ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
รหัสวิชา 20000-1301
ประกอบกิจกรรมการสอน สำหรับนักเรียน
ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สารและการเปลี่ยนแปลง
ชุดที่ 4 เรื่อง การแยกสาร
โดย
นางสาวทิพกฤตา อินไชย
ตำแหน่ง ครู
วิทยาลัยการอาชีพตากฟ้า อาชีวศึกษาจังหวัดนครสวรรค์
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
1
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง สารและการเปลีย่ นแปลง ชุดที่ 4 การแยกสาร ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) จัดทำขึ้นตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตร
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562 ใชเ้ ปน็ สอ่ื การเรยี นประกอบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 6 สารและการเปลี่ยนแปลง รายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต รหัสวิชา 20000-1301
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพื่อให้นักเรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สืบเสาะหาความรู้
เกดิ ความรู้ทค่ี งทนถาวรและได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ซงึ่ เปน็ ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ช่วยสร้างนิสัยให้นักเรียนเป็น
ผคู้ ิดเป็นทำเปน็ แกป้ ัญหาเป็น มคี วามกระตอื รือร้นในการเรยี น ตลอดจนสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมีจติ วิทยาศาสตร์
ผู้จัดทำหวังเปน็ อยา่ งยิ่งว่าชดุ การเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นานักเรยี นและมีส่วนช่วย
ให้ทกุ ท่านท่ีมสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นการสอน เกดิ ความเขา้ ใจซึ่งเปน็ ประโยชนแ์ ก่นักเรยี น และชว่ ย
ให้นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างดยี ่งิ
ทพิ กฤตา อนิ ไชย
สารบัญ 2
เรือ่ ง หน้า
คำนำ 1
สารบัญ 2
คำชี้แจงประกอบการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ 3
คำชแ้ี จงประกอบการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรบั นักเรยี น 4
ข้ันตอนการศึกษาชดุ การเรยี นรู้ 5
แนวทางการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นร้สู ำหรับนกั เรียน 6
สมรรถนะประจำหน่วย จดุ ประสงค์รายวชิ าและคำอธบิ ายรายวิชา 7
แบบทดสอบก่อนเรยี น 8
ใบความรทู้ ี่ 4 เรอื่ งการแยกสาร 14
กจิ กรรมที่ 1 การแยกสาร 28
แบบฝกึ หัดท่ี 1 การแยกสาร 29
แบบฝกึ หดั ที่ 2 การแยกสาร 30
แบบทดสอบหลังเรยี น 31
บรรณานุกรม 33
ภาคผนวก 34
3
คำชีแ้ จงประกอบการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง สารและการเปลี่ยนแปลง รายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ
รหสั วิชา 20000-1301 ระดบั ชน้ั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) แบ่งเน้อื หาออก เป็นทั้งหมด 4 ชุด ดังน้ี
ชุดท่ี 1 ความหมายและสมบตั ิของสาร
ชุดที่ 2 การจำแนกสาร
ชุดท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงสาร
ชดุ ที่ 4 การแยกสาร
แต่ละชุดประกอบด้วย คำนำ คำชี้แจง แนวทางการใช้ชุดการเรียนรู้สำหรับนกั เรียน จุดประสงค์
การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ กิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยกิจกรรม
เฉลยแบบฝึกหัด เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ซงึ่ จัดทำขนึ้ เพ่ือให้นักเรียนใช้ประกอบการเรียน มีเน้ือหาสาระ
และกจิ กรรมเหมาะสมกับวยั และความสามารถของนักเรยี น นักเรยี นต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูผ้สู อนคอย
ดูแลและช่วยเหลือ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในขั้นตอน
การทำกจิ กรรมตามแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีค่ รูผสู้ อนจดั ทำขึน้
4
คำช้แี จงประกอบการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้
สำหรบั นักเรยี น
นักเรียนอา่ นคำชี้แจงต่อไปนี้ใหเ้ ข้าใจ
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนี้ เป็นชุดที่ 4 การแยกสาร หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สารและการ
เปลี่ยนแปลง
2. นักเรียนทุกคนต้องซ่อื สตั ยต์ อ่ ตนเอง ไมเ่ ปดิ ดูเฉลย กอ่ นทจ่ี ะลงมือทำกจิ กรรม
3. นักเรียนทุกคนควรให้ความร่วมมอื กนั ในการคดิ การสืบคน้ ขอ้ มูล การปฏิบตั ิ การทดลอง
และการทำกจิ กรรมตา่ งๆ ตามชดุ กิจกรรมจนเสร็จทุกกิจกรรมอยา่ งเต็มความสามารถ
4. ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรเู้ ดิมและเป็นข้อมลู ในการ
