The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

0.คู่มือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์-แนวคิดและหลักการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทิพกฤตา อินไชย, 2021-04-22 20:38:43

0.คู่มือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์-แนวคิดและหลักการ

0.คู่มือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์-แนวคิดและหลักการ

โครงการอบรมพฒั นาทักษะครูอาชวี ศกึ ษาดา นการจัดการเร�ยนการสอนออนไลน

สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารวมกบั มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ

ตอน

แนวคดิ และหลกั การจดั การเรย� นการสอนออนไลน
25 - 29 พฤษภาคม 2563

1

คาํ นาํ

เอกสารประกอบโครงการอบรมพัฒนาทักษะครูอาชีวศึกษาดานการจัดการเรียนการสอนอนไลน จัดโดย
สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษารวมกับมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ไดเรยี บเรยี งขึน้ ครอบคลุมเนอ้ื หาสาระในการอบรมที่มงุ เนน ใหผเู ขาอบรมมี
ความรูความเขา ใจในเน้ือหาและใชเปนเคร่ืองมือสาํ คัญของวทิ ยากรและผเู ขารบั การอบรม

เอกสารเลมน้ีนําเสนอแนวคิดและหลักการจัดการเรียนการสอนออนไลน ประกอบดวย แนวคิดและ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน การจัดการชั้นเรียน กฎระเบียบและกติกา จิตวิทยาการสอนออนไลน
การใชเทคโนโลยีและการสื่อสารในการเรียนการสอนออนไลน และการสรางและหาคุณภาพส่ือการเรียนการสอน
ออนไลน วิทยากรและผูเขาอบรมควรไดศึกษารายละเอียดแตละหัวขอจากเอกสาร หนังสือ ตํารา หรือสื่ออ่ืนๆ
เพมิ่ เตมิ อกี

หวังวาเอกสารประกอบโครงการอบรมฯ นี้คงอํานวยประโยชนตอการอบรมตามสมควร หากทานที่
นาํ ไปใชม ขี อเสนอแนะ คณะผจู ัดทําเอกสารยนิ ดรี บั ฟงขอคิดเห็นตางๆ และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี

คณะผูจัดทําเอกสาร
พฤษภาคม 2563

สารบัญ 2

คาํ นํา หนา
สารบัญ 5
แนวคิดและรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน 5
6
บทนํา 10
แนวคิดการจดั การเรยี นการสอนอนไลน 10
รปู แบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน 11
13
รปู แบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน Khan’s E-Learning P3 Model 14
รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลนอ าชวี ศึกษายุควิกฤตโิ ควดิ 19 16
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน AL MIAP 16
สรปุ 17
การจดั การช้นั เรียน กฎระเบยี บและกตกิ า และจิตวทิ ยาการสอนออนไลน 18
บทนาํ 20
การจัดการช้ันเรยี นออนไลน 22
การจดั การชน้ั เรยี นออนไลนดานกายภาพ 23
การจัดการชั้นเรยี นออนไลนด านจิตวทิ ยา 23
การจัดการชน้ั เรียนออนไลนดานการศึกษา 24
จติ วทิ ยาการสอนออนไลน 25
ความสาํ คัญของจิตวทิ ยาตอผูสอน 27
พฤติกรรมของผเู รยี นออนไลน 29
แรงจงู ใจของผูเรยี นทม่ี ผี ลตอการจัดการชนั้ เรยี นออนไลน 30
กฎระเบยี บ และกติกาในช้นั เรียนออนไลน 30
สรุป 31
การใชเ ทคโนโลยีและการส่อื สารในการเรยี นการสอนออนไลน 31
บทนาํ 32
เทคโนโลยแี ละการสอื่ สารเพ่ือการเรยี นการสอนออนไลน 34
MOODLE 35
MOOCs 36
Microsoft Teams 38
Google Meet
Zoom
เทคโนโลยแี ละการส่ือสารเพ่ือการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนออนไลน

แอปพลิเคชันตระกลู Google และ Microsoft 3
Classcraft
ClassDojo 38
Wheelofnames 40
Mentimeter 40
Kahoot 41
Quizizz 41
สรุป 42
การสรางและหาคณุ ภาพส่ือการเรียนการสอนออนไลน 43
บทนํา 43
ส่อื การเรยี นการสอนออนไลน 45
จาํ แนกตามประสบการณก ารเรียนรู 45
จําแนกตามส่ือการสอน 45
จาํ แนกตามทรัพยากรการเรียนรู 46
การสรา งและหาคุณภาพสอื่ การเรยี นการสอนออนไลน 48
การสรางสอ่ื การเรียนการสอน 48
การหาคุณภาพสือ่ การเรียนการสอน 51
สรุป 51
บรรณานุกรม 53
56
57

4

5

แนวคิดและรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน

บทนาํ
การเตรียมความพรอมใหกับผูเรียนในการศึกษายุคศตวรรษที่ 21 สูการเปนพลเมืองท่ีดี ควรมีท้ังทักษะ

ดานความรู ทักษะดานอารมณ และคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีจําเปนครอบคลุม 3 มิติ ไดแก 1) ทักษะในการ
ดํารงชีวิต เชน การอานเขียน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร การเงิน วัฒนธรรม
2) ความสามารถในการแกปญหาที่ซับซอน เชน การคิดเชิงวิพากษ การคิดวิจารณญาณ ความคิด สรางสรรค การ
สอ่ื สารและการทํางานเปน ทีม และ 3) บุคลิกภาพท่ีมีคุณภาพ เชน การมีจติ อาสา ความเปน ผูน าํ ทักษะการเรียนรู
และนวัตกรรม การปรับตัว ความใฝรู ความคิดริเริ่ม (World Economic Forum, 2016; วิจารณ พานิช, 2555)
การเตรียมความพรอมใหกบั ผูเรยี นในการศกึ ษายคุ ศตวรรษท่ี 21 ดังกลา วสว นหน่ึงเปนหนาที่ของสถานศึกษา และ
ผูสอน

ผลสํารวจเด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรที่เปล่ียนแปลงจากการศึกษาไทย เพ่ือสะทอนมุมมองและ
ทัศนคติของเด็กและเยาวชนท่ีมีตอระบบการเรียนการสอนของประเทศไทยในปจจุบัน จากเด็กและเยาวชนอายุ
14-18 ป พบวา รอยละ 54.8 ระบุเด็กไทยไมไดเรียนในสิ่งท่ีอยากเรียน คําถามลําดับแรกท่ีเดก็ อยากจะถามผสู อน
มากที่สุดเปนคําถามเก่ียวกับวิธีการสอนของผูสอน รอยละ 25.0 เชน ทําไมผสู อนไมหาวิธีการสอนท่ีสนกุ และไมนา
เบ่ือ ทําไมเวลาสอนตองอานตามหนังสือ ผูสอนมาสอนหนังสือหรือมาอานหนังสือใหผูเรียนฟง และทําไมสอนใน
หองเรยี นไมร เู รื่องแตส อนพิเศษรูเร่ือง โดยเดก็ และเยาวชนมากกวา 2 ใน 3 อยากใหเปลีย่ นแปลงรูปแบบการเรียน
การสอนของระบบการศึกษาในปจจุบัน เพราะหลกั สูตรการสอนเนน เนื้อหาทฤษฎีมากกวาการนําไปประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวัน สงผลใหเม่ือพิจารณาความสุขตอรูปแบบการเรียนการสอนตามระบบการศึกษาในปจจุบัน พบวา
เด็กและเยาวชนมีความสุขเฉล่ียเทากับ 5.78 จากคะแนนเต็ม 10 (สํานักงานสงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและ
พัฒนาคุณภาพเยาวชน, 2557)

ผูเรียนอาชีวศึกษา คือ บุคคลในสังคมท่ีกําลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) หลักสูตรระยะสั้นและหลักสตู รนอกระบบอ่ืน และปริญญาตรีสายเทคโนโลยี
หรือสายปฏิบัติการ ในประเภทวิชาเกษตรกรรม คหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ประมง พณิชย
กรรม/บริหารธุรกิจ ศิลปกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมทองเท่ียว และอุตสาหกรรมสิ่งทอ จํานวนทั้งสิ้น
1,761,767 คน ท่ศี กึ ษาอยใู นสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทงั้ สถานศึกษารฐั บาลและ
สถานศึกษาภาคเอกชน รวม 911 แหง ภายใตการกํากับดูแลและสอนส่ังโดยขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา รวมท้ังสิ้น 23,709 คน (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2561) ผูเรียนอาชีวศึกษาเหลานมี้ ีหนาท่ี
ในการศึกษาเลาเรียน ทํากิจกรรมที่เก่ียวของกับการเรียน และใชชีวิตอยูในสังคม เพื่อน และอาจารย ใน
สถานศึกษา หลายคนตองเดินทางไปเรียนและใชชีวิตอยูตางถิ่น หางไกลจากภูมิลําเนาเดิม ผูเรียนเหลานี้มีความ
ปรารถนาท่ีจะสําเร็จการศึกษา และทํางานเล้ียงดูตนเองและครอบครัวใหมีความสุข และปราถนาใหการดําเนิน
ชีวติ ของการเปน ผูเรียนอาชีวศึกษาเปนไปอยางมีความสุข เนื่องจากการไดห ลุดพนจากกรอบและขอบังคบั ของการ
เปนผเู รียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ผเู รยี นอาชีวศึกษาคาดหวังวา การใชช วี ิตในสถานศึกษาอาชีวศึกษาจะทําใหมีความสุข

6

โดยเฉพาะความสุขท่ีไดรับจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหวางการจัดการเรียนการสอนนอกและในช้ันเรียน ท่ีผูเรียน
อาชีวศกึ ษาอาจคาดหวังวา จะสง ผลใหเรยี นรูอยางมีความสขุ และมีความสขุ ทจี่ ะเรียนรูมากขึ้นกวาการเปนนกั เรียน
สอดคลองกับจิราภรณ สรรพวีรวงศ และคณะ (2559) ท่ีกลาววาความสุขเปนสวนหนึ่งของการใชชีวิตใน
สถานศึกษาของผูเรียน เปนชวงวัยท่ีมีการปรับตัวอยางมากกับการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ เชน การอยูใน
สภาพแวดลอ มและบรรยากาศการเรยี นที่แตกตางไปจากระดบั มธั ยมศึกษา ซงึ่ สง ผลตอ การใชช ีวิต การทํากจิ กรรม
และการเขาสังคม การอยูรวมกับเพ่ือนผูเรียนคนอื่นๆ ที่มาจากตางถ่ินและมีพื้นฐานการเล้ียงดู ความคิด และ
พฤตกิ รรมหลากหลายแตกตา งกันไป จงึ เปน เร่ืองสําคัญและจําเปน ทีส่ ถนศึกษาตองใหความสาํ คัญกับการออกแบบ
ระบบการเรียน การทํากิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดสิ่งแวดลอม และสิ่งเอ้ืออํานวยความสะดวกในชีวิตใหได
ผูสําเร็จการศึกษาท่ีมีความพรอมทั้งความรู มีทักษะเฉพาะในแตละสาขาท่ีเรียนและมีชีวิตท่ีเปนสุข เพราะผูเรียน
อาชีวศึกษาอยูในวัยท่ีกําลังสดใส มีพลังสมอง พลังใจ พลังกายในการพัฒนาสิ่งตางๆ ขึ้นมาตามที่ผูเรียนไดคิดได
จินตนาการรว มกนั กับผสู อน และเพอ่ื นในสถาศกึ ษา (จิราภรณ สรรพวีรวงศ และคณะ, 2559)

อยางไรก็ตามในความเปนจริงแลวชีวิตของคนเราจะมีความสมหวังและมีความสุขอยูตลอดเวลายอม
เปนไปไดยาก จะเห็นไดวาตลอดทางทั้งกอนการเปนผูเรียนอาชีวศึกษา ระหวางการเปนผูเรียนอาชีวศึกษา และ
หลังจากสําเร็จการศึกษา มีปจจัยหลายอยางท่ีทําใหการใชชีวิตในสถานศึกษาอาชีวศึกษาไมเปนไปอยางท่ีตั้งใจ
อาจนํามาซึง่ ความไมสขุ เชน การเลอื กสถาศึกษา การสอบแขงขันเพ่ือเขาเรียนในสถาศึกษาท่ตี องการ การเดนิ ทาง
ไปเรยี น การใชชีวิตอยตู างถน่ิ หางไกลจากภมู ิลําเนาเดิม การใชช วี ิตอยูใ นสังคม เพอ่ื น และอาจารย การทํากิจกรรม
ท่ีเกี่ยวของกับการเรียน การประเมินผลการการเรียน รวมทั้งกฎเกณฑ และเงื่อนไขหลายอยางจากปจจัยภายนอก
ที่มาเปนตัวกําหนดใหผเู รยี นตอ งจัดการและผานไปใหได รวมถึงสถานการณท่ีไมคาดคิดที่ทําใหสถานศึกษาตองงด
การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติอยางการระบาดของไวรัสโควิด 19 ในชวงท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน
(พฤษภาคม 2563) และยังไมชัดวาจะสิ้นสุดลงเมื่อใด ทําใหสถานศึกษาในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตองเตรียมพรอมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยวิธีออนไลนเต็มรูปแบบตาม
ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการแทนการสอนและจัดกิจกรรมในชั้นเรียนปกติ ซ่ึงกําลังจะเปดภาคเรียนในตน
เดือนกรกฎาคม 2563 น้ี เปน การเปลย่ี นแปลงการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และการประเมินผลการการเรียน
แบบท่ีไมเคยเกิดขึ้นมากอน สถานศึกษา ผูบริหาร ผูสอน และผูเรียนอาชีวศึกษาตองปรับตัวเพื่อรับมือกับการ
เปลยี่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้น
แนวคดิ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน

การจัดการเรียนการสอนออนไลน เปนนวัตกรรมสําหรับการเรียนรูที่ไดรับการพัฒนาและใชเปนส่ือเสริม
ส่ือเติม และส่ือหลัก หรือการเรียนรูแบบผสมผสาน (Blended learning) หากสถานการณปกติผูสอนสามารถ
ออกแบบและจัดการเรียนการสอนในหองเรียนปกติควบคูไปกับการจัดการเรียนการสอนออนไลนได การจัดการ
เรียนการสอนออนไลนถูกพัฒนาและเปล่ียนแปลงรูปแบบไปตามความกาวหนาของเทคโนโลยี มักมีองคประกอบ
หลักประกอบดวย เนื้อหาวิชา ระบบบริหารจัดการรายวิชา ระบบบริการการติดตอสื่อสาร และแบบฝกหัดและ
แบบทดสอบ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2545) อนิรุทธ สติม่ัน (2550) กลาววาการเรียนการสอนออนไลนมีหลาย
รูปแบบ และมีชื่อเรียกหลายลักษณะ อาทิ การจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) การ
จัดการเรียนการสอนรายวิชาผานเว็บ (Web-Base Course) เว็บการเรียนการสอน (Web-Based Learning)

7

เวิลดไวดเว็บชวยสอน (WWW-Based Instruction) การเรียนการสอนผานเครือขาย (Online Instruction) การ
สอนโดยใชอินเทอรเน็ตเปนฐาน (Internet-Based Instruction) การเรียนการสอนผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-
Learning) และ Khan (xxxx) นักเทคโนโลยีการศึกษา นักเขียน และท่ีปรึกษาการจัดการเรียนการสอนออนไลน
ระดับโลก ใหขอมูลวาการเรียนการสอนออนไลนยังมีการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนระบบเปดสําหรับ
มหาชน (Massive Open Online Course) หรือ MOOC บทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต (Web Based
Instruction)) การเรียนการสอนแบบการกระจายศูนย (Distributed Learning) การเรียนการสอนแบบการ
กระจายศูนยข้ันสูง (Advance Distributed Learning การจัดการศึกษาทางไกล (Distance Learning) การเรียน
การสอนออนไลน (Online Learning) และการเรยี นการสอนแบบไรส าย (Mobile Learning) อกี ดว ย เพ่อื ใหไปใน
ทิศทางเดียวกันในเอกสารประกอบการอบรมชุดนี้จะใชคําวา การจัดการเรียนการสอนออนไลน หรือ Online
Learning

ภาพท่ี 1 การจดั การเรยี นการสอนออนไลนแบบสอนสดดว ย Microsoft Teams
ท่มี า : กฤษณพงศ เลศิ บาํ รุงชัย (2563)

การจัดการเรียนการสอนออนไลนสามารถเรียนและสอนในเวลาเดียวกันระหวางผูเรียนและผูสอนเหมือน
ในชั้นเรียนปกติ เชน การจัดการเรียนการสอนออนไลนแบบเรียลไทมหรือสอนสดดวยโปรแกรม Google Meet
และ Microsoft Teams และบางโปรแกรมยงั สามารถใชส รา งบทเรียนออนไลน เพื่อผูเรยี นเขา เรยี นตอนไหนก็ไดที่
พรอมและอยากเรยี นรู โดยผูสอนจดั เตรียมเนือ้ หาวชิ า ระบบบริหารจดั การรายวิชา ระบบบรกิ ารการตดิ ตอสื่อสาร
และแบบฝกหัดและแบบทดสอบไวลวงหนา เชน แอปพลเิ คชัน Google Classroom เปนตน

เพื่อใหเขาใจมากยิ่งข้ึนนักวิชาการท้ังชาวไทยและตางประเทศหลายทานใหความหมายของการจัดการ
เรียนการสอนออนไลนไว ดังน้ี

8

Khan (xxxx) ใหความหมายไววา นวัตกรรมท่ีเขาถึงไดโดยสะดวกสําหรับผูเรียน มีการออกแบบที่ดี ยึด
ผเู รยี นเปนศูนยก ลาง มกี ารออกแบบใหม ีปฏสิ ัมพันธกับผูเรียนและมสี ภาพแวดลอมในการเรยี นรูท่ีเอ้ือใหก ับผูเรียน
ทุกคนสามารถท่ีจะเรียนไดทุกสถานท่ี ทุกเวลา โดยใชทรัพยากรท่ีอยูในรูปของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการออกแบบ
สภาพแวดลอมทีเ่ ออ้ื และเปด กวางสําหรับผูเรยี น

Kilby (2009) ใหความหมายไววา นวัตกรรมการเรียนรูทางไกลสําหรับการเรียน โดยใชคอมพิวเตอรเปน
ฐานรวมกับเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต และอินทราเน็ตมาปรับเขาดวยกัน เปนการนําเสนอเน้ือหาการเรียนรูแบบสด
เทาที่จะทําได และสามารถปรับปรุงเน้ือหาเหลานน้ั ได ผานการเรียนรูดวยการนําตนเอง หรือการเรียนรูตามลาํ ดับ
ความเขาใจของตนเองในแตละหัวขอ เปนการเรียนท่ีเต็มไปดวยส่ือที่หลากหลาย โดยไมยึดติดกับแพลตฟอรมของ
คอมพวิ เตอร

