The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าปกรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by singhayamilah, 2022-05-17 09:40:07

หน้าปกรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน

หน้าปกรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน

รายงานผลการวิจยั ในชนั้ เรียน

เร่ือง การศึกษาเจตคติของผ้เู รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
ในเรือ่ งการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย/การบา้ น
โดยใช้แบบสอบถาม

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสไุ หงปาดี
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นราธวิ าส

สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วจิ ัยในชั้นเรยี น

เร่ือง การศึกษาเจตคตขิ องผู้เรยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
ในเร่อื งการทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย/การบ้าน โดยใชแ้ บบสอบถาม

ผูว้ จิ ยั
นางยามีละห์ สงิ หะ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดนราธวิ าส

สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชอ่ื งานวจิ ัย การศกึ ษาเจตคตขิ องผเู้ รียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในเรอื่ งการทำงานที่ได้รับ
มอบหมาย/การบ้าน โดยใชแ้ บบสอบถาม

ชื่อผู้วิจยั นางยามลี ะห์ สิงหะ ครู กศน.ตำบลรโิ ก๋

บทคดั ยอ่

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับ
มัธยมศึกษา ตอนต้น กศน.ตำบลริโก๋ผู้วิจัยได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุเจตคติของผู้เรียนความ
รับผิดชอบงานของ ผู้เรียนจำนวน 15 ข้อ โดยให้ผู้เรียนเรียงลำดับสาเหตุ ปัญหาตามลำดับที่มากที่สุดจนถึง
น้อยที่สุดจากลำดับ 1 – 15 และได้ทำการนำผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่าร้อยละ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์
และหาข้อสรุปพร้อมทั้งนำเสนอในรูปของตารางประกอบคำบรรยาย เพื่อศึกษาการเจตคติ ของผู้เรียนในเรือ่ ง
การรับผิดชอบงานที่มอบหมายในการทำกิจกรรมการพบกลุ่ม ณ กศน.ตำบลริโก๋ ผลการศึกษาปรากฏว่า จาก
การศกึ ษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพ่ือศึกษาเจตคติของผู้เรยี น กศน.ตำบลรโิ ก๋ เพือ่ ศกึ ษาเจตคติของผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 46 คน ในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้าน ได้ทำให้ทราบถึง
สาเหตทุ ีส่ ำคญั มากทีส่ ดุ จนถึงสาเหตทุ ี่น้อยทสี่ ดุ ในการไม่สง่ งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย/ การบ้านลำดบั ท่ี 1 คือ
เบ่อื หน่ายไม่อยากทำ จากผ้เู รยี น 46 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 63.04 อันดับที่ 2 เวลาในการทำน้อย จากผู้เรียน 27
คน คดิ เป็นร้อยละ 58.69 อันดบั ที่ 3 ช่วยเหลอื งานผ้ปู กครอง จากผ้เู รยี น 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 56.52 อนั ดับ
ที่ 4 หนังสือหาย จากผู้เรียน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 54.35 อันดับที่ 5 ครูอธิบายเร็ว จากผู้เรียน 24 คน คิด
เป็นร้อยละ 52.17 อันดับที่ 6 ลืมทำ จากผู้เรียน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 อันดับที่ 7 ไม่น่าสนใจ จาก
ผู้เรียน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 47 อนั ดบั ท่ี 8 แบบฝกึ หดั ยากทำไม่ได้ จากผเู้ รียน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 45.65
อันดบั ท่ี 9 จากผู้เรยี น 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 41.30 อันดบั ที่ 10 เตรียมตวั ทำงานอื่นๆ จากผูเ้ รยี น 18 คน คิด
เป็นร้อยละ 39.13 อันดับที่ 11 ไม่เข้าใจคำสั่ง จากผู้เรียน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 36.95 อันดับที่ 12 ไม่ได้นำ
สมุดมาจด จากผู้เรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 32.60 อันดับที่ 13 งานบ้านมากเกินไป จากผู้เรียน 13 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 28.60 อันดับท่ี 14 ออกงานชว่ ยเหลือชมุ ชน จากผเู้ รยี น 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 26.10 อันดบั ท่ี 15
ไม่มีคนคอยปรกึ ษา จากผูเ้ รียน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 21.74

กิตตกิ รรมประกาศ

การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้ สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์จากท่านผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์ ประธานที่ปรึกษาที่กรุณาให้
คำแนะนำให้ความรู้ ความคิดที่มปี ระโยชน์ และอำนวยความสะดวกในการศกึ ษาวิจัยในครัง้ นี้เปน็ อยา่ งดี และ
ขอขอบใจนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ของ กศน.ตำบลริโก๋ทุกคนที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการ
วิจัยและเก็บขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการศึกษาวิจยั ครง้ั นี้ จนกระท่ังการศกึ ษาวิจยั ครง้ั นีเ้ สรจ็ สมบูรณ์

นางยามีละห์ สิงหะ
ผวู้ จิ ยั

ครู กศน.ตำบลริโก๋

สารบัญ หนา้

เรอ่ื ง ข
บทคัดย่อ ค
กิตตกิ รรมประกาศ ง
สารบญั 1
สารบัญ (ตอ่ ) 1
บทท่ี 1 บทนำ 2
3
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
1.2 หลักการสำคญั ของการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 6
1.3 นโยบายและจุดเนนการดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ปงบประมาณ 6
6
พ.ศ. ๒๕๖๓ 7
1.4 บทบาทหน้าทข่ี องศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอ 7
1.5 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี 7
7
1.5.1 ประวตั คิ วามเป็นมาของสถานศึกษา 8
1.5.2 ปรชั ญา 8
1.5.3 วสิ ยั ทศั น์ 8
1.5.4 อตั ลกั ษณ์สถานศึกษา 8
1.5.5 เอกลักษณส์ ถานศึกษา 8
1.6 ความสำคัญและทม่ี าของการทำวิจัยในช้ันเรยี น 9
1.7 ทางเลอื กทค่ี าดว่าจะแก้ปัญหา 9
1.8 จุดมุ่งหมาย 9
1.9 ตัวแปรท่ีศึกษา 9
1.10 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 10
1.11 สมมุติฐานในการวจิ ัย 10
1.12 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั
1.13 ขอบเขตของการวิจยั
1.14 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ ง
2.1 จิตวิทยาการศกึ ษา

สารบญั (ต่อ) หนา้
10
เร่ือง 12
2.1.1 ความสำคญั ของการศึกษาจิตวิทยาการศึกษา 14
2.1.2 พัฒนาการจิตวทิ ยาการศึกษา 14
14
2.2 เจตคติ (Attitude) 17
2.2.1 ความหมายของเจตคติ 18
2.2.2 องคป์ ระกอบของเจตคติ 19
2.2.3 ลกั ษณะของเจตคติ 20
2.2.4 หน้าทแ่ี ละประโยชนข์ องเจตคติ 21
2.2.5 การเปลย่ี นแปลงเจตคติ 21
2.2.6 องค์ประกอบของเจตคติ 21
22
2.3 การเรยี นรู้ (Learning) 23
2.4 ทฤษฎีของการจงู ใจ (theories of motivation) 23
25
2.4.1 ความหมายของแรงจงู ใจ 25
2.4.2 แรงจูงใจต่อพฤตกิ รรมของบุคคลในแตล่ ะสถานการณ์ 25
2.4.3 ลักษณะของแรงจงู ใจ 25
2.5 ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์ (B.F. Skinner) 29
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ การวิจยั 30
3.1 วธิ ีดำเนินการวิจยั 31
3.2 เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 31
3.3 ข้นั ตอนการดำเนนิ การ 32
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 32
4.1 สรุปผลการวจิ ัย 32
4.2 อภปิ รายผลการศึกษา 32
4.3 ขอ้ เสนอแนะ 32
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 32
5.1 ความมุง่ หมาย 32
5.2 ประชากร/กล่มุ ตวั อยา่ ง 33
5.3 เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั
5.4 วิธกี ารดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
5.6 สรปุ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
5.7 ขอ้ เสนอแนะ

บทท่ี 1

บทนำ

การศึกษาเจตคตขิ องผู้เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋
ในเร่ืองการทำงานท่ไี ด้รบั มอบหมายงาน /การบา้ น โดยใช้แบบสอบถาม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้ รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชนจัด
การศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้
สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับ การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขสนับสนุนการ
คน้ คว้าวจิ ัยใน ศลิ ปะวทิ ยาการต่างๆ เรง่ รดั การศกึ ษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่อื การพฒั นาประเทศพัฒนา
วิชาชีพครู และ ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งในการจัดการศึกษาของรัฐให้
คำนึงถึงการมสี ่วนร่วมขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ และเอกชน ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติและใหค้ วามคุ้มครอง
การจัดการศึกษา อบรมขององค์กรวชิ าชีพและเอกชนภายใต้การกำกับดูแลของรฐั ดังน้ัน จึงสมควรมีกฎหมาย
ว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติ เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทในการบริหารและจัดการการศึกษาอบรมให้สอดคล้องกับ
บทบัญญัตขิ อง รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย

กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้
และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคน
ไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรยี มคนไทยสูศ่ ตวรรษท่ี 21

ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นใหก้ ับสังคม
และผลักดันให้การจัดการศึกษามคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพในทกุ มิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบาย
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้
1. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจและบุคลากร
เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่สามารถลดการใช้
ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยทั้งการ
บริหารงานและการจดั การศึกษารองรบั ความเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล
2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/โครงการแบบ
ร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งกระบวนการจัดทำ
งบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
นานาชาติ เชื่อม่ันและร่วมสนบั สนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษามากยิ่งขน้ึ
3. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่ง
บริหารจดั การอัตรากำลังใหส้ อดคล้องกบั การปฏริ ูปองค์การ รวมท้ังพฒั นาสมรรถนะและความรู้ความสามารถ
ของบคุ ลากรภาครัฐ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการปฏิบตั ิงานรองรับความเปน็ รัฐบาลดิจิทลั
4. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถงึ การจัดการศกึ ษาเพือ่
คณุ วฒุ ิ และการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ทสี่ ามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

หลกั การสำคญั ของการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกจิ
สำคญั ทม่ี ่งุ ให้ประชาชนไดร้ ับการศึกษาอย่างท่วั ถึง โดยเฉพาะการศึกษาพ้ืนฐานทจ่ี ำเปน็ ต่อการดำรงชีวิต ตาม
มาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากนั้นยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเนื่องจาก
การศึกษา พื้นฐาน เพื่อนำความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมในที่สุด การ
จัดกระบวนการ เรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงควรยึดหลักการสำคัญ 5 ประการ
คือ 1) หลักความเสมอ ภาคทางการศึกษา 2) หลักการพัฒนาตนเองและการพึ่งพาตนเอง 3) หลักการบูรณา
การการเรยี นรแู้ ละวถิ ีชีวิต 4) หลักความสอดคล้องกบั ความต้องการของผ้เู รยี น และ 5) หลักการเรียนรู้ร่วมกัน
และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ดังน้ี

1. หลักความเสมอภาคทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เปน็ ผ้พู ลาดโอกาส และผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศกึ ษา ซง่ึ อาจมีความแตกตา่ งทางด้านสถานภาพในสังคม
อาชีพเศรษฐกิจ และข้อจำกัดต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาและกระบวน การเรียนรู้ต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติ
หากแต่ สร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรอู้ ย่างเท่าเทียมกนั

2. หลักการพัฒนาตนเองและการพึง่ พาตนเองการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จะต้องจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตนสามารถเรียนรู้
เกิด ความสำนึกที่จะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม
โดยเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนด้วยตนเอง พึ่งพาตนเอง เพ่ือให้สามารถดำรงชีวิตอย่างเป็นสุขท่ามกลางการ
เปลยี่ นแปลงของ สงั คม

3. หลักการบูรณาการการเรียนรูแ้ ละวิถีชวี ิต หลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ท่ีสัมพันธ์
กับสภาพปัญหา วิถีชีวิต สภาพแวดล้อม และชุมชนท้องถิ่นของผู้เรียน ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญในการจัดท า
หลักสูตร สิ่งดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ เป็นลักษณะของการบูรณาการจึงมีความ
เหมาะสม โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ และบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำไปสู่
การพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ิตของผู้เรยี นอยา่ งเป็นองค์รวม

4. หลักความสอดคล้องกับปัญหาความต้องการและความถนัดของผู้เรียน หลักการนี้เป็นการส่งเสริม
ให้ผู้เรยี นร้จู ักความตอ้ งการของตนเอง สามารถจัดการศึกษาให้กับตนเองได้อย่างเหมาะสม ครู กศน.มีบทบาท
ใน การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกำหนดวัตถุประสงค์ สาระการ
เรียนรู้ วิธีการเรียนและการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองซึ่งเป็นกระบวนการการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั

5. หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน การเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรยี น นับว่าสำคญั
เป็นการส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือความผูกพัน เอื้ออาทร
การช่วยเหลอื ซึ่ง กนั และกนั ปลกู ฝังวินัยในตนเอง ฝึกความรับผิดชอบ ซึง่ เปน็ ส่ิงที่ควรเกิดขึ้นสำหรบั ผู้เรียนที่มี
วุฒิภาวะ สำหรับการ มีส่วนร่วมของชุมชน ก็นับว่าเป็นหลักการสำคัญในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ชุมชน สามารถเขา้ มาร่วมในการจดั ทำหลักสูตร การจดั สรรทรัพยากรเป็นแหล่งเรียนรู้
และสนับสนุนในเร่อื งอ่นื ๆ เพ่ือพฒั นาผ้เู รียนให้เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องชุมชนต่อไป

นโยบายและจดุ เนนการดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565

วิสัยทศั น
คนไทยไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวติ อยางมคี ุณภาพ สามารถดาํ รงชวี ิตทีเ่ หมาะสม

กับชวงวยั สอดคลองกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทักษะทีจ่ าํ เปนในโลกศตวรรษที่ 21

พันธกจิ
1. จัดและสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพ สอดคลองกับหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือยกระดับการศกึ ษา พฒั นาทักษะการเรียนรูของประชาชนทกุ กลุมเปาหมาย
ใหเหมาะสมทุกชวงวัย พรอมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม และกาวสูการเปนสังคมแหงการเรียนรู
ตลอดชวี ิตอยางยั่งยืน

2. สงเสรมิ สนบั สนนุ แสวงหา และประสานความรวมมอื เชิงรุกกับภาคีเครอื ขาย ใหเขามามสี วนรวม
ในการสนับสนุนและจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชวี ิต ในรูปแบบ
ตางๆใหกบั ประชาชน

3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชพัฒนาประสิทธิภาพใน
การจดั และใหบริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหกบั ประชาชนอยางท่วั ถึง

4. พฒั นาหลกั สตู ร รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู สอ่ื และนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผลในทกุ
รปู แบบใหมีคณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคลองกับบรบิ ทในปจจบุ ัน

5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจดั การองคกรใหมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือมุงจัดการศกึ ษาและการ
เรยี นรูทม่ี คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

เปาประสงค
1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทว่ั ไปไดรับโอกาสทางการ

ศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตาม
อัธยาศัยที่มีคุณภาพอยางเทาเทียมและทั่วถึงเปนไปตามสภาพ ปญหาและความตองการของแตละกลุมเปา
หมาย

2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ความเปนพล
เมืองที่สอดคล องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร าง
ความเขมแข็งใหชุมชน เพื่อพัฒนาไปสูความมั่นคงและยั่งยืนทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติ
ศาสตร และสง่ิ แวดลอม

3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูและมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชในชวี ิตประจําวนั รวมทั้งแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดอยางสราง
สรรค