พัฒนา สง่ เสริม หรอื แก้ไขการเรียนรู้ของนักเรียนแล้วตรวจคำตอบจากแนวคำตอบ พรอ้ มทงั้ บันทึกคะแนนลง
ในแบบบันทึกคะแนน (ทำลงในแบบบันทกึ กจิ กรรมท่ีครแู จกให้)
5. ศึกษารายละเอียดของเนื้อหา กิจกรรม จากใบกิจกรรมและแนวคำตอบใบกิจกรรมตามลำดับ
ขนั้ ตอนของชุดกิจกรรมการเรยี นร้ฉู บับน้ี ซงึ่ ได้แก่
5.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
5.2 ศกึ ษาเน้ือ หาในใบกจิ กรรมเน้ือหา
5.3 ทำกจิ กรรมในใบกจิ กรรม
5.4 แบบทดสอบหลงั เรยี น
6. นกั เรยี นตรวจคำตอบ ประเมินผลตามเฉลยและแนวคำตอบ ซ่ึงอยู่ในชดุ กจิ กรรม
7. การปฏิบตั ิตามกิจกรรม ควรทำใหเ้ สรจ็ ตามกำหนดเวลาและหากนกั เรยี นไม่เขา้ ใจให้กลบั ไป
ศึกษาใบกจิ กรรมเน้ือหาอกี ครั้ง (สืบคน้ เพิม่ เติม หรอื ปรกึ ษาคร)ู
8. ทำแบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 10 ข้อ แล้วตรวจคำตอบจากเฉลยในชดุ กจิ กรรม
พรอ้ มทั้งบันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกคะแนน เพ่อื ประเมินตนเองว่าสามารถบรรลตุ ามจดุ ประสงค์การเรียนรู้
ที่กำหนดไว้หรือไม่ (ทำลงในแบบบันทึกกิจกรรม ท่ีครแู จกให้)
9. เกบ็ วัสดอุ ปุ กรณ์และชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ง คืนครูเม่ือปฏบิ ัติกิจกรรมเสร็จสิ้น แลว้
5
การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เรื่อง
สารและการเปลี่ยนแปลง ชุดที่ 4 การแยกสาร ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน สำหรบั นักเรยี น ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) เพื่อให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณอ์ ย่างครบถว้ น ขอให้นักเรียนอา่ นคำแนะนำ และ ปฏบิ ตั ิตามคำชี้แจงใน
แตล่ ะขัน้ ตอน ตงั้ แตต่ ้นจนจบ ดงั ต่อไปน้ี
ข้ันตอนการศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
ศึกษาคำแนะนำการใช้ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ทดสอบกอ่ นเรียน
ดำเนนิ การใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทกั ษะชีวติ เรื่อง สารและการ
เปลย่ี นแปลง ชุดที่ 4 การแยกสาร ประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับนกั เรียนระดบั
ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) โดยจดั กจิ กรรมให้นักเรยี นไดป้ ฏบิ ตั ิ กจิ กรรมกลุ่มดงั น้ี
1. ข้นั สร้างความสนใจ : กจิ กรรมคำถามชวนคิด
2. ขน้ั สำรวจและคน้ หา : กจิ กรรมท่ี 1 การแยกสาร
3. ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป : แบบฝกึ หัดที่ 1
4. ข้นั ขยายความรู้ : แบบฝึกหัดท่ี 2
5. ขน้ั ประเมนิ ผล : กจิ กรรมประเมนิ ผลการเรียนรู้
ทดสอบหลงั เรียน
ผ่านเกณฑ์
ศึกษากิจกรรมชดุ ตอ่ ไป
6
แนวทางการใช้ชดุ กิจกรรมการ
เรียนรสู้ ำหรับนักเรยี น
1. นักเรียนศึกษาผลการเรยี นรู้
2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3. นกั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมในชุดการเรียนรู้
4. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน
5. นักเรียนประเมินความพงึ พอใจที่มตี อ่ ชุดการเรียนรู้
6. ถา้ นกั เรยี นมขี ้อสงสัยในการศกึ ษาสามารถปรกึ ษาครไู ดต้ ลอดเวลา
7
สมรรถนะประจำหนว่ ย จุดประสงคร์ ายวิชาและคำอธบิ ายรายวชิ า
สมรรถนะประจำหนว่ ย
แสดงความรู้ ทักษะ และปฏิบตั ิการเกยี่ วกบั สารและการเปลย่ี นแปลง
จุดประสงคร์ ายวชิ า
1. อธบิ ายหลักการแยกสารดว้ ยวิธกี ารกรองการตกผลึกการสกัดการกลน่ั และโครมาโทกราฟีได้
2. นำหลกั การแยกสารด้วยวิธตีิ ่าง ๆ ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได้
3. ทำการทดลองและสรุปผลการทดลองวธิ ีการแยกของแขง็ ท่ีละลายในของเหลว
คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏิบตั ิเกยี่ วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์ หน่วยและการ
วดั แรงและการเคลอื่ นท่ี นาโนเทคโนโลยี โครงสร้างอะตอมตารางธาตุ สารและการเปลยี่ นแปลง ปฏกิ ิริยาเคมี
ในชีวิตประจำวัน ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยชี ีวภาพและระบบนเิ วศ
เวลาท่ีใช้ 4 ชัว่ โมง
8
แบบทดสอบก่อนเรียน
วดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
เรื่อง สารและการเปล่ียนแปลง
คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับน้เี ป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จำนวน 20 ข้อ คะแนน 20 คะแนน
2. ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว
1. ข้อใดกลา่ วถึงความหมายของสสารถกู ต้อง
ก. สิง่ ท่ีมตี ัวตน มมี วล มนี ้ำหนัก
ข. ธาตุตา่ ง ๆ ท่ีมีอยใู่ นธรรมชาติ
ค. ส่งิ ทม่ี ีองค์ประกอบอยา่ งเดียวกัน