Anderson (2008) ใหความหมายไววา การใชอินเทอรเน็ตเพ่ือเขาถึงส่ือและวัสดุสําหรับการเรียนรู ดวย
การมปี ฏสิ ัมพนั ธกบั เน้อื หา ผูสอน ผูเรยี นคนอ่นื ๆ และสนับสนนุ กระบวนการเรยี นรูเพ่ือที่จะไดรบั ความรู เพ่ือสรา ง
นยิ ามสว นบคุ คลและความเจริญงอกงามไปตามประสบการณการเรยี นรู

จินตวรี  คลา ยสังข (2555) ใหค วามหมายไววา เปนการเรียนการสอนทร่ี วมถึงการถายทอดเน้ือหา การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล ผานตัวอักษร ภาพน่ิง ผสมผสานกับการใช
ภาพเคล่ือนไหว วีดทิ ศั น และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยขี องเวบ็ ในการถา ยทอด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2550) โดยโครงการ SUT e-Training ใหความหมายไววา กระบวนการ
ในการเรยี นการสอน การอบรมที่ใชเคร่ืองมือทางดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือใหเ กิดความยืดหยนุ ทางการเรียนรู
สนับสนุนการเรียนรูในลักษณะที่ผูเรียนเปนศูนยกลาง และการเรียนในลักษณะตลอดชีวิต ซึ่งอาศัยการ
เปลี่ยนแปลงดานกระบวนทัศนของทั้งกระบวนการเรียนการสอน และไมจําเปนตองเปนการเรียนทางไกลเสมอไป
สามารถนําไปใชใ นลักษณะผสมผสานกบั การสอนในชั้นเรยี นได

ใจทิพย ณ สงขลา (2550) ใหความหมายไววา กิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดประเมินในรูปแบบ
ตางๆ ท่ีเกิดข้ึนท้ังในมิติประสานและตางเวลา โดยใชอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อกลางทําการเผยแพรและ
สอ่ื สารผา นระบบเครอื ขายคอมพวิ เตอร โดยกลมุ เปา หมาย ประกอบดว ย การศกึ ษาภาคปกติ การศึกษานอกระบบ
การพัฒนาฝก อบรมและการจดั การความรู และการพาณชิ ย

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) ใหความหมายไวว า การเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสําหรบั การสอนหรอื
การอบรม ซึ่งใชการนําเสนอดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใชภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศนและเสียง โดย
อาศัยเทคโนโลยีของเว็บในการถายทอดเนื้อหา รวมท้ังการใชเทคโนโลยีระบบการจัดการคอรสในการบริหาร
จดั การงานสอนตา งๆ เชน การจัดใหม เี ครอื่ งมอื การส่ือสารตางๆ เชน E-mail, Web Board สาํ หรบั ตั้งคาํ ถาม หรอื
แลกเปลี่ยนแนวคิดระหวางผูเรียนดวยกัน หรือกับผูสอนและวิทยากร การจัดใหมีแบบทดสอบ หลังจากเรียนจบ
เพอ่ื วัดผลการเรยี น รวมท้งั จดั ใหมีระบบบันทกึ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการเรียน

ปรัชญนันท นิลสุข (2542) ใหความหมายไววา การใชเว็บเปนสื่อในการนําเสนอขอมูล การสืบคนขอมูล
การอภิปราย เสนอความคิดเห็น โดยใชเคร่ืองมือผานเวิลดไวดเว็บท่ีไดรับการออกแบบและจัดกระบวนการอยาง
เปนระบบเปนข้ันตอน มีกระบวนการเหมือนกับการเรียนการสอนในหองเรียนปกติ แตเปนการเชื่อมโยงระหวาง
ผูเรยี นกับผูจัดการเรียนการสอนโดยระบบอินเทอรเ น็ต

9

สรุปไดวา การจัดการเรียนการสอนออนไลน คือ นวัตกรรมสําหรับการพัฒนาศักยภาพของผูเรียนแบบ
หนึ่งท่ีออกแบบและพัฒนาข้ึนโดยอาศัยความสามารถของเครือขายอินเทอรเน็ต รวมถึงฮารดแวรและซอฟตแวร
ของคอมพิวเตอร เพ่ือนําเสนอเน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน การปฏิสัมพันธร ะหวางผูสอนและผูเรียน การวัด
และการประเมินผล และการติดตามผูเรียน ผานแอปพลิเคชันท่ีเหมาะสม โดยผลลัพธการเรียนรูของผูเรียนตอง
เทยี บเทาการจดั การเรียนการสอนในชน้ั เรียนปกติ

นอกจากผลลัพธก ารเรียนรูของผเู รยี นท่ีเทียบเทาการจดั การเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติแลว การจดั การ
เรียนการสอนออนไลนทําใหผูเรียนเกิดทักษะในการนําเครื่องมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยูในปจจุบัน
อาทิ คอมพิวเตอร โทรศัพท แท็บเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร และสื่อออนไลน มาใชใหเกิดประโยชนสงู สุด ในการ
สื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทํางานรวมกันระหวางผูเรียนกับผูสอน หรือระหวางผูเรียนกับผูเรียนดวยกัน
เรียกวา Digital literacy หรือความเขาใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาการทํางานใหมี
ความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ (สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, xxxx) สอดคลองกับการพัฒนา
ผูเรียนในการศึกษายุคศตวรรษที่ 21 และวิชุดา รัตนเพียร (2548) กลาววา การจัดการเรียนการสอนออนไลนมี
หลกั การพ้ืนฐาน ดังนี้

1. การจัดการเรียนการสอนชวยสนับสนุนใหผูเรียนสามารถเขาถึงเน้ือหาบทเรียนไดทุกเวลา โดยผูเรียน
และผูสอนไมจําเปนจะตองอยูเห็นหนาในหองเรียนเดียวกัน และในเวลาเดียวกันเสมอไป เหมือนกับการจัดการ
เรียนการสอนในชนั้ เรยี นปกติ

2. ผูเรียนทกุ คนและผูส อนสามารถตดิ ตอ ส่ือสารกนั และสามารถเขาถงึ บทเรยี นออนไลนไ ดตลอดเวลาดวย
ความสะดวก ไมไดหมายความวาผูสอนตองรับโทรศัพทหรือตอบคําถามทางไลนกับผูเรียนตลอดเวลา แตสามารถ
ใชรูปแบบของการสื่อสารอาจทําไดในลักษณะการรับสงขอความธรรมดา การส่ือสารกันดวยเสียง หรือรับสง
สัญญาณภาพวีดิทัศนผานอินเทอรเน็ต ขึ้นอยูกับความพรอมของผูเรียน ผูสอน และเครือขายอินเทอรเน็ต รวมถึง
ฮารดแวรแ ละซอฟตแวรข องคอมพิวเตอร

3. จัดกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือ เน่ืองจากจะชวยพัฒนาความคิด ความเขาใจของผูเรียนไดดีกวาการ
ทํางานคนเดยี ว ทง้ั ยังสรา งความสมั พันธความเปน ทีม การแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นระหวา งกัน ผูเรยี นจะตองรับฟง
ความคิดเห็นของผูอ่ืน เพ่ือหาหนทางที่ดีที่สุดในการแกปญหา ผานเครือขายอินเทอรเน็ต รวมถึงฮารดแวรและ
ซอฟตแ วรของคอมพวิ เตอร

4. ใหผูเรียนรูจกั แสวงหาความรูดว ยตนเอง หลกี เลย่ี งการกํากับ ผสู อนเปนผปู อ นขอมลู หรือคําถาม ผูเรยี น
ควรเปนผขู วนขวายใฝหาองคความรูหรือคําตอบโดยการแนะนําของผสู อน

5. ใหผลยอนกลับแกผ เู รยี นโดยทันทีทันใด ชวยใหผ ูเรยี นไดทราบถงึ ความสามารถของตน อกี ท้งั ยังชวยให
ผูเรียนสามารถปรับแนวทาง วิธีการ หรือพฤติกรรมใหถูกตองได ผูเรียนที่เรียนออนไลนสามารถไดรับผลยอนกลับ
จากทงั้ ผสู อนและจากผเู รียนคนอนื่ ไดทันทีทันใด แมวา แตล ะคนจะไมไ ดน ัง่ เรียนในชน้ั เรียนแบบเผชญิ หนากนั ก็ตาม

6. จัดการเรียนการสอนที่ไมมีขีดจํากัด สําหรับบุคคลที่ใฝหาความรู การเรียนการสอนออนไลนเปนการ
ขยายโอกาสใหทุกคนท่สี นใจศึกษาเรียนรู เนอ่ื งจากผูเรียนไมจําเปนจะตองเดินทางไปเรียน ณ ท่ีใดที่หนึง่ ผูทีส่ นใจ
สามารถเรียนไดดวยตนเอง

10

รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน หมายถึง แนวคิดของกระบวนการหรือลําดับข้ันตอนที่ไดรับ

การศกึ ษา วิเคราะห ออกแบบ พัฒนา และประเมนิ ผลมาเปนอยางดีวาสามารถใชส ําหรับการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนได เพ่ือใหผูสอนหรือผูที่เกี่ยวของกับการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนออนไลนนําไปใชเปน
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลน เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนออนไลนที่มีคุณภาพและมี
ประสิทธิภาพผูสอนและผูท ่เี กีย่ วขอ งตอ งมีการเตรียมการ วางแผน ออกแบบ และพฒั นาเปนอยางดี ไมตางจากการ
จดั การเรยี นการสอนในช้ันเรยี นปกติ เพื่อใหผูเรียนมผี ลลพั ธท างการเรยี นท่ีดที ี่สดุ

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน Khan’s E-Learning P3 Model

ภาพที่ 2 รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลน Khan’s E-Learning P3 Model
ท่มี า : Khan (xxxx)

การจดั การเรียนการสอนออนไลนมีรูปแบบใหเลือกมากมายหลายแบบ อาทิ รปู แบบการจัดการเรียนการ
สอนออนไลนที่มีช่ือเสียงและไดรับความนิยมอยาง Khan’s E-Learning P3 Model ของ Khan (xxxx) ท่ี

11

ประกอบดวย People, Process และ Product เปนรูปแบบสาํ หรบั การวางแผน ออกแบบ และพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนออนไลนทั้งระบบและมีทรัพยากรเขามาเก่ียวของจํานวนมาก สามารถศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมได
จากหนังสือการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนน่ิง รายการตรวจสอบ ฉบับภาษาไทยแปลโดยสถานวิจัย
นวัตกรรมทางการศึกษาและการเรียนการสอนท่ีเปนเลิศ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ณ
www.badrulkhan.com

รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลนอาชีวศึกษายคุ วิกฤติโควิด 19
เอกสารประกอบการอบรมชุดนี้เลือกใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนอาชีวศึกษายุควิกฤติ
โควิด 19 ของ ดร.อภชิ าติ อนกุ ูลเวช ครูชาํ นาญการพิเศษ แผนกวชิ าอิเล็กทรอนิกส วทิ ยาลัยเทคนิคชลบรุ ี จังหวัด
ชลบุรี เนื่องจากเปน รูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลนที่ไมซับซอน ผูสอนสามารถนําไปเปน แนวทางในการ
จดั การเรยี นการสอนออนไลนสําหรบั ผูเรยี นอาชีวศกึ ษาได และเขา กบั สถานการณบานเมอื งในชว งนี้

ภาพที่ 3 รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลนอ าชวี ศึกษายคุ วิกฤตโิ ควิด 19
ท่มี า : อภชิ าติ อนุกลู เวช (2563)

รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนอาชีวศึกษายุควิกฤติโควิด 19 (อภิชาติ อนุกูลเวช, 2563) มี
ข้ันตอนในการดําเนินการที่เก่ียวของกับผูเรียน และผูสอน จํานวน 3 ขั้นตอน ประกอบดวย ขั้นการเตรียมความ
พรอ ม ขน้ั การจดั การเรียนการสอน และขัน้ ประเมินผล มรี ายละเอียดแตละขน้ั ดงั นี้

12

1. ขนั้ การเตรยี มความพรอม
1.1 ผเู รยี น มีหนา ทตี่ องเตรยี มความพรอมดงั ตอ ไปน้ี
- เตรียมความพรอมอปุ กรณทีใ่ ชใ นการเรียน เชน มือถอื แทบ็ เลต็ โนตบุคหรอื คอมพวิ เตอร ฯลฯ
- เตรียมติดต้ังโปรแกรมที่ใชในการสนทนา เชน Zoom Cloud Meeting, Google Meet หรือ

Microsoft Teams
- ตรวจสอบตารางเรียนออนไลน รหสั ผูใชงานเครือขายและรหัสผาน
- ตรวจสอบความเร็วของอินเทอรเ นต็

1.2 ผูสอน มหี นา ท่ีตอ งเตรยี มความพรอ มดงั ตอ ไปน้ี
- เตรียมความพรอมอุปกรณท่ีใชในการสอน เชน มือถือ แท็บเล็ต โนตบุคหรือคอมพิวเตอร

ไมโครโฟน และกลองเว็บแคม เปนตน
- สาํ รวจความพรอมของผเู รยี นเปน รายบุคคล
- ศึกษาการใชโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน เชน Zoom Cloud Meeting,

Google Meet หรือ Microsoft Teams
- เตรยี มบทเรยี นออนไลนต ามตารางสอน เตรยี มรหัสผูใชงานเครือขายและรหสั ผาน
- ตรวจสอบความพรอมของอนิ เทอรเนต็ ความเร็วสูง

2. ขนั้ การจดั การเรียนการสอน
2.1 ผูเ รยี น มีหนา ท่ที ีต่ อ งทาํ ดังตอ ไปนี้
- ศึกษาตารางเรียน อา นประกาศและขอกาํ หนดตา งๆ ในการเรยี น
- เขากลุม Line, Facebook หรือชอ งทางอ่นื ๆ ตามที่ผูสอนกําหนด
- เขาเรียนผานระบบออนไลน เชน Google Classroom หรือ Moodle LMS และรวม

แลกเปลย่ี นกบั ผสู อนประจาํ วชิ า
- สรุปองคค วามรจู ากบทเรยี นออนไลน สงผลงานในรปู แบบตา งๆ ผานระบบออนไลน

2.2 ผูส อน มหี นา ทีท่ ต่ี องทาํ ดังตอ ไปนี้
- ตดิ ตอกับผูเ รียนทางกลมุ Line, Facebook หรือชอ งทางอ่ืนๆ
- นําเขาสูบทเรียนและใหคําแนะนําวิธีการเรียนกับบทเรียนออนไลนผานโปรแกรม Zoom

Cloud Meeting, Google Meet หรือ Microsoft Teams
- จัดกิจกรรมการเรยี นรผู า นบทเรียนออนไลนด ว ย Google Classroom หรอื Moodle LMS
- ใหคําปรึกษากับผูเรียนตลอดการเรียนการสอนออนไลนผานกลุม Line, Facebook หรือ

ชองทางอน่ื ๆ
3. ขนั้ ประเมนิ ผล
3.1 ผเู รยี น มีหนาที่ทต่ี อ งทาํ ดังตอไปน้ี
- สง การบาน และแบบฝก หดั ผานระบบออนไลน
- สง ชิน้ งานและผลงาน ผานระบบออนไลน

13

- ทําการสอบในบทเรยี นออนไลน
3.2 ผสู อน มีหนา ทท่ี ีต่ องทาํ ดังตอ ไปน้ี

- ประเมนิ ผลงานของผเู รียนท่ีสง ในบทเรยี นออนไลน เชน การบา น แบบฝก หดั ชิ้นงานและไฟล
ผลงานตาง ๆ

- ประเมนิ ผลระหวา งเรยี นของผเู รยี นผา นระบบออนไลนทุกสัปดาห เชน การสอบหลงั เรียนในแต
ละหนวย การประเมินตามสภาพจรงิ ของผูเรยี น ฯลฯ

- ประเมนิ ผลหลงั เรียนจบทั้งวชิ าของผูเ รียนผา นระบบออนไลน
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลนอาชวี ศึกษายุควิกฤตโิ ควิด 19 มีขน้ั ตอนในการดาํ เนินการจํานวน
3 ขั้นตอน ประกอบดวย ข้ันการเตรียมความพรอม ขั้นการจัดการเรียนการสอน และขั้นประเมินผล ดังกลาวถึง
รายละเอียดแตละข้ันแลว แตละข้ันตอนลวนมีความสําคัญ โดยเฉพาะข้ันการจัดการเรียนการสอนที่ผูสอนจะตอง
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน อาทิ การบรรยาย-ถามตอบ การสาธิต การทดลอง เปนตน เพ่ือใหผูเรียนไดมีสวน
รวมในการลงมือกระทําและไดใชกระบวนการคิดเก่ียวกับส่ิงท่ีผูเรียนไดกระทําลงไป (Active Learning) ผูสอน
สามารถใชแ บบจาํ ลองการเรียนการสอน AL MIAP เปนกลยทุ ธในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได
รปู แบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน AL MIAP

ภาพที่ 4 รปู แบบแบบจําลองการเรียนการสอน AL MIAP
ท่ีมา : สาธยิ า ภูนาพลอย ปรัชญนันท นลิ สุข และจารมุ น หนูคง (2563)

14

แบบจําลองการเรียนการสอน AL MIAP พัฒนาข้ึนมาเพ่ือเปนกลยุทธที่ผูสอนสามารถนําไปใชในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน ผูเรียนจะไดมีสว นรวมในการลงมือกระทําและไดใชกระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่ง
ท่ีผูเรียนไดกระทําลงไป แบบจําลองการเรียนการสอน AL MIAP ประกอบดวยข้ันตอนการดําเนินกิจกรรมการ
จัดการเรียนการสอน 4 ขั้น ประกอบดวย ข้ันสนใจปญหา ขั้นสนใจขอมูล ขั้นลงมือปฏิบัติ และขั้นติดตาม
ความกา วหนา แตล ะขั้นมรี ายละเอียด ดังน้ี

ข้ันท่ี 1 Motivation ข้ันสนใจปญหา/การจูงใจผูเรียน คือ การนําสูหัวขอเรื่องและวัตถุประสงคได
ชัดเจน ใชการรวมส่ือประกอบกับเทคนิคการถามเพื่อชวยดึงความสนใจใหมากท่ีสุด ใชเวลาใหกะทัดรัด พยายาม
ใหผูเรียนท้ังช้ันไดมีสวนรวม และการสรุปเพื่อจูงใจตองใหทําอยางเหมาะสมตรงประเด็นที่จะนําผูเรียนศึกษาใน
เน้อื หาสาระตอไป

ข้ันท่ี 2 Information ขั้นสนใจขอมูล คือ ขัน้ ที่ใหผเู รยี นอา นจากตํารา เรียนรูด วยตนเอง เรียนรสู งิ่ ใหม
ๆ ที่ควรจะไดจากแหลงขอมูลตาง ๆ ใชอุปกรณชวยสอนและวางขั้นตอนในการใหเนื้อหาจากนอยไปมาก จากงาย
ไปยาก และตรงตามวัตถุประสงคตามหลักสูตร