4. ประชาชนไดรับการสรางและสงเสริมใหมนี สิ ัยรักการอานเพ่ือพฒั นาการแสวงหาความรูดวยตนเอง
5. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน มีสวนรวมในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังการขับเคลอ่ื นกจิ กรรมการเรียนรูของชุมชน
6. หนวยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชใน
การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรียนรูและเพ่มิ โอกาสการเรยี นรูใหกบั ประชาชน
7. หนวยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่อื แกปญหาและ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติ
ศาสตรและสง่ิ แวดลอม รวมทัง้ ตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย
8. หนวยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจดั การองคกรทท่ี ันสมยั มีประสทิ ธภิ าพ และเปนไป
ตามหลักธรรมาภบิ าล
9. บคุ ลากร กศน.ทุกประเภททกุ ระดบั ไดรับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศกึ ษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการปฏิบตั งิ านตามสายงานอยางมีประสทิ ธิภาพ

ตวั ชี้วดั
ตวั ช้วี ัดเชิงปรมิ าณ

1. จํานวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ไดรับการสนับสนุนคาใชจายตาม
สิทธทิ ี่กําหนดไว

2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตางๆ ที่เขารวมกิจกรรมการเรียนรู/ไดรับบริการกิจกรรม
การศึกษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่สี อดคลองกับสภาพ ปญหา และความตองการ

3. รอยละของกาํ ลังแรงงานทีส่ ําเรจ็ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนขึน้ ไป
4. จํานวนภาคเี ครอื ขายทีเ่ ขามามสี วนรวมในการจดั /พฒั นา/สงเสรมิ การศกึ ษา (ภาคีเครอื ขาย : สถาน
ประกอบการ องคกร หนวยงานท่ีมารวมจัด/พฒั นา/สงเสริมการศึกษา)
5. จํานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพน้ื ท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพนื้ ท่ี ๕ จงั หวัด ๑๑ อําเภอ
ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชวี ิตจากศูนยการเรียนชมุ ชนสงั กดั สาํ นกั งาน กศน.
6. จํานวนผูรับบริการในพนื้ ทเ่ี ปาหมายไดรับการสงเสรมิ ดานการรูหนงั สอื และการพฒั นาทักษะชีวติ
7. จํานวนนักเรยี น/นักศึกษาที่ไดรับบริการติวเขมเตม็ ความรู
8. จํานวนประชาชนทีไ่ ดรับการฝกอาชีพระยะสัน้ สามารถสรางหรอื พฒั นาอาชีพเพื่อสรางรายได
9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพื้นที่ กศน.ภาค ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการจัดการเรียนการ
สอนภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร
10. จาํ นวนประชาชนท่ีไดรับการฝกอบรมภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ
11. จาํ นวนผูผานการอบรมหลักสตู รการดูแลผูสูงอายุ
12. จาํ นวนประชาชนที่ผานการอบรมจากศูนยดจิ ิทัลชมุ ชน
13. จาํ นวนศนู ยการเรียนชมุ ชน กศน. บนพ้ืนที่สูง ในพ้ืนที่ ๕ จังหวัด ที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะการฟ
ง พดู ภาษาไทยเพื่อการสอื่ สาร รวมกันในสถานศกึ ษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และกศน
14. จาํ นวนหลักสตู รหรือสอื่ ออนไลนทีใ่ หบริการกบั ประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน การศึกษาตอเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ตวั ช้วี ัดเชิงคุณภาพ
1. รอยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)
ทุกรายวชิ าทกุ ระดบั
2. รอยละของผูเรยี นทไี่ ดรับการสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเทียบกบั คาเปาหมาย
3. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายทล่ี งทะเบยี นเรียนในทุกหลกั สูตร/กิจกรรมการศกึ ษาตอเนื่อง
เทยี บกบั เปาหมาย
4. รอยละของผูผานการฝกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสน้ั สามารถนําความรูไปใชในการประกอบ
อาชพี หรือพฒั นางานได
5. รอยละของผูเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดาน
อาชพี สามารถมงี านทําหรือนาํ ไปประกอบอาชีพได
6. รอยละของผูจบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนําความรูความเขาใจไปใชไดตามจุดมุงหมายของ
หลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาตอเน่อื ง
7. รอยละของประชาชนที่ไดรับบริการมีความพึงพอใจตอการบริการ/เขารวมกิจกรรมการเรียนรู
การศึกษาตามอธั ยาศยั
8. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ไี ดรับบรกิ าร/เขารวมกจิ กรรมทมี่ คี วามรูความเขาใจ/เจตคติ/
ทกั ษะ ตามจุดมงุ หมายของกจิ กรรมทีก่ ําหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศยั

9. รอยละของผูสงู อายุที่เปนกลุมเปาหมาย มีโอกาสมาเขารวมกจิ กรรมการศกึ ษาตลอดชีวติ

บทบาทหนา้ ท่ขี องศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอ
1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2. สง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ข่าย เพอื่ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
3. งานนโยบายพเิ ศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมน่ั คงของชาติ
4. จัด สง่ เสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาตามโครงการ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ
5. จดั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาแหล่งเรียนรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ
6. วิจัยและพัฒนาคณุ ภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรแู้ ละมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ
7. ดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ และเทียบระดบั การศกึ ษา
8. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดำเนินการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
9. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และภาคเี ครอื ขา่ ย
10. ระดมทรัพยากรเพ่ือใช้ในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั
11. ดำเนนิ การประกันคณุ ภาพภายใน ใหส้ อดคล้องกบั ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการท่กี ำหนด
12. ปฏบิ ัติงานอ่นื ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี

ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา
เมื่อ พ.ศ. 2524 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้ง“ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด” สังกัด

กรมการศึกษานอกโรงเรียน มีหน้าที่จัดการศึกษานอกโรงเรียน ได้แก่ การศึกษาแบบเบ็ดเสร็จขั้นพื้นฐาน
การศึกษาสายสามัญ และการศึกษาสายอาชีพ การศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบห้องสมุดประชาชน ที่อ่าน
หนังสือประจำหมู่บ้าน และจัดโครงการรณรงค์เพื่อการรูห้ นังสอื แห่งชาติ ปี พ.ศ. 2536 กระทรวงศึกษาธกิ าร
ได้ประกาศจัดตั้ง “ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ” เพื่อเป็นสถานศึกษาที่ทำหน้าที่จัดการศึกษา
นอกโรงเรยี นในพน้ื ทบี่ ริการ โดยอยู่ภายใตก้ ารกำกบั ดูแลของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวดั ส่งผลให้การ
บรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนในรปู แบบต่าง ๆ ทำไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ มากข้ึน

โดยศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอสุไหงปาดี ได้จัดตัง้ ขึ้นเม่ือวนั ท่ี 27 เดอื นสิงหาคม พ.ศ.
2537 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการจัดตั้งศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ / กิ่ง
อำเภอ ในระยะแรกๆ ยังไม่มีหัวหน้าหรือผู้อำนวยการ แต่จะมีผู้ประสานงานในการดำเนินงานระหว่าง
เจ้าหน้าที่ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอกับระดับจังหวัด คือ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
นราธิวาส และต่อมาในสมัย ดร.รุ่ง แก้วแดง ได้มีการประกาศแต่งตั้งให้มีหัวหน้าศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน
ขึน้ และตอ่ มาได้พัฒนาขนึ้ ในตำแหนง่ ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกโรงเรยี น

ต่อมาได้มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 3 เดือนมีนาคม พ.ศ.2551 เรื่องประกาศใช้
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ซึ่งมีผลบังคับใช้
ต้ังแต่วนั ท่ี 4 เดือน มนี าคม 2551 เปน็ ตน้ มา โดยได้เปล่ยี นชอ่ื จาก “ศนู ย์การศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอสุไหง
ปาดี” เป็น “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี” เรียกชื่อย่อว่า “กศน.
อำเภอสุไหงปาดี” ชื่อภาษาอังกฤษ “Sungaipadi District Non-Formal and Information Education
Centre” มีสถานะเป็นหน่วยงานการศึกษามีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการ กำกับดูแลสถานศึกษาใน
สังกัดคือ “ศูนย์การเรียนชุมชน” โดยเรียกชื่อย่อว่า “ศรช.” ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายให้มีการ

จัดตั้ง กศน.ตำบลขึ้นเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ระดับตำบล โดยเรียกชื่อย่อว่า “กศน.ตำบล” และกำหนดในวันที่ 4
เดอื นมีนาคม ของทุกปีเป็นวนั สถาปนาสำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 55 ถนน
ฉัตรวาริน ตำบลปะลุรูอำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส 96140 ปัจจุบันมีนางสาวหทัยกาญจน์
วัฒนสิทธ์ิ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสไุ หงปาดี มี กศน.ตำบล จำนวน 6 แห่ง ดังน้ี

1. กศน.ตำบลสุไหงปาดี 2. กศน.ตำบลปะลรุ ู

3. กศน.ตำบลโต๊ะเด็ง 4. กศน.ตำบลรโิ ก๋

5. กศน.ตำบลรโิ ก๋ 6. กศน.ตำบลสากอ

ปรัชญา

จัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพ ม่งุ พฒั นาอาชีพให้ม่ันคง สู่ความพอเพยี ง

วสิ ัยทศั น์
ประชาชนไดร้ บั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรู้ ตลอดชีวติ อย่างมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชวี ิตที่

เหมาะสมกบั ช่วงวยั สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และมที ักษะทีจ่ ำเป็นในโลกศตวรรษที๒่ ๑

อตั ลักษณส์ ถานศึกษา
มีจติ อาสา น้อมนำความพอเพียง

เอกลกั ษณส์ ถานศกึ ษา
ขยายโอกาสการศึกษาสชู่ มุ ชน

ความสำคัญและที่มาของการทำวจิ ยั ในช้นั เรียน

จากการจัดการเรียนการสอนและการร่วมการจัดกิจกรรมทางการศึกษาของครู กศน.ตำบลทุกตำบล
ทีพ่ บปัญหาและอุปสรรคของผู้เรยี นตามแต่ละกศน.ตำบล ครูกศน.ตำบลในทุกตำบลของกศน.อำเภอสุไหงปาดี
ผู้เรียนในทุกระดับการศึกษาพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มักจะส่งงานที่ได้รับมอบหมาย / การบ้านไม่ตรงเวลาท่ี
ครูผู้สอน กำหนด หรือบางคนก็ไม่ส่งงาน / หรือการบ้านเลย ซึ่งทำให้ครูผู้สอนไม่สามารถวัดความรู้ หรือ
ตดิ ตาม ความกา้ วหนา้ ของผ้เู รยี นได้ ซึ่งในบางรายวชิ าอาจมผี ลต่อคะแนนเกบ็ ของผู้เรียนดว้ ย ดังนั้นผูว้ จิ ยั ซ่ึงใน
ฐานะที่เป็น ท้ังครูผู้สอนและเป็นครูกศน.ตำบล เห็นความสำคญั ของปัญหาดังกล่าว จึงได้ทำการวิจัยเพ่ือศึกษา
เจตคติของ ผู้เรียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาของผู้เรียนในเรื่องการ
ไม่ส่งงานที่ไดร้ บั มอบหมาย / การบ้านต่อไป

ทางเลือกที่คาดว่าจะแก้ปัญหา

จัดทำแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋ในเรื่อง
การไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย / การบ้าน เพื่อนำผลจากการวิจัยมาเก็บเป็นข้อมูล เพื่อนำไปแก้ไขปัญหาใน
การไม่ส่งงาน / การบ้าน แก้ปัญหาการเรียนการสอน รวมทั้งเพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการส่งงานท่ี
ได้รับมอบหมาย / การบ้าน

จดุ มุ่งหมาย

1. เพื่อศึกษาเจตคติของการทำงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้าน ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย

2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดการเรียนการสอนแก้ปัญหาการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย /
การบา้ นของผูเ้ รยี น

ตวั แปรท่ีศกึ ษา

1. แบบสอบถามเพ่ือศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋ ในเร่ืองการ
ไม่ส่งงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย / การบา้ น

2. ระดับคะแนนเฉลย่ี ของแบบสอบถาม

กรอบแนวคดิ ในการวิจยั

การวิจยั ครง้ั น้เี ป็นการศึกษาเจตคตขิ องผู้เรียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋ผู้วิจัยได้
จัดทำแบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้านของผู้เรียนจำนวน 15 ข้อ
โดย ให้ผู้เรียนเรียงลำดับสาเหตุการไมส่ ง่ งานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้านตามลำดับที่มากที่สุดจนถงึ น้อยที่สุด
จาก ลำดับ 1 – 15 และได้ทำการนำผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่าร้อยละ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์และหา
ข้อสรุปพร้อม ทั้งนำเสนอในรูปของตารางประกอบคำบรรยาย เพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนในเรื่องการไม่ส่ง
งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย / การบา้ น

สมมุตฐิ านในการวิจยั

ผู้เรียนมีการพัฒนาเจตคติเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่มีต่อวินัยในตนเองด้านวินัยในการส่งงาน
ความขยันอดทนทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิทางการเรียน ของผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กศน.ตำบลรโิ ก๋ในระดับท่สี ูงขน้ึ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั

1. ทราบถงึ เจตคติและสาเหตุของการไมส่ ง่ งานท่ีได้รบั มอบหมาย / การบ้านของผ้เู รียน
2. ไดแ้ นวทางในการแกป้ ัญหาการเรยี นการสอน

ขอบเขตของการวจิ ัย

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปน็ การสร้างแบบสอบถามเพ่ือศึกษาเจตคติของผู้เรียนในการไม่ส่งงานท่ีไดร้ ับ
มอบหมาย/การบา้ นของผู้เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายโดยใช้ขอ้ ความท่ีคาดว่าจะเป็นสาเหตุของการไม่ส่ง
งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย/ การบ้าน จำนวน 15 ขอ้ และไดก้ ำหนดขอบเขตของการวจิ ยั ไว้ดงั นี้

1.ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้เรียน กศน.ตำบลริโก๋ กำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยม
ศึกษาตอนต้น ภาคเรยี นที่ 2 ประจำปกี ารศึกษา 2563 จำนวน 46 คน

2. แบบสอบถามท่ีใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถามเพอ่ื ศึกษาเจตคติของผ้เู รยี นในระดับมธั ยมศึกษา
ตอนตน้ ในเรอื่ งการไม่สง่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย / การบ้าน จำนวน 15 ข้อ

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

เจตคติ (Attitude) หมายถงึ ความร้สู ึก หรือทา่ ทขี องบุคคลท่มี ีตอ่ บุคคล วัตถุส่งิ ของ หรือสถานการณ์
ตา่ งๆ ความรู้สกึ หรอื ท่าทีจะเปน็ ไปในทำนองทีพ่ งึ พอใจ หรือไมพ่ อใจ เหน็ ด้วยหรอื ไมเ่ ห็นด้วยกไ็ ด้

ผู้เรียน (Students) หมายถึง นักศึกษาการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ
มธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ กศน.ตำบลริโก๋ ภาคเรียนท่ี 2 ประจำปีการศึกษา 2563

ความรสู้ กึ (Feeling) หมายถึง อารมณ์ท่ีมีต่อเปา้ หมาย
ความรับผิดชอบ หมายถึง ความม่งุ มน่ั ของผู้เรยี นทจ่ี ะงานท่ีได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และ
ตง้ั ใจเรียนและตง้ั ใจทำงานอยา่ งเตม็ ความสามารถ
แนวโน้มพฤติกรรม (Action tendency ) หมายถึง ความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมที่สอดคล้องกับเจต
คติถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดีต่อเป้าหมาย เขาจะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือสนับสนุนเป้าหมาย
นั้น ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทำลาย หรือทำร้าย
เป้าหมาย

