำ ปกี แขง็ แรง บินเร็วมักพบอยู่ในปา่ หรอื ตามชนบททว่ั ไป ชอบสรา้ งรัง (รวงผ้ึง) บน
ต้นไม้สูงๆ หรือภายนอกอาคารบ้านเรือน ตามวัดหรือใต้ถังเก็บน้ำสูงๆ ลักษณะรังมีช้ันเดียวเป็นรูปครึ่ง
วงกลมขนาดประมาณ 0.5 -2 เมตร รวงรังไม่มีที่ปกปิดผ้ึงหลวงเป็นผ้ึงที่สร้างรังได้หลากหลาย สามารถ
สร้างรังต้ังแต่ระดับต่ำกว่า 2 เมตร จนถึงระดับความสูงมากกว่า 20 เมตร สรา้ งรงั ได้ท้ังบนต้นไม้หรือบน
หน้าผาสูงๆ มีท้ังเกาะอยู่แบบรังเดียวและอยู่แบบหลายรังใกล้ๆ กันบนต้นไม้หรือบนหน้าผา ด้วยเหตุท่ีผึ้ง
หลวงมีขนาดตัวใหญ่จึงมีปริมาณพิษมากพอท่ีจะทำให้ศัตรูหรือมนุษย์ที่มารบกวนเสียชีวิตได้ ถ้าโดนผึ้งงาน
จำนวนมากๆ รุมต่อยพร้อมกัน น้ำผ้ึงท่ีเก็บในช่วงเดือนเมษายน ซึ่งเป็นเดือนที่ผ้ึงหลวงให้น้ำผึ้งดีที่สุด
เรียกว่า “นำ้ ผึ้งเดอื นห้า”

ชดุ วิชาการเลย้ี งผ้ึงชันโรง

2. ผึ้งม้ิม(A. cerana japonica)
ผงึ้ มิม้ มีขนาดตัวและรงั เล็กกว่าผ้งึ หลวงและผงึ้ โพรงขนาดของลำตัวใหญก่ ว่าแมลงวนั บ้านเล็กนอ้ ยท้องปล้อง

แรกมีสีเหลือง ที่เหลือเป็นปล้องสีดำสลับขาวชัดเจน บางท้องถ่ินเรียกว่าผึ้งแมลงวัน พบอยู่ท่ัวไป ชอบตอมขนมหวานและ
ผลไม้ตามตลาด ผ้ึงม้ิมชอบสรา้ งรังท่ีระดับความสูงตั้งแต่ 1 เมตรข้ึนไปจากพื้นดิน ลักษณะรวงรังมีช้ันเดียว ขนาดใหญ่กว่า
ฝ่ามือผู้ใหญ่กางเต็มที่ (ประมาณ 20 –30 เซนติเมตร) ผ้ึงม้ิมมักจะปกปิดรังอยู่ในพุ่มไม้และกิ่งไม้พรางตาเพ่ือป้องกันศัตรู
เดือนกมุ ภาพันธ์-เมษายนเป็นชว่ งเวลาท่ีผงึ้ ม้มิ ให้นำ้ ผ้ึงมากทส่ี ดุ

3. ผึ้งมิม้ เลก็ (A. ceranaindica)
ผึ้งม้ิมเล็ก หรือ ผึ้งม้าน มี

ขนาดตัวและรังเล็กกว่าผึ้งม้ิม จัดเป็น
ผึ้งท่ีเล็กท่ีสุดในโลก ต่างจากผึ้งมิ้มท้อง
ปล้องแรกมีสีดำผึ้งม้ิมเล็กเป็นผ้ึงท่ีหา
ยาก พบเฉพาะบริเวณป่าใกล้ภูเขาที่มี
ความอุดมสมบูรณ์เท่าน้ัน สร้างรังบน
ตน้ ไม้ขนาดเลก็ และขนาดกลางที่ระดับ
ความสูงต่ำกว่า1 เมตร จนถึง 7 เมตร
ลักษณะรังมีช้ันเดียวบอบบางและเล็ก
กวา่ รังของผ้ึงม้ิม คือ มขี นาดเท่าฝ่ามือผู้ใหญเ่ ทา่ นนั้ (ขนาดประมาณ 10-20 เซนติเมตร)ด้วยเหตุท่ีผึ้งมม้ิ ทเี่ ล็กมีรังขนาด
เล็ก จึงมักสร้างรังในท่ีมิดชิดเหมือนผ้ึงม้ิม แต่ปกปิดมิดชิดกว่าในช่วงฤดูฝนเพื่อป้องกันลมพายุและฝนพัดทำลายรังในฤดู

ชดุ วชิ าการเลีย้ งผึ้งชนั โรง

แล้ว จะสร้างรังใกล้บริเวณแหล่งน้ำธรรมชาติผ้ึงม้ิมเล็กเป็นผ้ึงที่มีชื่อเรียกหลากหลายตามแต่ละท้องถ่ิน บางแห่งเรียก ผึ้ง
ม้าน ผึ้งมมิ้ ดำ ผึ้งกระโปกววั มัม่ แมม้ ผึง้ หว่ี

4. ผงึ้ โพรงฝรั่ง
ผึ้งโพรงฝร่ัง หรือ ผึ้งพันธ์ุ คือ ผึ้งพ้ืนเมืองของทวีปแอฟริกาและยุโรป ลักษณะคล้ายผึ้งโพรงไทย

ตัวมีขนาดใหญ่กว่าผ้ึงโพรงไทย แต่เล็กกว่าผึ้งหลวง เป็นผึ้งที่คนไทยนำมาจากต่างประเทศ ดังน้ัน บางครั้ง
จึงนิยมเรียกว่า ผึ้งพันธ์ุยุโรป หรือ ผ้ึงพันธ์ุอิตาเลียน สร้างรังหลายๆรวงขนาดเท่าๆ กันห้อยลงมาถ้าพบ
ตามธรรมชาติในยุโรปจะอยู่ตามโพรงไม้ ซอกหิน หรือตามอาคารที่ปิดมิดชิด ต่อมาได้มีการนำมาเลี้ยงเป็น
อุตสาหกรรมท่ัวโลก เนื่องจากเป็นผ้ึงที่มีขนาดรังเหมาะสมกับการนำมาประยุกต์เลี้ยงในหีบผึ้งขนาด
มาตรฐานได้พอดีและสามารถเก็บสะสมน้ำผ้ึงได้ปริมาณมากที่สุด ไม่ดุเหมือนผึ้งหลวงและไม่ทิ้งรังง่าย
เหมอื นผึ้งโพรงไทย
5. ผง้ึ โพรงไทย(A. ceranaindica)

ผึ้งโพรงไทย มีขนาดตัวใหญ่กว่าผ้ึงม้ิม แต่เล็กกว่าผ้ึงหลวง ลำตัวมีสีน้ำตาล หรือดำสลับเหลือง
เปน็ ปล้องๆ ท่ีส่วนท้อง ผึ้งโพรงสร้างรังในโพรงไม้ ในอาคารบ้านเรือนท่ีมิดชิดและมืด เช่น ใต้หลังคา รวงรัง
มีลักษณะหลายรวงห้อยลงมาเรียงขนานกัน ขนาดของรวงรังมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 30 - 40
เซนติเมตร ผ้ึงโพรงไทยสามารถนำมาเล้ียงในหีบได้ ให้น้ำผ้ึงในช่วงเวลาท่ีดอกเงาะ ดอกทุเรียน ดอก
มะพรา้ ว หรือดอกไม้จากสวนผลไม้กำลงั บานในขณะน้นั ทำให้สามารถเก็บน้ำผ้ึงไดห้ ลายคร้ัง

1.2 ชีวติ และสังคมของผึ้ง

ชวี ิตและสงั คมผ้งึ
ชีวิตและสังคมของผ้ึงไม่มีผ้ึงตัวใดตัวหน่ึงสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างโดดเด่ียวเป็นระยะเวลานาน

โดยขาดความสัมพันธ์กับผึ้งวรรณะอื่นภายในสังคมเดียวกัน เพราะผึ้งเป็นแมลงสังคมท่ีมีวิวัฒนาการสูง มี
ระบบสังคมมาเป็นเวลาช้านานประมาณถึง 30 ล้านปี ผ้ึงแต่ละรังเปรียบเสมือน ครอบครัวหนึ่งซึ่ง

ประกอบด้วย 3 วรรณ ะ ได้แก่ ผ้ึงนางพญ า (queen) ผ้ึงงาน
(worker) ผึ้งเพศผู้ (drone) ในแต่ละรังมีผ้ึงนางพญาหนึ่งตัวผึ้งเพศผู้
หลายร้อยตัว และผึ้งงานอีกจำนวนเปน็ หมื่นตัว โดยเฉพาะผึ้งหลวงและ
ผึ้งพันธ์ุอาจจะมผี ้ึงงานไดห้ ลายหม่ืนตัว

1. 1 ชุดวชิ าการเลยี้ งผ้งึ ชนั โรง

ผงึ้ นางพญา (queen)เป็นเพศเมียมาจากไขท่ ี่ได้รบั การผสมมีขนาดใหญ่และยาวกว่าผ้ึงตัวอ่ืนภายในรังปีก

ของนางพญาปิดไม่ถึงส่วนท้องและ บริเวณท้องมีลักษณะเรียวแหลม

รปู ร่างคล้ายสามเหลี่ยมโดยมีอวัยวะ วางไขท่ ส่ี มบูรณ์

มีหน้าที่หลักคือวางไข่ผสมพันธุ์และ ควบคุมรัง ในผึ้งพันธ์ุยุโรปผึ้ง

นางพญาสามารถวางไข่ไดถ้ ึง 1,000- 3,000 ฟ อ ง/วั น ส่ ว น ผ้ึ งโพ ร ง

สามารถวางไข่ ประมาณ 800 ฟอง/ วนั

ส่วนอวัยวะอื่นๆได้แก่เหล็กใน มี ลักษ ณ ะโค้งเมื่ อต่อยศัตรูผ้ึ ง

นางพญาสามารถถอนเหล็กในกลับ ได้อย่างชา้ ๆโดยไม่หลุดติดไปส่วน

ขาหลังไม่มีที่เก็บเกสรเหมือนผึ้งงาน และผงึ้ นางพญามอี ายุยาวนาน 2-

3 ปี

ผ้ึงงาน (worker)มีขนาดเล็กกว่าผึ้งทุกตัวภายในรังลักษณะเด่นของผึ้งงานมีเส้นคาดที่ปล้องท้องสีน้ำตาล

สลับเหลืองมีโครโมโซมเปน็ 2 ชุด เชน่ เดียวกบั ผ้ึงนางพญา

มีหน้าท่ีป้องกันรังทำความสะอาดหาน้ำหวานเกสรน้ำยางไม้ฯลฯผ้ึงงานมีกรามขนาดใหญ่และส่วนหัวมี