ขั้นที่ 3 Application ขั้นลงมือปฏิบัติ คือ การใหผูเรียนไดมีโอกาสทดสอบความสามารถภายหลังจาก
ผานการรับเน้ือหาสาระวา ผูเรียนมีการรับและเขาใจเน้ือหาไดมากนอยเพียงใด ใชเปนการทบทวนความจําเพื่อ
ปองกันการเลือนหาย ชวยพัฒนาการเรียนรูใหผูเรยี นฝกการใชส ตปิ ญญาและการแกปญหา เสริมสรางการสงถาย
การเรียนรู

ข้ันที่ 4 Progress ข้ันติดตามความกาวหนา คือ ข้ันตอนในการตรวจผลสําเรจ็ หรือข้ันในการตรวจสอบ
ความกาวหนา ในการเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผลถงึ ทักษะ พฤตกิ รรม ความรู และเจตคติ

ในการนําแบบจําลองการเรียนการสอน AL MIAP มาใชเปนกลยุทธในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ออนไลน นอกจากจะทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรนและสวนรวมในการเรียนแลว ยังสงเสริมทักษะความฉลาด
ทางดจิ ิทัลของผเู รยี นในประเด็น ดังตอ ไปน้ี

1. การไมละเมิดลิขสิทธิ์ (Digital Low) อัตลักษณหรือทรัพยสินหรืองานของผูอื่นท่ีเผยแพรในรูปแบบ
ดจิ ทิ ัล

2. รจู กั ปอ งกันขอ มลู สว นตวั (Digital Protect) จากผไู มห วังดีในโลกไซเบอร
3. เช็คกอ นแชร (Digital Check) แชรข อ มูลสว นตวั ในส่อื โซเชยี ลมีเดียอยา งระมัดระวงั
4. รทู ันภยั คกุ คาม (Digital Threat) ทเ่ี กดิ ข้นึ บนอนิ เทอรเน็ต
5. ใชอ ยา งปลอดภยั (Digital Security) รูจกั รกั ษาความปลอดภยั ของขอ มลู และอุปกรณดจิ ิทัล
สรุป
แนวคิดและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน เปนแนวคิดเพ่ือใหเขาใจการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนด วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร โดยประยุกตการจัดการเรียนการสอนตามข้นั ตอนของรปู แบบการจัดการเรียน
การสอนออนไลนตามรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนอาชีวศึกษายุควิกฤติโควิด 19 ซึ่งมี 3 ข้ันตอน
ประกอบดวย ข้ันการเตรียมความพรอม ข้ันการจัดการเรียนการสอน และขั้นประเมินผล ในสวนที่เก่ียวของกับ

15

บทบาทและหนาที่ของผูสอนและผูเรียน และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน AL MIAP ที่สามารถ
นาํ มาใชเปน กลยทุ ธในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนควบคูไปกับรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนอน่ื ๆ ได
เอกสารอา งองิ
กฤษณพงศ เลิศบํารุงชัย. (2563). การทํางานรวมกันและการจัดการเรียนการสอนออนไลนดวย Microsoft

Teams. โครงการอบรมพัฒนาทักษะครูอาชีวศึกษาดานการจัดการเรียนการสอนอนไลน. สํานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษารว มกับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนือ.
จินตวีร คลายสังข. (2555). อีเลิรนนิงคอรสแวร : แนวคิดสูการปฏิบัติสําหรับการเรียนการสอนอีเลิรนนิงในทุก
ระดับ. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พแหงจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, 2555.
จิราภรณ สรรพวีรวงศ ภัทรกันย ติเอียดยอ จันทนี ปลูกไมดี ศรัญญา ท้ิงสุข สุพรรษา สุดสวาท และ กนกพร สง
ปราบ. (2559). ความสขุ ของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ. สงขลานครินทรเวชสาร. ปท ี่ 34 ฉบับท่ี
5 ก.ย.- ต.ค. 2559.
ใจทิพย ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design: วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส.
กรงุ เทพฯ : ศูนยต าํ ราและเอกสารทางวิชาการ คณะครศุ าสตร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .
ถนอมพร เลาหจรสั แสง. (2545). Designing e-Learning หลักการออกแบบและการสรางเว็บเพ่อื การเรียนการ
สอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ.
ปรัชญนันท นิลสุข. (2542). WBT : Web-Based Training เทคโนโลยีการฝกอบรมครูในอนาคต. วารสาร
ศกึ ษาศาสตรปรทิ ัศน. 14 (2) (พฤษภาคม - สงิ หาคม 2542) : 79-88.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2550). การผลิตและพัฒนา e-Learning โครงการการศึกษาไรพรมแดน.
โครงการ SUT e-Training มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี. นครราชสมี า : โจเซฟ.
วิชดุ า รตั นเพียร.(2548). การเรยี นการสอนบนเวบ็ ขั้นนํา. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พแ หง จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั .
สาธิยา ภูนาพลอย ปรัชญนันท นิลสุข และจารุมน หนูคง. (2563). ผลการจัดการเรียนรูดวย AL MIAP เพื่อ
สงเสริมความฉลาดทางดิจทิ ัลของนักศกึ ษาระดับปริญญาตร.ี คณะครศุ าสตรอ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยพี ระจอมเกลาพระนครเหนอื .
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2561). รายงานประจําป 2561 สํานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา. สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร.
อภชิ าติ อนุกูลเวช. (2563). รปู แบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนอาชีวศึกษายุควิกฤตโิ ควิด 19. แผนกวิชา
อิเล็กทรอนิกส วทิ ยาลัยเทคนิคชลบรุ .ี
อนิรุทธ สตมิ นั่ .(2550) ผลการใชรูปแบบการจดั การเรียนรโู ดยใชก ิจกรรมการเรยี นรแู บบโครงงานบนเครือขา ย
อนิ เทอรเ นต็ ท่ีมีตอการเรยี นรแู บบนาํ ตนเองและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั ศกึ ษาระดับอุดมศึกษา.
วทิ ยานพิ นธก ารศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑติ . บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Anderson, T. ( 2 0 0 8 . The Theory and Practice of Online Learning. Canada: AU Press,
Athabasca University.

16

การจดั การชั้นเรียน กฎระเบียบและกตกิ า และจิตวทิ ยาการสอนออนไลน

บทนาํ
หากลองยอนความทรงจํากลับไปสมัยเปนผูสอนและสอนหนังสือในวันแรกหรือชวงปแรก ผูสอนนาจะมี

ความรูสึกและความทรงจําตอเหตุการณท่ีเกิดขึ้นในช้ันเรียนเสมอๆ อาทิ จะแตงตัวอยางไร จะวางตัวอยางไร
เตรียมการสอนพอหรือยัง สื่อการสอนจะหมดกอนเวลาไหม จะสอนไดดีไหม ผูเรียนจะมีระเบียบวินัยและต้ังใจ
เรียนไหม บรรยากาศของหองเรียนจะเปนอยางไร ทําอยางไรจะสามารถจัดการช้ันเรียนของตนเองได ทําอยางไร
จะทําใหผูเรียนรูจักควบคุมตนเอง รูวาเมื่อไรจะตองทําอะไร รูจักกาลเทศะ เคารพกติกาขอตกลง รวมมือใน
กิจกรรมตางๆ ที่เกิดข้ึน นั่นคือทําอยางไรผูเรียนจึงจะมีวินัย โดยเฉพาะวินัยในตนเอง ควบคุมตนเองได ถาผูเรียน
สวนใหญมีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีวินัย ผูสอนทุกคนก็คงจะมีความสุข การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนก็จะ
ดําเนินไปไดอยางเต็มที่โดยไมตองพะวงกับการตองคอยตักเตือนสลับกับกิจกรรมตลอดเวลา ซ่ึงจะเปนการ
ขัดจังหวะการทํากิจกรรม ขาดความตอเน่ืองในกิจกรรมที่ดําเนินการอยูและดูจะสรางความรําคาญใหผูเรียนและ
ผสู อนดวย ผูสอนแตล ะคนก็จะมีความทรงจําในเหตุการณที่อาจจะแตกตา งกนั ในรายละเอยี ด แตโดยภาพรวมแลว
ก็จะใกลเคียงกันคือผูสอนมีความวิตกกังวล ซ่ึงเปนเร่ืองปกติเม่ือพบเจอในสิ่งใหม ส่ิงที่ยังไมสามารถควบคุมไดกจ็ ะ
ทําใหเกิดความวิตกกังวล แตเมื่อเวลาผานไปความคุนเคย ความเคยชิน ความสามารถในการควบคุมชั้นเรียนก็จะ
ทําใหผูสอนคลายความกังวลและมีความสุขกับการจัดการชั้นเรียนในที่สุด และแนนอนเม่ือมีสิ่งใหมเขามาในชั้น
เรียน อาทิ นวัตกรรมทางการเรียนการสอนใหม ผูสอนก็จะเกิดความวิตกกังวลวาจะทําไดไหม จะใชงานไดหรือไม
จะสอนอยางไร ผูเรียนจะเรียนรูเรื่องไหม และเม่ือเวลาผานไปความคุนเคย ความเคยชิน ความสามารถในการ
ควบคมุ ชน้ั เรียนก็จะทาํ ใหผูส อนคลายความกังวลและมีความสุขกับการจดั การชั้นเรียนในทส่ี ุดเชนเคย

แตทั้งนี้ไมไดหมายความวาปลอยเวลาใหผานไปเดี๋ยวหองเรียนก็จะเปนระเบียบเรียบรอยและเขาสูความ
สงบเอง เน่ืองจากหองเรียนที่เปนระเบียบรอ ยรอ ยสวนหน่งึ เปนหนาที่ของผูสอนทจ่ี ะตองบริหารจัดการ แมอาจจะ
ยงั ไมพบวา มีเทคนคิ และวิธีการใดเพียงวธิ ีเดียวทีจ่ ะสามารถจดั การชั้นเรยี นไดดที ีส่ ดุ เน่ืองจากหอ งเรยี นแตล ะหองมี
ธรรมชาติของผสู อน ผูเรียน สภาพแวดลอ มของหองเรียน วัสดุอุปกรณประกอบการเรียนการสอน บรรยากาศการ
เรยี นการสอนที่แตกตา งกันทงั้ สน้ิ

ช้ันเรียนหรือหองเรียนออนไลนก็เชนเดียวกัน อาจจะเปนส่ิงใหมสําหรับผูสอนหลายๆ คน โดยเฉพาะ
ผสู อนท่ีไมใ ชส ายเทคโนโลยี อาจจะวติ กกงั วลไปกอนวา จะทําไดไหม กข็ อใหผ สู อนยอนกลับไปอานยอหนาแรกและ
จะพบวาการจัดการหองเรียนออนไลนก็เหมือนกับการจัดการหองเรียนปกติ แตกตางกันเพียงแตผูเรียนกับผูสอน
อยูในหองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) อยูค นละท่ลี ะทางกนั แตสามารถเขา มาเรียนรูรวมกันในเวลาเดียวกัน
หรือคนละเวลากันก็แลวแต แตหากผูสอนสามารถจัดการตัวผูสอน ผูเรียน โดยเฉพาะจัดการกับวัสดุ อุปกรณซึ่ง
อาจหมายถึงเครือขายอนิ เทอรเน็ต คอมพิวเตอร มอื ถือ อุปกรณประกอบ โปรแกรมคอมพิวเตอรและแอปพลิเคชัน
ในหองเรียนออนไลนได หองเรียนออนไลนก็จะสงบสุข และการจัดการเรียนการสอนออนไลนก็จะประสบ
ความสําเร็จ การจัดการหองเรียนออนไลนจึงจะกลาวถึง การจัดการช้ันเรียนออนไลน กฎระเบียบและกติกาใน
หอ งเรยี นออนไลน และจติ วทิ ยาการสอนออนไลน

17

การจดั การชน้ั เรยี นออนไลน
การจัดการช้ันเรียน สุรางค โควตระกูล (2556) ใหความหมายไววา การสรางและการรักษาสิ่งแวดลอม

ของหองเรียนเพื่อเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน หรือหมายถึงกิจกรรมทุกอยางท่ีผูสอนทําเพื่อจะชวยใหการสอนมี
ประสิทธิภาพและผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิในการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวสําหรับบทเรียนหนึ่งๆ นอกจากน้ีการ
จัดการหองเรียนยังรวมถึงการท่ผี สู อนสามารถที่จะใชเ วลาท่ีกําหนดไวในตารางสอนไดอ ยา งเต็มเม็ดเต็มหนวย และ
การจดั เตรยี มอุปกรณที่ผูสอนจะใชในการสอนใหอยูในสภาพทจี่ ะชวยผสู อนไดในเวลาสอน สอดคลองกบั ศศิธร ขนั
ติธวรางกูร (2551) ท่ีกลาววาการจัดการชั้นเรียน คือ การจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพในหองเรียน การจัดการ
กับพฤติกรรมท่ีเปนปญหาของผูเรียน การสรางวินัยในช้ันเรียน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
ผูสอน และพัฒนาทักษะการสอนของผูสอนใหสามารถกระตุนพรอมทั้งสรางแรงจูงใจในการเรียน เพ่ือใหผูเรียน
สามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธภิ าพ เน่ืองจากการจัดการช้ันเรียนที่ดีมีผลตอ ผูเรยี น อาทิ ผูเรียนเกิดความอบอนุ
ในขณะอยูในช้ันเรียน และมีความสุขในขณะที่มีการเรียนการสอน สงเสริมสนับสนุนบรรยากาศแหงการเรียนรูให
เกิดประโยชนสูงสุด ทั้งในเวลาเรียนปกติและนอกเวลาเรียน ผูเรียนและผูสอนไดมีปฏิสัมพันธระหวางกันตาม
ธรรมชาติของรายวิชานั้นๆ สงเสริมใหผูเรียนไดตระหนักในเร่ืองของวินัยในชั้นเรียน และชวยปองกันส่ิงรบกวนที่
เปน สภาพแวดลอมภายนอกท่มี ตี อการเรยี นการสอนและการทํากิจกรรมตางๆ ของผูเรยี น

ภาพที่ 2.1 การจดั การชนั้ เรียนออนไลน

18

การจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะการจัดการช้ันเรียนออนไลน จะทําใหผูสอนและผูเรียนมี
ความรูสกึ สบายกาย สบายใจ และจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ เน่อื งจากเปนการจดั การเรียน
การสอนรูปแบบใหมท่ผี ูสอนและผูเรียนยงั ไมคุนเคยกับการจดั การเรยี นการสอนรูปแบบน้ี ดงั น้ันจึงแบง การจัดการ
ชนั้ เรยี นออนไลนออกเปน 3 ดา น ประกอบดวย การจดั การช้ันเรยี นออนไลนดานกายภาพ และการจดั การชนั้ เรียน
ออนไลนดานจิตวิทยา (จิตใจ) และการจัดการช้ันเรียนออนไลนดานการศึกษา และเพื่อใหการจัดการช้ันเรียน
ออนไลนมปี ระสิทธิภาพควรประกอบดวยการจัดการชั้นเรียนออนไลนชวงกอนเริ่มเรียน ชวงระหวา งเรยี น และชว ง
หลังเรียน มรี ายละเอียดดงั นี้

การจัดการช้ันเรียนออนไลนดานกายภาพ หากเปนช้ันเรียนปกติการจัดการชั้นเรียนดานกายภาพ อาจ
เปนการจัดอาคารสถานท่ี โตะ เกาอี้ สื่อวัสดุอุปกรณ และแหลงความรูท่ีเก้ือกูลตอการเรียนรูและการปฏิบัติ
กิจกรรมของผูเรียน แตสําหรับการจัดการช้ันเรียนออนไลนเนื่องจากผูสอนและผูเรียนอยูคนละอาคาร คนละ
สถานทกี่ นั การจัดการชัน้ เรียนดานกายภาพอาจประกอบดวย

1. การจดั สถานทีส่ าํ หรบั การจดั การเรียนการสอนออนไลน เนอื่ งจากผูสอนและผูเรยี นอยูคนละสถานท่ีกัน
และไมไดใ ชพืน้ ท่ีของสถานศึกษาในการจดั การเรียนการสอน ดังน้ันสถานที่ทจ่ี ะใชในการเรียนออนไลนเปน สถานท่ี
ใดก็ได เชน หองน่ังเลน หองนอน สวนหยอมหนาบาน รานกาแฟ หรือสถานที่อื่นใดทั้งในบานและนอกบานท่ีสงบ
รมรื่น รมเย็น ไมมีส่ิงรบกวนทางเสียงและทางสายตา เนนสะดวกกายและสบายใจ ผูสอนและผูเรียนสามารถ
เคลื่อนไหวไดอยางอิสระ ไมรบกวนบุคคลอ่ืน และท่ีสําคัญตองไมหางจากสัญญาณอินเทอรเน็ต และทุกครั้งท่ี
จัดการชัน้ เรียนออนไลนท ้ังผสู อนและผเู รียนตองแจงแกบุคคลท่ีเกยี่ วของในบานใหร ับทราบวากําลังจัดกิจกรรมชั้น
เรียนออนไลน เพอื่ ไมใ หเกิดสิ่งท่ีไมเหมาะสมเนื่องจากการเรยี นออนไลนจําเปน ตองใชกลองวีดโิ อและไมโครโฟนใน
การนําเสนอภาพและเสียง

2. การจัดวัสดุและอุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน วัสดุและอุปกรณเปนสื่อที่ผสู อนและ
ผูเรียนใชเปนตัวกลางในการจัดการเรียนการสอนออนไลน วัสดุและอุปกรณในที่นี้ประกอบดวย คอมพิวเตอร มือ
ถือ แท็บเล็ต และอุปกรณเคล่ือนท่ีอื่นๆ ที่สามารถมองเห็นภาพและไดยินเสียง กลอง ลําโพงหรือหูฟง ไมโครโฟน
โดยปกติกลอง ลําโพงหรือหูฟง และไมโครโฟน ถูกติดต้ังมาพรอมแลวกับคอมพิวเตอร มือถือ แท็บเล็ต และ
อุปกรณเคลื่อนท่ีทผี่ ูส อนและผูเรยี นมี แหลง จา ยไฟ แหลง จัดเกบ็ ขอมูลออนไลน อาทิ Google Drive แหลงจดั เก็บ
ขอมูลออฟไลน อาทิ ฮารดดิสก และท่ีขาดไมไดโปรแกรมคอมพิวเตอรและแอปพลิเคชันที่ผูสอนและผูเรียนตกลง
รวมกันที่จะใชหรือสถานศึกษาเปนผูกําหนดมาใหใชในการจัดการเรียนการสอน เชน Google Meet และ
Microsoft Teams เปนตน รวมถงึ สมุด ปากกา ดินสอ ยางลบ ซึง่ อาจจะไมไดใชกไ็ ดเ น่ืองจากส่งิ เหลาน้สี ามารถใช
โปรแกรมคอมพวิ เตอรและแอปพลิเคชันทดแทนไดท้ังหมด สรปุ แลวแคผสู อนหรือผเู รียนมีคอมพิวเตอร มอื ถือและ
อปุ กรณเคลอ่ื นท่ที ต่ี ิดตัง้ โปรแกรมตามทตี่ กลงกันไวก ส็ ามารถจดั การเรียนการสอนออนไลนไ ดแลว