แรงจูงใจในการเรียนรู้ หมายถึง การแสดงพฤติกรรมเมื่อถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้า เช่น คำชมเชย การให้
รางวัล ฯลฯ แล้วสามารถประพฤตติ นได้บรรลเุ ปา้ หมายโดยการเรียนรขู้ องแตล่ ะคน

การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม อันเป็นผลมาจากการได้รับ
ประสบการณ์

บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง

ทฤษฎที ี่เกยี่ วขอ้ งในการจดั ทำงานวิจยั มดี ังน้ี
จติ วทิ ยาการศึกษา
เจตคติ (Attitude)
ทฤษฎีแรงจงู ใจ
ทฤษฎกี ารเรียนรแู้ บบวางเง่อื นไข แบบแบบการกระทำของสกินเนอร์
จิตวิทยาการศกึ ษา

จิตวิทยาการศกึ ษา
จติ วทิ ยาการศกึ ษา มีบทบาทสำคญั ในการจัดการศกึ ษา การสรา้ งหลกั สูตรและการเรยี นการสอนโดย

คำนึงถึงความแตกต่างของบุคคล นักศึกษาและครู จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาการศกึ ษา เพื่อจะ
ไดเ้ ข้าใจพฤตกิ รรมของผเู้ รียนและกระบวนการเรยี นรู้ ตลอดจนถงึ ปัญหาตา่ งๆ เกย่ี วกับการเรยี นการสอน
ความสำคัญของการศึกษาจติ วทิ ยาการศกึ ษา

ความสำคัญของวัตถุประสงคข์ องการศึกษาและบทเรยี น นกั จิตวิทยาการศึกษาได้เน้นความสำคญั ของ
ความชัดเจนของการระบุวัตถุประสงค์ของการศึกษาบทเรียนตลอดจนถึงหน่วยการเรียน เนื่องจาก
วัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎีพัฒนาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็นเรื่องท่ี
นักการศึกษาและครูจะต้องมีความรู้เพราะจะช่วยให้เข้าใจเอกลักษณ์ของผู้เรียนในวัยต่าง ๆ โดยเฉพาะวัย
อนุบาล วยั เดก็ และวัยรุ่น ซึง่ เป็นวยั ทกี่ ำลังศึกษาในโรงเรียน ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและกลุม่ นอกจากมี
ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กวยั ต่าง ๆ แล้ว นกั การศึกษาและครจู ะต้องเรยี นรู้ถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
และกลมุ่ ทางดา้ นระดับเชาวน์ปัญญา ความคดิ สร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนักจิตวิทยา
ได้คิดวิธีการวิจัยที่จะช่วยชีใ้ ห้เหน็ วา่ ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นตัวแปรที่สำคัญในการเลือกวิธีสอนและ
ในการสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม ทฤษฎีการเรียนรู้ นักจิตวิทยาที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ นอกจากจะ
สนใจว่าทฤษฎีการเรียนรู้จะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้และจดจ าอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไรแล้ว ยังสนใจ
องค์ประกอบเกี่ยวกับตัวของผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร ความรู้เหล่านี้ก็มี
ความสำคัญต่อการเรียนการสอนทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยาการศึกษาได้เป็น
ผู้นำในการบุกเบิกตั้งทฤษฎีการสอนซึ่งมีความสำคัญและมีประโยชน์เท่าเทียมกับทฤษฎีการเรียนรู้และ
พัฒนาการในการช่วยนักการศึกษาและครูเก่ียวกบั การเรียนการสอน สำหรับเทคโนโลยใี นการสอนท่ีจะช่วยครู
ได้มากก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน หลักการสอนและวิธีสอน นักจิตวิทยาการศึกษาได้เสนอหลักการสอน
และวิธกี ารสอนตามทฤษฎีทางจิตวิทยาท่ีแต่ละทา่ นยึดถือ เชน่ หลกั การสอนและวธิ สี อนตามทศั นะนกั จติ วิทยา
พฤติกรรมนิยม ปัญญานิยม และมนุษยนิยม หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกบั
เรือ่ งนี้จะชว่ ยให้นกั การศึกษา และครูทราบวา่ การเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพหรือไม่ หรอื ผเู้ รยี นไดส้ ัมฤทธผิ ล
ตามวัตถุประสงค์เฉพาะของแต่ละวิชาหรือหน่วยเรียนหรือไม่ เพราะถ้าผู้เรียนมีสัมฤทธิผลสูง ก็จะเป็นผล
สะท้อนว่าโปรแกรมการศึกษามีประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน เพื่อเอื้อการเรียนรู้และ
ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครูมีความสำคัญในเรื่อง
ตอ่ ไปนี้

1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัยของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย
สตปิ ัญญา อารมณ์ สงั คม และบคุ ลกิ ภาพเปน็ ส่วนรวม

2. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ ว่า
เกดิ ข้ึนไดอ้ ยา่ งไร และเรยี นรถู้ งึ บทบาทของครูในการท่ชี ่วยนกั เรียนใหม้ ีอัตมโนทศั น์ที่ดีและถกู ต้องได้อยา่ งไร

3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้
พฒั นาตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล

4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก้วัยและขั้นพัฒนาการของนักเรียน
เพ่ือจูงใจให้นกั เรียนมีความสนใจและมีความที่อยากจะเรียนรู้

5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเช่น แรงจูงใจอัตมโนทัศน์
และการตัง้ ความคาดหวังของครูที่มีต่อนักเรยี น

6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพื่อทำให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้
นักเรยี นทุกคนเรยี นตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยคำนงึ ถึงหัวข้อตอ่ ไปนี้

6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงค์ของบทเรียนโดยคำนึงถึงลักษณะนิสัยและความแตกต่างระหว่าง
บุคคล ของนกั เรียนท่ีจะต้องสอนและสามารถทจี่ ะเขยี นวัตถปุ ระสงค์ให้นกั เรยี นเข้าใจว่าส่ิงคาดหวังให้นักเรียน
รู้มี อะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียนคือสิง่ ท่ีจะช่วยใหน้ กั เรียนทราบ เมื่อจบบทเรยี นแล้วนักเรยี น
สามารถทำอะไรไดบ้ ้าง

6.2 ช่วยครูในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนที่เหมาะสม โดยคำนึงลักษณะนิสัยของนักเรียน
และวิชาที่สอน และกระบวนการเรียนรขู้ องนกั เรยี น

6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจนจบบทเรียนเท่านั้นแต่ใช้ประเมิน
ความพร้อมของนักเรียนก่อนสอน ในระหว่างที่ทำการสอน เพื่อทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรอื มีปัญหา
ใน การเรยี นรู้อะไรบา้ ง

7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นัก ได้พิสูจน์แลว้ ว่าได้ผลดี เช่น การเรียนจาก
การสงั เกตหรือการเลยี นแบบ

8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพรวมทั้งพฤติกรรมของครูที่มีการสอน
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพว่ามีอะไรบ้าง เช่น การใชค้ ำถาม การใหแ้ รงเสริม และการทำตนเปน็ ต้นแบบ

9. ชว่ ยครูให้ทราบวา่ นักเรยี นท่ีมผี ลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาเพยี งอย่างเดียว แต่
มีองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แรงจูงใจ ทัศนคติหรืออัตมโนทัศน์ของนักเรียนและความคาดหวังของครูที่มีต่อ
นักเรียน

10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และ
เสรมิ สรา้ งบุคลิกภาพของนกั เรียน ครแู ละนกั เรยี นมคี วามรกั และไว้วางใจซง่ึ กนั และกนั นักเรียน ตา่ งก็ชว่ ยเหลือ
กัน และกันทำให้ห้องเรียนเป็นสถานทีท่ ี่ทกุ คนมีความสุขและนักเรียนรักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน เนื่องจาก
การศึกษามีบทบาทสำคัญในการช่วยให้เยาวชนพัฒนาการทั้งทางด้านเชาวน์ปัญญา และทาง บุคลิกภาพ
เพื่อช่วยให้เยาวชนมีความสำเรจ็ ในชวี ิต ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสรมิ การศึกษาให้มคี ุณภาพ มีมาตรฐานความ
เป็นเลิศ ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการศึกษาจึงสำคัญในการช่วยทั้งครูและนักศึกษาผูม้ ีความ รับผิดชอบในการ
ปรบั ปรงุ หลกั สตู รและการเรียนการสอน
พัฒนาการจติ วทิ ยาการศกึ ษา

จิตวิทยา เป็นศาสตร์ที่มีคนสนใจมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณก่อนคริสต์กาล มีนักปรัชญาชื่อ เพลโต
(Plato 427 – 347 ก่อนคริสต์กาล) อริสโตเติล (Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสต์กาล) ได้กล่าวถึง ธรรมชาติ
และพฤติกรรมของมนุษย์ในเชงิ ปรัชญามากกวา่ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศกึ ษาในยุคนนั้ เปน็ แบบ เกา้ อ้ีโต๊ะ
กลมหรือเรียกว่า Arm Chair Method เรียกจิตวิทยาในยุคน้ันว่า จิตวิทยายุคเก่าเพราะนักจิตวิทยานัง่ ศึกษา
อยู่กับโต๊ะทำงาน โดยใช้ความคิดเห็นของตนเองเพียงอย่างเดียวไม่มีการทดลอง ไม่มีการวิเคราะห์ใด ๆ ทั้งส้ิน
ต่อมาอริสโตเติลได้สนใจจิตวิทยาได้ทำการศึกษาและได้เขียนตำราเล่มแรกของโลกเป็นตำราที่ว่าด้วย เรื่อง
วิญญาณช่อื De Anima แปลว่า ชีวติ เขากล่าววา่ วญิ ญาณเปน็ ต้นเหตใุ หค้ นต้องการเรียนจิตวทิ ยา คนใน สมยั
โบราณจึงศกึ ษาจิตวทิ ยาทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั วญิ ญาณ โดยมคี วามเช่อื ว่าวิญญาณจะสงิ อยู่ในรา่ งกายของมนุษย์ขณะมี
ชีวิตอยู่ เมื่อคนสิ้นชวี ติ ก็หมายถึงร่างกายปราศจากวิญญาณและวิญญาณออกจากร่างลอ่ งลอยไปชั่วระยะหน่ึง

แล้ว อาจจะกลับสรู่ า่ งกายคนื อกี ได้ และเมื่อนนั้ คน ๆ นน้ั กจ็ ะฟื้นคืนชีพข้ึนมาอกี ชาวกรกี จึงมีการคิดค้นวิธีการ
ป้องกันศพไม่ให้เน่าเปื่อยที่เรียกว่า มัมมี่ เพื่อคอยการกลับมาของวิญญาณ ต่อมาประมาณศตวรรษท่ี
11 - 12 ได้เกิดลัทธิความจริง (Realism) เป็นลัทธิที่เชื่อสภาพความเป็นจริงของสิ่งต่าง ๆ และลัทธิความคิด
รวบ ยอด (Conceptualism) ที่กล่าวถึงความคิดที่เกิดหลังจากได้วิเคราะห์พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ถี่ถ้วนแล้ว
จากลัทธิทั้ง สองนี้เองทำให้ผู้คนมีความคิดมากขึ้นมีการคิด วิเคราะห์ ไตร่ตรอง จึงเป็นเหตุให้ผู้คนเริ่มหันมา
สนใจในทาง วิทยาศาสตร์ และจึงเริ่มมาสนใจในเรื่องจิตวทิ ยาในเชงิ วิทยาศาสตร์มากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยัง
สนใจศึกษาเรื่อง จิตมากขึ้นด้วย รวมทั้งให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตสำนึก (Conscious) อันได้แก่
การมีสมาธิ การมีสติสัมปชัญญะ และเชื่อว่าจะเป็นมนุษย์ได้จะต้องประกอบไปด้วย ร่างกายกับจิตใจ จึงมี
คำพูดติดปากว่า “A Sound mind is in a sound body” จิตที่ผ่องใสอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์ ความสนใจ
เรื่องจิตจึงมีมากขึ้น ตามลำดับ นอกจากนี้ยังเชื่อว่า จิต แบ่งสามารถเป็นส่วนๆ ได้แก่ ความคิด (Idea)
จินตนาการ (Imagine) ความจำ (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนที่สำคัญที่สุดเรียกว่า Faculty of will
เปน็ สว่ นหนึ่งของจติ ที่ สามารถสง่ั การเคล่ือนไหวต่าง ๆ ของรา่ งกายต่อมา Norman L. Mumm มีความสนใจ
เรื่องจิต เขา กล่าวว่า จิตวิทยา คือ การศึกษาเรื่องจิต ในปี ค.ศ. 1590 ค าว่า Psychology จึงเป็นที่รู้จักและ
สนใจของคน ทั่วไป จอหน์ ลอค (John Locke ค.ศ. 1632 -1704) ไดช้ ่ือวา่ เป็น บิดาจิตวทิ ยาแผนใหม่ เขาเชอ่ื
ว่า ความรู้สึกตัว ( Conscious ) และสิ่งแวดล้อมเป็นตัวที่มีอิทธิพลต่อจิตวิธีการศึกษาทางจิตวิทยา
การศึกษาทางจิตวิทยาใช้หลาย ๆ วิธีการมาผสมผสานและทำการวิเคราะห์บนสมมุติฐาน นักจิตวิทยาจะใช้
วิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น การตรวจสอบตนเอง การสังเกต การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี การสัมภาษณ์
การทดสอบ ดงั จะอธบิ ายเรียงตามลำดับต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการให้
บุคคลสำรวจ ตรวจสอบตนเองด้วยการย้อนทบทวนการกระทำและความรู้สึกนึกคิดของตนเองในอดีต ที่ผ่าน
มา แล้วบอกความรู้สึกออกมา โดยการ อธิบายถึงสาเหตุและผลของการกระทำในเรื่องต่าง ๆ เช่น ต้องการ
ทราบว่าทำไมเด็กนักเรียนคนหนึ่งจึงชอบพูด ปดเสมอ ๆ ก็ให้เล่าเหตุหรือเหตุการณ์ในอดีต ที่เป็นสาเหตุให้มี
พฤติกรรมเช่นนั้นก็จะทำให้ทราบที่มาของ พฤติกรรมและได้แนวทางในการที่จะช่วยเหลือแก้ไขพฤติกรรม
ดงั กล่าวได้

การตรวจสอบตนเองจะได้รับข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและเป็นประโยชน์ เพราะผู้รายงานที่มี
ประสบการณ์และอยู่ในเหตุการณ์นั้นจริง ๆ แต่หากผู้รายงานจดจำเหตุการณ์ได้แม่นยำ และมีความจริงใจใน
การรายงานอย่างซื่อสัตย์ไม่ปิดบังและบิดเบือนความจริง แต่หากผู้รายงานจำเหตุการณ์หรือเรื่องราวไม่ได้
หรือไม่ ต้องการรายงานข้อมูลท่ีแท้จริงให้ทราบก็จะทำใหก้ ารตีความหมายของเรื่องราวต่าง ๆ หรือเหตุการณ์
ผิดพลาดไม่ ตรงตามข้อเทจ็ จรงิ

2. การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรมในสถานการณ์ที่เป็นจริง อย่างมี
จุดมุ่งหมาย โดยไม่ให้ผถู้ ูกสงั เกตรู้ตัว การสงั เกตแบ่งเป็น 2 ลักษณะคอื

2.1 การสังเกตอย่างมีแบบแผน ( Formal Observation ) หมายถึง การสังเกตที่มีการเตรยี มการ
ลว่ งหนา้ มีการวางแผนมีกำหนดเวลา สถานการณ์ สถานที่ พฤติกรรมและบุคคลท่จี ะสงั เกต ไว้เรียบรอ้ ยเมื่อถึง
เวลาที่นักจิตวิทยาวางแผน ก็จะเริ่มทำการสังเกตพฤติกรรมตามที่กำหนดและผู้สังเกตพฤติกรรมจะจด
พฤติกรรมทกุ อย่างในช่วงเวลานัน้ อย่างตรงไปตรงมา