ง. ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งทอี่ ยู่รอบ ๆ ตัวเรา
2. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไม่จัดเป็นสาร
ก. เกลอื
ข. เสยี ง
ค. อากาศ
ง. ทองคำ
3. ขอ้ ความใดแสดงถึงลกั ษณะของสารได้ถกู ต้อง
ก. นำ้ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงตามภาชนะทีใ่ ส่
ข. หนิ สามารถเปล่ียนแปลงรูปร่างไดต้ ามทเี่ ราตอ้ งการ
ค. อากาศจะคงท่รี ูปร่างเมื่อปล่อยให้อยใู่ นพืน้ ท่ีจำกัด
ง. นำ้ แข็งจะคงสภาพไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงใดเมื่ออณุ หภูมคิ งที่
4. สารใดต่อไปนี้เป็นของแข็ง ของเหลว และกา๊ ซตามลำดับ
ก. น้ำแขง็ น้ำปลา ออกซิเจน
ข. นำ้ ปลา นำ้ ตาล ออกซิเจน
ค. น้ำแข็งแห้ง น้ำปลา ออกซเิ จน
ง. นำ้ ปลา ออกซิเจน นำ้ แขง็ แห้ง
9
5. ข้อใดคือสมบตั ิของที่เหมือนกนั ของของแขง็ และของเหลว
ก. รปู ร่าง
ข. ปรมิ าตร
ค. เปน็ ของไหล
ง. การจัดเรียงของอนุภาค
6. สารเนือ้ เดยี ว หมายถงึ อะไร
ก. สารทีส่ ังเกตเหน็ เนื้อสารไมก่ ลมกลืนเปน็ เน้อื เดียวกัน
ข. สารทป่ี ระกอบด้วยสารเพียงอยา่ งเดียว
ค. สารท่สี ังเกตเหน็ เน้อื สารกลมกลืนเป็นเนอื้ เดยี วกนั ท้งั หมด
ง. สารทม่ี องเหน็ เป็นเนอ้ื สารคนละอย่างได้ชัดเจน
7. ข้อใดกล่าวถึงสารเนอื้ ผสมไดถ้ ูกต้องที่สุด
ก. มีหลายสถานะ ลกั ษณะใสไม่มสี ี
ข. เนอื้ สารทกุ สัดส่วนมีสมบัตไิ ม่เหมือนกนั
ค. เปน็ ได้ทั้งสารบรสิ ทุ ธิ์และสารละลาย
ง. มจี ุดหลอมเหลวและจดุ เดือดท่ีจุดเดียวกัน
8. ถา้ จำแนกออกเปน็ ของแขง็ ของเหลว แกส๊ นักเรยี นตอ้ งใช้เกณฑใ์ นข้อใด
ก. การนำไฟฟา้
ข. ปรมิ าตร
ค. ความหนาแน่น
ง. สถานะ
9. ขอ้ ใดจำแนกสารโดยใช้สถานะเปน็ เกณฑ์
ก. นำ้ ปลา น้ำมนั หอย นำ้ ตาล
ข. ผงชรู ส เกลอื ป่น ซีอ้ิว
ค. สบู่ ผงซกั ฟอก นำ้ ยาล้างจาน
ง. เกลอื ปน่ น้ำตาลทราย พริกไทย
10
10. ข้อใดเรยี งลำดบั ขนาดอนุภาคของสารจากขนาดเลก็ กลาง ใหญ่
ก. สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย
ข. คอลลอยด์ สารละลาย สารแขวนลอย
ค. สารแขวนลอย คอลลอยด์ สารละลาย
ง. สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด์
11. ข้อใดเป็นการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ
ก. การเกดิ สนิม
ข. การเนา่ เป่ือยของสง่ิ มชี ีวิต
ค. การลอยได้ของฟองน้ำ
ง. การลุกติดไฟของกระดาษ
12. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ก. น้ำแขง็ ลอยได้ในน้ำ
ข. เงินนำไฟฟา้ ได้ดีท่ีสุด
ค. เกลอื ละลายได้ดีในน้ำรอ้ น
ง. การสกุ ของมะละกอ
13. ข้อใดเป็นการเปล่ียนแปลงทางเคมี
1. การละลายเกลือ
2. การเกิดสนมิ
3. การจุดธูป
4. การกลั่นน้ำ
ก. ขอ้ 1 , 2
ข. ข้อ 1 , 3
ค. ขอ้ 2 , 3
ง. ขอ้ 2 , 4
14. การเปล่ียนแปลงในข้อใดไม่ใชก่ ารเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
ก. การระเหดิ ของลกู เหม็น
ข. การละลายของเกลอื ในน้ำ
ค. การย่อยสลายสารอินทรีย์ในดนิ
ง. การควบแนน่ ของไอนำ้ ในอากาศ
11
15. ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง
ก. การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ คือการเปล่ียนแปลงที่ไม่มกี ารเปลี่ยนโครงสรา้ งทางเคมี
ข. การเปลีย่ นแปลงทางเคมี สารจะสามารถเปล่ียนกลับมาเปน็ สารเดิมได้
ค. สมบัติทางกายภาพคือสมบตั ิท่ีสามารถทดสอบโดยใชเ้ ครื่องมือทดสอบอย่างงา่ ยได้
ง. ตวั อยา่ งสมบตั ิทางกายภาพ เช่น จุดหลอมเหลว ผลึกของสาร
16. นักเรยี นจะใช้หลกั การใดในการแยกกรวดออกจากทราย
ก. การทำให้ตกตะกอน
ข. การใช้ตะแกรงร่อน
ค. การกรอง
ง. การตกผลกึ
17. นกั เรียนจะใช้หลักการใดในการแยกผงตะไบจากน้ำตาล
ก. การรอ่ น
ข. การกรอง
ค. การหยบิ ออก
ง. การใชแ้ มเ่ หลก็
18. สารผสมทุกข้อใช้หลักการระเหดิ ยกเวน้ ข้อใด
ก. การบูร และ เกลอื แกง
ข. พิมเสน และ น้ำตาลทราย
ค. ผงไอโอดีน และเอทานอล
ง. ลูกเหม็น และ ผงถ่าน
19. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกี่ยวกับการตกผลกึ
ก. อาศยั หลักการละลายได้ที่ต่างกัน
ข. สารที่ละลายได้นอ้ ยกวา่ จะตกผลกึ ออกมากอ่ น นกั เรยี นมาทบสอบวัดความรู้
ค. สารตัวหนง่ึ ในสารผสมจะไม่ละลายในตวั ทำละลาย ก่อนเรียนก่อนคะ่
ง. ผลึกจัดเป็นสารบรสิ ุทธิ์
20. ในการแยกนำ้ มันดบิ ในอตุ สาหกรรมน้ำมนั ใช้วิธกี ารใด
ก. อาศยั ความหนาแน่น
ข. การสกัดดว้ ยตวั ทำละลาย
ค. การกล่ันลำดับสว่ น
ง. การระเหิ
12
คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ขอ้ คะแนน 10 คะแนน
2. ให้นกั เรยี นเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว
1. นักเรยี นจะใชห้ ลักการใดในการแยกกรวดออกจากทราย