ลกั ษณะเป็นสามเหล่ียมขาหลงั ของผึ้งงานดัดแปลงสำหรบั เก็บเกสรและพรอโพลิสส่วนเหล็กไนเมื่อต่อยศัตรู

แลว้ ถุงน้ำพิษหลดุ ติดออกมาสามารถใชไ้ ดค้ รั้งเดียวหลังจากนนั้ ผ้ึงงานก็ตายสำหรบั ประชากรของผง้ึ พบวา่ ใน

รังผึ้งโพรงไทยมีจำนวนประชากรตั้งแต่ 6,000-7,000 ตัวส่วนประชากรของผึ้งพันธุ์ยุโรปA. Melliferaมี

ประชากร 1,000-100,000 ตวั

ผ้ึงเพศผู้ (drone)เกิดจากไข่ท่ีไม่ได้รับการผสม ลำตัวค่อนข้างป้อมส้ัน

กว่านางพญาในรังผ้ึงโพรงปกติเห็นเพศผู้ปีละครั้งโดยมีจำนวนประชากร

ประมาณ 200-500 ตวั /รงั

มีหน้าที่เดียวคือผสมพันธุ์ กับผ้ึงนางพญามีตาขนาดใหญ่มีประสิทธิภาพ

สูงต่อการบนิ ไปหาผ้งึ นางพญาบริสุทธ์ิเพอ่ื ผสมพันธ์ุ อวัยวะสืบพันธ์เุ จริญ

เต็มท่ีภายใน8-14 วันไม่ออกบินไปหากิน มีผึ้งงานอายุ 2-20 วัน คอย

ป้อนอาหารให้ ผึ้งเพศผู้อายุได้ 1 สัปดาห์ เมื่อบินคล่องทำการออกผสม

พันธ์ุในขณะอายุต้ังแต่ 4-5 วัน ข้ึนไป ในช่วงฤดูผสมการพันธ์ุสำหรับผึ้งโพรงในประเทศไทยพบเพศผู้มาก

เดือนเมษายนถึงปลายเดือนสิงหาคมโดยผ้ึงงานสร้างหลอดรวงของผึ้งเพศผู้บริเวณเหนือหรือส่วนล่าง ของ

รวงผ้ึงเมือ่ ผ้ึงเพศผเู้ ริม่ เข้าดกั แด้ผง้ึ งานปิดหลอดรวงผึ้งเพศผู้ของผ้งึ โพรงใชร้ ะยะเวลาในการเจรญิ เตบิ โตจาก

ไข่ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 21 - 23 วันเมื่อออกจากหลอดรวงผึ้งเพศผู้อ่อนแอ และตายอย่างรวดเร็วภายใน

2 -3 ชั่วโมง

ชุดวิชาการเล้ยี งผ้ึงชนั โรง

1.3 วงจรของผ้ึง
วงจรชีวิตของผ้ึง ผึ้งมกี ารพัฒนาวงจรชวี ติ เปน็ 4 ระยะไดแ้ ก่ไข่หนอนดักแด้ และตวั เต็มวยั

ผ้งึ นางพญาวางไข่

๑ ตัวเต็มวัย



๒ ตัวอ่อน ๕



๓ ๔

หนอนในหลอดไข่ ดกั แด้

ดกั แด้ หนอนที่อย่ดู า้ นลหา่ งนขออนงหในลหอลดอรวดงไมขีส่ ภาพโคง้ งอและหนอนที่มสี ุขภาพดมี ีสีขาวบรสิ ุทธิอ์ ้วนสมบูรณแ์ ละ
หนอนของผง้ึ โพรงมีการเปลีย่ นแปลงไปตามวรรณะ
ตวั หนอนในหลอดไข่ 2-3 วันแรกของหนอนผ้งึ งานทำความสะอาด ให้ความอบอนุ่ ผึ้งงานตัวเตม็ วัยท่ีเป็น
พยาบาล คอยปอ้ นอาหารให้หนอน (Bhuiyanet al., 2002)

การเจรญิ เติบโตของผ้งึ พันธุ์แบง่ เปน็ 4 ระยะ คือ
- ระยะไข่ผ้ึงนางพญาถ้าต้องการวางไข่เพศเมียจะนำน้ำเช้อื ของผ้ึงตวั ผู้ออก มาผสมกับไข่ ถ้าเป็น

เพศผกู้ ไ็ มป่ ล่อยนำ้ เชือ้ ไขย่ าวประมาณ 0.5 ซม. หัวท้ายมน โค้งงอเล็กน้อย
- ระยะหนอนเมอ่ื ไขไ่ ด้3 วัน จะฟักออกมาเป็นตวั หนอนขนาดเล็ก สีขาว นอนลอยอยบู่ นอาหารที่

ก้นหลอดรวง มกี ารลอกคราบทั้งหมด 5 คร้งั
- ระยะดกั แด้ในระยะแรกจะมีสีขาว เมอื่ มอี ายุมากข้ึนจะคอ่ ยๆ เปลย่ี นเป็นสนี ำ้ ตาล
- ระยะตัวเต็มวัย เมื่อดักแด้โตเต็มที่ก็จะใช้กรามกัดไขผึ้งที่ปิดหลอดรวงออกมาเป็นตัวเต็มวัย

วรรณะของผง้ึ พนั ธวุ์ รรณะของผ้ึง แบง่ ออกเปน็ 3 วรรณะคอื
ผึ้งนางพญา (The Queen)เกิดจากไข่ท่ีได้รับการผสมกับเชื้อตัวผู้ และได้รับอาหารพิเศษจากผึ้ง

ชุดวชิ าการเลี้ยงผง้ึ ชนั โรง

งาน มีขนาดใหญ่ และมีล้าตัวยาวกว่าผึ้งตัวผู้และผ้งึ งาน ปีกของผึ้งนางพญาจะมีขนาดสั้น มีเหลก็ ในไว้ต่อสู้
กบั นางพญาตวั อ่ืนเท่าน้นั ไมม่ ีการออกหาอาหาร ไม่มที ่เี ก็บละอองเกสร และไม่มีต่อมผลิตไขผ้ึง ผึ้งนางพญา
มีหน้าท่ผี สมพันธ์ุ วางไข่ และควบคุมสังคมผง้ึ ให้อยู่ในสภาพปกติ

ผึ้งงาน (The Worker) ผ้ึงงานเป็นผ้ึงท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดภายในรังผ้ึง ปริมาณมากท่ีสุด เกิดจากไข่
ทไ่ี ด้รบั การผสมกับเชื้อตวั ผผู้ ึ้งงานเปน็ เพศเมยี เหมือนผ้ึงนางพญา แต่เป็นเพศเมียท่ีไม่สมบูรณ์ ส่วนของรังไข่
จะมีขนาดเล็กไม่สามารถสร้างไข่ได้ ยกเว้นในกรณีที่รังผ้ึงรังนี้เกิดขาดนางพญา ไข่ที่เป็นผ้ึงตัวผู้ มีต่อมไขผ้ึง
ตะกร้อเก็บเกสร ต่อมกล่ินและเหล็กใน ผ้ึงงานมีหน้าท่ีท้าความสะอาดรัง ให้อาหารตัวอ่อน ซ่อมแซมรัง
ปอ้ งกนั รงั และหาน้ำหวาน (Nectar) เกสร (Pollen) น้ำ (Water) และยางไม้ (Propolis)

ผงึ้ ตัวผู้ (The Drone)เกดิ จากไข่ทไี่ ม่ไดผ้ สมกบั น้ำเช้ือตวั ผู้ มีขนาดใหญแ่ ละ
ตัวอ้วนกว่าผึ้งนางพญาและผึ้งงาน ผ้ึงตัวผู้จะไม่มีเหล็กใน ล้ินจะสั้นมาก คอยรับอาหารจากผึ้งงาน หรือดูด
กินน้ำหวานจากท่ีเก็บไว้ในรวงเท่านั้น ไม่ออกไปหาอาหารนอกรัง ไม่มีท่ีเก็บละอองเกสร มีหน้าที่ผสมพันธุ์
หลงั จากผสมพนั ธเ์ุ สร็จ ผ้งึ ตัวผจู้ ะตกลงมาตายโดยอวัยวะสืบพันธ์ตุ ิดคาอยทู่ ่ผี ึง้ นางพญา

ชุดวชิ าการเลี้ยงผ้ึงชนั โรง

ตอนที่ 2
ลกั ษณะของผง้ึ ชนั โรง

สาระสำคญั
การเล้ียงผ้ึงชันโรง เป็นอาชีพท่ีน่าสนใจ สำหรับประชาชนทำสวนผลไม้ สวนยางหรอื มีพื้นที่ติดกับ

ป่า แหล่งน้ำท่ีเป็นแหล่งอาหารของผึ้ง ผู้ท่ีสนใจการเลี้ยงผึ้งชันไทย จึงจำเป็นจะต้องเรียนรู้ลักษณะและ
แหล่งอาหารของผง้ึ ชันโรง
จดุ ประสงค์

เม่อื ศกึ ษาชุดวิชาตอนนี้แลว้ ผ้เู รียนสามารถ
1. อธบิ ายลักษณะของผึ้งชันโรงได้
2. เลือกสถานท่เี ลี้ยงผ้ึงชนั โรงได้
3. เข้าใจการเพิ่มจำนวนรังของผ้ึงชนั โรงไทย

ขอบข่ายเน้อื หา
เร่อื งท่ี 2.1 ลกั ษณะของผงึ้ ชันโรง
เรอ่ื งท่ี 2.2 แหลง่ อาหารของผึ้งชันโรง
เร่อื งที่ 2.3 การเพม่ิ จำนวนรังของผง้ึ ชันโรง

ชดุ วิชาการเล้ยี งผึ้งชนั โรง

2.1 ลกั ษณะของผึ้งชนั โรง
2.2.1 ลักษณะของชนั โรงอีตามา่

อนุกรมวธิ าน

สกุล Heterotrigona

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Heterotrigona itama (Corkewell 1918)

ลกั ษณะท่ัวไป ชันโรง Heterotrigona itama (Corkewell 1918) ชื่อพื้นเมืองเรียกว่า

“อุงควน” เป็นชันโรงขนาดกลาง ลำตัวยาวประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ส่วนหัวและลำตัวสีดำ ส่วนท้อง

คอ่ นขา้ งดำ เนื้อปีกสีน้ำตาลใส เส้นปีกสีน้ำตาลเข้ม สร้างรังในโพรงไมห้ รอื ในดิน ลักษณะปากทางเข้ารงั สีดำ

เบาบาง และอ่อนนุ่ม

เขตแพร่กระจาย พบได้ในประเทศไทยและเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