2.2 การสังเกตอย่างไม่มีแบบแผน ( Informal Observation ) หมายถึง การสังเกตโดยไม่ต้องมี
การเตรยี มการลว่ งหน้าหรือวางแผนล่วงหนา้ แตส่ ังเกตตามความสะดวกของผู้สงั เกตคือจะสงั เกตช่วงเวลาใดก็
ได้แล้ว ทำการจดบนั ทึกพฤตกิ รรมท่ีตนเหน็ อย่างตรงไปตรงมา การสังเกตช่วยให้ได้ข้อมลู ละเอียด ชัดเจนและ
ตรงไปตรงมา เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรู้สึก ของบุคคลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำให้เห็นพฤติกรรมได้
ชัดเจนกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่การสังเกตที่ดีมคี ุณภาพมสี ่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ผู้สังเกต
จะต้องมีใจเป็นกลางไม่อคติหรือลำเอียงอย่างหนึ่ง อย่างใด และสังเกตได้ทั่วถึง ครอบคลุม สังเกตหลาย ๆ
สถานการณห์ ลาย ๆ หรอื หลายๆ พฤตกิ รรม และใชเ้ วลา ในการสงั เกต ตลอดจนการจดบันทึกการสังเกตอย่าง

ตรงไปตรงมาและแยกการบันทึกพฤติกรรมจากการตีความ ไม่ปะปนกัน กจ็ ะทำให้การสังเกตได้ข้อมูลตรงตาม
ความเป็นจริงและนำมาใช้ประโยชน์ตามจดุ มุ่งหมาย

3. การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี (Case Study) หมายถึง การศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ที่สำคัญของ
บุคคล แต่ต้องใช้เวลาศกึ ษาตดิ ตอ่ กันเป็นระยะเวลาหนงึ่ แล้วรวบรวมขอ้ มูลมาวิเคราะห์พจิ ารณาตคี วามเพื่อให้
เขา้ ใจถงึ สาเหตุของพฤติกรรม หรอื ลกั ษณะพเิ ศษทีผ่ ู้ศึกษาต้องการทราบ ท้ังนเี้ พือ่ จะไดห้ าทางช่วยเหลือแก้ไข
ปรับปรุง ตลอดจนส่งเสริมพฤติกรรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์ที่สำคัญของบุคคลแต่ต้องใช้เวลาศึกษา
ติดต่อกันเป็นระยะหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณาตีความเพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม
หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งนี้ เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอดจนส่งเสริม
พฤติกรรมใหเ้ ปน็ ไปในทางสรา้ งสรรค์

4. การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากันระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมี
จุดมุ่งหมาย ซึ่งการสัมภาษณก์ ็มีหลายจุดมุ่งหมาย เช่น การสัมภาษณ์เพือ่ ความคุ้นเคย สัมภาษณ์เพื่อคัดเลอื ก
บุคคลเข้าทำงาน สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ ตลอดจนสัมภาษณ์เพื่อการแนะแนวและการให้
คำปรึกษา เป็นต้น แต่ทั้งการสัมภาษณ์ก็เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการตัดสิ นใจ
การสัมภาษณ์ที่ดี จำเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า วางแผน กำหนดสถานที่ เวลาและเตรียม หัวข้อหรือ
คำถามในการสัมภาษณ์ และนอกจากนัน้ ในขณะสัมภาษณผ์ ู้สัมภาษณ์ควรจะใช้เทคนิคอน่ื ๆ ประกอบด้วยก็ยิ่ง
จะได้ผลดี เชน่ การสงั เกต การฟัง การใชค้ ำถาม การพูด การสร้างความสัมพนั ธท์ ดี่ ี ระหวา่ งผใู้ หส้ ัมภาษณ์และ
ผูส้ ัมภาษณก์ ็จะช่วยให้การสัมภาษณไ์ ด้ดำเนนิ ไปดว้ ยดี

5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครื่องมือที่มีเกณฑ์ในการวัดลักษณะของพฤติกรรมใด
พฤติกรรมหนึ่ง หรือหลาย ๆ พฤติกรรม โดยให้ผู้รับการทดสอบเป็นผู้ตอบสนองต่อแบบทดสอบซึ่งอาจเป็น
แบบทดสอบภาษาและแบบปฏบิ ตั ิการหรือลงมือทำ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับบุคคลนั้นตามจุดมุง่ หมายที่ผู้
ทดสอบวางไว้แบบทดสอบที่นำมาใช้ในการทดสอบหาข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบทดสอบ
ความสนใจ เป็นต้น การทดสอบก็มีสง่ิ ที่ควรคำนงึ ถงึ เพ่อื ผลของขอ้ มูลทีไ่ ด้รับ ซ่ึงแบบทดสอบที่นำมาใช้ควรเป็น
แบบทดสอบทีเ่ ชอื่ ถอื ได้เป็นมาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อยา่ งถูกตอ้ ง เป็นต้น

6. การทดสอบ (Experiment) หมายถึง วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบ มีขั้นตอนและเป็น วิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีลำดับขั้นตอนดังนี้ ตั้งปัญหา ตั้งสมมุติฐาน การรวบรวมข้อมูล การทดสอบ สมมุติฐาน
การแปลความหมายและรายงานผล ตลอดจนการนำผลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริมต่อไป
การทดลองจึงเป็นการจัดสภาพการณ์ข้นึ มาเพื่อดูผลการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนเพื่อศึกษาเปรยี บเทียบ กลุ่มหรือ
สถานการณ์ คือ

1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คือ กลุ่มที่ได้รับการจัดสภาพการณ์ทดลองเพื่อศึกษาผลที่
ปรากฏจากสภาพนัน้ เชน่ การสอนด้วยเทคนคิ ระดมพลังสมอง จะท าให้กล่มุ เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรคห์ รอื ไม่

2. กลุม่ ควบคุม (Control Group) คือ กลุ่มท่ีไม่ได้รับการจัดสภาพการณ์ใด ๆ ทุกอย่างถูกควบคุม
ให้คงภาพเดิม ใช้เพื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มทดลอง สิ่งที่ผู้ทดลองต้องการศึกษาเรียกว่า ตัวแปร ซึ่งมีตัวแปร
อสิ ระ หรอื ตวั แปรตน้ (Independent Variable) และตวั แปรตาม ( Dependent Variable )
เจตคติ (Attitude)
ความหมายของเจตคติ

เจตคติ หมายถึงอะไร ขตั ตยิ า กรรณสูต (2516:2) ใหค้ วามหมายไว้ คอื ความรู้สึกทค่ี นเรามีตอ่ ส่ิงหนึ่ง
สิ่งใดหรือหลายสิง่ ในลกั ษณะที่เป็นอัตวิสยั (Subjective) อันเป็นพื้นฐานเบื้องต้นหรือการแสดงออกที่เรยี กวา่
พฤติกรรม

สชุ า จันทร์เอม และ สรุ างค์ จนั ทร์เอม (2520:104) ให้ความหมายเจตคติ คือความรู้สึก หรือท่าทีของ
บุคคลที่มีต่อบุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรู้สึก หรือท่าทีจะเป็นไปในทำนองที่พึงพอใจ
หรอื ไม่ พอใจ เห็นด้วยหรือไมเ่ ห็นด้วยก็ได้

สงวนศรี วิรัชชัย (2527:61) ให้ความหมายเจตคติ คือ สภาพความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกเชิง
ประเมินที่มีต่อสิ่งต่างๆ (วัตถุ สถานการณ์ ความคิด ผู้คน ฯลฯ) ซึ่งทำให้บุคคลมีแนวโนม้ ที่จะแสดงพฤตกิ รรม
ต่อสง่ิ น้ัน ในลักษณะเฉพาะตวั ตามทศิ ทางของทัศนคตทิ ่ีมอี ยู่

ชม ภูมิภาค (2516:64) ให้ความหมายเจตคติ คือวิถีทางที่บุคคลเกิดความรู้สึกต่อบางสิ่งบางอย่างคำ
จำกัดความเช่นนี้มิใช่คำจำกัดความเชิงวิชาการมากนักแต่หากเราจะพิจารณาโดยละเอียดแล้วเราก็พอจะ
มองเหน็ ความหมายของมนั ลึกซ้ึงชัดเจนพอดู เมื่อพดู ว่าคอื ความรสู้ ึกต่อสงิ่ น้ันก็หมายความวา่ เจตคตินั้นมีวัตถุ
วตั ถทุ เ่ี จตคติจะมุ่งตรงต่อนน้ั จะเปน็ อะไรก็ได้อาจจะเปน็ บุคคล ส่ิงของ สถานการณ์ นโยบายหรอื อื่น ๆ อาจจะ
เป็นได้ทั้ง นามธรรมและรูปธรรม ดังนั้น วัตถุแห่งเจตคตินั้นอาจจะเป็นอะไรก็ได้ท่ีคนรับรู้หรือคิดถึงความร้สู กึ
เช่นนี้อาจจะ เป็นในด้านการจูงใจหรืออารมณ์และเช่นเดียวกันแรงจูงใจแบบอื่นๆคือดูได้จากพฤติกรรม
ตัวอยา่ งเช่น เจคติต่อ ศาสนาหากเป็นเจตคติท่ีดีเราจะเกิดความเคารพในวัดเราจะเกดิ ความรู้สึกว่าศาสนาหรือ
วัดนั้นจะเป็นสิ่งจรรโลง ความสงบสุข เรายินดีบริจาคทำบุญร่วมกับวัดเราจะพูดได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความ
พร้อมท่จี ะถกู กระตุ้นดว้ ย วตั ถุ การกระทำต่างๆ ของคนน้ันมักถูกกำหนดด้วยเจตคติทีจ่ ะตัดสินใจว่าจะบริจาค
เงนิ แก่วัดสกั เท่าใดนัน้ ยอ่ มมี ปจั จัยต่างๆเขา้ เกย่ี วขอ้ ง เชน่ ชอบสมภาร รายได้ตนเองดีขน้ึ เห็นความสำคัญของ
วดั เหน็ ว่าสง่ิ ทจ่ี ะต้องบรู ณะมาก

“เจตคติ” คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกดิ จากประสบการณแ์ ละการเรียนรู้ของบุคคลอันเปน็
ผล ท าให้เกิดมีท่าทีหรอื มีความคิด เห็นรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือไม่เห็นด้วย
เจต คติมี ๒ ประเภทคือ เจตคติทัว่ ไป เจตคติเฉพาะอย่าง

COLLINS (1970:68) ให้ความหมายเจตคติ คือการที่บุคคลตัดสินในสิ่งต่างๆว่าดี –ไม่ดี เห็นด้วย-ไม่
เหน็ ดว้ ย ยอมรับได้-ยอมรบั ไม่ได้

ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสมผสานหรือจดั ระเบียบของความเช่ือท่ีมีต่อส่ิง
หนึ่งสิ่งใดหรือสถานการณ์หนึ่งสถานการณ์ใด ผลรวมของความเชื่อนี้จะเป็นตัวก าหนดแนวทางของบุคคลใน
การที่จะมีปฏิกรยิ าตอบสนองในลกั ษณะทชี่ อบหรอื ไมช่ อบ

BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ใหค้ วามหมายเจตคติ คือ แนวโน้มทบ่ี ุคคลจะตอบสนองในทางที่
เป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อผ้คู น เหตกุ ารณ์ และสง่ิ ต่างๆอย่างสม่ำเสมอและคงท่ี

ดังนั้นอาจสรุปความหมายของเจตคติ คือ ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใด ๆ ซึ่งแสดงออกมาเป็น
พฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่ชอบ อาจเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พอใจ ไม่พอใจ ต่อสิ่งใด ๆ ในลักษณะเฉพาะตัว
ตาม ทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่และทำให้จะเป็นตวั กำหนดแนวทางของบุคคลในการที่จะมีปฏิกริยาตอบสนอง
องค์ประกอบของเจตคติ

องค์ประกอบของเจตคติท่สี ำคัญ 3 ประการ คือ
1. การรู้ (COGNITION) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อ
ลัทธิคอมมิวนิสต์ ส่งิ สำคัญขององค์ประกอบนี้ ก็คือ จะประกอบด้วยความเช่ือท่ีไดป้ ระเมินค่าแล้วว่าน่าเชื่อถือ
หรือไม่น่าเชื่อถือ ดีหรือไม่ดี และยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่าควรจะมีปฏิกริยาตอบโต้อย่างไรต่อเป้าหมาย
ทัศนคตจิ งึ จะเหมาะสมที่สุด ดงั น้ันการร้แู ละแนวโนม้ พฤติกรรมจึงมคี วามเก่ียวข้องและสัมพนั ธอ์ ย่างใกล้ชดิ
2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย เจตคตินั้นเป้าหมายจะถูกมองด้วย
อารมณ์ชอบหรือไม่ชอบ ถูกใจหรือไม่ถูกใจ ส่วนประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึกนี้เองที่ทำให้บุคคลเกิดความ
ดอ้ื ดงึ ยึดมน่ั ซง่ึ อาจกระตุ้นให้มีปฎกิ รยิ าตอบโตไ้ ดห้ ากมสี ง่ิ ที่ขดั กับความรูส้ กึ มากระทบ
3. แนวโนม้ พฤติกรรม (ACTION TENDENCY) หมายถึง ความพร้อมที่จะมีพฤตกิ รรมทีส่ อดคล้อง กับ
เจตคติ ถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดีต่อเป้าหมาย เขาจะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือสนับสนุน
เป้าหมายนั้น ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทำลาย หรือทำ
รา้ ย เปา้ หมายน้นั เช่นกนั