ก. การทำใหต้ กตะกอน
ข. การใช้ตะแกรงร่อน
ค. การกรอง
ง. การตกผลกึ
2. นักเรียนจะใช้หลกั การใดในการแยกผงตะไบจากนำ้ ตาล
ก. การรอ่ น
ข. การกรอง
ค. การหยิบออก
ง. การใชแ้ ม่เหลก็
3. การกรองควรใชใ้ นการแยกสารผสมชนดิ ใด
ก. แยกสารผสมทเี่ ป็นของแขง็ ขนาดต่างกัน
ข. แยกสารผสมท่เี ป็นของแขง็ กบั ของเหลวท่ีไม่ได้ละลายอยูด่ ้วยกัน
ค. แยกสารผสมที่เป็นของแข็งละลายในของเหลว
ง. แยกสารผสมท่ีเปน็ ของเหลวละลายในของเหลว
4. สารผสมทุกข้อใช้หลกั การระเหิด ยกเวน้ ข้อใด
ก. การบูร และ เกลอื แกง
ข. พมิ เสน และ นำ้ ตาลทราย
ค. ผงไอโอดีน และเอทานอล
ง. ลกู เหมน็ และ ผงถ่าน
13
5. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชนข์ องวิธีการโครมาโทกราฟี
ก. แยกสารผสมออกจากกนั
ข. แยกสารบริสุทธิอ์ อกจากกัน
ค. แยกสารที่มีปริมาณน้อยๆผสมอยู่
ง. แยกสารเนื้อเดียวที่มีความเปน็ ข้วั ต่างกนั
6. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ งเก่ียวกับการตกผลึก
ก. อาศัยหลักการละลายได้ท่ีต่างกนั
ข. สารท่ลี ะลายไดน้ อ้ ยกวา่ จะตกผลกึ ออกมากอ่ น
ค. สารตวั หนง่ึ ในสารผสมจะไม่ละลายในตัวทำละลาย
ง. ผลกึ จัดเป็นสารบริสุทธิ์
7. ข้อใดคือข้อดขี องการกลั่นลำดับสว่ น
ก. แยกสารท่มี ีปริมาณน้อยๆผสมอยู่
ข. สามารถแยกสารทมี่ ีจุดเดอื ดตา่ งกนั นอ้ ยๆได้
ค. ประหยัดค่าใช้จา่ ย
ง. สามารถแยกสารท่ีมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวทแี่ ตกตา่ งกันได้
8. ในการแยกนำ้ มนั ดบิ ในอุตสาหกรรมนำ้ มัน ใช้วธิ กี ารใด
ก. อาศยั ความหนาแน่น
ข. การสกัดดว้ ยตวั ทำละลาย
ค. การกล่นั ลำดับส่วน
ง. การระเหดิ
9. การสกดั สอี อกจากส่วนของพืช ใชว้ ิธกี ารใด
ก. การทำให้ตกตะกอน
ข. การกลนั่ ลำดบั ส่วน
ค. การสกัดด้วยตัวทำละลาย
ง. โครมาโทรกราฟี
10. สารละลายในข้อใดไม่สามารถแยกสว่ นประกอบไดโ้ ดยการระเหยแห้ง
ก. สารละลายแอมโมเนีย
ข. สารละลายคอปเปอรซ์ ลั เฟต
ค. สารละลายโซเดยี มคลอไรด์
ง. นำ้ เชือ่ ม
14
หลักการแยกสาร คือ การทำสารให้
บริสทุ ธ์ิ มวี ธิ ีการอยู่หลายวธิ ดี ว้ ยกัน
ดังนั้นถ้าต้องการแยกสารชนิดใดออกมา
จึงจำเป็นต้องรู้สมบัติของสารแต่ละชนิด
ที่ปนอยู่ด้วยกัน วิเคราะห์แล้วเลือก
วิธีการแยกสาร คำนึงถึงความสะดวก
ประหยดั และปลอดภัยด้วยนะคะ
1. วิเคราะหส์ มบตั ขิ องสาร
สมบตั ขิ องสารทต่ี ้องนำมาวิเคราะห์ ได้แก่
ขนาดอนภุ าคของสาร ความสามารถในการละลาย
ความสามารถในการถกู ดดู ซับ จุดหลอมเหลว จดุ เดอื ด
สารแมเ่ หล็ก ความหนาแนน่ การระเหดิ
15
2. เลอื กเทคนิคทเ่ี หมาะสมในการแยกสารท่ีตอ้ งการ
การแยกสารบางกรณีอาจตอ้ งการแยกสารให้ได้สารบรสิ ทุ ธ์ิ บางกรณไี มต่ ้องการแยกสารใหบ้ รสิ ุทธ์ิ
การแยกสารให้บริสุทธิ์ เช่น การกลน่ั การตกผลึก การทำโครมาโทกราฟี การระเหดิ
การแยกสารทไ่ี ม่ต้องทำให้บรสิ ทุ ธิ์ ก็สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ตามวัตถุประสงค์ เช่น
การกลนั่ ลำดับสว่ นของนำ้ มันดิบ การสกัดด้วยตวั ทำละลาย
3. คำนงึ ถงึ ความสะดวก ประหยัดและปลอดภยั
วิธกี ารแยกสารมีหลายวธิ ี
1. การแยกสารเนอ้ื เดยี ว
การแยกสว่ นประกอบของสารเนอ้ื เดยี วออกจากกันสามารถใช้วธิ กี ารกลั่น ตกผลกึ โครมาโทกราฟี
การระเหยแห้ง การสกดั ด้วยตัวทำละลาย
16
2. การแยกสารเน้ือผสม
สามารถแยกสว่ นประกอบของสารเนือ้ ผสมออกจากกนั ไดง้ า่ ย ๆ โดยวิธีทางกายภาพ และสารท่แี ยก
จะมสี มบัตเิ หมือนเดิม การแยกสารโดยวธิ นี ี้ คือ การกรอง การใชก้ รวยแยก การระเหิด การใชแ้ ม่เหลก็ ดูดออก
การใชม้ ือเข่ีย การร่อน การละลายน้ำ การตกตะกอน
การแยกสารเน้ือเดยี ว
การกรอง
การกรองเป็นการแยกสารเนื้อผสมด้วยกระบวนการแยกของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลวออกจาก
ของเหลว โดยใช้วัสดุกรองสารที่มีรูเล็ก ๆ เช่น กระดาษกรอง ผ้าขาวบาง ตะแกรงลวด ซึ่งจะต้องเลือกใช้ให้
เหมาะสมกับขนาดอนุภาคของสารที่ต้องการกรองแยกออกมาจากของเหลว นอกจากนี้การกรองเป็นการแยก
สารเนื้อผสมที่สามารถใช้ร่วมกับ วิธีการแยกสารอื่น ๆ เช่น การละลาย การระเหยแห้ง เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
การใช้ผ้าขาวบางในการคั้นน้ำกะทิจากมะพร้าว แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรองน้ำ
สะอาดในเครื่องกรองน้ำ การกรองเอาเศษฝุ่นผงที่ไม่ละลายในน้ำออกมาจากน้ำ ตัวอย่างสารผสมที่ใช้การ
กรองในการทำสารใหบ้ ริสุทธิ์ เชน่ นำ้ กับทราย น้ำกบั หินปนู เปน็ ต้น
17
การระเหิด
หมายถงึ การเปลยี่ นสถานะของสารจากของแข็งกลายเป็นแก๊สหรือไอ โดยไมม่ กี ารเปล่ียนสถานะเป็น
ของเหลวก่อน การระเหิดจึงใช้แยกสารเนื้อผสมที่ประกอบด้วยสาร ซึ่งมีสมบัติระเหิดได้ปนอยู่กับสารที่ระเหดิ