2.2.2 ลกั ษณะของชันโรงขนเงิน

อนุกรมวิธาน Tetragonula
สกลุ Tetragonula pagdeni (Schwarz, 1939)
ชื่อวิทยาศาสตร์

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผึง้ ชันโรง

ลักษณะทว่ั ไป ชันโรง Tetragonula pagdeni (Schwarz, 1939) ช่ือพ้ืนเมืองเรียกว่า

“อุงแมลงวัน” เป็นชันโรงขนาดเล็ก มีขนาดลำตัวประมาณ 4 มิลลิเมตร ส่วนหัวและอกค่อนข้างดำ ส่วน

ทอ้ งสนี ้ำตาลออ่ น ขาสดี ำ เนือ้ ปีกใส สร้างรังในโพรงตามสง่ิ ก่อสร้าง ผนงั อาคาร เสาไม้ ท่อพีวซี ี ปากทางเข้า

รังมลี ักษณะเปน็ ทอ่ สั้นๆ มีสีนำ้ ตาลเขม้ และอ่อนนุม่

เขตแพรก่ ระจาย พบไดใ้ นประเทศไทยและเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้

2.2.3 ลกั ษณะของชันโรงปกี ขาว

อนกุ รมวิธาน Tetrigona
สกลุ Tetrigona apicalis (Smith, 1857)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์

ลักษณะทัว่ ไป ชันโรง Tetrigona apicalis (Smith, 1857) ชื่อพ้ื นเมืองเรียกว่า

“ข้ีสูด” มีขนาดปานกลาง ลำตัวยาวประมาณ 6 มิลลิเมตร ส่วนหัวสีน้ำต่าลเข้มเกือบดำลักษณะเรียบมัน

ส่วนอกสีน้ำตาลเข้มลักษณะเรียบมันและมีขนสีน้ำตาลกระจาย ขอบด้านหลังมีขนยาว ขาคู่ท่ีสามบริเวณ

ขอบทิเบียมีขนแตกแขนงเป็นพู่ขนนก โคนปีกสีน้ำตาลเข้มและส่วนปลายปีกสีขาว สร้างรังอยู่ตามโพรง

ต้นไม้หรือตามแนวซอกหิน ปากทางเข้ารังมีลักษณะเป็นปากแตรแบนค่อนข้างหนาย่ืนออกมาภายนอกสี

น้ำตาล สีเหลืองอำพัน ลักษณะแข็งและเปราะ บริเวณรอบปากทางเข้ารังมียางไม้ติดโดยรอบ ลักษณะเป็น

เกล็ดเล็กๆ สำหรับใช้ป้องกันมดและศัตรูอ่ืนๆ ที่เข้ามารบกวน นอกจากน้ีท่ีปากทางเข้ายังมีชันโรงงาน

ป้องกนั รังอยู่จำนวน 5-10 ตัว

เขตแพร่กระจาย พบไดใ้ นประเทศไทยและเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

ชุดวิชาการเลี้ยงผึ้งชันโรง

2.2.4 ลักษณะของชันโรงปากแตรใหญ่

อนกุ รมวิธาน

สกลุ Lepidotrigona

ช่ือวิทยาศาสตร์ Lepidotrigona terminata (Smith, 1878)

ลกั ษณะท่วั ไป ชันโรง Lepidotrigona terminata ช่ือพ้ืนเมืองเรียกว่า “อุงดำขาหลัง

ยาว” มีขนาดปานกลาง ลำตัวยาวประมาณ 5.5-6 มิลลิเมตร ส่วนหัวสีดำมีรอยขรุขระ ส่วนอกสนี ้ำตาลเข้ม

และมีแถบขนสีเหลืองอยู่รอบบริเวณขอบอก ส่วนท้องสีน้ำตาลเข้ม เน้ือปีกสีน้ำตาลใส พบสร้างรังอยู่ตาม

โพรงต้นไม้และรอยแตกของหิน ปากทางเข้ารังมีลักษณะเป็นปากแตร อ่อนนุ่ม สีน้ำตาล ปลายปากแตรสี

เหลอื งนวล เม่ือถูกรบกวนจะหลบเข้าข้างในทงั้ หมด

เขตแพร่กระจาย พบได้ในประเทศไทยและเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

2.2 แหล่งอาหารของผึ้งชันโรง

พฤตกิ รรมการหาอาหารของผึ้งชันโรง
การหาอาหารของผึ้งชันโรง สามารถหาอาหารได้ไกลน้อยกว่าผึ้งพันธุ์ สามารถหาอาหาร ประมาณ

6 ถึง 8 กิโลเมตร หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับแหล่งอาหารของผ้ึง ส่วนแหล่งอาหารของผึ้งชันโรง ควรอยู่ใน
เขตพ้ืนท่ีที่มีอาหารสมบูรณ์ปานกลาง คือ เขตภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย เน่ืองจากเป็น
พ้ืนท่ีปลูกไม้ผล โดยเฉพาะมะพร้าวที่ออกดอกตลอดท้ังปี เพราะการหาอาหารของผึ้งโพรงออกหากินได้ไม่
ไกลนกั เฉลย่ี การบนิ ออกหาอาหารประมาณ 600 เมตรเทา่ นนั้
การเกบ็ น้ำหวานของผงึ้ โพรงไทย

ชุดวิชาการเลย้ี งผงึ้ ชนั โรง

การเกบ็ น้ำหวานของผ้งึ งาน
ใช้เวลาติดต่อกนั 3-4 วัน และอาจหาน้ำหวานจากดอกไม้ชนิดเดยี วไปถงึ 20 วนั จนดอกไมโ้ รย

ตอนเช้า ช่วงท่ีดอกไม้บาน ดอกไม้บางชนิดอาจให้เกสรมากผึง้ งานขนเกสรกลับรังมเี กสรติดขามา
เตม็ และเข้าไปบรรจุในหลอดเซลลท์ ีใ่ ช้เก็บเกสร

ตอนบ่าย เปลี่ยนเป็นเก็บน้ำหวานจากดอกไม้อีกชนิดหน่ึง เชน่ การเก็บเกสร จากไมยราบเถาวัลย์
ในตอนเช้าและเกบ็ นำ้ หวานจากดอกสาบเสือในตอนบ่ายในการบินผง้ึ ใช้ความเร็วเฉล่ยี 24 กิโลเมตร/ชว่ั โมง
ในระหว่างการบินออกหากินความเรว็ ประมาณ 20 - 29 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยมากออกไปหาระหว่าง 1- 3
กิโลเมตร จากรังแต่อาจไปไกลถึง 12 กิโลเมตรการออกบินใช้เวลาตั้งแต่ 6 นาที ถึง 3 ชั่วโมง และตอม
ดอกไม้ชนิดเดียวกันครั้งละ 8 - 10 ดอก เก็บเกสรประมาณ 12 - 29 มิลลิกรัม กลับรังและออกไป 6 - 47
คร้ัง/วัน ปกติผึ้งที่ออกไปหาน้ำหวานและเกสรนำเกสรจะกลับมาประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ และ 58-60
เปอรเ์ ซน็ ต์ เอานำ้ หวานกลบั

พืชอาหารหลัก อาหารท่ีได้จากเกสรดอกไม้ผลไม้ ได้แก่มะพร้าวยางพารากล้วยปาลม์ น้ำมนั ไม้ผล
ตามฤดกู าลเชน่ ทเุ รยี นเงาะลองกองกระท้อนชมพู่มะปรางระกำสละมะมว่ งหิมพานตห์ มาก

พืชอาหารรอง เป็นพืชอาหารที่ผง้ึ ใช้ทดแทนหรือเสริมในกรณีที่พืชหลักมีการเว้นช่วงการออกดอก
ตามรอบการผลติ หรอื ฤดกู าล ไดแ้ ก่

ชุดวิชาการเล้ยี งผึง้ ชนั โรง

ดอกไม้ป่าและวัชพืช เป็นดอกไม้ที่พบเห็นท่ัวไปในท้องถิ่น ข้ึนมาเองตามธรรมชาติและผ้ึงเข้าไป
ตอมเพ่อื เก็บน้ำหวานหรือเกสร

1. ดอกไม้บ้านเป็นดอกไม้ทีม่ ีการปลูกเพือ่ การบริโภคหรอื จำหน่ายอาจเป็นพชื ไร่หรือพชื ผัก ซ่ึงพบผ้ึงเข้าไป
ตอมเพื่อเก็บน้ำหวานหรือเกสร ที่พบเห็นในท้องถิ่นได้แก่ มะเขือพวง ดอกแตงกวา โหระพา ฟักทอง บวบ
ถว่ั ฝักยาว ถว่ั ลสิ ง ข้าวโพด เป็นตน้
2. ปลอดส่ิงรบกวน สถานท่ีวางรังปลอดภัยจากสารเคมีและการรบกวนของชุมชน เนื่องจากพฤติกรรมของ
ผง้ึ ชันโรง มคี วามไวตอ่ การรบกวนและมพี ฤติกรรมการทิง้ รงั
การเพ่ิมจำนวนรัง

การแยกรัง คือ หรือขยายอาณานิคมของผึ้งเพิ่มขึ้นจาก 1 เป็น 2 ผึ้งโพรงมีการแยกรัง อยู่
ตลอดเวลาประมาณ 1 - 7 ครั้ง/ปี การแยกรังของผึ้งโพรงน้ีเกิดจากสภาพในรังผ้ึงท่ีมีประชากรหนาแน่น
และภายในรังไม่มีพ้ืนที่สร้างรวงใหมผ่ ึ้งอยู่อย่างแออัดผ้ึงนางพญา ไม่สามารถส่งกลิ่นฟีโรโมนให้ควบคุมการ
ทำงานได้ท่ัวรัง ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยผึ้งงานสร้างหลอดเพศผู้ขึ้นก่อน จากนั้นสร้าง
หลอดนางพญาตาม นางพญาผึ้งโพรงตัวเก่ามาวางไข่ไว้ในหลอดท้ังหลอดของผ้ึงเพศผู้ และหลอดนางพญา
หลงั จากนั้นผง้ึ งานป้อนนมผ้งึ ให้แกต่ ัวอ่อนนางพญา จนกระท่งั เป็นตัวแก่ ผึ้งนางพญา ตัวเก่าพาผงึ้ งานส่วน
หนึ่งไปสร้างรังใหม่ และนางพญาตัวใหม่ดำรงชีวิตต่อไปในรัง การแยกรังเป็นการอยู่รอดอย่างหนึ่งของผ้ึง
โพรง ผึ้งโพรงมกี ารแยกรังตลอดปี ถึงแม้ว่ารังสมบรู ณ์หรอื ไม่กต็ าม