การเกดิ เจตคติ และเจตคตเิ กดิ จากอะไร
เจตคติเกิดจากการเรียนรู้ของบุคคลไม่ใช่เป็นสิ่งมตี ิดตัวมาแต่กำเนดิ หากแต่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบส่ิง
ใดต้องภายหลัง เมื่อตนเองได้มีประสบการณ์ในสิ่งนั้น ๆ แล้ว ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า เจตคติเกิดขึ้นจากเรื่อง
ตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี
1. การรวบรวมความคิดอนั เกดิ จากประสบการณห์ ลาย ๆ อย่าง
2. เกิดจากความร้สู ึกท่ีรอยพมิ พ์ใจ
3. เกิดจากการเหน็ ตามคนอน่ื
ชม ภูมิภาค (2516:66-67) ได้อธิบายเรื่องการเกิดเจตคติว่าเกิดจากการเรียนรู้และโดยมากก็เป็นการ
เรียนร้ทู างสงั คม(social learning)ดังนน้ั ปัจจยั ทที่ าให้เกิดเจตคติจึงมหี ลายประการเช่น
1. ประสบการณ์เฉพาะ เมื่อคนเราได้รับประสบการณ์ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจจะมีลักษณะในรูปแบบที่ผู้
ได้รับรู้สึกว่าได้รางวัลหรือถูกลงโทษ ประสบการณ์ที่ผู้รู้สึกเกิดความพึงพอใจย่อมจะทำให้เกิดเจตคติที่ดีต่อส่งิ
นัน้ แตถ่ ้าเปน็ ประสบการณ์ทีไ่ มเ่ ปน็ ทพ่ี งึ พอใจก็ย่อมจะเกดิ เจตคติทไ่ี มด่ ี
2. การสอน การสอนนั้นอาจจะเป็นทั้งแบบที่เป็นแบบแผนหรือไม่เป็นแบบแผนก็ได้ซึ่งเราได้รับจาก
คนอื่น องค์การที่ทำหน้าที่สอนเรามีมากมายอาทิเช่น บ้าน วัด โรงเรียน สื่อมวลชนต่าง ๆ เรามักจะได้รับเจต
คติท่ี สังคมมีอยู่และนำมาขยายตามประสบการณ์ของเรา การสอนที่ไม่เป็นแบบแผนนั้นส่วนใหญ่เริ่มจาก
ครอบครัวตั้งแต่เด็ก ๆ มาแล้ว พ่อแม่พี่น้องมักจะบอกเราว่าสิ่งนั้นไม่ดีสิ่งนี้ไม่ดีหรือใครควรทำอะไรมี ความ
สำคญั อย่างไร การสอนสว่ นมากเป็นแบบยัดทะนานและมกั ไดผ้ ลดเี สยี ดว้ ยในรูปแบบการปลกู ฝงั เจตคติ
3. ตัวอย่าง (Model) เจตคติบางอย่างเกิดขึ้นจากการเลียนแบบในสถานการณ์ต่าง ๆ เราเห็นคนอ่ืน
ประพฤติ เราเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมคนอนื่ ออกมาเป็นรปู ของเจตคติถ้าเรายอมรับนับถือหรอื เคารพคนๆนั้นเรา
ก็ มกั ยอมรับความคิดของเขาตามที่เราเข้าใจ เช่น เด็กชายแดงเหน็ บดิ าดูรายการกีฬาทางโทรทัศน์ประจำเขาก็
จะแปล ความหมายวา่ กฬี านนั้ เป็นเร่ืองน่าสนใจและจะต้องดูหรือถ้าเขาเหน็ พ่อแม่ระมดั ระวังต่อชุดรับแขกใน
บ้านมากกว่า ของที่อยู่ในสนามหญ้าหลังบ้านเขาก็จะเกิดความรู้สึกว่าของในบ้านต้องระวังรักษาเป็นพิเศษ ซึ่ง
การเรยี นรเู้ ชน่ น้ี พ่อไมไ่ ม่จ าเป็นตอ้ งพดู ว่าอะไรเลย เด็กจะเฝ้าสงั เกตการณป์ ฏบิ ัตขิ องพ่อแมต่ ่อบคุ คลอ่ืนอย่าง
ถถี่ ว้ นจะเรยี นรูว้ ่าใคร ควรคบใครควรนบั ถือ ใครไมค่ วรนับถือ
4. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสถาบัน ปัจจัยทางสถาบันมีอยู่เป็นอันมากที่มีส่วนสร้างสนับสนุนเจตคติของเรา
ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติตนในวัด ในโบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณ์ทางสังคมต่าง ๆ เป็นสิ่งให้แนว
เจต คติของคนเราเป็นอันมาก สภาวะท่ีมีผลต่อการก่อเกิดของเจตคตินั้นมีหลายอย่าง อาทิเช่น ประการแรก
ขึ้นอยู่กับการท่ีเราคิด ว่าเราเป็นพวกเดยี วกัน (identification) เด็กที่ยอมรับว่าตนเองเปน็ พวกเดียวกับพ่อแม่
ย่อมจะรับเจตคติของพ่อแม่ ง่ายขึ้น หรือที่โรงเรียนหากเด็กถือว่าครูเป็นพวกเดียวกับตนเด็กย่อมจะรับความ
เชื่อถือหรือเจตคติของครู ประการที่สอง ขึ้นอยู่กับว่า เจตคตินั้นคนอื่นๆเป็นจำนวนมากเชื่ออย่างนั้นหรือคิด
อย่างน้นั (uniformity) การที่เราจะมีเจตคติเข้ากลมเกลียวเป็นอันหน่ึงอนั เดยี วกันได้นน้ั อาจจะมีสาเหตุอ่ืนอีก
เช่นโอกาสท่จี ะได้รบั เจตคติแตกต่างไปน้ันไมม่ ีประการหน่งึ อีกประการหนึ่งหากไม่เห็นด้วยกบั ส่วนใหญ่เราเกิด
ความรู้สึกว่าส่วน ใหญ่ปฏิเสธเรา นอกจากนี้ประการที่สามการที่เรามีเจตคติตรงกับคนอื่นทำให้เราพูดติดต่อ
กับคนอ่นื เข้าใจ เมอ่ื เราเจริญเตบิ โตจากเด็กเป็นผูใ้ หญน่ น้ั แนท่ ี่สดุ ที่เราจะพบความแตกตา่ งของเจตคติมากมาย
ในบา้ นนนั้ นับวา่ เปน็ แหล่งเกิดเจตคติตรงกนั ทสี่ ดุ แต่พอมีเพื่อนฝงู เราจะเหน็ วา่ เจตคติของเพื่อนฝูงและของพ่อ
แม่ของเขาแตกต่างกนั บ้าง ในโรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับการศึกษาชั้นสูงเราจะพบความแตกตา่ งของ
เจตคตมิ ากมาย ดังนั้น เราจะเหน็ ได้วา่ เจตคติแรกๆท่ีเราได้รบั นั้นค่อนข้างจะคงทนถาวร เจตคตินั้นจะสามารถ
นำไปใช้กับสถานการณ์ใหม่ ที่คล้ายกัน เช่น คนที่มีพ่อดุดันเข้มงวดเขาจะเกิดความมุง่ ร้ายตอ่ พ่อ อาจจะคิดวา่
ผู้บงั คับบญั ชาน้นั ดดุ ัน เขม้ งวดและเกดิ ความรู้สึกมุ่งร้ายต่อผู้บังคับบญั ชากไ็ ด้ หรอื คนงานที่ไม่ชอบหัวหน้างาน
อาจจะนำความไมช่ อบนั้น ไปใช้ตอ่ บรษิ ัทหรือเกลยี ดบริษัทไปดว้ ย

ลักษณะของเจตคติ
ทติ ยา สวุ รรรณชฎ (2520:602-603) กลา่ วถึงลกั ษณะสำคญั ของเจตคติ 4 ประการ คอื
1. เจตคติ เปน็ สภาวะกอ่ นท่ีพฤติกรรมโตต้ อบ (PREDISPOSITION TO RESPOND) ต่อเหตุการณห์ รือ

ส่ิงใดส่งิ หนงึ่ โดยเฉพาะหรือจะเรียกวา่ สภาวะพร้อมท่จี ะมีพฤติกรรมจริง
2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยู่ในช่วงระยะเวลา (PERSISTENCE OVERTIME) แต่มิได้หมายความว่า

จะไมม่ ีการเปลี่ยนแปลง
3. เจตคติ เป็นตัวแปรหนึ่งนำไปสู่ความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดไม่ว่าจะเป็น

การแสดงออกโดยวาจา หรือการแสดงความรสู้ ึก ตลอดจนการที่จะต้องเผชิญหรอื หลีกเลย่ี งตอ่ ส่ิงใดสง่ิ หนง่ึ
4. เจตคติ มีคุณสมบัติของแรงจูงใจ ในอันที่จะทำให้บุคคลประเมินผล หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

ซึง่ หมายความต่อไปถงึ การกำหนดทิศทางของพฤติกรรมจรงิ ดว้ ย
เจตคตินับว่าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานอย่างหนึ่ง นอกจากความพร้อมและการจูงใจ

บุคคลที่มีเจตคติที่ดีต่อการทำงานจะช่วยให้ทำงานได้ผลท้ังนี้เพราะเจตคตเิ ป็นต้นกำเนิดของความคิดและการ
แสดง การกระทำออกมานนั่ เอง

กล่าวโดยสรุป เจตคติ เป็นลักษณะทางจิตของบุคคลที่เป็นแรงขับแรงจูงใจของบุคคล แสดง
พฤติกรรมที่จะแสดงออกไปในทางต่อต้านหรือสนับสนุนต่อสิ่งนั้นหรือสถานการณ์นั้น ถ้าทราบทัศนคติของ
บคุ คลใดท่ีสามารถทำนายพฤติกรรมของบุคคลนนั้ ได้ โดยปกตคิ นเรามกั แสดงพฤตกิ รรมในทิศทางท่ี สอดคล้อง
กบั ทศั นคติทม่ี ีอยู่

อย่างไรก็ดีเจตคติเมื่อเกิดขึ้นแลว้ อาจจะมีลักษณะที่ค่อนขา้ งถาวรและคงทน ความรังเกียจที่เรียนรูใ้ น
วัยเด็กอาจจะคงอยู่ต่อไปจนชั่วชีวิต เจตคติทางการเมือง ศาสนาและอื่นๆ มักจะมีความคงทนเป็นอันมาก
สาเหตุ ท่ที ำใหเ้ จตคตบิ างอย่างมีความคงทนอาจมีสาเหตดุ งั ต่อไปน้ี

1. เนื่องจากเจตคตินั้นเป็นแนวทางปรับตัวได้อย่างพอเพียงคือ ตราบใดที่สถานการณ์นั้นยัง สามารถ
จะใช้เจตคติเช่นนั้นในการปรบั ตัวอยู่เจตคตนิ ้ัน กจ็ ะยงั คงไม่เปล่ียนแต่เน่ืองจากไม่สามารถทีจ่ ะใช้ได้ เน่ืองจาก
สถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วเจตคตินั้นก็มักจะเปลี่ยนแปลงไป เช่น ในสหรัฐอเมริกาคนส่วนใหญ่ มักจะ
คดั คา้ นการชว่ ยเหลือของรัฐบาลอย่างรุนแรง แตพ่ อเกิดเศรษฐกจิ ตกต่ำอย่างรุนแรงก็อาจจะรับความช่วยเหลือ
ของรัฐบาลมากข้ึน

2. เหตุที่เจตคติไม่เปลี่ยนแปลง่ายๆก็เพราะว่าผู้มีเจตคตินั้นจะไม่ยอมรับรู้สิ่งยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์
เช่นนี้เรียกว่า Selective perception เช่น คนที่เกลียดยิว เกิดความคิดว่าพวกยิวนี้ขี้เหนียวเอารัดเอาเปรียบ
ต่อมามยี ิวมาอยบู่ ้านใกล้ ๆ ทั้ง ๆ ทย่ี วิ คนน้นั แสนจะดเี ป็นกันเองให้ความชว่ ยเหลือเราดีเจตคติของเรามีอยู่เดิม
จะไม่ยอมรับรู้ ความดขี องยวิ เชน่ น้นั ดังนัน้ เจตคติจึงไม่เปลี่ยน

3. สาเหตุอีกอย่างหน่ึงคือ ความภกั ดีต่อหมู่กลุ่มท่ีเราเปน็ สมาชิกคนเราไม่อยากได้ชื่อว่าทรยศต่อพวก
ตัวอย่างเช่น หญิงสาวถูกอบรมมาในครอบครัวซึ่งเคร่ง ไม่ยอมให้เล่นการพนัน สูบบุหรี่เพราะการกระทำ
เช่นน้ัน ครอบครัวถือว่าเป็นการกระทำมิใช่วิสัยสตรีที่ดี ที่จะพึงกระทำ ต่อมาแม้ว่าจะมีโอกาสที่จะกระทำได้
แตไ่ มท่ ำ เพราะเหน็ ว่าขัดตอ่ เจตคติของพ่อแมท่ เ่ี คยสง่ั สอนไว้

4. ความต้องการป้องกันตนเอง บุคคลท่ีไม่ยอมเปล่ียนเจตคติท่ีเขามีอยู่เดิมน้ันอาจเนื่องจากเหตุผลว่า
หากเขาเปลี่ยนแปลงแล้วจะทำให้คนอื่นเห็นว่าเขาอ่อนแอ เช่น คนขายของเสนอวิธีการขายใหญ่ให้หัวหน้า
หวั หนา้ เห็นวา่ ดีเหมือนกันแต่ไมย่ อมรับเพราะเห็นวา่ เป็นเร่อื งท่ีทำให้คนอน่ื เหน็ หวั หนา้ ไมม่ ีความสามารถ

5. การได้รับการสนับสนุนจากสังคมนั้นคือการที่เราเชื่ออย่างนั้นมีเจตคติอยู่อย่างนั้นเรายังได้รับการ
สนับสนุนกับคนที่มีความเช่อื อยา่ งเดียวกับเราอยู่

หนา้ ทีแ่ ละประโยชน์ของเจตคติ
Katz (อา้ งในนพมาศ 2534:130) มองวา่ เจตคติมปี ระโยชน์และหนา้ ท่ี คือ
1. เป็นประโยชน์โดยการเปน็ เคร่อื งมอื ปรับตัว และเปน็ ประโยชนใ์ นการใช้เพ่ือทำการตา่ ง ๆ
2. ทำประโยชน์โดยการใช้ป้องกันสภาวะจิตใจ หรือปกป้องสภาวะจิตของบุคคล (EGODEFENSIVE

FUNCTION) เพราะความคิด หรือความเชือ่ บางอย่างสามารถทำให้ผู้เชื่อหรือคดิ สบายใจ ส่วนจะผิดจะถูกเปน็
อีก เรอื่ งหนง่ึ

3. เจตคติทำหนา้ ท่แี สดงคา่ นิยม ให้คนเหน็ หรอื รบั รู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มีประโยชน์หรอื ใหค้ ณุ ประโยชน์ทางความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั ผคู้ นและสง่ิ ตา่ งๆ
5. ช่วยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรมหรือช่วยพัฒนาค่านิยมให้กับบุคคล
การที่บุคคลมีทัศนคติที่ดีต่อบุคคล สถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลสามารถประเมินและ
ตดั สินไดว้ ่าควรจะเลือกประพฤตอิ ยา่ งไรจงึ จะเหมาะสมและดงี าม
ชม ภูมิภาค (2516:65) หน้าที่ของเจตคติ เจตคติทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้อยู่มาก เจตคติมีส่วน
กำหนดการมองเห็นของคน นอกจากนยี้ งั ทำหน้าทอี่ ่ืน ๆ อีกเช่น
1. เตรียมบคุ คลเพอ่ื ให้พรอ้ มต่อการปฏบิ ัตกิ าร
2. ช่วยให้บคุ คลได้คาดคะเนลว่ งหนา้ ว่าอะไรจะเกิดขน้ึ
3. ทำใหบ้ ุคคลได้รบั ความสำเร็จตามหลกั ชัยทวี่ างไว้
การเปล่ยี นแปลงเจตคติ
สุชา จันเอม และสุรางค์ จนั เอม (2520:110-111) กลา่ วว่า ทศั นคติของบุคคลสามารถเปลีย่ นแปลงได้
เนอื่ งมาจาก
1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงใหม่ได้หลังจากที่ได้รับ
คำแนะนำ บอกเล่า หรอื ไดร้ บั ความรูเ้ พ่ิมพนู ข้ึน
2) การเปลี่ยนแปลงกลุ่ม (GROUP CHANGE) ชว่ ยเปล่ียนทศั นคติของบคุ คลได้
3) การโฆษณาชวนเชื่อ (PROPAGANDA) เป็นการชักชวนให้บุคคลหันมาสนใจหรือรับรู้โดยการ
สร้างสง่ิ แปลกๆใหมๆ่ ขน้ึ
สงิ่ ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ เจตคติ คอื
1. บิดา มารดา ของเดก็
2. ระเบียบแบบแผน วฒั นธรรมของสังคม
3. การศึกษาเลา่ เรียน
4. สิ่งแวดล้อมในสงั คม
5. การพกั ผอ่ นหย่อนใจท่ีแต่ละคนใช้ประจำตวั
การแกไ้ ขเจตคตหิ รอื วธิ สี ร้างเจตคติ
เจตคตเิ ป็นเรื่องทีแ่ กไ้ ขไดอ้ ยากถ้าจำเปน็ จะต้องชว่ ยแก้ไขเปลย่ี นเจตคติของคนอาจใช้วธิ เี หลา่ นัน้ คอื
1. การคอ่ ย ๆ ช้ืนลงให้เข้าใจ
2. หาสงิ่ เร้าและสิง่ จูงใจอยา่ งเข้มขน้ มาย่วั ยุ
3. คบหาสมาคมกบั เพ่อื นดดี ี
4. ใหอ้ า่ นหนังสอื ดีมีประโยชน์
5. ใหล้ องทำจนเห็นชอบแลว้ กลบั ตวั ดเี อง
ชม ภูมิภาค (2516:65) ได้อธิบายว่าเจตคติเปลี่ยนแปลงได้ ปัจจัยที่จะช่วยให้เจคติเปลี่ยนแปลงได้มี
หลาย ประการเชน่