ไม่ได้ออกจากกนั การระเหิดสารควรใช้ความร้อนออ่ น ๆ เพราะสารบางชนิดระเหิดเร็ว และอาจเป็นสารไวไฟ
เม่อื สารระเหิดกลายเปน็ ไอไปกระทบกับความเยน็ ทีภ่ าชนะจะควบแน่นเป็นของแข็ง วิธีน้จี งึ แยกสารได้บริสุทธิ์
สารท่ีมีสมบัติระเหิดได้ ไดแ้ ก่ การบูร พิมเสน เมนทอล แนฟทาลนี หรือลกู เหมน็ ไอโอดนี ในชีวติ ประจำวนั เรา
ได้นำสมบัติการระเหิดของสารไปใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ใช้ทำน้ำหอมแห้ง ใช้ทำสารดับกลิ่นในห้องน้ำ
เปน็ ตน้
การใช้มอื หยิบหรอื วิธเี ข่ยี
เป็นวิธีการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งมีขนาดไม่เท่ากันและมีขนาดใหญ่พอที่จะหยิบจับหรือเขี่ยออก
จากกันได้แยกออกจากกัน เช่น การใช้มือหยิบเศษหินออกจากทราย การเลือกข้าวเปลือกออกจากข้าวสาร
เปน็ ตน้
18
การร่อน
ใช้กับสารผสม 2 ชนิดที่มีขนาดเล็กไม่สามารถใช้มือหยิบจับแยกออกจากกันได้ เช่น ทรายปนอยู่กับ
ก้อนกรวดขนาดเล็กจะใช้การร่อนผ่านตะแกรงซึ่งมีเม็ดทรายที่มีขนาดเล็กกว่าจะผ่านรูตะแกรงลงไปได้ ส่วน
กรวดผา่ นไมไ่ ด้
การใชแ้ ม่เหลก็ ดูดออกหรอื การใชอ้ ำนาจแมเ่ หล็ก
ใช้สมบัติความเป็นแม่เหล็กแยกสารที่ถูกแม่เหล็กดูดออกจากสารที่ไม่ถูกแม่เหล็กดูด ซึ่งสารจะต้องมี
สถานะเปน็ ของแขง็ ท้ังคู่ เช่น ผงตะไบเหลก็ ผสมดนิ ทราย โดยใช้แท่งแมเ่ หลก็ ดูดเอาผงตะไบเหลก็ ออกจากดิน
ทราย เพราะแม่เหลก็ ไม่ดดู ดินทรายแต่จะดดู ผงตะไบเหล็กทำให้ผงตะไบเหล็กตดิ มากบั แทง่ แม่เหลก็
19
การใชก้ รวยแยก
เป็นวิธีการแยกของเหลว 2 ชนิดที่ไม่ละลายซึง่ กันและกันออกจากกนั โดยของเหลวจะไม่รวมกันและ
แยกเปน็ ชั้น ๆ เช่น นำ้ ผสมกบั นำ้ มนั พบวา่ น้ำมนั จะลอยแยกช้นั อยเู่ หนือชัน้ นำ้ แยกสารโดยเปดิ ก๊อกกรวยแยก
สารปล่อยใหน้ ำ้ ไหลลงสภู่ าชนะรองรบั เบ้อื งลา่ งจนหมดแล้วปิดก๊อกกรวยกจ็ ะเหลือน้ำมนั อย่ใู นกรวยแยกสาร
การละลายน้ำ
เป็นวิธีแยกสารและสิ่งเจือปนที่มีขนาดเล็กหรือมีจำนวนมากออกจากกัน โดยที่สารชนิดหนึ่งสามารถ
ละลายในน้ำได้ แต่สารอีกชนิดหนึ่งไม่สามารถละลายในน้ำได้ เช่น น้ำตาลทรายปนทราย ซึ่งน้ำตาลทราย
สามารถละลายน้ำได้ แต่ทรายไม่ละลายในน้ำจึงสามารถแยกได้โดยละลายของผสมกันด้วยน้ำแล้วกรองแยก
ทรายออกมา สารละลายที่ได้ คือ น้ำหวาน ซึ่งสามารถนำมาใช้ไดโ้ ดยตรง แต่ถ้าต้องการนำ้ ตาลทรายกลับคืน
มากท็ ำใหไ้ ด้โดยระเหยนำ้ ออกไป
20
การตกตะกอน
การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งทแี่ ขวนลอยอยู่ในของเหลวโดยมีหลักการท่ีสำคัญ คอื การนำสารผสม
ต้งั ทง้ิ ไว้ เนือ่ งจากอนุภาคของของแข็งจะทำใหไ้ ดส้ ารบริสุทธ์ิทั้งสองส่วน ตวั อย่างของผสมที่ใช้วิธีการแยกสาร
โดยการตกตะกอน คือ น้ำโคลน ประกอบด้วยส่วนของดินที่แขวนลอยในน้ำ หากต้ังทิ้งไว้นาน ๆ อนุภาคของ
ดินจะตกตะกอนอยู่ที่ก้นภาชนะ จนน้ำใสขึ้นสามารถรินแยกส่วนออกจากกันได้ เพื่อเป็นการลดเวลาในการ
ตกตะกอนของสารแขวนลอย นักวิทยาศาสตร์จึงได้คิดค้นเครื่องปั่นเหวี่ยง (centrifuge) แรงเหวี่ยงจาก
เคร่ืองมอื จะทำให้ของแขง็ ที่แขวนลอยในของเหลวตกตะกอนได้งา่ ยและเรว็ ข้ึน
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็นเทคนิคการแยกของผสมเนื้อเดียว ที่ผสมกันออกจากกันโดยอาศัย
สมบัติของการละลายของสารในตัวทำละลายต่างกัน ซึ่งสารแต่ละชนิดจะสามารถละลายได้ดีในตัวทำละลาย
ตา่ งชนิดกนั และสารบางชนิดสามารถละลายไดใ้ นตวั ทำละลายหลายชนดิ แตล่ ะลายได้ดไี มเ่ ท่ากนั ตวั อยา่ งเช่น
ถา้ ห่นั ขม้ินชนั เป็นช้นิ เลก็ ๆ แล้วนำมาแชใ่ นนำ้ และแอลกอฮอลจ์ ะพบว่าสเี หลอื งจากขมนิ้ สามารถละลายในน้ำ
ได้ดีกว่าแอลกอฮอล์ แต่ถ้าใช้แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายจะสามารถสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขมิ้นได้ดีกว่า
สกัดด้วยน้ำ การเลือกใช้ตัวทำละลายที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญต่อการสกัดสาร ดังนั้นจึงได้มีหลักการนี้มา
สกัดสารจากพชื โดยเลอื กใชต้ ัวทำละลายทีเ่ หมาะสม
21
ตัวทำละลายทเ่ี หมาะสมควรมสี มบตั ดิ งั น้ี
1. ตวั ทำละลายต้องละลายสารท่ีต้องการสกดั ไดด้ ี แต่ไม่ละลายสารอืน่
2. ตัวทำละลายตอ้ งไม่ทำปฏิกริ ิยากับสารทตี่ ้องการสกดั
3. สามารถแยกตัวทำละลายออกจากสารท่ีสกดั ได้โดยง่าย เพอ่ื นำตัวทำละลายกลับมาใช้ประโยชน์ได้
อกี ทำใหเ้ ป็นการประหยดั
4. ตัวทำละลายต้องหาไดง้ ่ายและราคาถูก
การสกัดสารจากพืช
ในเซลล์ของพชื มีการสะสมสารต่าง ๆ ไว้และสารจะอย่รู วมกันเป็นเน้ือเดียวกับสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื
พืชบางชนิดสร้างสารที่มีกลิ่นหอมไว้ที่โคนกลีบดอกบางชนิดสร้างสารที่เป็นน้ำมันและมีกลิ่นหอมที่ เรียกว่า
น้ำมันหอมระเหยเก็บไว้ที่ใบ บางชนิดสะสมแป้งและไขมันไว้ที่เมล็ดและบางชนิดสร้างสารที่มีสีเก็บไว้ที่ใบ
กลีบดอก เปลือก ลำต้น ซึ่งเราสามารถสกัดสารเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ถ้าใช้ตัวทำละลายและวิธีการที่
เหมาะสม
ในการสกัดนำ้ มันพืชนั้น นยิ มใช้เฮกเซน เมือ่ ใช้เฮกเซนสกัดน้ำมนั ออกจากพชื แล้วต้องนำสารละลายที่
ได้ไปกลั่นเพื่อแยกเฮกเซนออกไปจากสารที่สกัดได้ ต่อจากนั้นจึงกำจัดสีและกลิ่นจนได้น้ำมันพืชบริสุทธ์ิ
วัตถดุ ิบท่นี ำมาสกดั เช่น เมลด็ งา ข้าวโพด เมลด็ ถ่วั ลิสง เมล็ดบวั เมลด็ ปาลม์ รำข้าว เปน็ ต้น
22
การสกัดด้วยตัวทำละลาย อาจสกัดด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า ซอกซ์เลต เครื่องมือนี้ใช้ตัวทำละลาย
ปริมาณน้อย เพราะใช้วิธีการให้ตัวทำละลายหมุนเวียนผ่านสารที่ต้องการสกัดหลาย ๆ ครั้งต่อเนื่องกันไป
จนกระทั่งสกดั ออกมาไดเ้ พียงพอ
การสกดั โดยการกลนั่ ดว้ ยไอนำ้
เปน็ วธิ ีการแยกนำ้ มนั หอมระเหยออกจากสว่ นต่าง ๆ ของพชื
สรุปหลักการแยกสารโดยการสกดั ดว้ ยไอนำ้ ได้ดงั น้ี
1. การแยกสารโดยการสกัดด้วยไอน้ำ ใช้แยกน้ำมันหอมระเหยออกจากส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยต้มน้ำให้
กลายเป็นไอผ่านไปบนส่วนของพืชที่มีน้ำมันหอมระเหย ความร้อนจากไอน้ำจะช่วยให้น้ำมันหอมระเหย
กลายเปน็ ไอปนมากบั ไอน้ำ เมอ่ื กระทบความเยน็ จะควบแนน่ เป็นของเหลว นำ้ มันหอมระเหยไมล่ ะลายนำ้ และ
23
มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำจะอยู่ชั้นบน น้ำอยู่ชั้นล่างน้ำมันหอมระเหยมีปริมาณน้อยกว่าน้ำ และสารที่แยก
ได้ยงั ไมบ่ รสิ ุทธิ์
2. ถา้ ตอ้ งการแยกนำ้ มันหอมระเหยไปใช้ อาจใช้หลอดหยดดดู นำ้ มนั หอมระเหยออกจากน้ำ หรอื ใชก้ รวยแยก
การตกผลึก
เป็นวิธีการแยกของผสมที่มีสถานะเป็นของแข็งออกจากกัน โดยใช้สมบัติด้านความสามารถในการ
ละลายในตัวทำละลายชนดิ เดียวกัน แตกต่างกนั สารท่ีตกผลกึ จะเป็นสารบรสิ ทุ ธ์ิ
หลกั การคอื
1. การตกผลึกเป็นวิธีการแยกสารผสมที่ประกอบด้วยของแข็งต่างชนิดกันที่มีความสามารถในการ
ละลายในตัวทำละลายตา่ งกันออกจากกันได้
2. วธิ ีการตกผลกึ สารทำได้โดย ทำให้สารละลายอิ่มตัวท่ีอุณหภูมสิ ูง แลว้ ลดอณุ หภมู ิลง ความสามารถ
ในการละลายของตัวละลายในน้ำลดลง จึงแยกตัวออกจากสารละลายเป็นของแข็งที่มีรูปทรงทางเรขาคณิตที่
เรียกวา่ ผลกึ
3. การตกผลึกสามารถแยกสารได้บริสุทธิ์ ยิ่งความสามารถในการละลายต่างกันมากจะแยกสารได้
บริสุทธมิ์ ากขน้ึ
4. รปู รา่ งของผลึกเป็นสมบัติเฉพาะตวั ของสาร สารแตล่ ะชนิดจะมีลกั ษณะผลึกที่ตา่ งกัน
24
การกลัน่
การแยกสารผสมที่เป็นของเหลวหรือของแข็งที่ละลายเป็นเนื้อเดียวกับของเหลว โดยอาศัยความ
แตกต่างของจุดเดือดและสมบัติการระเหยยากของสาร หลักการที่สำคัญคือ ทำให้ของเหลวกลายเป็นไอ โดย
การให้พลังงานความร้อน ทำให้สารที่มีจุดเดือดต่ำ ความดันไอสูงจะระเหยเป็นไอออกมาก่อน และเมื่อเย็นตวั
ลงไอทไี่ ด้จะควบแนน่ กล่ันตวั กลายเปน็ ของเหลวท่บี รสิ ทุ ธิ์
การกลั่นแบง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
การกล่นั ธรรมดา
โดยทั่วไปใช้แยกสารผสมที่เป็นอนุภาคของแข็งที่ละลายในอนุภาคของเหลว เนื่องจากองค์ประกอบ
ของสารผสมมีสถานะแตกต่างกันทำให้แรงยึดเหนี่ยวต่างกัน ทำให้เกิดความแตกต่างของจุดเดือดมาก เช่น
การกลั่นน้ำเกลือ ซึ่งประกอบด้วยน้ำ (จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส) และเกลือโซเดียมคลอไรด์ (จุดเดือด
1,413 องศาเซลเซยี ส) เมื่อสารละลายได้รับความร้อนจะมแี ตน่ ้ำเทา่ น้นั ที่กลายเป็นไอออกมาเม่ือไอน้ำผ่านเข้า
ไปในเครื่องควบแน่น ซึ่งมีน้ำเย็นไหลเวียนตลอดเวลาไอน้ำจะควบแน่น ได้ของเหลวคือ น้ำบริสุทธิ์ออกมาใน
ขณะท่ีเกลอื ยังคงอยใู่ นสารละลายในขวดกล่ัน ถ้ายงั คงกลั่นต่อไปจนแหง้ จะเหลือแต่เกลืออยู่ในขวดกลั่นจึงทำ
ให้สามารถแยกนำ้ กับเกลือออกจากกนั ได้ การทำน้ำจืดจากน้ำทะเลกใ็ ชห้ ลักการนี้ได้เช่นกัน โดยให้ความร้อน
แก่น้ำทะเลจากการต้ม หรือพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์น้ำจะระเหยกลายเป็นไอขึ้นไปกระทบกับความ
เย็นแลว้ กลัน่ ตัวกลับเป็นน้ำอีกครงั้ ส่วนเกลอื จะยงั คงคา้ งอยใู่ นภาชนะ
25
การกลน่ั ลำดบั ส่วน
เป็นวิธีแยกของเหลวตั้งแต่สองชนิดออกจากกันเช่นเดียวกับการกลั่นธรรมดาแต่จะต่างกันตรงท่ี
ของเหลวที่ผสมกันมีจุดเดือดใกล้เคียงกัน เครื่องมือการกลั่นลำดับส่วนที่มีคุณภาพจะสามารถแยกสารที่มีจุด
เดือดแตกตา่ งกนั เพียงเล็กน้อยประมาณ 2-3 องศาเซลเซียส ก็ได้