ชุดวิชาการเลย้ี งผง้ึ ชนั โรง

การทิ้งรังหรือการหนรี งั

การท้ิงรังหรือหนีรัง คือ พฤติกรรมท่ีผึ้งทั้งรังท้ิงรังเพื่ออพยพไปหาท่ีอยู่อาศัยใหม่จนเหลือแต่รัง
เปล่า การทิ้งรังเกิดจากการอดอยาก ขาดแคลนอาหาร การแยกรังบ่อยเกินไป นางพญาไม่มีประสิทธิภาพ
โรคและศัตรูรบกวน หรือสภาวะแวดล้อมบริเวณนั้นไม่เหมาะสมที่ดำรงชีวิตต่อไป พบบ่อยมากในรังของผ้ึง
โพรง ผึ้งหลวง และผึ้งมิ้ม โดยเฉพาะผ้ึงโพรงการท้ิงรังเพ่ือหาท่ีอยู่อาศัยใหม่เป็นพฤติกรรมที่ควบคุมโดย
กรรมพันธุ์ นอกจากนั้นการหนีรังอาจเกิดจากการหนีไปให้พ้นจากการรุกรานของโรคและศัตรู เช่น มดและ
ตัวตอ่ เป็นตน้

ชุดวิชาการเลี้ยงผึง้ ชนั โรง

ตอนที่ 3
ประโยชน์จากผงึ้ ชันโรง

สาระสำคญั
การเลี้ยงผึ้งชันโรง เป็นอาชพี ท่ีน่าสนใจ สำหรับเกษตรกรทำสวนผลไม้ สวนยางหรอื มีพื้นท่ีติดกับ

ป่า แหล่งน้ำ ที่เป็นแหล่งอาหารของผ้ึง ผู้ที่สนใจการเล้ียงผ้ึงโพรงไทย จึงจำเป็นจะต้องเรียนรู้ประโยชน์
ของผงึ้ เพื่อเป็นความรู้ทีน่ ำไปใช้ในการประกอบอาชีพต่อไป
จุดประสงค์

เม่ือศึกษาชุดวิชาตอนนี้แลว้ ผเู้ รยี นสามารถ
1. บอกประโยชน์ของผ้ึงชันโรงได้
2. บอกผลิตภัณฑท์ ่ีทำจากน้ำผงึ้

ขอบข่ายเน้อื หา
เรอ่ื งที่ 3.1 ประโยชนข์ องผง้ึ ชนั โรง
เรื่องที่ 3.2 ผลิตภณั ฑ์ท่ีทำจากน้ำผ้งึ

ชดุ วชิ าการเล้ียงผึ้งชนั โรง

3.1 ประโยชน์ของผ้งึ ชนั โรง

ประโยชน์ของผึ้ง
ผลติ ภัณฑจ์ ากผึ้ง เป็นผลผลิตทเี่ กิดจากผึ้ง ได้แก่ นำ้ ผึ้ง เกสรผึง้ พรอพอลสิ หรือยางไม้ นมผึ้งหรือ

รอยัลเยลล่ี ไขผ้ึง พิษผึ้ง ผลผลิตท่ีได้จากผึ้งเป็นผลติ ภัณฑ์ ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและเป็นส่วนผสมของ
อาหารและยา ผลิตภณั ฑ์ผงึ้ ตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่

1. นำ้ ผึ้ง
น้ำผึ้ง เป็นผลิตผลของน้ำหวาน (nectar) จากดอกไม้ป่าและดอกผลไม้จากสวน ท่ีนำมาจาก

ภายนอกรัง ผ่านกระบวนการย่อยของผึ้งแล้ว สะสมในหลอดรัง มีคุณสมบัติเหมือนกับน้ำผึ้งที่ได้ตาม
ธรรมชาติ

เกสรดอกไม้ ผงเกสรผึง้

2. เกสร
เกสรคือ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของดอกไม้ท่ีผ้ึงไปคลุกเคล้ากับอับเกสรติดตัว และใช้ขาปัดเข่ียรวมกัน

เป็นก้อน ติดไว้ท่ีขาหลัง บริเวณอวัยวะท่ีเรียกว่า ตะกร้าเก็บเกสร และนำกลับมาเก็บยังรัง เพื่อใช้เป็น
อาหารประเภทโปรตีน สำหรับประชากรในรัง โดยเฉพาะใช้เลี้ยงตัวอ่อน เกสรท่ีนำมาบ่มในรงั จนผนังเกสร
นมุ่ จะถูกนำไปเล้ียงผง้ึ งาน ตัวออ่ นที่อายมุ ากกว่า 3 วัน โดยผึ้งจะบดผสมกบั น้ำผึ้ง องค์ประกอบในเกสรพืช
แตล่ ะชนดิ แตกตา่ งกัน

ไขผ้ึง เทียนไข ผลิตภณั ฑ์จากไขผ้ึง

ชดุ วชิ าการเลย้ี งผง้ึ ชันโรง

3. ไขผ้งึ
ไขผึ้ง คือสารท่ีผ้ึงผลิตออกมาจากต่อมไขผึ้ง เพื่อใช้สร้างรวงผ้ึงโดย ผ้ึงงานสังเคราะห์จากน้ำตาลท่ีมี

โมเลกุลเชิงเดี่ยวภายในระบบย่อยอาหาร โดยปกติไขผึ้งจะมีสีขาวบริสุทธิ์ แต่สีจะเปลี่ยนไปตามส่ิงท่ีเจือปน เช่น
นำ้ ผึ้ง เกสร อุตสาหกรรมเทียนไข และการผลิตแผ่นรังเทียม งานด้านเภสัชกรรม ทันตกรรมงานหล่อแบบต่างๆ
อุตสาหกรรมพวกวัสดุกันน้ำ ยาขัดมันพ้ืน เฟอร์นิเจอร์ เคร่ืองหนังและเลนส์กล้องส่องทางไกลเป็นส่วนผสมของ
เคร่อื งสำอาง เช่น โลชนั่ น้ำมันแตง่ ผม ลิปสติก เปน็ ต้น

รอยัลเยลลี่

4. รอยัลเยลล่ี
รอยัลเยลล่ี หรือนมผ้ึงเป็นอาหารสำหรับ ตัวอ่อนผึ้งและผ้ึงนางพญา ลักษณะสีขาวคล้ายนมข้น

รสเผด็ เล็กนอ้ ย นมผ้ึงมสี ารอาหารทส่ี มบรู ณท์ ้งั ไขมนั โปรตนี และวติ ามนิ

พรอพอลิส

5. พรอพอลสิ
พรอพอลิสคือ สารชนิดหน่งึ ทผ่ี ึ้งรวบรวมมาจากยางไม้ โดยเฉพาะยางทเ่ี คลอื บอยบู่ รเิ วณตาใบของ

ต้นไม้ ผึ้งจะนำสารพรอพอลิส มาซ่อมแซมรังห่อหุ้มศัตรูท่ีถูกฆ่าตายภายในรัง เพื่อป้องกันการระบาดของ
เช้อื โรคภายในรงั
ประโยชนพ์ รอพอลิส
เป็นยารักษาโรค ใชเ้ ปน็ สารยับยงั้ เชอื้ แบคทเี รีย เช้อื ไวรสั เช้ือรา รวมถึงโรค ในชอ่ งปาก กล่องเสยี ง เป็น
ตน้ และเป็นสว่ นผสมของเคร่ืองสำอาง เชน่ ครมี บำรงุ ผิว สบู่ เปน็ ต้น

ชดุ วิชาการเล้ยี งผง้ึ ชันโรง

3.2 ผลิตภณั ฑ์จากน้ำผ้ึง
นำ้ ผึ้ง เป็นอาหารหวานท่ีผงึ้ ผลติ โดยใช้น้ำอ้อยจากดอกไม้ นำ้ ผ้งึ มกั หมายถงึ ชนิดที่ผลิตโดยผึง้ นำ้ หวานใน
สายพนั ธ์ุ เนือ่ งจาก เป็นผึ้งเก็บน้ำหวานให้คุณภาพสูง น้ำผ้งึ มีประวัติการบรโิ ภคของมนุษย์มายาวนาน และ
ถูกใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารและเครื่องด่ืมหลายชนิด นอกจากน้ี ยังมีภูมิปัญญาท่ีใช้น้ำผึ้งในการ
รักษาอาการเจ็บปว่ ย

ชดุ วิชาการเลีย้ งผงึ้ ชนั โรง

คุณสมบตั ขิ องน้ำผ้ึง

พลังงานคดิ เปน็ แคลอร่ี

นำ้ ผึง้ 0.453 กิโลกรัม (1 ปอนด)์ ใหพ้ ลังงาน 1,380 แคลอร่ี

นำ้ ผึ้ง 100 กรมั ให้พลังงาน 303 แคลอรี่

ประโยชนค์ ณุ คา่ ทางโภชนาการของนำ้ ผ้งึ ต่อ 100 กรมั

พลงั งาน 304 กโิ ลแคลอรี่

คาร์โบไฮเดรต 82.4 กรัม

น้ำตาล 82.12 กรัม

เส้นใย 0.2 กรัม

ไขมนั 0 กรัม

โปรตนี 0.3 กรัม

นำ้ 17.10 กรัม

วิตามินบี1 0.038 มลิ ลกิ รมั 3%

วิตามนิ บ3ี 0.121 มลิ ลกิ รมั 1%

วิตามินบี5 0.068 มิลลกิ รมั 1%

ประโยชนข์ องน้ำผงึ้ วติ ามินบ6ี 0.024 มลิ ลกิ รมั 2%

วิตามินบี9 2 ไมโครกรัม 1%

วิตามนิ ซี 0.5 มิลลกิ รมั 1%

ธาตแุ คลเซยี ม 6 มิลลกิ รมั 1%

ธาตุเหล็ก 0.42 มลิ ลกิ รมั 3%

ธาตุแมกนีเซียม 2 มลิ ลกิ รัม 1%

ธาตฟุ อสฟอรสั 4 มิลลกิ รมั 1%

โพแทสเซยี ม 52 มลิ ลิกรมั 1%

ธาตุโซเดยี ม 4 มลิ ลกิ รมั 0%

ธาตสุ งั กะสี 0.22 มลิ ลกิ รมั 2%

ร้อยละของปรมิ าณแนะนำท่ีร่างกายต้องการในแต่ละวนั สำหรบั ผู้ใหญ่

(ขอ้ มลู จาก : USDA Nutrient database)

ชุดวชิ าการเลีย้ งผึง้ ชนั โรง

ประโยชนจ์ ากน้ำผง้ึ ด้านความงานและสขุ ภาพ
ประโยชน์ของนำ้ ผึ้งนั้นมีหลากหลาย เพราะน้ำผึ้งมสี ่วนผสมของน้ำตาล และสารประกอบอ่ืนๆ ซึ่ง