3. การจัดแหลงความรูท่ีสอดคลองกับกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน เปนหนาที่ของผูสอนที่
จะตองวางแผน ออกแบบและเตรียมแหลงความรูที่สอดคลองกับกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน แหลงความรูท่ี
สอดคลองกับกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลนผูสอนสามารถพฒนาข้ึนมาดวยตัวผูสอนเอง หรือผูสอน
สบื คนมาจากแหลงตา งๆ ทั้งแหลง ออนไลนและออฟไลน และสถานศกึ ษาจัดเตรยี มไวใ ห แหลง ความรทู เ่ี หมาะสมที่
จะใชสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลนก็ควรจะเปนแหลงความรูออนไลนเชนเดียวกัน เน่ืองจากใหความ

19

สะดวกแกผูสอนและผูเรียนในการเขาถึง ซึ่งผูสอนแตละสาขานาจะทราบอยูแลววาสามารถเขาถึงแหลงขอมูลใน
สาขาของตนเองไดจากแหลงใดบาง หากไมมีก็สามารถสืบคนไดจากอินเทอรเน็ตและสอบถามจากเพื่อนผูสอน
ดวยกันได เพอ่ื เปนการแลกเปลยี่ นเรยี นรกู ารจดั ชน้ั เรยี นออนไลนไปดว ยกัน

ภาพที่ 2.2 วัสดุและอปุ กรณสาํ หรับการจัดการเรยี นการสอนออนไลน

ไมโครโฟน

ลําโพง

ภาพท่ี 2.3 อปุ กรณสําหรับการจัดการเรยี นการสอนออนไลน

20

การจัดการชนั้ เรยี นออนไลนดานจิตวิทยา
การจัดการช้ันเรียนออนไลนเปนความทาทายใหมของผูสอนและผูเรียน ที่อาจจะสรางความกดดัน ความ
วิตกกังวลใหกับผูสอนและผูเรียนได อาทิ จะใชโปรแกรมสําหรับการสอนอยางไร เอกสารที่หนาจอคอมพิวเตอร
หายไปไหน จะแชรขอมูลใหผูเรียนเห็นพรอมๆ กันไดอยางไร ไมโครโฟนเสยี งไมดังจะทําอยา งไร ผูสอนจะมั่นใจได
อยางไรวาผูเรียนกําลังฟงการบรรยายและใหความรวมมือในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่กําลังดําเนินอยู
เปน ตน แตกไ็ มเ สมอไปการจดั การเรียนการสอนออนไลนอาจจะเปน ส่ิงเราใหมท ่ีชวยกระตนุ ใหท ้ังผสู อนและผูเรียน
ต่ืนตัวและเตรียมความพรอมในการจัดการเรียนการสอนเพิ่มข้ึน เชน ผูเรียนกลาถามคําถามกับผูสอนมากข้ึนกวา
การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติเนื่องจากไมตองอายเพื่อน เปนตน และจากประสบการณตรงของทีม
ผูเขียนเอกสารการฝกอบรมที่สอนผูเรียนสาขาคอมพิวเตอรและผูเรียนสาขาอื่นท่ีไมใชสาขาคอมพิวเตอร พบวา
ผูเรียนมีความพรอม มีความสุขดี มีอิสระในการเรียน และกลาถามผูสอนมากข้ึนผานทางไมโครโฟรและผานทาง
แชท ผลการเรียนก็ไมตางจากการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ เพียงแตผูสอนอาจตองเปลี่ยนการจัดการ
เรียนการสอนจากการบรรยายและถามตอบไปเปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญใหมากขึ้น นั่น
คือใหผูเ รยี นมโี อกาสและอสิ ระในการคดิ และลงมือปฏิบัติตามที่ผูสอนไดว างแผนและออกแบบการจัดการเรียนการ
สอนไว ผูสอนเองก็เปลี่ยนมาเปนพี่เลี้ยง (Coach) ท่ีทําหนาท่ีวางแผน ออกแบบ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
และกาํ กับดแู ลผูเรยี นใหไปในทิศทางท่ีผูสอนไดว างแผนไวใหมากทส่ี ุด เน่อื งจากอาจจะมีขอจํากดั บางประการ เชน
โปรแกรมคอมพวิ เตอรและแอปพลิเคชันบางตวั อาจจาํ กัดเวลาในการใชง าน เปน ตน ดังนัน้ การใหน ักศึกษาไดลงมือ
ปฏิบัติและเรียนรูดวยตนเอง แลวมาสรุปประเด็นปญหา แนวทางแกไข หรือนําเสนอผลงานผานชองทางออนไลน
ตางๆ ยอ มทําใหผเู รียนมีอสิ รภาพในการเรยี น โดยผูสอนทําหนาที่เหมือนพ่ีเล้ียงนักมวยถึงแมน ักมวยจะสําคัญที่สุด
บนเวทแี ตอ ยา งไรก็ตามนักมวยจะขาดพีเ่ ล้ยี งยอมเปน ไปไมได
อยางไรก็ตามการเตรียมความพรอมของผูสอนก็มีความสําคัญ เนื่องจากการจัดการช้ันเรียนออนไลนดาน
จิตใจหรือดานจิตวิทยา เปนการจัดการเกี่ยวกับความรูสึก เจตคติ และพฤติกรรมของผูเรียน เพ่ือใหเกิดความเปน
ระเบียบเรียบรอยในชั้นเรียน การมุงหวังใหเปนการเรียนรูออนไลนท่ีผูเรียนสําคัญท่ีสุด ควรเริ่มตนจากสิ่งใกลตัวผู
เรียนรูมากที่สุด คือความรูสึกภายใน ท้ังนี้จะตองไมมีบรรยากาศของความกลัว ความหวาดระแวง ความดูหม่ิน
เหยียดหยาม ติเตียน บรรยากาศของการเรียนรูท่ีเนนตัวผูเรียนเปนสําคัญจะตองใหอิสรภาพแกผูเรียนไดแสดง
อสิ รภาพทางความคิดและความรู บรรยากาศทางจิตวิทยาทช่ี ว ยสนับสนุนการเรียนรูของผูเรยี นสามารถดําเนินการ
ได ดังนี้
1. การสรางบรรยากาศที่ทาทายกระตุนและสนับสนุนใหผูเรียนมีความอยากรูอยากเห็น อยากแกปญหา
อยากแสวงหาคําตอบ ซ่ึงบรรยากาศดังกลาวเปนการกระตุนใหผูเรียนมีความรูสึกวาตนเองมีความสามารถที่จะ
แกปญหาหรือทํากิจกรรมน้ันๆ ได และใหกําลังใจเม่ือผูเรียนไดลงมือทําหรือตอบสนอง รวมทั้งการยกตัวอยาง
ความสําเรจ็ หรอื ส่ิงที่ผูเรียนเคยทํามากอนทาํ ใหผ ูเรียนเกดิ ความม่ันใจในความสามารถ และเกิดความภูมิใจทําใหไม
มีความกลัวทจ่ี ะทํากจิ กรรมอนื่ ๆ ตอไป
2. การสรางบรรยากาศท่ีอบอุน ปลอดภัย มีความเปนมิตร ปราศจากความหวาดกลัวท่ีจะแสดงออก ซึ่ง
บรรยากาศดังกลาวจะทําใหผูเรียนเปนคนกลาคิด กลาตัดสินใจ กลาที่จะคิดลองทําส่ิงตางๆ ไมวาผลที่ไดน้ันจะ
เปน ไปตามท่ีคิดหรือไมกต็ าม การสรา งบรรยากาศดังกลาวสามารถทาํ ไดโดยผูสอนทําหนาทีใ่ นการชว ยเหลือผูเรียน
ใหเกิดความราบรื่นในการทํากิจกรรมตางๆ โดยอาจเขาไปชวยเปนผูรวมคิดในการทําปญหาท่ียากใหงายหรือลด

21

ความซับซอนลง แตยังคงใหผูเรียนไดใชความสามารถของเขาในการเรียนรู โดยมีการสนับสนุนเสริมแรง และให
คําปรกึ ษาจากผูสอน

3. บรรยากาศท่ีเปน อสิ ระในการทําสิ่งตา งๆ ดว ยตนเอง บรรยากาศดงั กลาวน้จี ะทําใหเด็กพัฒนาความเปน
ตัวของตัวเอง ลดการพ่ึงพิงผูอ่ืน กลาคิด กลาแสดงออก มีความม่ันใจในตนเอง กลาริเร่ิม มีความคิดสรางสรรค มี
ภาวะผูนํา และกลาท่ีจะเรียนรูส่ิงใหมๆ บรรยากาศที่เปนอิสระนี้ทําไดโดยผูสอนใหโอกาส และสนับสนุนใหผูเรียน
ไดทําส่ิงตางๆ ดวยตัวเอง ผูสอนเปนเพียงผูใหคําปรึกษา ใหการชวยเหลือเม่ือผูเรียนตองการเทานั้น ขณะเดียวกัน
ตองใหโอกาสแกผูเรียนแตละคนในการที่จะเลือกวิธีการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับตน และใหเวลาอยางพอเพียงตาม
ความสนใจของผูเรียน เน่ืองจากผูเรียนแตละคนมีวิธีการเรียนรูและใชเวลาในการเรียนรูที่แตกตางกัน แตแมวา
ผูเรียนจะไดร ับอิสระดงั กลา ว ผูสอนกต็ อ งสอนใหผเู รียนคํานึงถึงการอยูรวมกนั ความเปน อสิ ระของแตละคนจะตอง
ไมร บกวนหรือทําใหผูอ ื่นมีความสะดวกนอยลง การจัดการเรียนการสอนออนไลนแ มผ เู รยี นจะอยูคนละทีล่ ะทางกัน
แตผ สู อนสามารถใหผ เู รียนศึกษาเรียนรูและทาํ งานกลุมได ไมจาํ เปนตองทาํ งานเดย่ี วเพยี งอยา งเดยี ว

4. บรรยากาศท่ีใหไดรับความสําเร็จและเรียนรูผลที่เกิดจากการทําสิ่งตางๆ บรรยากาศดังกลาวจะทําให
ผเู รยี นเปน ผูทม่ี ีกาํ ลงั ใจเขม แข็ง มคี วามมัน่ ใจในการทาํ สิ่งตางๆ อยา งมีเหตุผล มีการกําหนดจุดมุง หมายของการทํา
ส่ิงตางๆ และยอมรับผลจากการกระทําท้ังความสําเร็จและผลที่ไมเปนไปตามท่ีคาดหวังไว ผูสอนสามารถสราง
บรรยากาศดังกลาวไดโดยการใหผูเรียนกําหนดจุดมุงหมายและวางแผนท่ีจะทํากิจกรรมตางๆ และลงมือปฏิบัติ
ตามท่ีวางแผนไว ใหเวลาอยางเพียงพอที่จะทําตามแผนงาน ผูสอนคอยสนับสนุนใหกําลังใจ คอยแกปญหาเมื่อ
ผูเรียนตองการ ใหไดรับขอมูลยอนกลับหลังการปฏิบัติ ใหการเสริมแรงชื่นชมยินดีตอผลสําเร็จ แตถาหากผลไม
เปนไปตามที่คาดหวังไว ก็อธิบายใหผูเรียนเขาใจถึงการหาความรูจากความลมเหลว ใหกําลังใจและใหทดลอง
แกป ญ หาดวยวธิ ีท่ตี า งออกไป

5. บรรยากาศแหงการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน โดยการเร่ิมจากการที่ผูสอนยอมรับผูเรียน ให
ความสาํ คญั ตอ การคดิ และการกระทาํ ของผูเรยี น รับฟง และใหม สี ว นรว มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู จดั ใหผูเ รียน
ไดทํากิจกรรมรวมกันเปนกลุมยอย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในกลุมและระหวางกลุมใหไดรับความสําเร็จจาก
การทํากิจกรรมรวมกัน ทําใหเกิดการยอมรับระหวางผูเรียนกับเพ่ือน และเกิดความรูสึกวาไดรับการยอมรับจาก
ผูสอน เห็นความสําคัญของกลุม บรรยากาศดังกลาวทําใหเกิดการพัฒนาวุฒิภาวะ ไดรับประสบการณทางบวกใน
การพัฒนาตนเอง เกดิ การนับถอื ระหวางกนั ทาํ ใหเ กิดความเปน อิสระ ไมตองพึ่งพาผอู ืน่ สามารถทจี่ ะคดิ เลอื กและ
ตัดสินใจเขาใจถึงความสามารถของตนเอง ยอมรับผลการกระทําท้ังที่สําเร็จและทําความเขาใจไดเมื่อทําผิดหรือ
ลมเหลว รจู กั นาํ อุปสรรคหรือความลมเหลวมาเปนประสบการณการเรยี นรูและแนวทางแกปญหา เนอื่ งจากเชื่อวา
ตนมีความสามารถทจี่ ะทาํ สง่ิ ตางๆ ไดห ลากหลายวธิ ีเพือ่ ใหไ ดผลตามที่ตอ งการ

6. บรรยากาศแหงความใกลชิด สนิทสนมและมีความรักใครกลมเกลียวกันเนื่องจากผูเรียนทุกคนตองการ
ความรูสึกม่ันคง ปลอดภัยทางจิตใจ ตองการการเอาใจใส และความรักใคร การจัดใหผูเรียนไดทํากิจกรรมรวมกนั
โดยขจัดหรือลดความขัดแยงลงใหมากท่ีสุด หรือไมใหเกิดข้ึนเลย การสอนใหรูจักเอาใจเขามาใสใจเรา รูจักการให
อภยั และชวยเหลอื กนั ทําใหเกดิ ความรูส ึกรักใคร กลมเกลยี วกนั นอกจากน้ีผสู อนตองแสดงความรสู ึกที่ดีตอผูเรียน
แสดงใหผูเรียนรับรูวาตนเปนท่ียอมรับของผูสอน อาทิ การแสดงทาทีที่แสดงถึงการเอาใจใสทางบวกตอผูเรียน
อยางจริงใจท่ีสอดคลองกับการแสดงออกทางบวกของผูเรียน เชน การมอง การสบตา การใชคําพูด การแสดงสี
หนาทาทาง การไดรับการเอาใจใสดังกลาว ทําใหผูเรียนรูสึกมีความสําคัญ เปนคนหน่ึงท่ีมีความหมาย ทําใหเกิด

22

ความรูสึกที่ดีตอตนเอง และตอผูอ่ืน บรรยากาศการอยูรวมกันอยางรักใคร ทําใหเกิดความสุขในการทําสิ่งตางๆ
และเกดิ การเรียนรูโดยงาย

7. บรรยากาศแหงการควบคุม หมายถึงการฝกใหผูเรียนมีระเบียบวินัย แตมิใชการควบคุมหรือการไมให
อิสระ ผูสอนตองมีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียนออนไลน และฝกใหผูเรียนรูจักใชสิทธิหนาท่ีของตนเองอยางมี
ขอบเขต ไมเบียดบังสิทธิหนาที่ของผูอื่น และผูสอนควรใหความสําคัญกับผูเรียนอยางเทาเทียมกัน เชน การให
ผูเรียนถามตอบ แสดงความคิดเห็นในประเด็นตางๆ อยางทั่วถึง ไมเชนน้ันอาจทําใหผูเรียนบางคนปลีกตัวออกไป
จากหองเรียนออนไลน หรือไปสนใจอยางอ่ืนแทนไดโดยที่ผูสอนไมทันสังเกต ดังนั้นการใหผูเรียนมีสวนรวมในการ
เรียนโดยผูสอนทําหนาที่ควบคุมดูแลจึงจําเปนสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน ขอดีของการจัดการเรียน
การสอนออนไลนคอื มรี ะบบบริหารจดั การการเรยี นการสอนออนไลนชวยทาํ หนา ท่ีในการควบคุมดูแลผเู รียนอีกแรง
หนึ่ง เชน ควบคุมการสงงาน สง การบาน ทําขอสอบ ทาํ แบบฝกหัด หรอื ทาํ กจิ กรรมการเรียนการสอนตามที่ผูสอน
วางแผนและกําหนดไว โดยผูสอนไมตองคอยมาติดตามใหนักศึกษา เน่ืองจากระบบบริหารจัดการการเรียนการ
สอนออนไลนม รี อ งรอยของการเขามาทํากิจกรรมการเรียนการสอนของผูเรียน เปน การรฝกใหผ ูเรยี นมีระเบียบและ
วินัยในการเรียนไดอีกทางหน่ึง และท่ีสําคัญผูสอนตองควบคุมการใชเครื่องมือเพ่ือการบรรยาย-ถามตอบสดจาก
ผูเรียนใหเปนระเบียบเรียบรอย และใหมั่นใจวาผูเรียนอยูกับผูสอนตลอดเวลาที่ทํากิจกรรมการเรียนการสอน
เน่ืองจากผูเรียนบางคนอาจจะเปด-ปดกลองและไมโครโฟนไวแตอาจจะไมอยูในหองเรียนนะตอนนั้น หรือรบกวน
ผูเรียนคนอื่น ซ่ึงผูสอนตองใชประสบการณ และเทคนิคการสอนและการจัดการหองเรียนออนไลนเพ่ือควบคุมสิ่ง
เหลานใ้ี หเ ปน ระเบียบเรียบรอ ยพอสมควร

ภาพท่ี 2.4 บรรยากาศการจัดการเรียนการสอนออนไลนด วย Google Meet
ที่มา : ปรัชญนนั ท นลิ สขุ (2563)

การจดั การชนั้ เรียนออนไลนด านการศกึ ษา
เปนการจัดการชน้ั เรียนออนไลนในสวนที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการจดั การเรียนการสอนท้ังหมดต้ังแตกอน
สอน ระหวางสอน และหลังสอน เหมือนกับการจัดการเรียนการสอนในชนั้ เรียนปกติ เพียงแตตองปรับและเปลย่ี น

23

ใหเขากับบริบทของการจัดการเรียนการสอนออนไลน ซ่ึงทั้งหมดระบุอยูในแผนการสอนของแตละคร้ังอยูแลว
ประกอบดวย

1. การเตรียมการสอน อาจเปนการจัดลําดับเนื้อหาสาระความรูใหเหมาะสมกับผูเรียน การจัดเตรียม
กิจกรรมการเรียนการสอน การเตรียมความพรอมของวัสดุอุปกรณสําหรับการเรียนการสอนออนไลน หากเปนไป
ไดจะใหผูเรียนมีโอกาสรวมวางแผนการเรียนการสอนรวมกับผูสอนดวยก็ได เนื่องจากผูเรียนอาจชวยแนะนํา
โปรแกรมคอมพิวเตอรห รือแอปพลิเคชนั ที่สามารถใชในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได

2. การสอน เปนการจดั การเรยี นการสอนออนไลนต ามกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผูสอนไดเตรียมไว อาจ
ประกอบดวย การกําหนดกฎระเบยี บ และกติกาในการเรยี น เชน การเปด-ปด ไมโครโฟน ชองทางการตดิ ตอ ส่อื สาร
เนื้อหาที่สอน กิจกรรม แบบฝกหัด ใบงาน การบาน โครงงานงานเด่ียว งานกลุม การวัดและประเมินผลการเรียน
การสอน เปนตน เพ่ือใหผูเรียนท้ังหมดรับทราบรวมกัน การจัดการเรียนการสอนออนไลนจําเปนตองใชเครือขาย
อินเทอรเน็ต ดังน้ันผูสอนอาจไมจําเปนตองใหผูเรียนเปดกลองวีดิโอตลอดระยะเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน เพ่ือลดภาระคาใชจายของนักศึกษา แตทั้งนี้ผูสอนก็ตองมีเทคนิควิธีการท่ีทําใหทราบไดวาผูเรียนทุกคน
ยังคงอยูในหองเรียนออนไลน การจัดการเรียนการสอนออนไลนไมจําเปนตองสอนสดตลอดเวลาและทุกครั้งไป
ผูสอนสามารถบันทึกการสอนเน้ือหาวิชาและอัพโหลดไปเก็บไวในชองทางสําหรับเผยแพรตางๆ เชน Youtube
หรือระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน เชน Moodle แลวกําหนดใหผูเรียนเขาไปเรียนรูและทํากิจกรรมการ
เรียนไดในชว งท่ผี ูเรียนมีเวลาและสะดวก หากเปนการสอนสดและมีการบันทึกการสอนผูสอนตองแจงนักศึกษาทุก
คร้ังเพ่ือไมใหเกิดสิ่งที่ไมเหมาะสมระหวางการจัดการเรียนการสอน และไมลืมการบริหารจัดการเวลาในการสอน
เพราะบางครั้งกวานักศึกษาจะเขาหองเรียนไดครบทุกคนอาจจะมีปญหาที่ผูสอนและผูเรียนอาจตองรวมกันแกไข
เชน ผูเรียนเขาช้ันเรียนออนไลนไมได ผูเรียนไมเห็นหนาและไมไดยินเสียงผูสอน เปนตน เนื่องจากอาจทําใหตอง
เสยี เวลาในการจัดการปญหาทอ่ี าจจะไมเกี่ยวเนอื่ งกบั กิจกรมการเรยี นการสอน และ

3. หลังการสอน ผูสอนอาจเตรียมการสอนและกิจกรรมการสอนสําหรับเน้ือหาของคร้ังตอไป เรียนรู
เนอ้ื หาและเทคนิคการจัดการเรยี นการสอนออนไลนเ พิ่มเติม ตรวจงานนักศึกษา ตอบคาํ ถามนักศึกษาผานชอ งทาง
ตางๆ ตามเวลาที่กําหนดรวมกันไว รวมถึงบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณประกอบการเรียนการสอนใหสามารถใชงานได
อยางมีประสิทธิภาพ
จติ วิทยาการสอนออนไลน

จิตวิทยาการสอนออนไลนในที่นี้เปนการนําหลักการทางจิตวิทยาการศึกษามาใชในการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน เพื่อใหผูสอนและผูเรียนมีความเขาใจในทิศทางเดียวกันเก่ียวกับพฤติกรรมและกระบวนการทาง
จิตใจของผูเ รยี น และผสู อนสามารถวางแผนและบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นออนไลนไ ดอ ยางมีประสิทธิภาพ ในประเด็น
เกี่ยวกับความสําคัญของจิตวิทยาตอผูสอน พฤติกรรมของผูเรียนออนไลน และแรงจูงใจของผูเรียนท่ีมีผลตอการ
จดั การชัน้ เรียนออนไลน มรี ายละเอียด ดังนี้

ความสาํ คัญของจิตวทิ ยาตอ ผูส อน
การเปนผสู อนออนไลนท่ีประสบความสําเร็จนน้ั จะตองเปนดวยจิตวิญาณ เพยี งมคี วามเขาใจหลกั การสอน
กระบวนการสอนตามหลักวิชาการยังไมเพียงพอ ผูสอนจะตองมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับจิตวิทยา โดยเฉพาะ

24

ความเขา ใจในธรรมชาติของผูเรียน วาผเู รียนแตละคนมีความแตกตา งกนั แตละคนมคี วามตองการอะไร จะชวยให
ผสู อนสามารถจัดการชนั้ เรยี นออนไลนไดอยางเขาใจและมคี วามสุขมากยงิ่ ขึ้น

1. ชวยผูสอนใหรูจักลักษณะนิสัยของผูเรียนท่ีผูสอนตองสอนโดยทราบหลักพัฒนาการท้ังทางรางกาย
สตปิ ญญา อารมณ สงั คม และบุคลกิ ภาพเปนสวนรวม

2. ชวยใหผูสอนมีความเขาใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของผูเรียน เชน อัตมโนทัศน (Self-
Concept) วาเกิดข้ึนไดอยางไร และเรียนรูถึงบทบาทของผูสอนในการที่จะชวยผูเรียนใหมีอัตมโนทัศนที่ดีและ
ถูกตอ งไดอยา งไร

3. ชว ยผูสอนใหม คี วามเขา ใจในความแตกตางระหวางบุคคล เพื่อจะไดช ว ยผูเรียนเปนรายบุคคลใหพัฒนา
ตามศักยภาพของแตล ะบุคคล

4. ชวยใหผูสอนรูวิธีจัดสภาพแวดลอมของหองเรียนใหเหมาะสมแกวัย และขั้นพัฒนาการของผูเรียนเพื่อ
จงู ใจใหผ เู รียนมีความสนใจและอยากจะเรยี นรู

5. ชวยใหผสู อนทราบถึงตัวแปรตางๆ ทม่ี ีอิทธพิ ลตอ การเรยี นรูของผเู รยี น เชน แรงจูงใจ อัตมโนทัศน และ
การตงั้ ความคาดหวงั ของผูส อนทีม่ ตี อผูเรียน

6. ชวยผูสอนในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพ่ือทําใหการสอนมีประสิทธิภาพสามารถชวยให
ผูเ รยี นทกุ คนเรยี นรูตามศักยภาพของแตละบคุ คล โดยคาํ นึงหวั ขอตอ ไปน้ี

6.1 ชวยผูสอนเลือกวัตถุประสงคของบทเรียนโดยคํานึงถึงลักษณะนิสัยและความแตกตาง
ระหวางบุคคลของผูเรียนท่ีจะตองสอน และสามารถท่ีจะเขียนวัตถุประสงคใหผูเรียนเขาใจวาส่ิงท่ีผูสอนคาดหวัง
ใหผูเรียนรูมีอะไรบาง โดยถือวาวัตถุประสงคของบทเรียนคือส่ิงที่จะชวยใหผูเรียนทราบวา เม่ือจบบทเรียนแลว
ผเู รยี นจะสามารถทําอะไรไดบา ง

6.2 ชวยผูสอนในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงลักษณะนิสัยของ
ผเู รยี นและวชิ าท่ีสอน และกระบวนการเรียนรขู องผูเรียน

6.3 ชวยผูสอนในการประเมินไมเพียงแตเฉพาะเวลาผูสอนไดสอนจนจบบทเรียนเทา น้ันแตใช
ประเมินความพรอมของผูเรียนกอนสอน ในระหวางท่ีทําการสอน เพื่อจะทราบวาผูเรียนมีความกาวหนาหรือมี
ปญ หาในการเรียนรอู ะไรบา ง

7. ชวยผูสอนใหทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรูที่นักจิตวิทยาไดพิสูจนแลววาไดผลดี เชน การ
เรียนรูจากการสงั เกตหรือการเลยี นแบบ

8. ชวยผูสอนใหทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ังพฤติกรรมของผูสอนท่ีมีการ
สอนอยา งมปี ระสทิ ธิภาพวา มอี ะไรบา ง เชน การใชคาํ ถาม การใหแ รงเสรมิ และการทําตนเปน ตน แบบ

9. ชวยผูสอนใหทราบวาผูเรียนที่มีผลการเรยี นดีไมไดเปนเพราะระดับเชาวนปญญาเพียงอยางเดียว แตมี
องคประกอบอื่นๆ เชน แรงจูงใจ ทัศนคตหิ รอื อตั มโนทศั นของผเู รียน และความคาดหวังของผสู อนท่ีมีตอตัวผูเรียน

10. ชวยผูสอนในการปกครองชั้นและการสรางบรรยากาศของหองเรียนใหเอ้ือตอการเรียนรูและ
เสริมสรางบุคลิกภาพของผูเรียน ผูสอนและผูเรียนมีความรัก และไววางใจซ่ึงกันและกัน ผูเรียนตางก็ชวยเหลือซ่ึง
กันและกนั ทาํ ใหห อ งเรียนเปนสถานทีท่ ่ที ุกคนมคี วามสขุ และผเู รียนรักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน

25

พฤตกิ รรมของผเู รียนออนไลน
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (2563) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม นําเสนอผล
การสํารวจพฤติกรรมผูใชอินเทอรเน็ตในประเทศไทยป 2562 พบวา คนไทยใชอินเทอรเน็ตเพิ่มขึ้นอยางกาว
กระโดดกวา 150% สงผลใหปจจุบันไทยมีผูใชอินเทอรเน็ต 47.5 ลานคน หรือราว 70% ของจํานวนประชาชน
ท้ังหมด คนไทยใชอินเทอรเน็ตเฉล่ียวันละ 10 ชั่วโมง 22 นาที โดยผูท่ีมีอายุระหวาง 19-38 ป มีช่ัวโมงการใช
อินเทอรเน็ตสูงท่ีสุดอยูที่ 10 ช่ัวโมง 36 นาที รองลงมาเปนผูที่มีอายุตํ่ากวา 19 ป อยูที่ 10 ชั่วโมง 35 นาที ผูที่มี
อายุระหวาง 55-73 ป อยูท่ี 10 ช่ัวโมง และผูที่มีอายุระหวาง 39-54ป อยูท่ี 9 ช่ัวโมง 49 นาที ผูเรียน/นักศึกษา
เปนผูท่ีใชอินเทอรเน็ตสูงสุดอยูท่ี 10 ช่ัวโมง 50 นาที สวนใหญใชอินเทอรเน็ตหมดไปกับการติดตอส่ือสารผาน
เครือขายสังคมออนไลนอยาง Facebook, Line และ Instagram รองลงมาคือ ดูหนัง ฟงเพลง คนหาขอมูล
ออนไลน รบั -สง อีเมล
สะทอนใหเห็นวานักศึกษาไมมีปญหาในการเขาถึงและใชงานอินเทอรเน็ตและเครือขายสังคมออนไลน
และสามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดเปนอยางดี รวมถึงสามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรและแอปพลิเคชันทั้งหลาย
ผูสอนสามารถคลายความกังวลในการเขาถึงอินเทอรเน็ตและการใชงานของผูเรียนไปได การใชงานอินเทอรเน็ต
และเครือขา ยสงั คมออนไลน รวมการใชโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ ละแอปพลิเคชนั อาจจะเปนปญหาจากผูสอนแทน

ภาพท่ี 2.5 ปริมาณการใชอินเทอรเน็ตตอวนั ของคนไทย
ท่ีมา : สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (2563)

แรงจงู ใจของผเู รยี นที่มีผลตอการจัดการชั้นเรียนออนไลน
แรงจูงใจ เปนสิ่งสําคัญและจําเปนตอการจัดการเรียนการสอนและตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน
ทั้งในชั้นเรียนปกติและช้ันเรียนออนไลน โดยเฉพาะชั้นเรียนออนไลนท่ีผูสอนไมสามารถกระตุนใหผูเรียนเกิด

26

แรงจูงใจไดตลอดเวลา เน่ืองจากผูสอนกับผูเรียนอยูหางไกลและคนละพื้นที่กัน จะเจอหนากันเฉพาะในการเรียน
การสอนออนไลนเทาน้ัน หรืออาจจะเจอกันผานทางชองทางเครือขายสังคมออนไลนตางๆ บาง แตอยางไรก็ตาม
ผูสอนตองมีเทคนิคและวิธีการสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียน เพื่อใหสามารถจัดการเรียนการสอนออนไลนไดอยางมี
ประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ สถาบันการเรียนรูแหงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (2563)
อางอิงจาก Bligh (1971) และ Sass (1989) กลาววา จิตวิทยาการศึกษาจําแนกแรงจูงใจออกเปน 2 ประเภท คือ
แรงจูงใจภายใน ซึ่งเปนสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคล และมีอิทธิพลตอพฤติกรรมคอนขางถาวร ไดแก Interest :
ความสนใจ Perceptions : การรบั รูส ง่ิ เรา Desire : ความตอ งการ Self-confidence : ความมัน่ ใจในตวั เอง Self-
esteem : การเห็นคุณคาในตัวเองซึ่งสงผลตอความกระตือรือรนในการใชชีวิต Patience : ความอดทน และ
Persistence : ความพากเพียรและแรงจูงใจภายนอกซ่ึงเปนสิง่ ผลักดันจากสงิ่ เราภายนอกตัวบุคคลท่ีมากระตุนให
เกิดพฤติกรรมไมถาวร แตหากเกิดการกระตุนอยางตอเนื่องจะสามารถเปลี่ยนแรงจูงใจภายนอกเปนแรงจูงใจ
ภายในได ซง่ึ สงผลใหพฤติกรรมเปล่ียนคอนขา งถาวร

ภาพท่ี 2.6 แรงจูงใจทมี่ ผี ลตอการจัดการเรยี นการสอนออนไลน
ที่มา : สถาบนั การเรียนรูแหงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบรุ ี (2563)

สถาบันการเรียนรูแหงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (2563) อางอิงจาก Morgan (2016)
ยังไดกลาวถึงวิธีการกระตุนใหผูเรียนเกิดการสรางแรงจูงใจจากภายนอกเพื่อกระตุนการสรางแรงจูงใจภายในของ
ผเู รียนทีจ่ ะทําใหผเู รียนเกิดการมีสว นรว มในการทํางานและเรยี นรูออนไลน มดี ังนี้

1. ใหรางวลั แกผเู รยี นท่ที าํ สาํ เร็จ อาทิ การใหค ะแนนพิเศษหรือสทิ ธิพิเศษบางอยาง นอกเหนอื จากคะแนน
ปกติ เม่ือทํางานไดรับมอบหมายหรือโครงการอยางสม่ําเสมอตลอดการเรียน จะชวยกระตุนใหผูเรียนอยากมีสวน

27

รวมมากข้ึน เปนการเสริมแรงจูงใจภายในในประเด็น ความสนใจ การรับรูสิ่งเรา ความตองการ ความมั่นใจใน
ตัวเอง การเห็นคณุ คา ในตวั เอง ความอดทน และความพากเพยี ร ของผูเรียน

2. ใหผูเรียนสามารถติดตามความกาวหนาของตนเอง เคร่ืองมือประเมินผลที่ใชในการติดตามความ
คบื หนาของผูเรยี น และยงั สามารถชว ยในการกระตนุ ใหพ วกเคา เหลา นัน้ ไปถึงจุดมงุ หมายทีผ่ ูสอนกาํ หนดไวไ ด
การสรุปเน้ือหาหรือกิจกรรมแลว post ใน forum จะทําใหผูเรียนสามารถทบทวนบทเรียนได ซ่ึงอาจารยสามารถ
ตอบขอซักถามไดดวย เปนการเสริมแรงจูงใจภายในในประเด็น ความสนใจ การรับรูสิ่งเรา ความตองการ ความ
ม่นั ใจในตวั เอง และความพากเพยี ร ของผเู รยี น

3. สรา งสภาพแวดลอมท่ีเหมาะกบั การเขาถึงของผูเรียน อาทิ เปด โอกาสใหผ เู รยี นไดสื่อสารกับผสู อนผาน
ชองทางเครือขายสังคมออนไลนที่เปนท่ีนิยมปจจุบัน ซ่ึงชวยใหผูเรียนเขาถึงผูสอนไดงายข้ึน เราสามารถสราง
คําถามและการตอบกลับรายบุคคลหรือรายกลุมได เปนการเสริมแรงจูงใจภายในในประเด็น ความสนใจ การรับรู
สิง่ เรา

4. กําหนดเปาหมายท่ีผูเรียนทําได ผูเรียนควรไดรับการสนับสนุนใหเรียนรูดวยตนเอง ผูสอนมีหนาท่ีใน
การใหการสนับสนุน แนะนํา โดยการกําหนดเปาหมายยอยๆ และมอบหมายงานที่มุงไปสูเปาหมายนั้น ดวย
การบาน แบบฝกหัด หรือกิจกรรมการเรียนการสอนนอกและในเวลาเรียนท่ีไมงายหรือยากจนเกินไป มีการใหผล
สะทอนกลับระหวางการทํางานเพื่อสรา งความเชื่อมั่นใหแกผูเรยี น เปนการเสริมแรงจูงใจภายในในประเด็น ความ
สนใจ การรับรสู ง่ิ เรา ความมัน่ ใจในตวั เอง การเหน็ คณุ คาในตวั เอง และความพากเพียร ของผเู รยี น

5. ใหผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนการเรียนรวมกับผูสอน อาทิ สอบถามความเห็นของผูเรียน ที่ผาน
การเรยี นรายวิชาหรือหลักสูตรนี้มาแลว และผเู รยี นท่ีกําลังเรียนหลักสูตรน้ีอยู ถึงขอ ทีด่ ีและขอท่ีควรปรบั เพิ่ม เพ่ือ
ใชใ นการปรบั รายวชิ าหรือหลกั สตู รใหนา สนใจขน้ึ ซึง่ การปรับจะตองไมอ อกนอกวตั ถปุ ระสงคก ารเรยี นรทู ี่ตัง้ ไว

6. กิจกรรมการเรียนการสอน เทคนิคและวิธีการสอนที่ผูสอนวางแผนและเตรียมการไวเปนอยางดี
นอกเหนือจากการบรรยายประกอบการถามตอบ จะชวยสรางความสนุกสนาน และความรูสึกอยากมีสวนรวมใน
การเรยี นรู และชวยกระตนุ แรงจูงใจใหกับผูเรียนได อาทิ การใชแนวคิดของเกมมิฟเคชัน (Gamification) มาใชใน
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน เปน ตน
กฎระเบยี บ และกตกิ าในชัน้ เรียนออนไลน