การกลัน่ ลำดบั ส่วนเทียบได้กับการกล่ันแบบธรรมดาหลาย ๆ ครงั้ เนอ่ื งจากเครื่องมือในการกลั่นลำดับ
ส่วนส่วนที่เป็นลำกระบอกจะมีลักษณะเป็นชั้น ๆ ทำให้มีพื้นที่ผิวมากเรียกว่าลำกระบอกลำดับส่วน ไอของ
ของเหลวที่มีจุดเดือดต่ำจะเคลื่อนที่ขึ้นไปสู่ส่วนบนของคอลัมน์ก่อน แล้วผ่านไปควบแน่นเป็นของเหลวก่อน
สารอื่นและแยกออกมาก่อน เช่น การแยกเอทานอลและน้ำออกจากสารละลายเอทานอลในนำ้ เอทานอลมีจุด
เดอื ดตำ่ กวา่ คอื จดุ เดือดเทา่ กบั 78.5 0C จะแยกออกจากสารละลายกอ่ นและได้ของเหลวที่ค่อนขา้ งบรสิ ุทธิ์การ
กลั่นลำดับส่วนควรค่อย ๆ ให้ความร้อนแก่ของเหลวจนถึงจุดเดือดของสารที่มีจุดเดือดต่ำก่อน เมื่อของเหลว
กลายเปน็ ไอหมด จงึ ใหค้ วามรอ้ นเพม่ิ ข้ึน
หลักการกลั่นลำดับส่วนนี้นำมาใช้แยกสารที่เป็นส่วนผสมอยู่ในน้ำมันดิบออกจากกัน การกลั่น
น้ำมันดิบจะใช้วิธีให้ความร้อนประมาณ 350 400 0C แก่น้ำมันดิบในเตาเผาจนน้ำมันดิบเดือดกลายเป็นไอ
ลอยสูงขึน้ ไปตามท่อในหอกลั่นยง่ิ ลอยสูงข้ึน อุณหภูมิของไอก็ยิ่งลดลง เนื่องจากน้ำมันแต่ละชนิดจะมีจุดเดือด
ต่างกัน ไอจึงกลั่นตัวในหอกลั่นที่ระดับอุณหภูมิและความสูงต่างกัน เช่นน้ำมันที่มีจุดเดือดต่ำจะกลั่นตัวทาง
สว่ นบนของหอกล่นั สว่ นนำ้ มันทีม่ ีจุดเดอื ดสงู จะกลนั่ ตัวทางส่วนลา่ งของหอกลน่ั ดังรูป
26
นอกจากน้ี การกล่นั ลำดับส่วนยังเป็นการนำสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคณุ คา่ ในน้ำมันดิบออกมา
ใช้ประโยชนไ์ ดด้ ้วยกระบวนการนี้
โครมาโทกราฟี
ใช้ในกรณีที่ต้องการแยกของผสมเนื้อเดียว ซึ่งมีปริมาณน้อย ๆ ให้บริสุทธิ์โดยอาศัยสมบัติคือ สาร
ต่างกันมคี วามสามารถละลายในตวั ทำละลายได้ตา่ งกัน และถกู ดูดซับดว้ ยตัวดดู ซบั ไดต้ ่างกัน
วิธีการทำโครมาโทกราฟี
นำสารที่ต้องการแยกมาละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสมแล้วให้เคลื่อนที่ไปบนตัวดูดซับ การ
เคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับขึ้นอยู่กับความสามารถในการละลายของสารแต่ละชนิดในตัวทำละลายและ
ความสามารถในการดูดซับที่มีต่อสารนั้น กล่าวคือ สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดี และถูกดูดซับน้อยจะถูก
เคล่อื นทอ่ี อกมากอ่ น สว่ นสารท่ีละลายได้นอ้ ยและถกู ดูดซบั ไดด้ ี จะเคลอ่ื นท่อี อกมาทหี ลงั ถ้าใชต้ ัวดดู ซบั
มาก ๆ จะสามารถแยกสารออกจากกันได้
การเลือกตวั ทำละลายและตวั ดูดซบั
1. ตัวทำละลายและสารทตี่ ้องการแยกจะตอ้ งมกี ารละลายไม่เทา่ กัน
2. ควรเลอื กตัวดดู ซับที่มกี ารดดู ซับสารได้ไม่เท่ากนั
3. ถ้าต้องการแยกสารที่ผสมกันหลายชนิด อาจต้องใช้ตัวทำละลายหลายชนิดหรือใช้ตัวทำละลาย
ผสม
4. ตวั ทำละลายทนี่ ยิ มใช้ ไดแ้ ก่ เฮกเซน ไซโคลเฮกเซน เบนซนี อะซีโตน คลอโรฟอร์ม เอธานอล
27
5. ตัวดูดซบั ท่ีนิยมใช้ ไดแ้ ก่ อะลมู ินาเจล (Al2O3) ซลิ กิ าเจล (SiO2)
คา่ Rf (Rate of flow) เป็นคา่ เฉพาะตัวของสาร ข้นึ อยู่กับชนดิ ของตัวทำละลายและตัวดดู ซับ ดงั นั้น
การบอกค่า Rf ของสารแต่ละชนิดจึงต้องบอกชนิดของตัวทำละลาย และตัวดูดซับเสมอค่า Rf สามารถ
คำนวณไดจ้ าก
สารต่างชนดิ กนั จะมีคา่ Rf แตกต่างกนั เพราะฉะนน้ั เราจงึ สามารถใช้คา่ Rf มาใชใ้ นการวเิ คราะหช์ นดิ
ของสารได้ กล่าวคือ ถ้าสารใดมีความสามารถในการละลายสูงจะมีค่า Rf มาก เนื่องจากตัวทำละลายจะ
เคล่ือนทเี่ รว็ กวา่ สารที่จะแยก ค่า Rf < 1 เสมอ
ถ้าใช้ตัวทำละลายและตัวดูดซับชนิดเดียวกันปรากฏว่ามีค่า Rf เท่ากัน อาจสันนิษฐานได้ว่า สาร
ดังกลา่ วเปน็ สารชนดิ เดียวกนั หรือนำสารตวั อย่างมาทำโครมาโทกราฟีคกู่ ับสารจริงก็ได้
ตัวอย่าง สเี หลอื ง มคี า่ Rf = 0.4 สฟี า้ มคี า่ มคี ่า Rf = 0.6
แสดงว่าสฟี ้าถกู ดดู ซับไดน้ ้อยกว่าสเี หลอื งจึงเคลื่อนที่ไปได้ไกลกว่า
ข้อดขี องโครมาโทกราฟี
1. สามารถแยกสารทม่ี ปี ริมาณนอ้ ยได้
2. สามารถแยกได้ทงั้ สารที่มสี ี และไมม่ สี ี
3. สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารที่แยกออกมา มีปริมาณเท่าใด) และคุณภาพ
วเิ คราะห์ (บอกไดว้ า่ สารน้นั เป็นสารชนิดใด)
4. สามารถแยกสารผสมออกจากกันได้
5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดดู ซับโดยสกดั ด้วยตัวทำละลาย
การแยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟี สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อย และทำให้ทราบว่าสารนั้นมีสาร
ใดปนอยใู่ นปรมิ าณมากหรือน้อย โดยการสงั เกตจากขนาดของแถบสี ซ่งึ การแยกสารโดยวิธีน้ี เรยี กว่า
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ ซึ่งเป็นวิธีทง่ี ่ายทส่ี ดุ
28