ส่วนใหญ่จะเป็นฟรุกโทสกับกลูโคส และมีวิตามินและแร่ธาตุ ผสมอยู่ด้วย เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 2
วิตามินบี 3 วิตามินบี 5 วิตามินบี 6 กรดโฟลิก วิตามินซี ธาตุแคลเซียม ธาตุแมกนีเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุ
โพแทสเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก ธาตทุ องแดง ธาตุสังกะสี เป็นต้น สำหรบั สารประกอบอน่ื ๆทมี่ ีอยู่ใน
ปรมิ าณ เพยี งน้อยนดิ นนั้ จะเปน็ สารทที่ ำหน้าทีช่ ่วยต่อตา้ นอนมุ ลู อสิ ระเปน็ หลัก
ประโยชน์นำ้ ผง้ึ ด้านสขุ ภาพ

1. เปน็ ยาอายุวฒั นะช่วย บำรงุ สมอง ชว่ ยในเร่อื งของความจำ
2. ชว่ ยใหร้ า่ งกายสมบรู ณ์แข็งแรงตา้ นทานโรคตา่ งๆได้ดี
3. ชว่ ยเสรมิ สร้างการเจริญเตบิ โตในวัยเด็ก
4. ช่วยเพมิ่ พลงั งานใหแ้ ก่รา่ งกาย
5. ผ่อนคลายความเหน่ือยล้าอ่อนเพลยี จากการทำงานหรอื เล่นกีฬา
6. ช่วยเสรมิ สรา้ งสุขภาพของผปู้ ่วยในระยะพักฟื้น หรอื ผ้สู ูงอายุ
7. ช่วยบรรเทาอาการของโรคต่างๆให้ดขี ้นึ
8. ช่วยในควบคุมน้ำหนักและลดความอ้วน
9. ชว่ ยบำรงุ เลือดในรา่ งกาย ดว้ ยการใชน้ ำ้ ผ้งึ ครงึ่ ชอ้ นโต๊ะใส่แก้ว แล้วบีบมะนาว 1 ซกี ใสเ่ กลือ
เล็กนอ้ ย แล้วเตมิ น้ำร้อนดม่ื
10. ชว่ ยรกั ษาอาการหวดั ใหห้ ายเร็วขนึ้
11. น้ำผง้ึ สามารถบรรเทาอาการไอจากหวัดในเด็กได้ดีกว่ายาแกไ้ อ
12. ช่วยรกั ษาอาการเมาค้าง
13. ชว่ ยปรับสมดุลในรา่ งกายใหค้ งท่ี
14. น้ำผง้ึ มฤี ทธิ์ยาระงับประสาทอ่อนๆ จึงชว่ ยลดอาการหงุดหงดิ ความกงั วลได้
15. ชว่ ยแกอ้ าการนอนไมห่ ลับ และช่วยทำใหห้ ลับสบายยงิ่ ขนึ้
16. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสงู ด้วยการใช้นำ้ ผง้ึ และงาดำอย่างละ 50 กรัม โดยนำงา ตำมา
ตำใหล้ ะเอียดแลว้ ผสมกบั นำ้ ผ้ึง ชงกับน้ำรอ้ นดื่ม
17. ชว่ ยรกั ษาโรคเบาหวาน ดว้ ยการใช้สาลีห่ อมจำนวน 5 ลกู น้ำผ้งึ 250 กรมั โดยปอกลูกแลว้
นำมาตำใหล้ ะเอยี ด นำไปคลุกกบั น้ำผ้งึ แลว้ ต้มจนเหนียว แลว้ นำมาผสมกบั น้ำกนิ
18. ช่วยรักษาโรคโลหติ จาง เพราะนำ้ ผงึ้ มีสว่ นผสมของธาตุเหลก็ ซึ่งช่วยในการเพ่ิม เมด็ เลือดแดง
19. ชว่ ยบำรุงหัวใจ ขับชพี จร และปอ้ งกันการเกิดโรคหลอดเลือดหวั ใจ
20. ช่วยบำรงุ และรักษาโรคตับ
21. ชว่ ยระงับความรอ้ นในร่างกาย
22. ชว่ ยรกั ษาอาการตาอักเสบจากการติดเช้ือ เช่น กระจกตาอักเสบ เยื่อตาอกั เสบ เปน็ ตน้
23. ชว่ ยบรรเทาอาการไอ หลอดลมอักเสบมเี สมหะ ดว้ ยการชงด่มื กับนำ้ มะนาว
24. นำ้ ผึง้ ช่วยลดกรดในกระเพาะ ช่วยในการย่อยอาหาร เพราะน้ำผึง้ จะถูกดดู ซึมทนั ทเี ม่ือถึงลำไส้

ชุดวิชาการเล้ยี งผึ้งชนั โรง

ซง่ึ ตา่ งจากน้ำตาลชนดิ อน่ื
25. ช่วยรักษาโรคกระเพาะ
26. ช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ หรือท้องเสียอย่างรนุ แรง
27. ชว่ ยแก้อาการทอ้ งเดิน และช่วยบำรงุ ลำไส้ทีอ่ ักเสบให้ฟน้ื ตวั เรว็ ขึน้
28. ช่วยแกอ้ าการเด็กปสั สาวะรดท่ีนอนเป็นประจำเพราะชว่ ยดูดความช้นื และช่วยอมุ้ น้ำไว้
29. ช่วยบรรเทาอาการของโรคริดสีดวงทวาร ด้วยการนำกระเทยี มผสมกบั นำ้ ผึ้ง รบั ประทานวันละ

3 ครัง้
30. ชว่ ยป้องกนั การเกิดโรคข้ออักเสบ ด้วยการใชน้ ้ำส้มนำมาผสมกบั แอปเปลิ 2 ช้อนชา ใช้น้ำรอ้ น

1 แก้วแล้วเติมนำ้ ผึ้ง 1 ช้อนชา ชงด่มื วนั ละสองคร้ัง
31. ชว่ ยแกอ้ าการตะครวิ หรือปอ้ งกันการเปน็ ตะคริว
32. ช่วยแก้อาการท้องผูกด้วยการรบั ประทานกล้วยน้ำว้าสุกจ้มิ กบั นำ้ ผ้ึง ชว่ ยลดอาการท้องผกู ลง

ได้
33. ชว่ ยลดการอักเสบของบาดแผล
34. ช่วยปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ของบาดแผลและช่วยให้แผลหายเร็ว

ประโยชนน์ ำ้ ผ้งึ ดา้ นความงาม
1. ช่วยลดและป้องกนั การเกดิ รวิ้ รอยแห่งวัย
2. ช่วยบำรงุ ผวิ พรรณใหเ้ ปน็ ธรรมชาติ
3. พอกหน้าดว้ ยนำ้ ผ้ึงชว่ ยบำรุงผิวหน้าใหด้ อู ่อนเยาว์ ช่มุ ชื่นและนุ่มนวลหลังลา้ งหน้าเสร็จใหน้ ำกลว้ ย
หอมคร่งึ ลูก นำมาบดผสมรวมกบั นำ้ ผง้ึ แลว้ ยำมาทาหนา้ ทิ้งไว้ ประมาณ 15 นาทีแล้วล้างออก
4. ช่วยบำรงุ รกั ษาผวิ หนา้ ที่แห้ง ด้วยการนำไข่แดง 1 ฟองผสมกบั นำ้ ผงึ้ ผสม 1 ช้อน คนให้เข้ากนั แล้ว
นำมาพอกหน้าทงิ้ ไว้ 10 นาทีแลว้ ลา้ งออก
5. น้ำผ้ึงสามารถนำแปรรูปทำผลิตภัณฑ์ตา่ งๆได้อยา่ งหลากหลายเช่น ฟอกหนา้ สบลู่ ้างหนา้ เป็นตน้
6. ช่วยปกปอ้ งผวิ จากรงั สีUV และชว่ ยเสริมสรา้ งเซลลผ์ วิ หนงั
7. ช่วยบำรงุ เส้นผมใหน้ มุ่ สวยเงางาม หลังสระผมเสร็จใหน้ ำนำ้ ผง้ึ ผสมกบั นำ้ มะกอกอยา่ งละ 3 ช้อนโตะ๊
นำมาชโลมให้ทั่วศีรษะทิ้งไวป้ ระมาณ 5 นาทแี ลว้ ล้างออก
8. ช่วยลดสวิ เสยี้ น สิวอดุ ตันบนใบหน้า หลงั ลา้ งหน้าด้วยน้ำอุ่นเสรจ็ แล้ว ให้นำกลว้ ยหอมครึ่งลกู นำมา
บดผสมรวมกับนำ้ ผึง้ แล้วยำมาทาหน้าท้ิงไว้ ประมาณ 5 นาทีแลว้ ล้างออก

ชดุ วชิ าการเล้ยี งผึง้ ชันโรง

วธิ ีการเลือกน้ำผึง้ แท้
1. สังเกตความเข้มข้นและความหนืดเปน็ หลักเพ่ือให้ม่นั ใจว่าในน้ำผึ้งนนั้ ไม่มีน้ำผสมอยู่
2. สังเกตสี ต้องเป็นธรรมชาติ คือสเี หลืองอ่อนถึงน้ำตาลใส และไมข่ ุ่นทึบ
3. มีกล่ินหอมตามชนิดของดอกไมน้ ั้นๆ เช่น น้ำผง้ึ จากดอกลิ้นจี่ นำ้ ผ้ึงจากดอกลำไย
4. สะอาด ไมม่ ีกาก ไขผ้งึ หรือมีเศษของตัวผง้ึ ปะปนอยู่ รวมไปถึงวสั ดุแขวนลอยต่างๆ
5. น้ำผ้งึ ไมแ่ ยกชัน้ และเป็นเน้ือเดยี วกนั
6. เม่ือนำมาหยดใส่กระดาษไขหรือกะดาษทิชชูจะไม่ซึม
9. หยดนำ้ ผึ้งลงในน้ำชา แล้วสงั เกตการละลายถ้าเป็นน้ำผ้ึงแท้เม่ือคนเข้ากนั แล้วน้ำ
ผ้ึงจะไมล่ ะลายทันที

ผ้ทู ีไ่ ม่ควรรบั ประทานนำ้ ผึ้ง
1. ผทู้ ม่ี อี าการแพน้ ้ำผ้งึ หรือเกสรนำ้ ผงึ้
2. มีคำแนะนำวา่ ไม่ควรใหเ้ ด็กอายุต่ำกวา่ 1 ขวบรับประทานน้ำผ้งึ
3. ผทู้ นี่ ้ำเหลืองเสยี มีตุ่มหนอง มีฝพี ุพอง หรอื โรคครุฑราชตา่ งๆ หรือผู้ทีม่ ี
อาการเสมหะพกิ าร(เสมหะมากและมีภาวะโรคปอดแทรก)
4. คนท่ีดพี ิการ(มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง)