กฎระเบียบ และกติกามีไวเพื่อใหการจัดการหองเรียนออนไลนเปนไปอยางเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ
รวมท้ังผูเรียนมีระเบียบวินัย และเขาใจในประเด็นตางๆ ตรงกัน กฎระเบียบ และกติกาในชั้นเรียนออนไลนอาจไม
แตกตา งจากการจัดกาเรยี นการสอนในชั้นเรียนปกติ เพียงแตบางอยางอาจจําเปน ตองปรับใหเขา กับบรบิ ทของการ
เรียนการสอน ซ่ึงกฎระเบียบ และกติกาเหลานี้ผูสอนตองช้ีแจงกับผูเรียนใหชัดเจนและเขาใจตรงกันท้ังหมด
อาจจะมเี ปนเอกสารใหนักศึกษาไดดาวนโหลดหรือสามารถเรียกดูไดทุกคร้ังทจี่ ําเปน ตองใช กฎระเบยี บ และกติกา
ในการจดั การเรยี นการสอนอาจประกอบดวย

1. กําหนดเวลาเขาออกช้ันเรียน และเวลาพักระหวางเรยี นใหช ัดเจน โดยเฉพาะเวลาเขาช้ันเรียนออนไลน
ควรใหน กั ศึกษาเขามารายงานตัวและเตรียมความพรอมในหองเรียนออนไลนกอนเรียน 10-20 นาที เนือ่ งจากบาง
คนอาจจะมีปญหาเรอื่ งการเขาช้นั เรยี นออนไลน จะไดช วยกนั แกไขกอนถงึ เวลาเรยี น

28

2. การแตงกายเขาชน้ั เรยี นออนไลน โดยปกตกิ ารจดั การเรยี นการสอนออนไลนผ เู รียนสามารถเขาชนั้ เรียน
ไดทุกที่ทุกเวลา ดังน้ันการแตงกายสามารถแตงไดตามความเหมาะสมของสถานท่ี แตไมถึงกับแตงชุดนอนเขาชั้น
เรยี นเม่อื เรียนอยูท ่ีบาน

3. เมือ่ เขา ชน้ั เรยี นแลว ขอใหผเู รียนทุกคนปด ไมโครโฟนไว ถงึ แมโปรแกรมท่ใี ชในการจดั การเรียนการสอน
ออนไลนผูสอนจะสามารถควบคุมไมโครโฟนของผูเรียนไดทั้งหมด แตควรจะใหนักศึกษาเปดไมโครโฟนเฉพาะท่ี
ตอบคําถามและถามคําถามผูสอนเทาน้ัน เน่ืองจากเสียงจากไมโครโฟนของนักศึกษาอาจรบกวนการจัดการเรียน
การสอน

4. สําหรับการเปดกลองวีดิโอ การเปดกลองใหผูสอนพิจารณาตามความเหมาะสม การเปดกลองและได
เห็นหนาผูเรียนตลอดเวลาเปนส่ิงที่ดี ผูสอนจะไดเห็นสีหนาแววตาของผูเรียนวาเขาใจเนื้อหาท่ีผูสอนสอนหรือไม
แตสามารถใหผ เู รียนเลอื กเปดเฉพาะตอนท่จี ําเปน เชน ตอนถามตอบกับผสู อน ตอนนาํ เสนองาน เปนตน เน่อื งจาก
ส้นิ เปลอื งทรัพยากรอนิ เทอรเ นต็ ของผูเรยี นพอสมควร อาจเปน ภาระคา ใชจ า ยแกผูเ รยี นได

5. หากมีความสงสัยหรือตองการถามคําถามผูสอนสามารถใหผูเรียนยกมือผานกลอง หรือใชเครื่องมือท่ี
เปนสัญลักษณยกมือที่มาพรอมกับโปรแกรมท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนเทาน้ัน หามถามแทรกเขามาในขณะ
สอน เครื่องมือเหลาน้ี เชน ยกมือ ปดเปดกลองและไมโครโฟน ชองทางพูดคุยออนไลน หรือเครื่องมืออื่นๆ ที่
จาํ เปนในโปรแกรมคอมพิวเตอร ผสู อนควรสาธติ ใหผเู รียนดูและเขาใจตรงกัน จะไดใชงานอยา งถูกตองเหมาะสม

6. การใชคําพดู และกรยิ าทาทางในช้นั เรียนออนไลนต องสุภาพ เนอื่ งจากอาจมกี ารบนั ทึกวดี โิ อการจัดการ
เรยี นการสอนไวด ยู อนหลงั

7. ผูเรียนตองแจงใหผูท่ีเกี่ยวของรอบขางทราบทุกครั้งท่ีเรียนออนไลน เพื่อไมใหรบกวนการเรียนของ
ผูเรียน และจะไดไมแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมตอหนากลองวีดิโอ และการเรียนของผูเรียนเองก็ตองไมรบกวน
กิจกรรมของผอู ื่นเชน กนั

8. การรักษาความม่ันคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร มือถือและอุปกรณเคล่ือนท่ี ในประเด็นที่เกี่ยวของ
เชน การระมัดระวังเร่ืองรหัสผานเขาช้ันเรียนไมควรเปดเผยผูอื่น เก็บรักษาวัสดุอุปกรณประกอบการเรียนให
เรยี บรอ ยและปลอดภยั

9. แจงหมายเลขโทรศัพทหรือชองทางในการติดตอกับบุคลากรทางการศึกษาท่ีเกี่ยวของกับระบบการ
เรยี นการสอนออนไลนแ กผ ูเรียน เพ่ือจะไดข อความชว ยเหลือกรณีเกิดปญหาการจดั การเรยี นการสอน

10. แจง นักศกึ ษาเกีย่ วกับหนังสือ ตํารา หรอื เอกสารประกอบการเรียนการสอน แหลงเรยี นรู กิจกรรมการ
จัดการเรียนการสอน งานเดี่ยว งานกลุม การเก็บคะแนน การสอบ รวมถึงการวัดและประเมินผลการเรียนแก
ผเู รยี นทราบ จะไดเ ตรยี มตวั และวางแผนการเรียน

11. แจงชองทางสําหรับการสงงานออนไลนใหชัดเจน เชน สงทางเมล ทางไลน ทางระบบบริหารจัดการ
การเรียนการสอน

12. นอกเหนือจากเวลาสอนออนไลนแลว ผูสอนควรกําหนดเวลาใหคําปรึกษาการเรียนแกผูเรียนอยาง
ชัดเจน เชน 14.00 – 17.00 น. ของวันอังคารกับวันพุธ ผูเรียนบางสวนมกั จะกังวลและเกรงใจผสู อนไมกลาติดตอ
มาเพ่ือปรึกษา เนื่องจากจะเปนการรบกวนเวลาของผูสอน การกําหนดเวลาอยาชัดเจนผูเรียนจะรูสึกอสระที่จะ
ตดิ ตอเขามา และไมร บกวนเวลาสว นตัวของผสู อนจนเกินไป

29

13. สดุ ทายการแจงกฎระเบยี บ และกติกาการจัดสอบปลายภาคเรียน อาจจะมคี วามซับซอ น ผสู อนไวแ จง
ผเู รียนอีกครงั้ หลงั จากระบบเร่ิมนง่ิ และใชง านไดด แี ลว หรือรอฟงวิธีการจัดสอบจากสถานศึกษาแลวคอยแจงผูเรียน
ตอไป อาจจะใหน้ําหนักกับสอบปลายภาคไมมากนักและไปเพิ่มคะแนนสวนของกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
แทน
สรุป

การจัดการชนั้ เรยี นออนไลนเ พ่ือทําใหผูสอนและผเู รียนมคี วามรสู ึกสบายทางกายและทางใจ ประกอบดว ย
การจัดการชั้นเรียนชวงกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียนใน 3 ดาน ไดแก การจัดการช้ันเรียนออนไลนดาน
กายภาพ การจัดการชั้นเรียนออนไลนดานจิตวิทยา และการจัดการช้ันเรียนออนไลนดานการศึกษา นอกจากน้ัน
การจัดการเรียนการสอนออนไลนยังประกอบดวย จิตวิทยาการสอนออนไลน และกฎระเบียบและกติกา เพื่อให
หอ งเรียนออนไลนมคี วามสงบ เรยี บรอย และสามารถจัดการเรยี นการสอนไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

เอกสารอางองิ
ปรัชญนันท นิลสุข. (2563). โครงการอบรมพัฒนาทักษะครูอาชีวศึกษาดานการจัดการเรียนการสอนออนไลน.

สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
กระทรวงศึกษาธกิ าร.
สถาบันการเรียนรูแหงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. (2563). 5 กลยุทธในการกระตุนผูเรียนทาง
ออนไลน. สถาบนั การเรียนรู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา ธนบุรี.
สรุ างค โควตระกลู . (2556). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพแ หงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส. (2563). ผลการสํารวจพฤติกรรมผูใชอนิ เทอรเ น็ตในประเทศไทย ป
2562. สํานกั งานพฒั นาธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส. กระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม.
ศศิธร ขันติธวรางกูร. (2551). การจัดการชั้นเรียนของผูสอนมืออาชีพ. วารสารครุศาสตร. ปท่ี 1 ฉบับที่ 2 เดือน
มีนาคม 2551.
Brian M. Morgan. (2016). Student Engagement: 5 Strategies to Motivate the Online Learner.
เขาถึงเมือ่ 30 เมษายน 2563. จาก
https://blog.blackboard.com/student-engagement-strategies-motivate-online-learner/

30

การใชเ ทคโนโลยีและการส่อื สารในการเรยี นการสอนออนไลน

บทนํา
เทคโนโลยี คือ การพัฒนาหรือสรางสรรคสิ่งใหมๆ ข้ึนมาตามหลักการทางวิทยาศาสตรเพ่ือตอบสนอง

ความตองการของผูใช เชน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีการศึกษา-เทคโนโลยีที่
ไดรับการพัฒนาหรือสรางสรรคข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความตองการทางดานการศึกษาในรูปแบบของอุปกรณ
(Hardware) วัสดุ (Software) และเทคนิควิธกี าร (Techniques)

การสื่อสาร คือ การแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน อาทิ การสื่อสารระหวางคนสองคนดวยรูปแบบการ
สื่อสารทไี่ มซ บั ซอน เชน การใชภาพ สัญลกั ษณ อกั ขระ รา งกาย และคาํ พดู ตามแตค วามพรอม ความสะดวก และ
วัตถุประสงคของการสื่อสาร หรือการสื่อสารที่ซับซอนข้ึน เชน การส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรกับคอมพิวเตอร
หรือการส่ือสารระหวางคนกับคอมพิวเตอร การส่ือสารมีองคประกอบหลัก 4 องคประกอบ ไดแก ผูสง (Sender)
ขอ มูล (Data) ชองทางในการสงขอ มลู (Transmission Medium) และผรู บั (Destination)

เทคโนโลยแี ละการส่ือสาร คือ การส่ือสารหรือแลกเปล่ียนขอมลู ระหวางกันโดยอาศัยเทคโนโลยี การเรียน
การสอนไมวา จะเปนการเรียนการสอนในช้นั เรียนปกตหิ รือเรียนออนไลนกย็ อมตองมีการสือ่ สารกันเพ่ือความเขาใจ
ในเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน ระหวางผูสอนกับผูเรียนและระหวางผูเรียนกับผูเรียนดวยกัน ในกรณีที่
เปนการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติมักจะใชเ ทคโนโลยีและการสือ่ สารท่ีไมซบั ซอนหรอื อาจจะไมไดใชเ ทคโนโลย
ใดๆ เลย เชน ทักทายและสวัสดียามเชากันระหวางผูสอนและผูเรียนหนาชั้นเรียน การบรรยายและถามตอบผาน
คําพูดกันและกัน แตกตางจากการเรียนการสอนออนไลนที่จําเปนตองใชเทคโนโลยีและการส่ือสารที่ซับซอนขึ้น
และมีเทคโนโลยีเขามาเกี่ยวของ เพ่ือใหการส่ือสาร การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธภิ าพ
และประสบความสําเร็จ ยกตัวอยางการสงขอความ “สวัสดียามเชา” จากไลนผานมือถือของผูสอนไปหากลุมไลน
ของผูเรียนเพ่ือบงบอกผูเรียนเปนนัยวาเชานี้มีเรียนนะ ผูสอนก็คือผูสงจัดแจงพิมพขอความลงไปในแอปพลิเค
ชันไลน มือถือของผูสอนจะทําหนาที่เปนผูสง (Sender) โดยจะแปลงขอความ “สวัสดียามเชา” ใหกลายเปนรหัส
เลขฐานสอง คือ 0 และ 1 สลับกันไปตามพยญั ชนะ เพอ่ื สงตอไปยังการด เครือขาย (Land Card) ท่ถี กู ตดิ ต้งั ไวแลว
ในมือถือจากโรงงาน การด เครอื ขา ย (Land Card) จะทําหนาทีแ่ ปลงรหสั เลฐานสองใหกลายเปน สัญญาณอนาลอก
(Analog) หรือดิจทิ ลั (Digital) ผานไปทางชอ งทางในการสงขอ มลู ไปยังการดเครือขาย (Land Card) ปลายทางซ่งึ
ก็คือกลุมไลนของผูเรียน การดเครือขาย (Land Card) ของผูเรียนทุกคนก็จะแปลงสัญญาณใหกลับไปเปน
เลขฐานสอง 0 และ 1 และแสดงเปนขอความผานแอปพลิเคชันไลนของผูเรียนวา “สวัสดียามเชา” ผานทาง
หนาจอมือถือ หากผูเรียนประสงคจะสงดอกไมยามเชากลับไปหาผูสอน กระบวนการส่ือสารก็จะเปนเหมือนที่
ผูสอนสงขอ ความใหผ ูเ รียน สลบั ไปมากันแบบนี้ ซึง่ พบวาซบั ซอนพอสมควร

ดังน้ันเพ่ือขจัดความซับซอนของการสื่อสารเพ่ือการเรียนการสอนระหวางผูสอนและผูเรียน เอกสาร
ประกอบการอบรมชดุ น้จี ึงจะไดนาํ เสนอความรู ความเขา ใจ และการใชเทคโนโลยแี ละการส่ือสารเพ่ือการเรยี นการ
สอนออนไลน ประกอบดวย เทคโนโลยีและการส่ือสารเพ่ือการเรียนการสอนออนไลน เทคโนโลยีและการสื่อสาร
เพือ่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน และเทคโนโลยแี ละการสอื่ สารเพอ่ื การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

31

เทคโนโลยีและการส่อื สารเพือ่ การเรยี นการสอนออนไลน
ดว ยความกา วหนาของเทคโนโลยีและการส่อื สาร ทําใหก ารจดั การเรยี นการสอนออนไลนเปลี่ยนแปลงตาม

ไปดวย มีเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ชวยใหผูสอนและผูเรียนมีชองทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลนมาก
ยิ่งขึ้น โดยไมจําเปนตองอยูในอาคารและสถานท่ีเดียวกัน แตสามารถเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพไมตางจากการ
จัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติ เทคโนโลยีและการส่ือสารสําหรับการสอนออนไลนที่จะเปนตัวกลางและ
สนับสนุนการเรียนการสอนแบบออนไลน ท้ังแบบสอนและบรรยายสดออนไลน และเปนบทเรียนออนไลนที่ผูสอน
สามารถวางแผนและกาํ หนดใหผ ูเรยี นเขาไปเรยี นรูไ ดต ามอธั ยาศยั มีดงั ตอ ไปนี้

1. MOODLE เปนเคร่ืองมือดิจิทัลลําดับตนๆ ท่ีเปนท่ีรูจักและนิยมนํามาใชสําหรับการบริหารจัดการ
ทรัพยากรการเรียนรูและการสรางบทเรียนออนไลน หรือ E-learning ใหผูเรียนเขาไปศึกษา เรียนรูดวยตนเอง
ตามที่ผูกําหนดและวางแผนเอาไว โดยผูสอนตอ งจัดเตรียมทรัพยากรเพ่ือการเรยี นรูและกิจกรรมการเรียนเอาไวให
พรอม อาทิ เอกสารประกอบการเรียน แบบฝกหัด การบาน แบบทดสอบ ขอมูลภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหวอยาง
Youtube เปน ตน MOODLE ถกู พัฒนาและตอ ยอดใหท ันสมัยอยเู สมอ ผูสอน องคการการศกึ ษา หรอื องคกรธุรกิจ
สามารถนําไปใชงาน และสามารถนําไปปรับปรุงเปล่ียนแปลงใหรองรับกับการใชงานของแตละองคกรได
สถาบนั การศึกษาทัว่ โลกยงั นยิ มนํา MOODLE ไปใชงานกนั อยางกวา งขวางเชนกนั

ภาพที่ 5.1 MOODLE เทคโนโลยีและการสื่อสารเพือ่ การสรา งบทเรยี นออนไลน
การนํา MOODLE ไปใชงานสําหรับอาจารยผูสอนที่ไมเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีอาจจะมีความซับซอนอยู

พอสมควร ดังน้ันจึงจําเปนตองมีทีมงานที่มีความรูความสามารถในการใหบริการชวยเหลือผูสอนในการสราง
หองเรียนออนไลนดวยระบบนี้ แตเม่ือใชงานไปสักระยะหนึ่งก็จะเกิดความคุนเคยและสามารถใชงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพตอไป ปจจุบันมี Moodlecloud ใหใชงานได โดยองคกรหรือหนวยงานไมจําเปนตองทําการติดตั้ง

32

และบริหารจัดการโดยองคกรเอง สามารถเขาถึงและใชงานไดจาก https://moodlecloud.com ผูสอนสามารถ
ลงทะเบียนและเขาไปสรางหองเรียนและบริหารจัดการการเรียนการสอนไดดวยตนเอง เหมาะกับองคกรหรือ
หนวยงานท่ีอาจจะไมมีหนวยชวยเหลือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะทุกอยางทํางานอยูบนระบบ Cloud ท่ีมี
ทีมของ Moodlecloud ทําหนาที่การบริหารจัดการระบบใหท้ังหมดท้ัง Hardware และ Software หนาที่ของ
ผูสอนเพียงลงทะเบียนและเปดหองเรียนและจัดการการเรยี นการสอนในหองเรียนของตนเองผาน Moodlecloud
ใหมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถปุ ระสงคของการเรียนรู

ภาพท่ี 5.2 Moodlecloud เทคโนโลยแี ละการส่ือสารเพ่ือการสรางบทเรยี นออนไลน
2. MOOCs หรอื Massive Open Online Courses ภาษาไทยเรียกวา ระบบเปด สําหรับมหาชน เปนการ