1. ความกดดันของกลุ่ม (Group pressure) หากกลุ่มจะสามารถใหร้ างวัลหรือลงโทษได้ย่อมจะมแี รง
กดดัน มากในการที่จะกดดันทิศทางเจตคตขิ องเราสิ่งยั่วยุที่เป็นรางวัลนัน้ ได้แก่ ความเป็นผู้มีคนรู้จักมากการ
เลื่อน ตำแหน่งการงาน สัญลักษณ์ของการยอมรับนับถือเป็นต้น ส่วนสิ่งยั่วยุที่เป็นการลงโทษก็เช่น การเสีย
เพอื่ นฝูง เสีย ชือ่ เสียง เสียตำแหนง่ เป็นตน้ ย่งิ เรามคี วามผิดปกติไปจากกลุ่มเทา่ ใดแรงบีบบังคับของหมู่มีมาก
เท่าใดหรือยิ่งหมู่ กลุ่มนั้น ยิ่งเราต้องการเป็นสมาชิกของหมู่ใด แรงบีบบังคับของหมู่ย่อมมีมากเท่านั้นหรือยิ่ง
หม่กู ลมุ่ ตอ้ งการเรามาก เท่าใดกลุ่มก็ย่งิ ต้องการให้เราปฏิบัตติ ามมาตรฐานของกลุ่มเท่านัน้ กลุ่มที่มีเกียรติศักด์ิ
หรือศักดิ์ศรีต่ำในหมู่อาจจะ กระทำผิดแปลกไปได้บ้าง แต่ยิ่งมีตำแหน่งสูงหรือศักดิ์ศรีสูงแล้วกระทำผิด
มาตรฐานเพยี งนิดเดยี วแรงกดดัน ของหมจู่ ะเกิดข้ึนทนั ทเี พือ่ ใหป้ ฏิบัติอยใู่ นแนว

นอกจากนี้แรงกดดันของกลุ่มจะมีมากก็คือ การที่ไม่มีมาตรฐานอื่นที่จะปฏิบัติหรือมีน้อยทางที่จะ
เลือก หรอื เราไมม่ คี วามรู้มากมายนักในเร่ืองน้ัน บคุ คลมักจะเปลยี่ นความคดิ เหน็ หรือเจตคตหิ ากกลุ่มของเขาที่
ยึดอยู่ เปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรกๆอาจไม่สนใจกันรวมเป็นสมาคมแต่ต่อมาหากรู้ว่าคนอื่น ๆ
ในกล่มุ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ น้นั เขากอ็ าจเปลยี่ นความคิดย่ิงกลมุ่ มคี วามเป็นเอกภาพเท่าใดแรงกดดันของกลุ่มย่ิง
มีผลเท่านน้ั เรือ่ ง อำนาจของความกดดนั ของกลมุ่ อนั มีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงน้นั อาจจะเปน็ ไปได้ 4 กรณีคอื

1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกลุ่มและยึดมั่นในเจตคติของเราและเราอาจจะก้าวร้าวยิ่งขึ้นหาก
เราเชื่อวา่ กลุ่มไม่มผี ลบีบบงั คบั เรามากนกั หรือเรามีความภักดีตอ่ กล่มุ อ่นื มากกว่า

1.2 เราอาจจะไม่เปลี่ยนแปลงต่อเจตคติของเราแตเ่ ราปฏบิ ัติตามกลุ่มเพราะเหตุผลภายนอกอย่างอ่ืน
โดยถือวา่ เป็นสว่ นตวั และเราไมเ่ หน็ ดว้ ยแตส่ ว่ นรวมทำเชน่ นน้ั กต็ ้องปฏบิ ตั ติ าม

1.3 เราอาจยอมรับบรรทดั ฐานของกลุม่ เพียงผิวเผิน ภายในส่วนลึกของจิตใจเราไม่ยอมเปลี่ยนแต่พอ
เราออกไปอยกู่ ลุ่มอื่นเราจะได้เห็นว่าเราเปลีย่ นแปลงเปน็ อย่างอ่ืน

1.4 เราอาจจะนำเอาบางส่วนของบรรทัดฐานของกลุ่มมาผนวกกับความเชื่อของเราและปฏิเสธ
บางส่วน

2. ประสบการณ์ที่น่าพึงพอใจหรือไม่น่าพึงพอใจ เราอาจเปลี่ยนแปลงเจตคติไปได้เมื่อได้รับ
ประสบการณท์ น่ี ่าพอใจหรือไม่น่าพอใจ เช่น นายแดงเข้าทำงานบริษทั หน่ึงเพราะเขาเช่ือวา่ จะมีความก้าวหน้า
แต่ พบว่า หวั หน้าของเขาเป็นคนข้ีอิจฉาเมื่อเขาเกิดเสนอความคิดเห็นดๆี เพ่ือปฏิบัติหวั หนา้ อาจจะเห็นว่าการ
เสนอแนะของเขาเช่นนั้นทำให้ฐานะของเขาสั่นคลอนและนอกจากนั้นยังทราบดีว่าเพื่อนร่วมงานของเขาไป
ฟอ้ งแกห่ ัวหน้างานบอ่ ยๆ เขาจงึ อาจเปล่ยี นเจตคติไปอีกแบบหนง่ึ คือมองไม่เหน็ ความก้าวหนา้ ในการทำงานกับ
บรษิ ทั นี้ เชน่ น้เี ปน็ ตน้

3. อิทธิพลของกลุ่มบุคคลที่มชี ื่อเสียง บุคคลที่มีช่ือเสียงในความหมายนี้อาจจะเป็นเพื่อนซึ่งเรานับถอื
ความคิดของเขาหรืออาจจะเป็นผู้เชียวชาญทางด้านความพิเศษต่างๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในเรื่องนี้ก็คือ การ
โฆษณา ซ่ึงมกั จะใช้คนมชี อ่ื เสียงไปยุ่งเกยี่ ว เชน่ ดาราภาพยนตร์ชื่อดงั คนนน้ั ใช้สบู่ยหี่ ้อน้นั ๆ เป็นตน้

เจตคติเป็นความรูส้ ึกของบุคคลท่ีมีต่อสิง่ ต่าง ๆ อันเป็นผลเน่ืองมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และ
เป็น ตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมหรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ไปในทิศทางหนึ่ง อาจ
เป็นไป ในทางสนับสนุนหรือคัดค้านก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขบวนการการอบรมใหก้ ารเรียนรู้ระเบียบวิธีของสังคม
ซง่ึ เจต คตนิ จ่ี ะแสดงออกหรอื ปรากฏให้เห็นชัดในกรณีทสี่ ิ่งเรา้ นัน้ เปน็ สง่ิ เรา้ ทางสังคม
องคป์ ระกอบของเจตคติ

องค์ประกอบของเจตคตมิ ี 3 ประการ ได้แก่
1. ด้านความคดิ ( Cognitive Component) หมายถึง การรับรแู้ ละวนิ จิ ฉัยขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ไี ดร้ บั แสดง
ออกมาในแนวคดิ ทว่ี ่าอะไรถูก อะไรผิด
2. ด้านความรสู้ ึก ( Affective Component) หมายถงึ ลกั ษณะทางอารมณ์ของบุคคลท่สี อดคล้องกับ
ความคิด เช่น ถ้าบุคคลมีความคิดในทางที่ไมด่ ตี ่อส่ิงใด ก็จะมีความรู้สึกทีไ่ ม่ดีต่อสิ่งน้ันด้วย จึงแสดงออกมาใน
รูปของความรูส้ ึกไม่ชอบหรือไมพ่ อใจ

3. ด้านพฤติกรรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพร้อมที่จะกระทำซึ่งเป็นผลมาจาก
ความคิด และความรู้สึกและจะออกมาในรูปของการยอมรับหรือปฏิเสธ การปฏบิ ัติหรอื ไมป่ ฏิบัติ
การเรียนรู้

การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง "การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม อันเป็นผลมาจากการได้รับ
ประสบการณ์" พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในที่นี้ มิได้หมายถึงเฉพาะพฤติกรรมทางกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึง
พฤติกรรมทง้ั มวลทม่ี นษุ ยแ์ สดงออกมาได้ ซึง่ จะแยกได้เป็น 3 ด้านคอื

1. พฤติกรรมทางสมอง (Cognitive) หรือพุทธิพิสัย เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง (Fact)
ความคิดรวบยอด (Concept) และหลกั การ (Principle)

2. พฤติกรรมด้านทักษะ (Psychromotor) หรือทักษะพิสัย เป็นพฤติกรรมทางกล้ามเนื้อ แสดงออก
ทางดา้ นร่างกาย เช่น การว่ายน้ำ การขบั รถ อา่ นออกเสียง แสดงทา่ ทาง

3. พฤติกรรมทางความรู้สึก (Affective) หรือจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในเช่น การเห็น
คณุ คา่ เจตคติ ความรสู้ กึ สงสาร เหน็ ใจเพอ่ื นมนุษย์ เปน็ ต้น

ทฤษฎขี องการจงู ใจ (theories of motivation)

ความหมายของแรงจงู ใจ
แรงจงู ใจเปน็ คำท่ใี ช้กันมากแตบ่ างคร้งั ก็ใชก้ นั ไม่ค่อยถูกต้อง ความจรงิ แล้วแรงจูงใจใชเ้ พือ่ อธบิ ายว่า

ทำไมอนิ ทรียจ์ ึงการกระทำอยา่ งน้นั และทำใหเ้ กิดอะไรขึน้ มาบ้าง
คำว่า “แรงจูงใจ” มาจากคำกรยิ าในภาษาละตินวา่ “Movere”(Kidd, 1973:101) ซง่ึ มีความหมาย

ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า “to move” อันมีความหมายว่า “เป็นสิ่งที่โน้มน้าวหรือมักชักนำบคุ คลเกิดการ
กระทำหรอื ปฏิบตั กิ าร (To move a person to a course of action) ดังน้นั แรงจูงใจจึงได้รบั ความสนใจมาก
ในทุกๆวงการ

สำหรับโลเวลล์ (Lovell, 1980: 109) ให้ความหมายของแรงจูงใจว่า”เป็นกระบวนการทีช่ กั นำโนม้
นา้ วให้บุคคลเกิดความมานะพยายามเพอ่ื ทีจ่ ะสนองตอบความต้องการบางประการใหบ้ รรลผุ ลสำเร็จ”
ไมเคลิ คอมแจน (Domjan 1996: 199) อธิบายวา่ การจงู ใจเป็นภาวะในการเพ่ิมพฤติกรรมการกระทำกิจกรรม
ของบุคคลโดยบคุ คลจงใจกระทำพฤติกรรมนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีต้องการ

สรุปได้ว่าการจูงใจเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจให้กระทำหรือดิ้นรน
เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์บางอย่างซึ่งจะเห็นได้พฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเป็นพฤติกรรมที่มิใช่เป็นเ พียงการ
ตอบสนองสิ่งเร้าปกติธรรมดา ยกตัวอย่างลักษณะของการตอบสนองสิง่ เร้าปกตคิ ือ การขานรับเมื่อได้ยินเสียง
เรยี ก แต่การตอบสนองส่ิงเรา้ จดั ว่าเป็นพฤติกรรมท่ีเกิดจากการจูงใจเช่น พนักงานต้ังใจทำงานเพื่อหวังความดี
ความชองเป็นกรณพี เิ ศษ

แรงจูงใจต่อพฤตกิ รรมของบุคคลในแต่ละสถานการณ์
แรงจูงใจจะทำให้แต่ละบุคคลเลือกพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เหมาะสมที่สุดในแต่ละ

สถานการณ์ทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป พฤตกิ รรมท่เี ลอื กแสดงนี้ เปน็ ผลจากลักษณะในตวั บุคคลสภาพแวดล้อมดังนี้
1. ถ้าบุคคลมีความสนใจในสิ่งใดก็จะเลือกแสดงพฤติกรรม และมีความพอใจที่จะทำกิจกรรมนั้นๆ

รวมทงั้ พยายามทำใหเ้ กดิ ผลเรว็ ท่ีสุด
2. ความตอ้ งการจะเปน็ แรงกระตนุ้ ทีท่ ำให้ทำกจิ กรรมต่างๆเพื่อตอบสนองความตอ้ งการน้นั
3. ค่านิยมที่เป็นคุณค่าของสิ่งต่างๆ เช่นค่านิยมทางเศรษฐกิจ สังคม ความงาม จริยธรรม วิชาการ

เหลา่ น้ีจะเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดแรงขบั ของพฤติกรรมตามคา่ นิยมนั้น

4. ทัศนคตทิ ่มี ตี ่อส่งิ ใดส่งิ หน่ึงก็มีผลตอ่ พฤติกรรมนัน้ เช่น ถา้ มที ศั นคตทิ ่ดี ีต่อการทำงาน กจ็ ะทำงาน
ด้วยความทุ่มเท

5. ความมุ่งหวงั ทต่ี ่างระดบั กัน ก็เกิดแรงกระตุน้ ท่ีต่างระดับกันดว้ ย คนที่ตง้ั ระดับความมุ่งหวังไว้สูง
จะพยายามมากกว่าผู้ท่ตี ง้ั ระดบั ความม่งุ หวงั ไวต้ ำ่

6. การแสดงออกของความต้องการในแต่ละสังคมจะแตกต่างกันออกไป ตามขนบธรรมเนียม
ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมของตน ยิ่งไปกว่านั้นคนในสังคมเดียวกัน ยังมีพฤติกรรมในการแสดงความ
ต้องการท่ตี า่ งกนั อกี ดว้ ยเพราะสิ่งเหลา่ นเ้ี กดิ จากการเรยี นรขู้ องตน

7. ความต้องการอย่างเดยี วกัน ทำให้บุคคลมพี ฤติกรรมทแ่ี ตกต่างกนั ได้
8. แรงจงู ใจทแ่ี ตกตา่ งกนั ทำให้การแสดงออกของพฤติกรรมที่เหมือนกนั ได้
9. พฤตกิ รรมอาจสนองความต้องการไดห้ ลายๆทางและมากกวา่ หนึง่ อย่างในเวลาเดียวกนั เชน่ ตัง้ ใจ
ทำงาน เพือ่ ไว้ขึ้นเงินเดือนและได้ชอ่ื เสียงเกียรตยิ ศ ความยกย่องและยอมรบั จากผู้อื่น