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผ้งึ ชนั โรง

ตอนที่ 4
วัสดุ อปุ กรณ์ทใี่ ช้เลย้ี งผง้ึ ชนั โรง

สาระสำคัญ
วัสดุอปุ กรณ์การเลี้ยงผง้ึ ชนั โรง การใช้และเก็บรกั ษาทถ่ี ูกวิธี เป็นปจั จัยสำคัญสำหรับการเล้ยี งผึง้ ทผ่ี ู้เรยี น
จำเป็นอยา่ งยิง่ ทจ่ี ะต้องรู้วสั ดุและอปุ กรณ์ที่ใช้เลยี้ งผงึ้ ชันโรง และเข้าใจการนำไปใช้อปุ กรณแ์ ต่ละชนิดท่ีถกู
วิธี เพอื่ เป็นการนำไปใช้ในการเล้ียงผึ้งชันโรงให้ประสบผลสำเรจ็ ได้
จดุ ประสงค์

1. บอกวัสดุอปุ กรณ์ท่ีใชเ้ ลย้ี งผง้ึ ชันโรงได้ถกู ต้อง
2. บอกวสั ดอุ ปุ กรณ์สำหรับเก็บนำ้ ผง้ึ ชนั โรง
3. อธบิ ายการใชแ้ ละการเกบ็ รกั ษาอุปกรณ์ทถ่ี ูกวธิ ี
ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
เรอื่ งที่ 4.1 วัสดอุ ุปกรณ์ที่ใชเ้ ล้ียงผ้ึงชันโรง
เร่ืองท่ี 4.2 การใช้และการเก็บรักษาอปุ กรณ์ที่ถูกวิธี

ชุดวิชาการเลีย้ งผ้ึงชนั โรง

4.1 วัสดุอุปกรณท์ ี่ใชเ้ ลย้ี งผึง้ ชนั โรง 50

วัสดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ช้เลี้ยงผง้ึ โพรงไทย ผ้ึ ง
1. กล่องหรือรังเล้ียงผ้ึงโพรงไทย ทำด้วยแผ่นไม้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมีความยาว อาจ
ซม.ความกวา้ ง 4 ซม.ความสงู 2.4ซม. ใช้สำหรบั ใหผ้ ึง้ อาศัยทำรังอยู่ ผ้ึ ง
การ
2. ชุดแต่งกาย ใช้รองเท้าบูตยาว,กางเกงยีนส์ หรือผ้าหนาขายาว หรือ วัสดุ
แบบท่ีมีฟองน้ำบุข้างในปลายกางเกงอยู่ด้านนอกรองเท้าแล้วเอายางรัดไว้ หรือ
กนั ผึ้งเข้ากางเกงและเสอื้ ,ถงุ มือยางแบบหนา, หมวกปีกกวา้ ง และถุงตาข่าย
ครอบศีรษะ ใช้ผ้าแบบบางๆ ที่ใช้ตัดเสื้อก็ได้ ให้มองทะลุได้สะดวก โดยใส่ยาง
ยืดไวร้ ดั รอบๆ คอเสอื้ ด้วยหมวกคลมุ ศรี ษะใช้สำหรับใสป่ ้องกนั กันผ้ึงต่อย

3. ท่ขี ังนางพญา
ใชส้ ำหรบั : จบั ผง้ึ นางพญาใสเ่ พ่อื นำไปใสห่ บี ล่อผ้ึงงานเขา้ รัง

4. เครื่องพน่ ควนั
ใช้สำหรับ:เคร่ืองพ่นควัน จะทำให้ผ้ึงไม่บินไปมา เพราะโดยสัญชาติญาณของ
เม่ือเกิดไฟไหม้ผึ้งจะเกาะรอบๆรังเพ่ือป้องกันรังและตัวอ่อน(แม้ตัวมันจะต้อง
ตาย) ดังนั้นเคร่ืองพ่นควันจึงเป็นอาวุธสำคัญ แต่หากเป็นช่วงเช้าๆ หรือค่ำๆ
ไม่ต้องใช้ก็ได้เพราะผ้ึงยังไม่ดุ แต่ช่วงสายๆบ่าย หรือแดดจัดๆ อากาศร้อนๆ
จะค่อนข้างดุ เราจึงจำเป็นต้องใช้เคร่ืองพ่นควันผึ้งให้สยบ มีความสำคัญต่อ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังผ้ึงมากมี 3 ส่วน คือกระป๋อง หม้อลม แผ่นโลหะบุ เป็น
ท่ีเป็นฉนวนทนความร้อนสำหรับเช้ือเพลิงผลิตควันนั้นจะใช้ใบไม้แห้ง, แกลบ
กาบมะพร้าวตามที่หาได้ กาบมะพรา้ วจะได้ควันดี ติดงา่ ย และอยู่นานกวา่

5. เครอ่ื งดดู นำ้ ผึง้
ใช้สำหรับ ดูดน้ำผ้ึงจากรัง โดยไม่ต้องกรองผ้าขาว เพ่ิมความสะดวกในการดูด
น้ำผงึ้ เขา้ สู่ภาชนะที่เตรยี มไว้

ชุดวิชาการเลี้ยงผ้งึ ชนั โรง

4.2 การใชแ้ ละการเกบ็ รกั ษาอุปกรณ์ที่ถกู วิธี
การใช้อุปกรณ์เกบ็ น้ำผึง้ โพรงไทย
1. อปุ กรณ์ทุกชนดิ ใชใ้ ห้ถูกประเภท
2. ดูแลรักษาให้อย่ใู นสภาพที่ดีอยเู่ สมอ
3. ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กิดการเส่ือมสภาพก่อนหมดอายุ
4. กลอ่ งเลีย้ งผ้งึ ต้องใช้หลังคากระเบื้องหรือสังกะสปี อ้ งกนั ฝนไม่ใหเ้ กดิ การชำรุด
5. เครอ่ื งมืออุปกรณ์ทีใ่ ช้ทุกครั้งทำความสะอาดและเช็ดให้แหง้ กอ่ นเก็บในทแ่ี ห้งป้องกันไม่ใหเ้ กดิ สนิม
การเกบ็ รกั ษาอุปกรณเ์ กบ็ นำ้ ผ้ึงโพรงไทย

การเก็บรักษาอุปกรณ์หลังจากการใช้งานแล้วทุกครั้งจะต้องจัดเก็บและทำความสะอาดอุปกรณ์ทุก
ชิน้ เพื่อให้การใช้งานคร้ังตอ่ ไปมีประสิทธิภาพไม่ชำรุดเสียหายอุปกรณ์ท่ีเป็นโลหะได้แก่เหล็กงดั เมื่อใช้เสร็จ
ต้องเช็ดดว้ ยผ้าชุบนำ้ มันและชโลมน้ำมันให้ท่วั เพ่ือปอ้ งกนั สนมิ แล้วเก็บใสซ่ องหรือกล่องแล้วแต่กรณี

ชุดวชิ าการเล้ยี งผง้ึ ชันโรง

ตอนท่ี 5
ขั้นตอนการทำกล่องเลี้ยงผึง้ ชันโรง

สาระสำคัญ
กล่องหรือรังเปน็ อุปกรณ์สำคัญสำหรับการเลีย้ งผึ้งชันโรง ท่ีผู้เรียนจำเป็นอยา่ งย่ิงที่จะต้องรกู้ ารเลือก

วัสดุและอุปกรณ์ และขั้นตอนการทำรังเลี้ยงผ้ึงชันโรง อย่างเข้าใจการนำไปลงมือปฏิบัติตามข้ันตอน
ท่สี ามารถทำกลอ่ งหรอื รังเล้ียง และนำไปใช้ในการเล้ยี งผ้ึงชันโรงให้ประสบผลสำเรจ็ ได้
จุดประสงค์

1. บอกวสั ดุอปุ กรณท์ ่ใี ชท้ ำกลอ่ งหรือรังเลี้ยงผ้ึงชนั โรงไดถ้ กู ต้อง
2. บอกข้ันตอนการทำกลอ่ งหรอื รังเล้ียงผ้ึงได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องท่ี 5.1 วัสดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ช้ทำกล่องหรือรังเลี้ยงผ้ึงชันโรง
เรือ่ งท่ี 5.2 ขน้ั ตอนการทำกล่องหรอื รังเลยี้ งผึ้งชนั โรง

ชดุ วิชาการเลยี้ งผงึ้ ชนั โรง

5.1 วัสดุอุปกรณ์ที่ใชท้ ำกล่องหรือรงั เลี้ยงผึ้ง
ชันโรงถขกูนวาธิ ดี รังเลี้ยงผ้ึงชันโรง ขนาดทั่วไปท่ีนิยมใช้ มีขนาดกว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตรและสูง
25 และ มีความเหมาะสมท่ีสุดเป็นแบบเปิดฝาด้านข้างท้ังสองด้าน และมีฝาปิดบนที่ให้ผึ้งทำรังบนด้านใน ไม่
นิยมเลี้ยงแบบใช้คอน เพราะทำให้รังผ้ึงติดกัน ไม่สะดวกในการเก็บน้ำผ้ึง มีประตูทางผึ้งบินเข้าทางเดียว มีขอบ
ไม้เป็นรูป ตัว H ติดไว้ท่ีหน้าประตูไวส้ ำหรับผง้ึ งาน เม่ือบินเอาน้ำหวานหรือเกสรดอกไม้กลับรังมาหนัก หากไม่มี
ทีพ่ ักก่อนเข้ารงั น้ำหวานจะหล่นที่หน้าช่องทางเข้าเกือบหมดเสาท่ีใชก้ ม็ หี ลายแบบข้ึนอยกู่ ับวสั ดุอุปกรณ์

ไม้กระทงิ เทพา เป็นไมท้ น่ี ิยมใช้มาทำรังผึง้ เนือ่ งจากพบวา่ น้ำจะไมซ่ ึมผ่านไม้

เล่ือย อุปกรณส์ ำหรับตัดไม้
ค้อน เปน็ อปุ กรณใ์ ชส้ ำหรบั ตอกตะปู

ชุดวิชาการเล้ยี งผึง้ ชนั โรง

ตลับเมตร ใช้วัดความยาว-สน้ั ของวสั ดทุ ่ีจะประกอบ
สว่านเจาะ อปุ กรณ์ทใี่ ชเ้ จาะตะปเู พือ่ ประกอบลังไม้
แกส็ พน่ ไฟ ใช้พ่นลังไมห้ ลังจากประกอบเสรจ็
เลอ่ื ยยนต์ อุปกรณต์ ัดขอนไม้ท่มี ผี ึ้งชันโรงอาศยั อยู่