บริหารจดั การทรพั ยากรการเรียนรแู ละการสรางบทเรยี นออนไลน หรอื E-learning เชน เดยี วกันกบั MOODLE แต
มีขนาดที่ใหญกวามาก รองรับการเรียนรูออนไลนในระดับมหาชน นั่นคือสามารถเขาเรียนรูพรอมๆ กันไดโดยไม
จํากัดจํานวนผูเรียน เปนระบบเปดท่ีทุกคนท่ีอยากเรียนจะตองไดเรียน โดยไมเสียคาใชจายในการเรียน และใช
เทคโนโลยีและการสื่อสารออนไลนเปนเครื่องมือ ยกเวนบางกรณีท่ีมีคาใชจายหากผูเรียนอยากไดใบประกาศหรือ
ปริญญาไปใชเพ่อื การทํางาน หากกลา วกันโดยทั่วไปแลว MOOCs กค็ อื E-learning รูปแบบหนง่ึ ทจ่ี ดั การเรียนการ
สอนขึ้นมาเพ่ือคนจํานวนมากท่ีสนใจจากท่ัวโลกใหสามารถเขาเรียนออนไลนในเน้ือหาหรือวิชาเดียวกันไดพรอมๆ
กัน หรือสามารถเรียนคนละเวลากันก็แลวแต แตสามารถเรียนรูไดตลอดเวลาตราบเทาท่ีผูเรียนมีความพรอม สวน
คําวา E-learning เปน คําทีเ่ กดิ ขึน้ มากอน MOOCs ซงึ่ หมายถึงบทเรียนออนไลน ซึ่งเดิมเกิดข้ึนมาเพ่ือจัดการเรียน
การสอนใหกับผูเรียนในชั้นเรียนของผูสอนเพียงไมก่ีคน เพื่อตอบสนองการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหมตาม
ความกา วหนา ของเทคโนโลยีและการสื่อสาร โดยผสู อนกบั ผเู รยี นจะมาพบหนา กนั บางบางคร้ังในช้ันเรียนปกติหรือ
อาจจะไมพบหนากันเลยในชนั้ เรียนปกติก็ได แตใชความสามารถของเทคโนโลยีและการสอ่ื สารชวยในการพบหนา
กนั แทน เชน ใช Google Meet, Microsoft Teams ซง่ึ จะไดก ลา วถงึ ตอ ไป แตอ ยางไรกต็ ามทัง้ MOOCs และ E-
learning ก็มีความเหมือนกันในหลายๆ สวน มีระยะเวลาเปด-ปด เหมือนหองเรียนปกติ มีการกําหนดหัวขอยอย
ในรายวิชาไวแลว มีการวัดและประเมินผล มีการบาน มีกิจกรรมใหผูเรียนไดทํางานเด่ียวและงานกลุมกลุม ขึ้นอยู
กบั การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ท้งั นี้เนื่องจาก MOOCs ถกู สรางขน้ึ มาเพ่ือคนจํานวนมากหากสามารถ

33

เขาใจภาษาของบทเรียนนั้นๆ บทเรียนออนไลนลักษณะน้ีผูรับผิดชอบดูแลและบํารุงรักษามักเปนองคกร สถาบัน
หรือสถานศึกษา จาํ เปนตองมีทรัพยากรตางๆ เชน Human, Hardware และ Software เขามารองรบั มากกวา E-
learning และ MOOCs ผูสอนเปนแคสวนหนึ่งของผูผลิตเน้ือหาของบทเรียนเทานั้น MOOCs ท่ีเปนที่รูจักและ
ไดรบั ความนิยม เชน edX, Coursera, Udacity และ Khan Academy

ภาพท่ี 5.3 edX เทคโนโลยแี ละการสื่อสารเพ่ือการสรางบทเรียนออนไลนระดับมหาชน

ภาพที่ 5.4 Thai MOOC เทคโนโลยแี ละการส่อื สารเพ่อื การสรางบทเรยี นออนไลนร ะดับมหาชนของไทย

34

3. Microsoft Teams เปน เทคโนโลยแี ละการสื่อสารสาํ หรับการจัดการเรียนการสอนแบบสดออนไลนที่
ผูสอนและผูเรียนสามารถเขามาบรรยาย ถามตอบ และจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดพรอมหนา กัน แมจ ะอยูคน
ละสถานที่กันก็ตาม Microsoft Teams เปนสวนหน่ึงของ Office 365 ของบริษัทไมโครซอฟท ยักษใหญดาน
ซอฟตแวรที่ไดรับความนิยมไปท่ัวโลก นั่นหมายความวา Microsoft Teams สามารถใชควบคูไปกับแอปพลิเคชัน
ใน Office 365 ทั้งหมด เชน Word, Excel, Powerpoint, OneNote, OneDrive และ Sharepoint เปนตน

ภาพที่ 5.5 : สว นหนึง่ ของแอปพลิเคชนั ใน Office 365
นับวาเปนขอดีอยางยิ่งเน่ืองจาก Microsoft Teams ไดรับการพัฒนาข้ึนมาเปนแอปพลิเคชันที่ใชในการ

ประชุมออนไลนแบบเห็นหนาท่ีไดรับการประยุกตนาํ มาใชในการสอนออนไลน เนื่องจากสามารถอัพโหลดเอกสาร
ประกอบการสอน แบบฝกหัด ใบงาน ไฟลตางๆ รวมถึงการเก็บคะแนนในระบบเสร็จสรรพ การใชงานก็ไมยุงยาก
หากผูสอนตองการใหผูเรียนเขารวมการเรียนในวิชาที่ผูสอนไดจัดเตรียมไวใน Microsoft Teams ก็สามารถเพิ่ม
ผูเรียนได 2 ทาง คอื ผสู อนเปน คนเพิม่ หรือผูเรยี นเขาสูบทเรยี นไดด ว ยตนเองดว ยรหสั ที่ถูกสรา งขึ้นจาก Microsoft
Teams โดยผสู อน นอกจากนขี้ อดีของ Microsoft Teams ยงั มีกระดานใหผูสอนไดขดี เขียนเหมือนกบั กระดานดํา
ในหองเรียนจริง ซ่ึงทุกอยางถูกถายทอดสดผานผูเรียนใหเห็นไดพรอมๆ กัน สามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู
ระหวางผูสอนกับผเู รียนไดต ลอดเวลาผา นกลอง ไมโครโฟน บอรดสนทนา ใหค วามรสู กึ เสมอื นอยูใ นหอ งเรยี นจริงๆ
เรียกการจัดการเรียนการสอนแบบนี้วาหองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) และที่สําคัญผูสอนสามารถบันทึก
การเรียนการสอนเกบ็ ไวใหผเู รยี นเขามาเรยี นรูซา้ํ ตลอดเวลาทีผ่ เู รยี นตองการไดอีกดว ย

ภาพที่ 5.6 : ลกั ษณะหองเรยี นแตละหอ งใน Microsoft Teams

35

4. Google Meet เปนเทคโนโลยีและการส่ือสารสําหรับการจัดการเรียนการสอนแบบสดออนไลนท่ี
ผูสอนและผูเรียนสามารถเขามาบรรยาย ถามตอบ และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดพรอมหนากัน มีลักษณะ
คลายกันกับ Microsoft Teams เพียงแตเจาของคือ Google ยักษใหญดานซอฟตแวรที่ไดรับความนิยมไปทั่วโลก
อีกเจานึง และน่ันทําให Google Meet สามารถใชควบคูไปกับแอปพลิเคชันใน Google ได เชน Google Doc,
Google Sheets, Google Slides และ Google Drive เปนตน

ภาพท่ี 5.7 : สว นหนึง่ ของแอปพลิเคชันใน Google Meet
Google Meet ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเปนแอปพลิเคชันที่ใชในการประชุมออนไลนแบบเห็นหนาท่ีไดรับ

การประยุกตนํามาใชในการสอนออนไลน และเม่ือใชงานคูกับ Google Classroom จะสามารถอัพโหลดเอกสาร
ประกอบการสอน แบบฝกหัด ใบงาน ไฟลตางๆ ไดเชนกัน ผูสอนสามารถใชในการสอนสดออนไลนผานไปยัง
ผูเรียนใหเห็นไดพรอมๆ กัน สามารถพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูสอนกับผูเรียนไดตลอดเวลาผานกลอง
ไมโครโฟน บอรดสนทนา และผูสอนสามารถบันทึกการเรียนการสอนเก็บไวใหผเู รียนเขามาเรียนรูซํ้าตลอดเวลาท่ี
ผูเรยี นตอ งการไดเชนเดยี วกนั

ภาพท่ี 5.8 : การจัดการเรียนการสอนออนไลนแบบสดผา น Google Meet
ทม่ี า : ปรชั ญนนั ท นิลสขุ . (2563).

36

5. Zoom เปนเทคโนโลยีและการสื่อสารสําหรับการจัดการเรียนการสอนแบบสดออนไลนท่ีผูสอนและ
ผูเรียนสามารถเขามาบรรยาย ถามตอบ และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนไดพรอมหนากัน มีลักษณะคลายกันกับ
Microsoft Teams และ Google Meet เพียงแต Zoom ไมร องรับการจดั การหองเรียออนไลนเหมือน Microsoft
Teams และ Google Classroom ในประเด็นเกี่ยวกับความสามารถในการอัพโหลดเอกสารประกอบการสอน
แบบฝก หัด ใบงาน ไฟลตา งๆ รวมถงึ การเกบ็ คะแนน เน่อื งจาก Zoom เปน เทคโนโลยแี ละการสอื่ สารทเ่ี นนสาํ หรับ
การประชุม สัมมนา และสําหรับจัดการเรียนการสอนออนไลนแบบสดที่ผูเขารวมสามารถเห็นหนา พูดคุย และ
แลกเปลย่ี นขอมลู กันผานทางกลอง ไมโครโฟน บอรด สนทนา บนคอมพิวเตอร มอื ถือและอุปกรณเคลอื่ นท่ี

ภาพที่ 5.9 : ZOOM เทคโนโลยแี ละการส่ือสารเพ่ือการสอนออนไลน

ภาพที่ 5.10 : การจดั การเรียนการสอนออนไลนแบบสดผา น ZOOM
ที่มา : คณิตพงศ เพ็งวัน (2563)

37

เพ่ือใหเ ขาใจเทคโนโลยีและการส่ือสารสําหรบั การเรยี นการสอนออนไลน ในทนี่ ้แี บงออกเปน 2 กลุม ดังน้ี
1. กลุม เพือ่ การสอนออนไลน (Online Learning) ไดแ ก Microsoft Teams, Google Meet และ Zoom
เทคโนโลยีและการส่ือสารกลุมน้ีผูสอนมักใชในการประชุมหรือบรรยายออนไลนระหวางผูสอนกับผูเรียนทุกคน
เพยี งแต Microsoft Teams มีความสามารถในการสรางบทเรียนออนไลน (E-Learning) ไดใ นตวั มนั เอง ในขณะที่
Google Meet ตองอาศัย Google Classroom มาเปนตัวชวยในการสรางบทเรียนออนไลน สวน Zoom ไมมี-
เนน การประชมุ หรอื บรรยายออนไลนมากกวา
2. กลุมเพื่อการสรางบทเรยี นออนไลน (E-Learning) กลุมน้ีเปนเทคโนโลยีและการส่ือสารท่ีเปนเคร่ืองมือ
ของผูสอนอีกรูปแบบหนึ่ง คือ ผูสอนสามารถใชสําหรับการสรางบทเรียนออนไลนท่ีผูสอนไดวางแผน ออกแบบ
และพัฒนาขึ้นมา โดยภายในบทเรียนออนไลนผูสอนจะตองจัดเตรียมทรัพยากรแสะส่ิงอํานวยความสะดวกเพ่ือให
ผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองตลอดเวลาที่ผูเรียนพรอมและมีเวลา โดยไมตองเขาชั้นเรียนออนไลน แบง
ออกเปน 2 กลุมยอย ประกอบดวย 1) บทเรียนออนไลนแบบจํากัดผูเรียน ไดแก Moodle, Google Classroom
และ EDMODO ความหมายของคําวาจํากดั ผูเรียนหมายถงึ บทเรียนนีผ้ ูสอนสรางข้นึ มาเพ่ือผเู รียนบางกลุมบางหอง
ที่ผูสอนเปนผูรับผิดชอบเทานั้น อาจจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับจํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาของผูสอน
น้ันๆ และ 2) บทเรยี นออนไลนแบบไมจํากดั ผูเรียน (มหาชน) หรอื เรยี กกันติดปากกวา MOOCs รองรับผเู รียนจาก
บทเรยี นออนไลนไดไ มจ าํ กดั จาํ นวนจากทวั่ ทุกมุมโลก เชน edX, Coursera, Udacity และ Khan Academy

ภาพท่ี 5.11 เทคโนโลยแี ละการส่อื สารเพ่ือการสอนออนไลน และเพื่อสรางบทเรยี นออนไลน
ที่มา : จริ ะ จิตสุภา (2562)

เทคโนโลยแี ละการสอื่ สารเพอื่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน
ดวยความกาวหนาของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ทําใหเกิดเคร่ืองมือด

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน และเพื่อการวัดและประเมินผลการ
ตามที่สถานศึกษาจัดหาให อาจจะไมจําเปนตองสรางและใชเครื่องมืออื่นใดท่ีไม
สามารถใชรวมกันเพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลนได แตในท่ีน้ีจะ
จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน ดังน้ี

1. แอปพลิเคชันตระกลู Google และ Microsoft

ตารางท่ี 5.1 เทคโนโลยแี ละการสื่อสารเพ่อื การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออ

แอปพลเิ คชนั

ลาํ ตระกลู ลกั ษณะการใชง าน
ดับ ตระกูล Microsoft และการประยกุ ตใชเ พื่อการศึกษา

Google

1 Calendar Calendar สรา งปฏิทินการสอน สรา งตารางนดั หมาย
2 Chrome Internet สืบคน ขอ มลู สอื่ การสอน แหลงทรพั ยากร
explorer การเรียนรู
3 Classroom สรางหองเรยี นออนไลน ตรวจสอบการเขาชั้น
Edmodo, เรยี น สง งานและตรวจสอบการสง งาน
4 Doc MS Teams เกบ็ คะแนน รวมทรัพยากรการเรยี นรู
5 Draw
Word ทาํ เอกสารการสอน สอ่ื การสอน ตรวจสอบ
การเขา ช้ันเรยี น การทาํ งานกลมุ
Whiteboard ส่อื การสอน วาดภาพ

38

ดิจิทัลหรือแอปพลิเคชันมากมายท่ีสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนออนไลน
รเรียนรูออนไลน โดยผูสอนสามารถเลือกใชไดตามความถนัด ความชอบ หรือ
มใชเคร่ืองมือดิจิทัลเลย อยางไรก็ตามเครื่องมืออ่ืนใดที่ไมใชเคร่ืองมือดิจิทัลก็ยัง
ะไดกลาวถึงการนําเครื่องมือดิจิทัลหรือเทคโนโลยีและการสื่อสารมาใชเพื่อการ

อนไลน กจิ กรรมการเรียนการสอน

ออกแบบและ ดาํ เนนิ กจิ กรรม เสรมิ สรา ง วัดและประเมนิ ผล
วางแผนการจดั การเรียนรู บรรยากาศ การเรียนรูของ
การเรียนรูและ ผเู รยี น พรอ มทง้ั
กจิ กรรม สนับสนุนการ สามารถใหขอ มูล
การเรียนรู เรยี นรขู องผเู รยี น ปอ นกลบั

 


 




แอปพลเิ คชัน

ลาํ ตระกูล ลกั ษณะการใชงาน
ดบั ตระกูล Microsoft และการประยุกตใ ชเ พ่อื การศกึ ษา

Google

6 Drive OneDrive จัดเก็บขอมลู แหลง รวบรวมทรัพยากรการ
เรียนรู
7 Forms Forms สื่อการสอน แบบฝก หัดขอสอบ
8 Gmail Outlook แบบสอบถาม
9 Maps Maps รบั สงจดหมาย นดั หมาย
แผนท่ี การเดินทาง สถานที่ ระยะทาง
10 Meet Teams สื่อการสอน
การบรรยายถามตอบแบบเหน็ หนา
11 Photo Photos นาํ เสนองาน บันทึกการสอน ตรวจสอบการ
12 Scholar Academic เขาชนั้ เรยี น การทํางานกลมุ
13 Sheet Excel จดั เก็บภาพ สื่อการสอน
14 Site Sway ขอ มูลการวจิ ัย สือ่ การสอน
15 Slide PowerPoint ตาราง ฐานขอ มูล สื่อการสอน ตรวจสอบการ
16 Translate Translator เขา ชนั้ เรียน การทาํ งานกลมุ
17 Youtube Stream ทําเวบ็ ไซต สอ่ื การสอน
การนําเสนอ สอื่ การสอน การทาํ งานกลมุ
แปลภาษา ส่อื การสอน
สื่อการสอนประเภท VDO แหลงทรัพยากร
การเรียนรู

ทม่ี า : วณี ัฐ สกุลหอม และคณะ (2563)

39

กิจกรรมการเรียนการสอน

ออกแบบและ ดําเนินกิจกรรม เสริมสราง วัดและประเมินผล
วางแผนการจดั การเรียนรู บรรยากาศ การเรียนรูของ
การเรียนรแู ละ ผเู รยี น พรอ มทง้ั
กจิ กรรม สนบั สนนุ การ สามารถใหข อ มูล
การเรียนรู เรยี นรขู องผเู รยี น ปอนกลับ

 

 



 












40

2. Classcraft เปนเครื่องมือหน่ึงท่ีจะชว ยใหผูสอนนําไปใชในการจัดการชนั้ เรียนดวยเกม ซ่ึง Classcraft
เครื่องมือท่ีออกแบบมาเพื่อใชในการเรียนการสอน ผเู รียนแตละคนจะมีพลังพเิ ศษแตกตางกนั ไปตามความสามารถ
ของตัวละคร จุดมุงหมายของเกมเพ่ือกระตุนใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและมีสวนรวมในชั้นเรียน โดยผาน
การเรียนรูท่ีสนุกสนาน ผูเลนจะตองวางแผนการในการเรียนรูของตัวเอง และเพ่ือนสมาชิกในทีม โดยคุณลักษณะ
ของตวั ละครในเกมจะแตกตางกนั ไป

ภาพท่ี 5.12 เครื่องมือดจิ ทิ ลั Classcraft
3. ClassDojo ชวยบริหารจัดการชั้นเรียนใหมีความสนุกสนาน ผูเรียนจะตื่นตัวและพรอมจะเรียนรูอยู

และชวยใหผูสอนควบคุมชั้นเรียนไดงายยิ่งข้ึน ชวยเสริมแรงดวยการใหคะแนนในกรณีตางๆ เชน ตอบคําถาม
ถกู ตอง มจี ติ อาสา และสามารถหักคะแนนตามท่ีไดตกลงกันไวกอนหนาแลว เชน ชวนเพอื่ นคยุ เปน ตน การเริ่มใช
งานและมกี ารเพ่ิมผูเรียนเขา มาในชนั้ เรยี น ทกุ คนจะไดร บั monster ประจําตัวของตนเอง โดย monster สามารถ
ปรบั แตงรปู แบบใหเ ปน ไปตามใจได มรี ะบบ Reward และแตมคะแนน ชว ยสรางความทาทายแกผ เู รยี น