คำชี้แจง จงแยกสารผสมที่กำหนดใหด้ ังตอ่ ไปน้ี
สารผสม
วธิ ีการแยก
ขา้ วสาร+ขา้ วเปลือก
ผงถ่าน+ผงตะไบเหล็ก
เกลอื แกง+การบูร
นำ้ +นำ้ มนั พชื
น้ำหมกึ ปากกา
น้ำ+เกลือ
ผงถา่ น+ผงตะไบเหลก็ +เกลือ
กาบมะพรา้ ว+น้ำกะทิ
นำ้ +แอลกอฮอล์
สจี ากขม้นิ
29
30
31
คำช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับน้ีเป็นแบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน
2. ให้นกั เรียนเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว
1. สารละลายในข้อใดไม่สามารถแยกส่วนประกอบไดโ้ ดยการระเหยแห้ง
ก. สารละลายแอมโมเนยี
ข. สารละลายคอปเปอรซ์ ัลเฟต
ค. สารละลายโซเดยี มคลอไรด์
ง. น้ำเช่อื ม
2. การสกดั สอี อกจากส่วนของพืช ใชว้ ิธกี ารใด
ก. การทำให้ตกตะกอน
ข. การกล่ันลำดับส่วน
ค. การสกดั ดว้ ยตัวทำละลาย
ง. โครมาโทรกราฟี
3. ในการแยกนำ้ มนั ดบิ ในอุตสาหกรรมน้ำมัน ใช้วิธีการใด
ก. อาศัยความหนาแน่น
ข. การสกดั ดว้ ยตัวทำละลาย
ค. การกลนั่ ลำดบั สว่ น
ง. การระเหดิ
4. ข้อใดคือข้อดีของการกลั่นลำดับส่วน
ก. แยกสารทีม่ ีปรมิ าณนอ้ ยๆผสมอยู่
ข. สามารถแยกสารทีม่ จี ุดเดือดตา่ งกันนอ้ ยๆได้
ค. ประหยดั ค่าใช้จ่าย
ง. สามารถแยกสารทม่ี ีจดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวทแ่ี ตกต่างกันได้
5. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเก่ียวกับการตกผลึก 32
ก. อาศยั หลักการละลายได้ท่ีตา่ งกนั 24
ข. สารที่ละลายไดน้ ้อยกวา่ จะตกผลึกออกมาก่อน
ค. สารตวั หนง่ึ ในสารผสมจะไม่ละลายในตวั ทำละลาย
ง. ผลึกจัดเป็นสารบริสุทธ์ิ
6. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยชนข์ องวธิ ีการโครมาโทกราฟี
ก. แยกสารผสมออกจากกัน
ข. แยกสารบริสุทธอิ์ อกจากกัน
ค. แยกสารท่มี ปี ริมาณนอ้ ยๆผสมอยู่
ง. แยกสารเน้ือเดียวที่มคี วามเปน็ ขั้วต่างกนั
7. สารผสมทกุ ข้อใช้หลักการระเหดิ ยกเวน้ ข้อใด
ก. การบูร และ เกลอื แกง
ข. พิมเสน และ นำ้ ตาลทราย
ค. ผงไอโอดีน และเอทานอล
ง. ลกู เหมน็ และ ผงถา่ น
8. การกรองควรใชใ้ นการแยกสารผสมชนิดใด
ก. แยกสารผสมที่เปน็ ของแข็งขนาดตา่ งกนั
ข. แยกสารผสมท่ีเปน็ ของแขง็ กับของเหลวที่ไม่ได้ละลายอยูด่ ้วยกนั
ค. แยกสารผสมที่เปน็ ของแข็งละลายในของเหลว
ง. แยกสารผสมทเี่ ป็นของเหลวละลายในของเหลว
9. นักเรยี นจะใชห้ ลักการใดในการแยกผงตะไบจากนำ้ ตาล
ก. การรอ่ น
ข. การกรอง
ค. การหยิบออก
ง. การใชแ้ มเ่ หลก็
10. นกั เรียนจะใช้หลักการใดในการแยกกรวดออกจากทราย
ก. การทำใหต้ กตะกอน
ข. การใช้ตะแกรงร่อน
ค. การกรอง
ง. การตกผลึก
33
บรรณานุกรม
ชัยพร จติ รอารี. (2563). วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทักษะชีวติ . กรงุ เทพฯ: ศนู ย์ส่งเสรมิ วิชาการ. พมิ พ์ครง้ั ที่
1 . ปที ีพ่ ิมพ์ 2563.
สุด ปลม้ื ใจ. (2563). วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทักษะชีวิต. กรุงเทพฯ: ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย. พิมพ์คร้งั ที่ 1 . ปที ่ี
พิมพ์ 2563.
เปรมจติ ลิมปะพันธุ.์ (2563). วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต. กรุงเทพฯ: ศนู ยห์ นงั สอื เมืองไทย. พิมพ์ครง้ั ที่
1 . ปีท่ีพิมพ์ 2563.
การแยกสารและการนำไปใช้.(2563). [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา : https://bit.ly/32jSY3t (วันท่ีคน้ หาข้อมูล 21
มกราคม 2565)
การแยกสาร.(2564). [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : https://bit.ly/33RHTa7 (วันท่ีคน้ หาขอ้ มลู 21 มกราคม 2565)
การแยกสาร (2564). [ออนไลน์]. แหล่งท่มี า : https://bit.ly/3tJcNfR (วนั ทคี่ น้ หาข้อมูล 21 มกราคม 2565)
การแยกสารเนอ้ื เดยี ว. (2564). [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า : https://bit.ly/35a5JP8 (วนั ที่ค้นหาขอ้ มูล 21 มกราคม
2565)
34
32
ขอ้ ท่ี เฉลย ข้อที่ เฉลย
1. ก 11. ง
2. ข 12. ง
3. ก 13. ค
4. ก 14. ง
5. ข 15. ข
6. ค 16. ข
7. ค 17. ง
8. ง 18. ค
9. ง 19. ค
10. ก 20. ค
33
ขอ้ เฉลย
1ข
2ง
3ข
4ค
5ข
6ค
7ข
8ค
9ค
10 ก
34
คำชแ้ี จง จงแยกสารผสมทกี่ ำหนดใหด้ งั ต่อไปนี้
สารผสม
วธิ ีการแยก
ข้าวสาร+ข้าวเปลือก การหยิบออก
ผงถา่ น+ผงตะไบเหล็ก การใช้อำนาจแม่เหลก็
เกลือแกง+การบรู การระเหดิ
นำ้ +น้ำมนั พืช การใช้กรวยแยก
นำ้ หมึกปากกา วธิ ีโครมาโทกราฟี
นำ้ +เกลือ การระเหยแหง้
การใชอ้ ำนาจแมเ่ หลก็ การละลาย การกรอง การระเหยแห้ง
ผงถ่าน+ผงตะไบเหล็ก+เกลือ
กาบมะพรา้ ว+นำ้ กะทิ การกรอง
นำ้ +แอลกอฮอล์ การกลน่ั ธรรมดา
สจี ากขมิน้ การสกัดด้วยตัวทำละลาย
35
36
37
ขอ้ เฉลย
1ก
2ค
3ค
4ข
5ค
6ข
7ค
8ข
9ง
10 ข