ลกั ษณะของแรงจูงใจ
แรงจงู ใจมี 2 ลักษณะดงั นี้

1. แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)
แรงจูงใจภายในเป็นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคลซึ่งอาจจะเป็นเจตคติ ความคิด ความสนใจ ความ
ตั้งใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการฯลฯ สิ่งต่างๆดังกล่าวนี้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้าง
ถาวรเช่นคนงานที่เห็นองค์การคือสถานที่ให้ชีวิตแก่เขาและครอบครัวเขาก็จะจงรักภักดีต่อองค์การ และ
องค์การบางแห่งขาดทุนในการดำเนินการก็ไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนที่ดีแต่ด้วยความผูกพันพนักงานก็ร่วมกันลด
คา่ ใชจ้ ่ายและชว่ ยกนั ทำงานอยา่ งเตม็ ท่ี
2. แรงจงู ใจภายนอก (extrinsic motives)
แรงจูงใจภายนอกเป็นสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุคคลที่มากระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมอาจจะเป็นการได้รับ
รางวัล เกียรติยศชื่อเสียง คำชม หรือยกย่อง แรงจูงใจนี้ไม่คงทนถาวร บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนอง
สิ่งจงู ใจดงั กล่าวเฉพาะกรณที ตี่ อ้ งการสิ่งตอบแทนเท่านน้ั
ท่มี าของแรงจูงใจ
แรงจูงใจมีที่มาจากหลายสาเหตุด้วยกันเช่น อาจจะเนื่องมาจากความต้องการหรือแรงขับหรือสิ่งเร้า
หรืออาจเนื่องมาจากการคาดหวังหรือจากการเก็บกดซึ่งบางทีเจ้าตัวก็ไม่รู้ตัว จะเห็นได้ว่าการจูงใจให้เกิด
พฤติกรรมที่ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอนเนื่องจากพฤตกรรมมนุษย์มีความซับซ้อน แรงจูงใจอย่างเดียวกันอาจทำให้
เกิดพฤติกรรมที่ต่างกนั แรงจูงใจต่างกนั อาจเกิดพฤติกรรมทีเ่ หมอื นกันก็ได้

ทฤษฎกี ารเรียนร้แู บบการวางเงื่อนไขของสกนิ เนอร์ (B.F. Skinner)

สกนิ เนอรม์ ีแนวคดิ วา่ การเรียนร้เู กิดข้นึ ภายใต้เงอ่ื นไขและสภาวะแวดล้อม ทเี่ หมาะสม เพราะทฤษฎี
นี้ต้องการเน้นเรื่องสิ่งแวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ สกินเนอร์มองว่าพฤติกรรมของมนุษย์เป็น
พฤตกิ รรมที่กระทำต่อส่งิ แวดลอ้ มของตนเอง พฤติกรรมของมนุษยจ์ ะคงอยตู่ ลอดไป จำเปน็ ตอ้ งมีการเสริมแรง
ซึ่งการเสรมิ แรงนี้มีทง้ั การเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการเสรมิ แรงทางลบ (Negative
Reinforcement)

การเสริมแรง หมายถึง ผลของพฤติกรรมใดๆ ที่ทำให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งขึ้น การเสริมแรงทางบวก
หมายถึง สภาพการณ์ที่ช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นในด้านความที่น่าจะเป็นไปได้ ส่วนการเสริมแรง
ทางลบเป็นการเปลย่ี นแปลงสภาพการณ์อาจจะทำให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกดิ ขนึ้ ได้ในการด้านการเสริมแรง
น้นั

สกนิ เนอรใ์ หค้ วามสำคญั เปน็ อยา่ งยิง่ โดยได้แยกวิธีการเสริมแรงออกเป็น 2 วธิ ี คือ
1. การใหก้ ารเสรมิ แรงทกุ คร้ัง (Continuous Reinforcement) เป็นการใหก้ ารเสรมิ แรงทุกครั้งที่

ผเู้ รยี นแสดงพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงค์ตามท่ีกำหนดไว้
2. การให้การเสริมแรงเปน็ ครั้งคราว (Partial Reinforcement) เป็นการให้การเสริมแรงเป็นครั้ง

คราวโดยไม่ให้ทุกครั้งที่ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยแยกการเสริมแรงเป็นครั้งคราว ได้ดังน้ี
2.1 เสรมิ แรงตามอตั ราส่วนท่ีแนน่ อน
2.2 เสริมแรงตามอัตราส่วนทีไ่ มแ่ นน่ อน
2.3 เสรมิ แรงตามช่วงเวลาที่แน่นอน
2.4 เสรมิ แรงตามชว่ งเวลาทไ่ี ม่แน่นอน

การเสริมแรงแต่ละวิธีให้ผลต่อการแสดงพฤติกรรมท่ีต่างกัน และพบว่าการเสรมิ แรงตามอัตราส่วน
ที่ไม่แน่นอนจะให้ผลดีในด้านที่พฤติกรรมที่พึงประสงค์จะเกิดขึน้ ในอัตราสูงมาก และเกิดขึ้นต่อไปอีกเปน็
เวลานานหลงั จากทีไ่ มไ่ ด้รบั การเสรมิ แรง

จากการศึกษาและทดลองของสกินเนอร์นั้น สามารถสรุปเป็นลักษณะ และทฤษฎีการเรียนรู้ของ
ทฤษฎีการวางเงอื่ นไขแบบโอเปอแรนทห์ รือทฤษฎกี ารวางเงื่อนไขแบบการกระทำไดด้ งั นี้

1. การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทำที่ไม่มีการ
เสริมแรง แนวโน้มที่ความถข่ี องการกระทำน้นั จะลดลงและหายไปในทีส่ ดุ

2. การเสรมิ แรงที่แปรเปล่ียนทำใหก้ ารตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงที่ตายตัว
3. การลงโทษทำใหเ้ รียนร้ไู ดเ้ ร็วและลมื เร็ว
4. การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมื่อผู้เรียนกระทำพฤติกรรมที่ต้องการ สามารถช่วยปรับหรือ
ปลูกฝังนสิ ัยทต่ี ้องการได้

บทที่ 3

วธิ กี ารดำเนินการวจิ ยั

วิธดี ำเนินการวิจัย

ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน

พฤศจิกายน 2564 – เมษายน 2565

วัน เดือน ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

2-30 พฤศจิกายน 2564 - ศกึ ษาสภาพปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา ผวู้ ิจยั บันทกึ ข้อมลู
ผู้วจิ ยั บันทึกข้อมูล
1-31 ธันวาคม 2564 - เขียนเคา้ โครงงานวิจยั ในช้นั เรียน

- ศึกษาเทคนิคการสร้างแบบสอบถาม

- ออกแบบและสร้างแบบสอบถามทีจ่ ะใช้ใน

งานวจิ ยั

15 มกราคม 2565 - ผูเ้ รียนทำแบบสอบถาม

16 ม.ค.65 -26 ก.พ. 65 - เกบ็ รวบรวมข้อมูลและวเิ คราะหข์ ้อมลู

1 มี.ค. 65 – 9 เม.ย. 65 - สรุปและอภปิ รายผล

- จัดทำรปู เลม่

เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั

1. แบบสอบถาม การเยี่ยมบ้านนักศกึ ษา
2. สถิติ คา่ ร้อยละ

ขนั้ ตอนการดำเนินการ
ผวู้ จิ ัยไดก้ ำหนดขั้นตอนในการวจิ ัยโดยศกึ ษาหลักการ ทฤษฏจี ิตวทิ ยาการศกึ ษา เจตคติ (Attitude)

ทฤษฎีแรงจงู ใจ ทฤษฎกี ารเรียนรู้แบบวางเงือ่ นไข แบบแบบการกระทำของสกินเนอร์ ลกั ษณะดา้ นวินัยในการ
เรียน ความขยันอดทนและความรับผิดชอบ ในการดำเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติ
ของผู้เรียนในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อหาสาเหตุของการไม่ส่ง
งาน / การบ้าน ผู้วิจัยได้วางแผนการดำเนินการศึกษา สร้างแบบสอบถาม โดยใช้ข้อความที่คาดว่าจะเป็น
สาเหตขุ องการมาส่งงาน / การบา้ น และได้ดำเนนิ การซ่งึ มรี ายละเอยี ดเปน็ ข้ันตอนดังนี้

1. ข้นั วเิ คราะห์ ( Analysis)
1.1 วิเคราะห์ข้อมูลพ้นื ฐานของผเู้ รียน การวิเคราะหผ์ ู้เรียนไดก้ ำหนดไวด้ ังน้ี
ประชากร คือผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

กศน.ตำบลริโก๋ จำนวน 46 คน
1.2 วเิ คราะห์สาเหตขุ องการไมส่ ่งงาน / การบ้าน ของผ้เู รยี น โดยการหาค่าร้อยละ

2. ข้ันออกแบบ (Design)
ผู้วิจัยดำเนินการสรา้ งแบบสอบถามเพ่ือวดั เจตคตขิ องผเู้ รียนในการไมส่ ง่ งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย/

การบ้าน โดยมีลำดบั ขั้นตอนการสรา้ งดังนี้
1.1 ศกึ ษาเทคนคิ การสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารต่างๆ
1.2 สร้างแบบสอบถามเพื่อวัดเจตคติของผู้เรียนเพื่อหาสาเหตุในการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/

การบา้ นของผูเ้ รียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 15 ข้อ โดยใหผ้ ู้เรียนใสห่ มายเลขลำดับสาเหตขุ องการ
ไม่สง่ งานจากลำดับมากที่สดุ ( 1 ) ไปจนถงึ ลำดับนอ้ ยท่ีสดุ ( 15 )

1.3 นำแบบวดั เจตคติทส่ี รา้ งขน้ึ เสนอต่อทป่ี รกึ ษางานวจิ ัย เพ่อื ตรวจสอบแก้ไข
1.4 นำแบบวดั เจตคติมาปรบั ปรงุ แก้ไขกอ่ นนำไปใช้จรงิ

3. ขนั้ ดำเนินการ
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วจิ ัยได้มกี ารดำเนนิ การดงั นี้

3.1 นำแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้านของผู้เรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตำบลริโก๋ จำนวน 46 คน เพื่อหาสาเหตุ
ของการไมส่ ง่ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมายและทำการบันทึกคะแนน

3.2 ดำเนินการหาคา่ ร้อยละของแตล่ ะข้อสาเหตุ
4. ขน้ั วิเคราะห์ขอ้ มูล

4.1 วเิ คราะห์ขอ้ มูล
-วเิ คราะหผ์ ลจากคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการท าแบบสอบถามเพ่ือศกึ ษาเจตคติ

4.2 สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
4.2.1 การหาคา่ ร้อยละ
คา่ ร้อยละ = X x 100
N
เม่อื X = คะแนนทไ่ี ด้
N = จำนวนผูเ้ รยี นท้งั หมด

5. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
จากการศึกษาวิจยั ในชัน้ เรียนคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเจตคติของผู้เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลายในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้านเพื่อนำผลการวจิ ัยมาเก็บเป็นข้อมูลเพือ่ หาสาเหตุ และ
นำไปแก้ไขปัญหาในการเรียนการสอนและเพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการส่งงานและการบ้าน โดยใช้
แบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติจำนวน 15 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 กศน.ตำบลริโก๋ จำนวน 46 คน โดยสามารถวิเคราะหผ์ ลไดด้ ังนี้

5.1 ผลการประเมินแบบสอบถามของผู้เรียนในเร่ืองการไม่ส่งงานที่ไดร้ ับมอบหมาย/การบ้านเก่ียวกับ
การหาสาเหตุทไี่ ม่สง่ งาน การบา้ นของผู้เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตาราง 1 ผลการประเมินแบบสอบของผ้เู รียนถงึ สาเหตุท่ผี ้เู รียนการไม่ส่งงานที่ไดร้ ับมอบหมาย/ การบา้ น

ขอ้ ที่ สาเหตทุ ี่ไม่สง่ งาน/การบ้าน ลำดับที่ รอ้ ยละ
1 งานบา้ นมากเกนิ ไป
2 แบบฝกึ หดั ยากทำไมไ่ ด้
3 ไม่นา่ สนใจ
4 เวลาในการทำน้อย
5 ครูอธบิ ายเรว็
6 ไมเ่ ข้าใจคำสั่ง
7 ไม่ได้นำสมุดมาจด
8 เบอ่ื หน่ายไมอ่ ยากทำ
9 ชว่ ยเหลอื งานผูป้ กครอง
10 หนงั สือหาย
11 ลืมทำ
12 ไม่มีคนคอยปรึกษา
13 ออกงานชว่ ยเหลอื ชุมชน
14 ทำกิจกรรมของ กศน.ตำบลมากเกินไป
15 เตรยี มตัวทำงานอืน่ ๆ

จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของผู้เรียนในเรื่องสาเหตุของการไม่ส่งงานท่ี
ได้รบั มอบหมาย/การบา้ นโดยทำการเรยี งลำดับจากสาเหตุทีผ่ ้เู รยี นทผ่ี ู้เรยี นคดิ ว่าเป็นสาเหตทุ ี่สำคัญที่สุดจนถึง
สาเหตทุ ี่นอ้ ยทส่ี ุด ตามลำดบั 1 – 15 ดังต่อไปนี้

งานบา้ นมากเกินไป อย่ใู นลำดับท่ี....... คดิ เปน็ ร้อยละ.........
แบบฝึกหดั ยากทำไมไ่ ด้ อยู่ในลำดับที่....... คิดเปน็ รอ้ ยละ.........
ไมน่ ่าสนใจ อยใู่ นลำดบั ท่ี....... คดิ เปน็ รอ้ ยละ.........
เวลาในการทำน้อย อยใู่ นลำดับท.่ี ...... คดิ เป็นรอ้ ยละ.........
ครอู ธิบายเร็ว อยู่ในลำดบั ที่....... คดิ เปน็ ร้อยละ.........
ไมเ่ ข้าใจคำส่งั อยใู่ นลำดบั ท.่ี ...... คิดเปน็ ร้อยละ.........
ไม่ได้นำสมุดมาจด อยู่ในลำดับที่....... คิดเป็นรอ้ ยละ.........
เบือ่ หนา่ ยไมอ่ ยากทำ อยใู่ นลำดบั ที่....... คิดเป็นรอ้ ยละ.........
ช่วยเหลอื งานผปู้ กครอง อยใู่ นลำดับท.่ี ...... คดิ เปน็ ร้อยละ.........
หนงั สอื หาย อยใู่ นลำดบั ท่.ี ...... คดิ เป็นรอ้ ยละ.........
ลืมทำ อยใู่ นลำดบั ท.่ี ...... คดิ เปน็ ร้อยละ.........
ไม่มีคนคอยปรึกษา อยูใ่ นลำดับที่....... คดิ เปน็ รอ้ ยละ.........
ออกงานช่วยเหลอื ชุมชน อยู่ในลำดับที่....... คิดเป็นรอ้ ยละ.........
ทำกจิ กรรมของ กศน.ตำบลมากเกินไป อยู่ในลำดับท่.ี ...... คดิ เปน็ รอ้ ยละ.........
เตรียมตัวทำงานอนื่ ๆ อยใู่ นลำดบั ท.่ี ...... คดิ เปน็ ร้อยละ.........