ชุดวิชาการเล้ียงผงึ้ ชันโรง

5.2 ขน้ั ตอนการทำกล่องหรือรงั เลี้ยงผ้งึ ชันโรง
ชนั โรงถกู วธิ ี
การเตรยี มวสั ดุทำรังเลย้ี งผ้ึงโพรงไทย มดี งั น้ี
1. ใช้ไม้ฉากวัดกระดานที่เตรียมไว้ขนาดหน้ากว้าง 12.5 ยาว 30 เซนติเมตร แล้วขีดกับดินสอ ใชเ้ ล่ือยตัด

ตามดนิ สอ จำนวน 10ช้ิน
2. ใช้ไม้ฉากวัดกระดานที่เตรียมไว้ขนาดหน้ากว้าง 12.5 ยาว 60 เซนติเมตร แล้วขีดกับดินสอเขียนไม้ ใช้เลื่อย

ตัดตามดินสอ ชิน้ จำนวน 6 ชน้ิ
3. ใช้ไม้ฉากวัดกระดานที่เตรียมไว้ขนาดหน้ากว้าง 12.5 ยาว 60เซนติเมตร แล้วขีดกับดินสอเขียนไม้ ใช้เล่ือย

ตัดตามดินสอ ชนิ้ จำนวน 3 ชน้ิ
4. ใช้ไม้ฉากวัดกระดานท่ีเตรียมไว้ขนาดหน้ากว้าง 12.5 ยาว 50 เซนติเมตร แล้วขีดกับดินสอ ใช้เล่ือยตัดตาม

ดนิ สอ จำนวน 3 ช้นื
5. ตัดไม้ติดขอบใช้สำหรับดามฝาข้างและด้านหลัง ขนาดหน้ากว้าง 12เซนติเมตร จำนวน 8 ช้ิน และ

ขนาด 3 เซนติเมตรจำนวน 2 ชิ้นขนาด และขนาด5 เซนติเมตรจำนวน 2ชิ้นขนาด 2 เซนติเมตร
จำนวน 1 ชิน้
ขนั้ ตอนการทำกลอ่ งเล้ียงผง้ึ โพรงไทยดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 การทำฐานรงั
นำไม้ขนาด หมายเลข 1, 2,3 จำนวน 3 ชิ้นที่ตัดไว้มาต้ังเรียงติดกัน ใช้ตะปูขนาด 1 น้ิวตอกไม้ดาม ด้าน
ในใหไ้ มต้ ดิ กันท้งั 3 ช้ิน
ข้ันตอนที่ 2 การทำฝาข้างซ้าย –ฝาขา้ งขวา
นำไม้ทต่ี ัดไวย้ าว 30 เซนติเมตร จำนวน 3 ช้ืน มาตงั้ เรียงตดิ กนั ใชต้ ะปูขนาด 1 นิ้ว ตอกไม้ดามให้ไม้ติดกัน
ทำ 2 ชดุ
ขนั้ ตอนท่ี 3การทำฝาหน้า นำไม้ขนาด ยาว 50 เซนตเิ มตร จำนวน 3 ชื้น ทตี่ ัดไว้มาตั้งเรียงติดกัน ใช้ตะปู
ขนาด 1 นว้ิ ตอกไม้ ด้านนอกให้ไม้ติดกนั ทัง้ 3 ชน้ื
ขนั้ ตอนท่ี 4การทำฝาหลัง
นำไม้ขนาด ยาว 50 เซนติเมตร จำนวน 3 ช้ิน ท่ีตัดไว้มาตง้ั เรียงติดกัน ใช้ตะปูขนาด 1 น้วิ ตอกไม้ ด้านใน
ให้ไมต้ ดิ กนั ท้งั 2 ชนิ้ ชิน้ ที่ 3 ตัดยางรถจกั รยานยนต์เกา่ ตดั พอขนาดพอใช้ ตอกด้วยตะปู

ชุดวิชาการเลี้ยงผง้ึ ชนั โรง

ข้นั ตอนที่ 5 นำสว่ นประกอบจากข้นั ตอนท่ี 1 2 3 และ 4 มาประกอบตอกตะปูเขา้ ด้วยกนั

ชดุ วิชาการเล้ยี งผึ้งชนั โรง

เสาตัง้ รองรัง
เสาต้ังรองรัง มีขนาดท่ีรองรับตัวรังเลี้ยงได้ โดยจะต้องมีขนาดกว้าง
เท่ากับรัง แต่มีความยาวย่ืนออกมาทางด้านหน้าให้ยาวกว่าตัวรัง
ประมาณ 2 น้ิว เพ่ือเป็นลานบินของผึ้ง ฐานรังจึงมีขนาดกว้าง x ยาว
เท่ากับ16 (1/4) x 19 นิ้ว หน้าไม้ที่นำมาประกอบฐานรังเม่ือไสกบ แล้ว
ควรหนา 1(7/8) น้ิวหรอื จะใช้เสาปูน หรือเสาไม้ฐานรองเป็นปนู สามารถ
ทำได้ แตน่ ิยมใชข้ อนไม้ในการตัง้ ขารองรับ

ชุดวิชาการเล้ียงผงึ้ ชันโรง

ตอนท่ี 6
การดูแลรักษาและการป้องกันศตั รผู ้งึ ชันโรง

สำระสำคัญ
การเรียนรู้วิธีการดูแลรักษา ศัตรูและการป้องกันศัตรูผ้ึงชันโรง หากผู้เรียนเรียนรู้วิธีการอย่าง

เข้าใจและลงมือปฏิบัติจริงตามข้ันตอนแล้วสามารถเล้ียงผึ้งชันโรงได้ตามความต้องการผู้เขียนจึงได้ลำดับ
ข้นั ตอนวิธีการดูแลรักษา และการป้องกันศัตรูผึ้งชันโรง เพ่ือให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและสามารถนำความรู้ไป
ประยกุ ต์ใชเ้ ลย้ี งผ้งึ ชันโรงใหป้ ระสบความสำเรจ็ ต่อไป
จดุ ประสงค์

1. บอกวธิ กี ารดรู กั ษาผ้งึ ชันโรงได้ถูกต้อง
2. บอกศตั รูและการป้องกันศัตรผู ึ้งชันโรงไดถ้ ูกต้อง
ขอบข่ายเน้อื หา

เรื่องที่ 6.1 วธิ กี ารดแู ลรกั ษาผ้งึ ชนั โรง
เรื่องที่ 6.2 ศัตรแู ละการป้องกันศตั รผู ้งึ ชนั โรง

ชดุ วิชาการเลยี้ งผึง้ ชนั โรง

6.1 วธิ ีการดแู ลรกั ษาผง้ึ ชนั โรงชันโรง

หลังจาก ผงึ้ ชันโรงจากธรรมชาติเข้ามาเลยี้ งแล้ว ก็ต้องหม่ันตรวจตราสภาพภายใน สปั ดาห์ละ 1-2
ครัง้ ดังน้ี

1. ตรวจดูการวางไขข่ องผง้ึ นางพญาวา่ ปกตดิ หี รือไม่ สมำ่ เสมอเพยี งใด
2. ตรวจดูอาหารภายในรังว่ามีพอเพียงหรือไม่ ถ้าสภาพภายในรังขาดน้ำหวานก็ให้น้ำเช่ือมแทน
แต่ไมแ่ นะนำใหใ้ ชน้ ้ำหวานบอ่ ยหนกั เพราะจะทำให้ผง้ึ ตายได้
3. เปดิ ฝาลังทางขา้ งหรือหลังใช้ไมก้ วาดทำความสะอาด
4. ตรวจดูภายในรวงรัง ถ้าหากพบหลอดนางพญา ท่ีผึ้งงานสร้างขึ้นมา ให้รีบแยกออกเข้าลังใหม่
โดยเร็ว เพ่ือปอ้ งกนั การแยกรงั ของผง้ึ
6.2 ศัตรแู ละการป้องกันศตั รผู ้งึ ชนั โรง
ศัตรขู องผ้ึง
ศัตรูของผ้ึง ส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ต่าง ๆ เช่น มด ไร คางคก จิ้งจก ตุ๊กแก กิ้งก่า เป็นต้น ป้องกัน
โดยการกำจัดศัตรูเหล่านั้น และถากถางบริเวณที่ตั้งรังให้สะอาด ไม่ให้มีวัชพืชปกคลุม ศัตรูของผึ้งท่ีเป็น
อันตรายมากก็คือ ยาฆ่าแมลง อาจจะทำให้ผง้ึ ตายทั้งหมดกไ็ ด้ ป้องกันได้ โดยยา้ ยกล่องเลย้ี งผ้ึงไปตงั้ ไว้ทอี่ ื่น
ชวั่ คราว

ชดุ วชิ าการเล้ยี งผ้งึ ชนั โรง

มดแดง
วิธีป้องกันควรมีผ้าชุบน้ำมันเคร่ืองเก่าผูกรอบๆ
เสาหรือขาโตะ๊ เพือ่ ปอ้ งกนั พวกมด

ไร
การป้องกัน ไรชอบอาศัยในหลอดรวงของตัวผู้
ใส่แผ่นรังเทียมของผ้ึงตัวผู้ ให้มีผ้ึงตัวผู้อยู่ท่ีเดียวกันท้ัง
คอน แล้วนำเข้าไปไว้ในรังทม่ี ีไรระบาดมาก ๆ หลังจากผึ้ง
ปิดฝาลอดรวงผ้ึงตัวผู้แล้วจึงนำคอนน้ันมาทำลายเสีย
วิธีการน้ีค่อนข้างจะยุ่งยากสำหรับผู้ท่ีเลี้ยงผ้ึงเป็นจำนวน
มาก แต่มีความปลอดภยั สูงเพราะไม่ต้องใช้สารเคมี และเป็นวิธที ่ี
ประหยัด เช่นเดียวกับ การขังผ้ึงนางพญาในกล่องนานประมาณ
21- 24 วัน เพ่ือหยุดการวางไข่ของผ้ึงนางพญา ภายในรังจะไม่มี
ตวั อ่อนเลยทำให้รงั น้ันปราศจากไรไปดว้ ยเพราะขาดอาหาร
จงิ้ จก
การป้องกันลดขนาดของทางเขา้ ออกทฐี่ านรังใหเ้ ลก็ ลง
มน่ั ทำความสะอาดรงั
ผเี สอ้ื หนอนกนิ ไขผึ้ง
การป้องกนั และการกำจัด
ลดขนาดของทางเข้าออกท่ีฐานรังให้เล็กลงเพื่อป้องกัน
ผีเสื้อลอบเข้าไปไข่หากมีหนอนนำคอนท่ีมีหนอนแช่ใน
ช่องน้ำแข็งเป็นเวลา 24 ช่ัวโมงหรือใช้ความร้อน
อณุ หภมู ปิ ระมาณ 45 องศาเซลเซียส

แมงปอ
การป้องกันตดั ไมบ้ ริเวณทต่ี ง้ั กล่องไม่ใหร้ ก

ชุดวิชาการเล้ยี งผง้ึ ชันโรง

ตัวต่อ
การป้องกัน หมน่ั เฝ้าดแู ลบรเิ วณ
รังเลยี้ งผ้ึงโพรงไทยบอ่ ยๆ

ยาฆา่ แมลง
การป้องกันก่อให้เกิดปัญหาความเป็นพิษ
อย่างรุนแรงต่อผึ้งมากท่ีสุดความเป็นพษิ ของสารเคมี
กำจัดศัตรูพืชที่มีต่อการเล้ียงผึ้งทำความเข้าใจใน
เรื่องสารเคมีที่เป็นพิษต่อผ้ึงเพ่ือหาทางป้องกัน และ
แก้ไขให้ทันท่วงที

ชุดวิชาการเลี้ยงผ้งึ ชันโรง

ตอนท่ี 7
การเกบ็ น้ำผึง้ ชนั โรง

สำระสำคัญ
การเรียนรู้วิธีเก็บน้ำผึ้งชันโรง หากผู้เรียนเรียนรู้วิธีอย่างเข้าใจและลงมือปฏิบัติจริงตามขั้นตอน

แล้วสามารถเก็บนำ้ ผ้งึ ชันโรงไดต้ ามความต้องการผู้เขยี น จึงไดล้ ำดบั ขั้นตอนการเกบ็ ผึ้งชันโรง เพื่อให้ผู้เรยี น
ได้ฝึกปฏิบตั ิและสามารถนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้เลี้ยงผึง้ ชันโรง ประสบความสำเร็จตอ่ ไป
จุดประสงค์

1. บอกการเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณเ์ กบ็ น้ำผึ้งไดถ้ กู ตอ้ ง
2. บอกวิธีการเกบ็ นำ้ ผงึ้ ได้ถกู ต้อง
ขอบขา่ ยเน้อื หา
เรื่องที่ 7.1 วธิ ีการเกบ็ นำ้ ผง้ึ ชันโรง

ชุดวิชาการเลีย้ งผึ้งชันโรง

7.1 วิธกี ารเก็บน้ำผ้ึงชนั โรง

การเก็บผ้ึง ผ้ึงชันโรง เป็นผ้ึงที่มีรังที่มีรวงผึ้งติดอยู่กับผนังมีลักษณะเรียงซ้อนกัน ประมาณ
4 – 5 รังในโพรงเดียวกัน มีรวงผ้ึงที่ผ้ึงสร้างเพ่ือเป็นท่ีอยู่ของตัวอ่อนและเก็บน้ำหวานจะติดกับผนังฝาลัง
ด้านบน เม่ือผ้ึงเข้ามาอาศยั อยใู่ นรังผงึ้ มีตัวอ่อนหรือมีการสะสมน้ำผงึ้ ในรังมาก ผู้เลี้ยงจะสังเกตได้จากยก
ลัง หากมีน้ำหนักมาก แสดงว่ามีผึ้งอาศัยอยู่มาก ผู้เล้ียงผึ้งก็จะตัดรวงผึ้งที่มีตัวอ่อนผึ้งออกมา นำตัวอ่อนผ้ึง
ไปเป็นอาหารหรอื ขายให้กับผู้บริโภคตัวอ่อนผง้ึ สามารถเก็บรวงน้ําผ้ึงทั้งรวงท่ีปิดฝาหลอดรวงและไม่ปิดฝา
หลอดรวง ออกจากรงั ผ้งึ ได้ผ้เู ล้ียงผึ้งสามารถเกบ็ น้ำผ้ึงไดร้ ะหวา่ ง 2 - 4 กิโลกรมั ตอ่ รังตอ่ ปี

วธิ เี กบ็ นำ้ ผึ้งชันโรง มขี ั้นตอนดงั น้ี

1. ยกฝาหีบบนท่ีมีน้ำผ้ึง แต่ไม่มีตัวอ่อนของผ้ึงแล้วค่อย
ๆ ไล่ให้ตวั ผ้งึ ออก

2.ใช้มีดบางปลายแหลมแช่น้ำร้อนจนมีดร้อนปาดแผ่น
ไขผ้งึ ทปี่ ดิ หลอดรวงเกบ็ นำ้ หวานออก

3.นำภาชนะทเี่ ตรยี มใส่รบั รงั ผ้งึ ที่ตดั แล้ว

4. ใช้ไม้บดรังผ้ึงหรือใช้มีดสับรังผึ้งน้ำหวานให้ละเอียด
ที่สามารถกรองเอานำ้ ผึง้ ได้

ชดุ วชิ าการเล้ียงผ้งึ ชันโรง

5.ใส่ท่ีกรองผ้าฝ้ายให้น้ำผ้ึงหยดลงในที่รองรับน้ำผึ้ง
น้ำผึ้งท่ีได้มีปริมาณนํ้าในน้ําผึ้งมากกว่า 21 เปอร์เซ็นต์
และมีจุลินทรีย์ที่ติดมากับมือผู้เลี้ยงผึ้งในขณะที่บีบคั้น
น้ำผ้ึงออกจากรวงผ้ึงทำให้น้ำผึ้งที่ได้เกิดการหมักและ
บูดเสยี ไดท้ ิง้ ไว้ 1 คืน น้ำผ้ึงหยดจนหมด

6.นำน้ำผึ้งที่กรองสะอาดแล้วบรรจุขวดที่สะอาดผ่านการ
ต้มด้วยความเดือด 100 องศาเซนเซียส ปิดฝาให้แน่น
นำไปตากแดด ประมาณ 3–4 วนั เพ่อื ให้น้ำผง้ึ เหนยี วข้น

7. นำน้ำผึ้งไปบรรจุภัณฑ์ใช้ขวดท่ีต้มในน้ำเดือด100
องศาเซนเซียสตามขนาดที่ตลาดต้องการปิดฝาขวดให้
แนน่ เตรยี มนำไปขาย

ชดุ วิชาการเลย้ี งผง้ึ ชนั โรง

ตอนที่ 8
การบรรจภุ ัณฑ์นำ้ ผง้ึ ชนั โรง

สำระสำคัญ
การเรียนร้กู ารบรรจุภัณฑน์ ้ำผึ้งชันโรง หากผู้เรยี นเรียนร้ขู ้ันตอนและวิธกี ารอย่างเข้าใจและลงมือ

ปฏิบตั ิจริงตามข้ันตอนแล้ว สามารถบรรจุภัณฑ์น้ำผ้ึงชันโรงได้ สร้างมูลคา่ เพ่ิม และสนองความต้องการของ
ตลาด ผู้เขียนจงึ ไดล้ ำดบั รวบรวมรปู แบบการบรรจุภัณฑ์น้ำผง้ึ ในรูปแบบตา่ งๆ เช่น เปน็ ของชำรว่ ย เป็นของ
ฝาก เพอื่ ให้ผ้เู รียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั แิ ละสามารถนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ช้ประสบความสำเร็จได้
จดุ ประสงค์

อธิบายการบรรจภุ ัณฑ์น้ำผง้ึ น้ำผง้ึ รูปแบบต่างได้
ขอบขา่ ยเน้อื หา

เรอ่ื งท่ี 8.1 การบรรจุภณั ฑ์น้ำผ้ึง

ชุดวิชาการเล้ียงผึ้งชันโรง

8.1 การบรรจุภณั ฑน์ ้ำผ้ึง

การบรรจภุ ัณฑ์น้ำผ้ึง

ผู้เล้ียงผ้ึง ส่วนใหญ่มีการจำหน่ายน้ำผ้ึงอยู่ท่ีบ้านโดยกลุ่มลูกค้าเป็นคนในชุมชน มีการจำหน่ายใน

รูปแบบขนาดขวดไวตามลิ ค์ 330 cc ท่ีราคาขวดละ 200 - 500 บาทบางรายมกี ารจำหน่ายไขผึ้งเปน็ รายได้

เสริมราคากิโลกรมั ละ 100-150 บาท

การบรรจภุ ณั ฑน์ ำ้ ผง้ึ เป็นของชำรว่ ย

การเตรียมอปุ กรณ์มีดงั น้ี

1. นำ้ ผ้ึง
2. โบว์
3. ขวดพร้อมฝา ขนาดต่างๆ ทผ่ี ่านการตม้ นำ้ เดือด 100 องศาเซนเซยี ส
4. ผา้ หลากสี
5. กาว
6. ลวดสีหลาก

น้ำผง้ึ โบว์ ผ้าหลากสี

ชุดวิชาการเลี้ยงผึ้งชนั โรง

ขวดพร้อมฝา กรรไกร กาว

บรรจุภณั ฑ์นำ้ ผงึ้ แบบต่างๆเป็นของชำรวยที่เสร็จเรียบร้อย

การบรรจนุ ำ้ ผึง้ เป็นของฝาก

ชดุ วชิ าการเลี้ยงผ้งึ ชนั โรง

ตอนท่ี 9
การจัดการและการตลาด

สาระสำคญั
การจัดการและการตลาด เป็นสิง่ ท่ีชว่ ยให้ผปู้ ระกอบการสามารถผลิตสนิ คา้ ให้ตรงกับความต้องการ

ของตลาด ซึ่งจะนำไปสู่ผลกำไรในการประกอบการ ผู้ผลิตทุกคนจะต้องมีความรู้เร่ือง การคิดราคาต้นทุน
และการกำหนดราคาขาย ตลอดถงึ การจัดทำบญั ชีรับจ่ายแบบบัญชีเบือ้ งตน้ (บญั ชชี าวบา้ น)
จดุ ประสงค์

1. คดิ ราคาตน้ ทนุ และกำหนดราคาขายไดถ้ ูกตอ้ ง
2. บอกขนั้ ตอนของการจัดจำหนา่ ยไดถ้ ูกตอ้ ง
3. จัดทำบัญชีรบั จา่ ยเบื้องต้นไดถ้ ูกตอ้ ง
ขอบขา่ ยเน้ือหา
เรื่องท่ี 9.1 การคดิ ราคาต้นทุนและกำหนดราคาขาย
เร่ืองท่ี 9.2 การจัดจำหน่าย
เรอ่ื งที่ 9.3 การจดั ทำบญั ชีรบั จ่ายเบื้องต้น

ชดุ วิชาการเลยี้ งผงึ้ ชนั โรง


Click to View FlipBook Version