6. การเก็บรวบรวมข้อมูลในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ผู้วิจัยได้ใช้การแบบสอบถามผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของกศน.ตำบลริโก๋ จำนวน 46 คน
ได้ตอบแบบสอบถามการเยย่ี มบา้ นนกั ศึกษาและเก็บขอ้ มูลดว้ ยตนเอง

7. การวเิ คราะหข์ ้อมลู

ผู้วจิ ัยใชค้ ่าร้อยละในการวิเคราะหข์ ้อมูล

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

จากการศึกษาวิจัยในชน้ั เรียนครั้งน้ี มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาเจตคติของผูเ้ รยี นระดับมัธยมศึกษาตอน

ปลาย ในเรือ่ งการไม่ส่งงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย/ การบา้ นเพือ่ นำผลการวิจยั มาเกบ็ เปน็ ข้อมูลเพ่ือหาสาเหตุ และ

นำไปแก้ไข ปัญหาในการเรียนการสอนและเพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการส่งงานและการบ้าน โดยใช้

แบบสอบถามเพอื่ ศึกษาเจตคติจำนวน 15 ขอ้ โดยกลุ่มตัวอยา่ งซ่งึ เป็นผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาค

เรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 กศน.ตำบลริโก๋ จำนวน 46 คน โดยสามารถวเิ คราะห์ผลได้ดังน้ี

ผลการประเมนิ แบบสอบถามของผูเ้ รียนในเร่ืองการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้านเกี่ยวกับการ

หาสาเหตทุ ี่ไม่ส่งงาน การบา้ นของผเู้ รียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ตาราง 2 ผลการประเมนิ แบบสอบของผเู้ รยี นถึงสาเหตุทีผ่ ูเ้ รยี นการไมส่ ง่ งานท่ีได้รับมอบหมาย/ การบา้ น

ข้อที่ สาเหตทุ ่ไี มส่ ง่ งาน/การบ้าน ลำดบั ที่ ร้อยละ

1 งานบา้ นมากเกนิ ไป 13 28.60

2 แบบฝึกหดั ยากทำไม่ได้ 8 45.65

3 ไม่นา่ สนใจ 7 47.82

4 เวลาในการทำน้อย 2 58.69

5 ครูอธิบายเรว็ 5 52.17

6 ไมเ่ ขา้ ใจคำส่ัง 11 36.95

7 ไม่ไดน้ ำสมุดมาจด 12 32.30

8 เบ่ือหน่ายไม่อยากทำ 1 63.04

9 ช่วยเหลอื งานผู้ปกครอง 3 56.52

10 หนังสอื หาย 4 54.35

11 ลมื ทำ 6 50.00

12 ไม่มีคนคอยปรึกษา 15 21.74

13 ออกงานชว่ ยเหลอื ชมุ ชน 14 26.10

14 ทำกจิ กรรมของ กศน.ตำบลมากเกนิ ไป 9 41.30

15 เตรียมตวั ทำงานอ่ืนๆ 10 39.13

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่าการตอบแบบสอบถามของผู้เรียนในเรื่องสาเหตุของการไม่ส่งงานที่
ไดร้ บั มอบหมาย/การบ้านโดยทำการเรยี งลำดบั จากสาเหตุท่ผี เู้ รยี นท่ีผู้เรียนคิดว่าเป็นสาเหตทุ ี่สำคัญท่ีสุดจนถึง
สาเหตทุ ่นี อ้ ยท่ีสุด ตามล าดบั 1 – 15 ดังตอ่ ไปนี้

ตาราง 3 ผลการประเมินแบบสอบของผู้เรียนถึงสาเหตุที่ผู้เรียนการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/
การบา้ นโดยทำการเรยี งลำดบั จากสาเหตทุ ีผ่ ู้เรยี นทผี่ เู้ รียนคิดวา่ เป็นสาเหตทุ ่ีสำคัญทสี่ ุดจนถงึ สาเหตุที่น้อยท่ีสุด
ตามลำดบั 1 – 15 ดังตอ่ ไปน้ี

สาเหตทุ ่ีไม่สง่ งาน/การบา้ น ลำดับท่ี รอ้ ยละ จำนวน(คน)
เบ่อื หน่ายไม่อยากทำ
เวลาในการทำน้อย 1 63.04 29
ชว่ ยเหลอื งานผ้ปู กครอง
หนงั สอื หาย 2 58.69 27
ครอู ธิบายเร็ว
ลืมทำ 3 56.52 26
ไมน่ ่าสนใจ
แบบฝึกหดั ยากทำไมไ่ ด้ 4 54.35 25
ทำกจิ กรรมของ กศน.ตำบลมากเกนิ ไป
เตรียมตวั ทำงานอนื่ ๆ 5 52.17 24
ไม่เขา้ ใจคำสัง่
ไมไ่ ดน้ ำสมดุ มาจด 6 50.00 23
งานบา้ นมากเกินไป
ออกงานชว่ ยเหลอื ชุมชน 7 47.82 22
ไม่มีคนคอยปรึกษา
8 45.65 21

9 41.30 19

10 39.13 18

11 36.95 17

12 32.60 15

13 28.60 13

14 26.10 12

15 21.74 10

สรุปผลการศกึ ษาวิจัย
จากการศึกษาและวเิ คราะห์แบบสอบถามเพื่อศกึ ษาเจตคตขิ องผู้เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายใน

เรื่องการ ไม่ส่งงาน / การบ้าน แสดงให้เห็นว่า สาเหตุของการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/ การบ้านลำดับที่ 1
คือ เบอ่ื หน่ายไม่อยากทำ จากผ้เู รียน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 63.04 อนั ดบั ท่ี 2 เวลาในการทำน้อย จากผู้เรียน
27 คน คิดเป็นร้อยละ 58.69 อันดับที่ 3 ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง จากผู้เรียน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52
อันดับท่ี 4 หนงั สอื หาย จากผ้เู รยี น 25 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 54.35 อันดับท่ี 5 ครอู ธบิ ายเร็ว จากผู้เรยี น 24 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 52.17 อันดบั ท่ี 6 ลืมทำ จากผู้เรียน 23 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 อันดบั ท่ี 7 ไม่นา่ สนใจ จาก
ผู้เรียน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 47 อนั ดับท่ี 8 แบบฝกึ หดั ยากทำไม่ได้ จากผู้เรยี น 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 45.65
อนั ดับท่ี 9 จากผูเ้ รยี น 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 41.30 อันดบั ท่ี 10 เตรียมตวั ทำงานอน่ื ๆ จากผูเ้ รยี น 18 คน คิด
เป็นร้อยละ 39.13 อันดับที่ 11 ไม่เข้าใจคำส่ัง จากผู้เรียน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 36.95 อันดับที่ 12 ไม่ได้นำ
สมุดมาจด จากผู้เรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 32.60 อันดับที่ 13 งานบ้านมากเกินไป จากผู้เรียน 13 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 28.60 อนั ดบั ท่ี 14 ออกงานช่วยเหลอื ชุมชน จากผเู้ รียน 12 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.10 อันดบั ที่ 15
ไมม่ ีคนคอยปรึกษา จากผเู้ รยี น 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.74

อภิปรายผลการศึกษา
จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเรือ่ งการไม่ส่ง

งานท่ไี ด้รบั มอบหมาย/ การบา้ น ในครั้งน้ีสามารถอภิปรายผลได้ดงั น้ี พบว่าแบบสอบถามเพ่ือศกึ ษาเจตคติของ
ผู้เรียนของระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน ได้ทำให้ทราบถึง
สาเหตุที่สำคัญมากที่สุด จนถึงสาเหตุที่น้อยที่สุด ในการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน คือ ลำดับที่ 1
คอื เบื่อหน่ายไมอ่ ยากทำ จากผ้เู รียน 46 คน คิดเปน็ ร้อยละ 63.04 อนั ดับที่ 2 เวลาในการทำน้อย จากผ้เู รยี น
27 คน คิดเป็นร้อยละ 58.69 อันดับที่ 3 ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง จากผู้เรียน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52
อันดบั ที่ 4 หนังสอื หาย จากผเู้ รียน 25 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 54.35 อนั ดับที่ 5 ครอู ธบิ ายเร็ว จากผู้เรียน 24 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.17 อนั ดบั ท่ี 6 ลมื ทำ จากผูเ้ รียน 23 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 อนั ดบั ท่ี 7 ไม่นา่ สนใจ จาก
ผู้เรียน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 47 อนั ดบั ท่ี 8 แบบฝกึ หดั ยากทำไมไ่ ด้ จากผเู้ รยี น 21 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.65
อันดับที่ 9 จากผูเ้ รียน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 41.30 อนั ดับท่ี 10 เตรียมตัวทำงานอ่นื ๆ จากผเู้ รยี น 18 คน คิด
เป็นร้อยละ 39.13 อันดับที่ 11 ไม่เข้าใจคำส่ัง จากผู้เรียน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 36.95 อันดับที่ 12 ไม่ได้นำ
สมุดมาจด จากผู้เรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 32.60 อันดับที่ 13 งานบ้านมากเกินไป จากผู้เรียน 13 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 28.60 อนั ดบั ท่ี 14 ออกงานช่วยเหลอื ชมุ ชน จากผู้เรียน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.10 อันดับที่ 15
ไม่มคี นคอยปรกึ ษา จากผูเ้ รียน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 21.74

ขอ้ เสนอแนะ

ในการสร้างแบบสอบถามเพ่ือศึกษาเจตคติของผูเ้ รยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋ ใน
เรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน อาจจะทำกับผู้เรียนทั้งหมดทุกระดับการศึกษาเพื่อเป็น
การศกึ ษาในภาพรวม เพราะการวจิ ยั ครง้ั น้ี กลุ่มตัวอยา่ งเปน็ เพยี งผเู้ รยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเท่านั้น
ซึ่งอาจจะไดผ้ ลการวจิ ยั ท่แี ตกต่างกนั กไ็ ด้

1. ในการวิจัยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทำการวิจัยกลุม่ ผู้เรียนในระดับช้ันอื่นๆ ต่อไป และอาจแยกหัวขอ้
เป็นรายวิชาตา่ งๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลทร่ี ะเอียดขึน้ ซึ่งจะไดน้ ำผลการทดลองท่ีได้ไปแกไ้ ขปัญหาในการ ไม่ส่งงานท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย/ การบา้ นของผู้เรยี นตอ่ ไป

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ความมงุ่ หมาย
1. เพื่อศึกษาเจตคติของการทำงานที่ได้รับมอบหมาย / การบ้าน ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดการเรียนการสอนแก้ปัญหาการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย /

การบา้ นของผูเ้ รยี น

ประชากร/กล่มุ ตัวอยา่ ง
ประชากร / กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จำนวน 46 คน

เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้
เครื่องมือท่ีใช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า คอื การแบบสอบถาม

วิธกี ารดำเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ในการทำวิจัยครัง้ น้ี เคร่ืองมือที่ใชเ้ ปน็ แบบสอบถาม ทีผ่ ้วู ิจัยสร้างข้ึนเอง

การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผูว้ ิจัยใชค้ ่ารอ้ ยละในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเรือ่ งการไม่สง่

งานที่ได้รบั มอบหมาย/ การบ้าน ในครง้ั นสี้ ามารถอภปิ รายผลได้ดังนี้ พบวา่ แบบสอบถามเพื่อศกึ ษาเจตคติของ
ผู้เรียนของระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเรื่องการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน ได้ทำให้ทราบถึง
สาเหตุที่สำคัญมากที่สุด จนถึงสาเหตุที่น้อยที่สุด ในการไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน คือ ลำดับที่ 1
คือเบื่อหน่ายไม่อยากทำ จากผู้เรียน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 63.04 อันดับที่ 2 เวลาในการทำน้อยจากผู้เรียน
27 คน คิดเป็นร้อยละ 58.69 อันดับที่ 3 ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง จากผู้เรียน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52
อันดับที่ 4 หนงั สือหาย จากผู้เรียน 25 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.35 อันดบั ท่ี 5 ครูอธบิ ายเรว็ จากผู้เรียน 24 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.17 อนั ดับท่ี 6 ลมื ทำ จากผู้เรยี น 23 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 อนั ดับท่ี 7 ไมน่ า่ สนใจ จาก
ผู้เรยี น 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 47 อนั ดบั ที่ 8 แบบฝกึ หัดยากทำไม่ได้ จากผู้เรยี น 21 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.65
อันดบั ท่ี 9 จากผเู้ รียน 19 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.30 อันดับที่ 10 เตรยี มตัวทำงานอื่นๆ จากผูเ้ รียน 18 คน คิด
เป็นร้อยละ 39.13 อันดับที่ 11 ไม่เข้าใจคำสั่ง จากผู้เรยี น 17 คน คิดเป็นร้อยละ 36.95 อันดับที่ 12 ไม่ได้นำ
สมุดมาจด จากผู้เรียน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 32.60 อันดับที่ 13 งานบ้านมากเกินไป จากผู้เรียน 13 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 28.60 อนั ดบั ท่ี 14 ออกงานช่วยเหลอื ชุมชน จากผู้เรียน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.10 อนั ดับท่ี 15
ไมม่ ีคนคอยปรกึ ษา จากผ้เู รยี น 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.74
ข้อเสนอแนะ

ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลริโก๋
ในเรื่องการไม่ส่ง งานที่ได้รับมอบหมาย/การบ้าน อาจจัดทำกับผู้เรียนทั้งหมดทุกระดับการศึกษาเพื่อเป็น
การศึกษาในภาพรวม เพราะการวิจยั คร้งั นี้ กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ เพียงผเู้ รียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเท่าน้ัน
ซ่ึงอาจจะไดผ้ ลการวิจัยทแ่ี ตกตา่ งกันก็ได้

1. ในการวิจัยครัง้ ต่อไปอาจเจาะจงทำการวิจัยกลุม่ ผูเ้ รียนในระดับชัน้ อื่นๆ ต่อไป และอาจแยกหัวขอ้
เป็น รายวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ระเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นำผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไขปัญหาในการไม่ส่งงาน
ที่ได้รับ มอบหมาย/ การบ้านของผ้เู รียนต่อไป

บรรณานุกรม

โยธนิ คนั สนยทุ ธ และคณะ. จิตวิทยา. กรงุ เทพมหานคร: ศนู ย์ส่งเสริมวิชาการ, 381 หน้า. 2533.
จีราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ. จติ วิทยาทวั่ ไป. พมิ พ์ครงั้ ที่ 4. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,

364 หนา้ . 2533.
ฉันทนา ภาคบงกช และคณะ. การส ารวจคณุ ลกั ษณะทางวนิ ยั ท่พี งึ ประสงคใ์ นสังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร:

สถาบันวิจยั พฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2539
จุมพล หนิมพานิช และคณะ. จิตวทิ ยาทว่ั ไป. กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. 2542
ราชภัฎนครราชสมี า.2545. การเรยี นรูแ้ ละการสือ่ ความหมาย. [Online]. Available: URL :

http://www.riudon.ac.th/~boonpan/1032101/edt02.html.
เตอื นใจ ทองดี. (2549). การศกึ ษาเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวชิ า

วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1ท่ีไดร้ ับการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบออนไลน์
(e-Learning) กบั การเรยี นรแู้ บบปกต.ิ ฉะเชงิ เทรา : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์.การสร้า
แนวคิดและเจตคติ. (ม.ป.ป.).ค้นเมื่อ 4 กุมภาพนั ธ์ 2555 , จากhttp://socialscience.igetweb.com
/articles/41920929

ภาคผนวก

แบบสอบถาม
เรื่อง เจตคตขิ องนกั ศกึ ษาในเรอ่ื งการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย/การสง่ การบ้าน

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลรโิ ก๋

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป
ชอ่ื -สกุล........................................................................................................รหสั นกั ศึกษา...................................

เพศ................................................. วนั เกิด.......................................... อาย.ุ ...............ปี

ตอนท่ี 2 เจตคติของนักศกึ ษาเรอ่ื งสาเหตทุ ่ไี ม่ส่งงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย/การสง่ การบ้าน

คำช้ีแจง ให้นกั ศึกษาเรยี งลำดับ 1-15 เกยี่ วกับสาเหตุท่ีไมส่ ่งงาน/การบ้านจากมากสดุ ไปถงึ นอ้ ยสุด

ข้อที่ สาเหตทุ ไ่ี มส่ ่งงาน/การบา้ น ลำดบั ท่ี
1 งานบ้านมากเกินไป
2 แบบฝกึ หดั ยากทำไม่ได้
3 ไม่น่าสนใจ
4 เวลาในการทำน้อย
5 ครอู ธบิ ายเรว็
6 ไม่เข้าใจคำส่งั
7 ไม่ได้นำสมดุ มาจด
8 เบือ่ หนา่ ยไม่อยากทำ
9 ชว่ ยเหลอื งานผ้ปู กครอง
10 หนังสือหาย
11 ลมื ทำ
12 ไม่มีคนคอยปรึกษา
13 ออกงานช่วยเหลือชมุ ชน
14 ทำกจิ กรรมของ กศน.ตำบลมากเกินไป
15 เตรยี มตวั ทำงานอื่นๆ


Click to View FlipBook Version