ภาพท่ี 5.13 เครือ่ งมอื ดิจิทัล Classdojo

41

4. Wheelofnames ปกติเวลาทผี่ ูส อนตองการจะใหผ เู รยี นตอบคําถาม หรอื ทํากจิ กรรม ผสู อนมกั ใชการ
เรียกชื่อหรือใหผูเรียนยกมือเพื่อแสดงความประสงค แตมักพบวาดวยวิธีการดังกลาวผูเรยี นไมคอยใหค วามรวมมือ
และไมเต็มใจมากนักท่ีจะรวมกิจกรรมที่ผูสอนกําหนดไว การใช Wheelofnames หรือวงลอสุมรายช่ือชวยให
กิจกรรมที่ไมนาสนใจน้ีมีความสนุกสนานข้ึนมาได เพียงเขาเว็บ Wheelofnames.com ก็จะไดเครื่องมือดิจิทัลท่ี
ชวยในการสุมรายชื่อผูเรียนท่ีผูสอนไมตองสรางดวยตนเอง และสามารถนํามาใชไดทุกคร้ังเทาที่ผูสอนอยากจะใช
นอกจากสุมรายชอื่ แลว ยังสามารถนําไปประยกุ ตใ ชในการเลมเกมเพือ่ การเรียนรูตางๆ ไดอ ีกมากมายข้นึ อยูกับการ
ออกแบบการเรยี นการสอนของผูสอน

ภาพท่ี 5.14 เครื่องมอื ดิจิทลั Wheelofnames
5. Mentimeter เครื่องมือดิจิทัลที่ตัวชวยกระตุนใหเกิดการมีสวนรวมในชั้นเรียน เชน การตอบคําถาม

การระดมความคิดเห็น สํารวจมากสุด นอยสุด การ Vote การจัดลําดับที่ประเด็นตางๆ และสามารถแสดงผลได
หลายรูปแบบ มีรูปแบบการนําเสนอขอมูลท่ีหลากหลาย มี Template และ Theme ใหเลือก ไมจํากัดจํานวน
ผูเ ขารว มกิจกรรม และแสดง Test Data ได ชวยใหผ เู รยี นเขา ใจมากขึ้นวากจิ กรรมท่เี กิดข้ึนจะเหน็ ผลลัพทอยางไร
เชน ใหผูเรียนตอบคําถามผานมือถือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสวาโตข้ึนผูเรียนสนใจจะประกอบอาชีพอะไร จาก
ภาพที่ 5.15 จะพบวาผูเรียนตอบอาชีพที่สนใจออกมาหลากหลาย แตอาชีพท่ีผูเรียนสนใจมากที่สุดไดแก
youtuber กจ็ ะแสดงขึ้นมาตรงกลางใหเ หน็ ชดั เจนวาผเู รียนมคี วามสนใจอาชพี น้ีมากเปนพเิ ศษ

42

ภาพท่ี 5.15 เครื่องมอื ดิจทิ ลั Mentimeter
ทมี่ า : youthinnovation (2562)

6. Kahoot เปนเคร่ืองมือดิจิทัลท่ีชวยผสู อนในการสรางแบบฝกหัด ขอสอบแบบออนไลน มีขอคําถามให
เลือกหลายชนิด เชน คําถามปรนัย คําถามอัตนัย การสํารวจ เปนตน โดยผูเรียนจะตองทําแบบทดสอบ หรือตอบ
คําถามพรอมๆ กันในเวลาเดียวกันผานทางอุปกรณดิจิทัลของตนเอง ผูเรียนจะรูสึกตื่นเตน และสนุกสนานเปน
อยางย่ิง เนื่องจาก Kahoot นํากลไกและหลักการออกแบบเกมมาใช ทําใหเกิดการแขงขันกับตนเองและผูอื่นแบบ
ทันทีทันใด เชน การจับเวลาในการทําขอสอบ ผลคะแนน และ Leaderboard ท่ีแสดงผลแบบทันทีทันใด รวมถึง
การใหแ ตมหรอื คะแนนตา งๆ เพม่ิ ขน้ึ ตามความสามารถท่ีผูเรียนทาํ ได

ภาพที่ 5.16 เครื่องมือดิจทิ ลั Kahoot

43

7. Quizizz เปนเครื่องมือดิจิทัลท่ีมีลักษณะเหมือนการทําขอสอบออนไลน แตตางคนตางทําขอสอบบน
อปุ กรณข องตนเอง เริ่มทําตอนไหนกไ็ ด ไมต อ งทาํ พรอ มๆ กันเหมอื นเครอื่ งมือดิจิทัล Kahoot โดยจะมเี วลาเปน ตัว
กําหนดการเสร็จสิ้นการทําขอสอบ ผูสอนสามารถออกขอสอบ พรอมเฉลยไวในเครื่องมือนี้ รอเพียงผูเรียน
ลงทะเบียนและเขาเรียนในรายวิชาท่ีผูสอนสรางไว Quizizz จะบริหารจัดการรายช่ือ คะแนน เวลา ผลการสอบ
รวมถึงการสรางแรงจูงใจและกระตุนใหผูเรียนทําขอสอบดวยการนํากลไกและหลักการออกแบบเกม หรือเรียกวา
เกมมฟิ เ กชนั มาใช เชน คะแนนสะสม คะแนนพิเศษ เหรยี ญ เปนตน ทาํ ใหผ เู รียนรสู กึ เหมือนกําลังเลนเกมมากกวา
ที่จะรูสกึ วากําลังทําขอ สอบ

ภาพที่ 5.17 เครื่องมอื ดิจิทัล Quizizz
สรปุ

การใชเทคโนโลยีและการสื่อสารในการเรียนการสอนออนไลน คือ ของอุปกรณ (Hardware) วัสดุ
(Software) และเทคนิควิธีการ (Techniques) ท่ีชวยใหการสื่อสารซ่ึงประกอบดวย4 องคประกอบ ไดแก ผูสง
(Sender) ขอมูล (Data) ชองทางในการสงขอมูล (Transmission Medium) และผูรับ (Destination) ซึ่งในท่ีน้ี
หมายถึงผูสอนและผูเรียนใหสามารถแลกเปล่ียนขอมูลการสอนระหวางกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย
เทคโนโลยีและการส่ือสารเพื่อการเรียนการสอนออนไลน เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนออนไลน โดยมีแอปพลิเคชันตระกูล Google และ Microsoft ที่สามารถนํามาใชเปนเทคโนโลยีและการ
สื่อสารในการจดั กาการเรยี นการสอนออนไลนไดคอนขางสะดวกและครบครนั

44

เอกสารอา งองิ
คณติ พงศ เพ็งวนั . (2563). การจัดการเรยี นการสอนออนไลนดว ยแอปพลิเคชนั Zoom. คณะวศิ วกรรมศาสตร.

มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม
จิระ จิตสุภา. (2562). การใชคอมพิวเตอรและโปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ือประโยชนในการจัดการเรียนการสอน

เอกสารคําสอน. คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสิต.
ปรัชญนันท นิลสุข. (2563). โครงการอบรมพัฒนาทักษะครูอาชีวศึกษาดานการจัดการเรียนการสอนออนไลน.

สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
วณี ฐั สกลุ หอม จิระ จิตสุภา อลงกรณ เกิดเนตร และเบญจวรรณ กี่สขุ พันธ. (2563). โลกแหงการเรียนรูออนไลน
ทีข่ บั เคล่ือนดว ยแอปพลิเคชัน. คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสิต.

45

การสรางและหาคณุ ภาพสื่อการเรียนการสอนออนไลน

บทนํา
โดยปกติเมื่อเราตองการจะซื้อหาส่ิงของหรือสินคาสักช้ินหนึ่ง ไมวาสิ่งของหรือสินคาช้ินนั้นจะมีราคาสูง

หรือไมเพียงใด แนนอนวาอาจใชเวลาในการเลอื กหาจากรานคา หรือรานคาออนไลน เพ่ือใหไดของที่ตรงกับความ
ตองการมากท่ีสุด มีหลายประเด็นหลักที่ตองพิจารณา หนึ่งในประเด็นหลักท่ีตองพิจารณาเพื่อประกอบการ
ตัดสินใจซื้อสินคาก็คือ สินคาช้ินน้ันมีคุณภาพหรือไม หากพบวาไมมีคุณภาพก็เปนไปไดที่จะไมซื้อหรือเลือกซื้อ
สินคาประเภทเดียวกันท่ีพบวามีคุณภาพแทน การพิจารณาวาส่ิงของหรือสินคานั้นมีคุณภาพหรือไม อาจพิจารณา
จากการตรวจประเมินและรับรองจากบุคคล หนวยงาน หรือองคกรที่มีความเช่ียวชาญ เปนที่ยอมรับ ไดมาตรฐาน
และรับผิดชอบประเมินและใหการรับรองส่ิงของหรือสินคานั้น โดยผูผลิตจะตองนําเสนอตัวอยางของสินคาและ
รายละเอียดทั้งหมดไปใหกับหนวยงานหรือองคกรเหลา น้ี เชน สินคาเปนอาหาร ยา และเครื่องสําอาง จะตองผาน
การประเมิน ตรวจสอบ และรับรองคณุ ภาพโดยสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน ตน หากเปนเรือ่ ง
ใกลตัวของบคุ ลากรทางการศึกษาเขา มาอีกหนอยก็อาจจะเปนการประกันคณุ ภาพการศึกษา ทมี่ บี คุ คลภายในและ
ภายนอกมาตรวจและประเมินเพ่ือใหการรับรองวาสถานศึกษามีการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยูในระดับไหน
เพ่ือใหเกิดการพัฒนาและสรางความเชื่อมั่นใหแกผูมีสวนเก่ียวของและสาธารณชนวาสถานศึกษาน้ันสามารถจัด
การศึกษาไดอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา อีกความหมายหน่ึงก็คือเปนสถานศึกษาที่มีความนาเชื่อถือ
ผปู กครองนยิ มสงบตุ รหลานมาเรียน และเปน ผูสําเรจ็ การศึกษาที่พึงประสงค พบวาไมวา จะเปน ส่ิงของ สนิ คา หรือ
การศกึ ษาส่งิ สาํ คญั คอื คุณภาพ

สื่อการเรียนการสอนเปนเคร่ืองมือสําหรับผูสอนที่นํามาใชในการเรียนการสอนและทําใหผูเรียนเกิดการ
เรียนรูตามวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายท่ีผูสอนวางไว สื่อการเรียนการสอนมักไดมาจากตนสังกัดจัดสงมาใหใน
ลักษณะของสื่อการเรียนการสอนสาํ เร็จรูปท่ีใชไ ดกับนักศึกษาทุกคนไมวาเรียนออน ปานกลาง หรือเรียนดี ส่ือการ
เรียนการสอนที่มีอยูแลวจากแหลงตางๆ ท้ังมีคาใชจายและไมมีคาใชจาย และสุดทายส่ือการเรียนการสอนท่ี
ออกแบบและพัฒนาโดยผูสอน ท้งั แบบผสู อนลงมือทําดว ยตนเองและจางทําเพื่อใหตอบโจทยผ ูเ รียน

เอกสารประกอบการอบรมชุดน้ีนําเสนอการสรางและหาคุณภาพส่ือการเรียนการสอนออนไลน ที่
ออกแบบและพัฒนาโดยผูสอน ในประเด็นเก่ียวกับ สื่อการเรียนการสอนออนไลน ตามหลักการออกแบบและ
พัฒนาส่ือการเรียนการสอนของ ADDIE (2000) ผสมผสานกับหลักการของจินตวีย คลายสังข (2560) และชัยยงค
พรหมวงศ (2520) ดงั นี้
สอื่ การเรยี นการสอนออนไลน

สื่อ (media) เปนคําที่มาจากภาษาละตินวา medium แปลวา ระหวาง (between) หมายถึง สิ่งใดก็
ตามที่บรรจุขอมูลเพื่อใหผูสงและผูรับสามารถสื่อสารกันไดตรงตามวัตถุประสงค กิดานันท มลิทอง (2548) กลาว
วา เมอื่ มกี ารนําสอ่ื มาใชใ นการเรียนการสอนจึงเรียกวา สอื่ การเรียนการสอน (instructional media) หมายถึง ส่ือ
ชนิดใดก็ตามไมวาจะเปนเทปบันทึกเสียง สไลด วิทยุ โทรทัศน วีดิทัศน แผนภูมิ ภาพนิ่ง เปนตน ซึ่งบรรจุเนื้อหา

46

เกย่ี วกับการเรยี นการสอน สิ่งเหลานเ้ี ปน วัสดอุ ุปกรณท างกายภาพท่นี ํามาใชในเทคโนโลยีการศึกษาเปน สิ่งทใ่ี ชเปน
เคร่ืองมือหรือชองทางสําหรับทําใหการสอนของผูสอนสงไปถึงผูเรียน ทําใหผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรูตาม
วัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายท่ีผูสอนวางไวไดเปนอยางดี ในขณะท่ี Gerlach and Ely (1971) และ Brown and
others (1977) กลาวไววา สิ่งใดก็ตามท่ีนําขอมูล ขาวสาร หรือความรูจากผูสอนไปยังผูเรียน ไมวาจะเปนบุคคล
วัสดุ อุปกรณ หรือเหตุการณที่สรางเง่ือนไข ซ่ึงสามารถทําใหผูเรียนเกิดความรู ทักษะตลอดจนทัศนคติ รวมถึง
ตํารา สิ่งแวดลอมรอบๆ สถานศึกษา และกิจกรรมตางๆ ที่ไมเฉพาะแตสิ่งท่ีเปนวัตถุหรือเคร่ืองมือเทาน้ัน เชน
การศกึ ษานอกสถานที่ การแสดงบทบาทสมมติ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสมั ภาษณ และการสํารวจ ฯลฯ
สงิ่ นนั้ คอื สื่อการเรียนการสอน

สรุป สื่อการเรียนการสอนเปนเครื่องมือหรือชองทางสําหรับผูสอนที่นํามาใชในการเรียนการสอน ทําให
ผูเรียนสามารถเรียนรูเขาใจไดอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพทําใหการเรียนการสอนบรรลุตามวัตถุประสงคท่ี
ผูสอนไดวางไว ส่ือการเรียนการสอนจึงมีบทบาทสําคัญในการเรียนการสอน ซ่ึงผูสอนจําเปนตองเขาใจคุณสมบัติ
ของส่อื แตละชนดิ คณุ คาของส่ือ ตลอดจนการวางแผนการใชสอื่ อยา งเหมาะสม

ส่ือการเรียนการสอนสามารถจําแนกออกไดหลายประเภท ขึ้นอยูกับมุมมองของนักเทคโนโลยีทาง
การศึกษาแตละทาน สําหรับในเอกสารประกอบการอบรมชุดนี้จําแนกออกเปน 3 ประเภท ประกอบดวย จําแนก
ตามประสบการณการเรียนรู จําแนกตามสื่อการสอน และจาํ แนกตามทรัพยากรการเรียนรู โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

จําแนกตามประสบการณการเรียนรู
Edgar Dale (1969) ไดจ ําแนกประเภทของสื่อการสอนโดยยึดจากประสบการณการเรียนรูของผูเรียนเปน
หลัก โดยสรางเปนกรวยประสบการณ (cone of experience) เรียงลําดับประสบการณการเรียนรูที่เปนรูปธรรม
มากท่สี ุดไปยงั ประสบการณท เี่ ปน รูปธรรมนอ ยทีส่ ุด ออกเปน 11 ประเภท ดังน้ี
1. ประสบการณตรงที่มีความหมาย (direct and purposeful experiences) เปนประสบการณท่ีผูเรียน
ไดรับจากความเปนจริง ผูรับประสบการณไดรับโดยการผานทางประสาทสัมผัสของจริงในชีวิต และประสบการณ
เหลาน้นั มีความหมายตอผไู ดร บั ประสบการณ
2. ประสบการณจําลอง (contrived experiences) เปนประสบการณท่ีจําลองแบบจากของจริง เพราะ
ของจริงอาจมีขนาดใหญ หรอื มคี วามซบั ซอนเกนิ ไป ถา ใชข องจําลองอาจทาํ ใหเขาใจงายกวา ประสบการณน ้ี ไดแก
สิง่ ของตวั อยาง หุนจาํ ลอง ทอ งฟาจําลอง การขับเครื่องบนิ เปนตน
3. ประสบการณจากการมีสวนรวมในการแสดง (dramatized experiences) เปนประสบการณการมี
สวนรว มในการแสดง ประสบการณไดจากการศึกษาเนื้อเรื่องทจ่ี ะแสดง การจดั ฉาก การบอกบท การแตง บทละคร
4. การสาธิต (demonstrations) เปนการใหดูตัวอยางประกอบการอธิบาย การสาธิตที่ดีตองมีอุปกรณ
ประกอบ ผูสาธิตควรรูจักการใชอุปกรณนั้นดวย เชน การสาธิตการทดลองทางวิทยาศาสตร การสาธิตทากาย
บรหิ ารตา ง ๆ
5. การศึกษานอกสถานท่ี (study trips) การพาผูเรียนไปศึกษานอกสถานที่ เพื่อใหผูเรียนมีประสบการณ
และความรกู วางขวางข้นึ เปนเครื่องมอื ทช่ี ว ยใหผ เู รียนประสบกับบางสงิ่ โดยตรง ซง่ึ ไมสามารถจัดไดในหอ งเรยี น
6. นิทรรศการ (exhibitions) การแสดงสิ่งของตางๆ เพ่ือใหความรูแกผูดูซึ่งอาจรวมเอา หุนจําลอง การ
สาธิต แผนภูมิ ฯลฯ ไวเ พ่ือใหผ ูด ูรับประสบการณต างๆ จากส่ิงเหลา นั้น

47

7. โทรทัศนการศึกษา (education television) รายการโทรทัศนจะทําใหผูเรียนไดเห็นภาพและไดยิน
เสียงเหตุการณและความเปนไปตา งๆ ในขณะเดียวกบั ทมี่ ีการถายทอดเหตกุ ารณน ้นั ๆ

8. ภาพยนตร (motion picture) เปนการจําลองเหตุการณมาใหผูเรียนไดดู ไดฟง ใกลเคียงกับความเปน
จริง แมจะไมใชเวลาเดียวกันกับเหตุการณจริงสามารถใชไดดีในการประกอบการสาธิตเพราะเปดโอกาสใหผูดูได
เหน็ เหตุการณอ ยา งใกลชิด

9. ภาพนิ่ง (recordings radio and still pictures) ไดแก ภาพถาย ภาพวาด แผนโปรงใส สไลด การ
บันทึกเสียงตางๆ และวิทยุสามารถใชกับการเรียนเปนกลุมหรือรายบคุ คล ภาพสามารถจําลองความเปนจริงมาให
เราไดศ กึ ษา สว นวิทยุและการบันทึกเสยี งใหความรูแกผ ฟู ง โดยไมตอ งอา น

10. ทัศนสัญลักษณ (visual symbols) ไดแก แผนภาพ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพโฆษณา การตูน ซ่ึงมี
ลักษณะเปนสัญลักษณสําหรับการถายทอดความหมาย นํามาใชแทนความหมายที่เปนขอเท็จจริง พบไดมากตาม
หางสรรพสนิ คา สนามบนิ ถนนหนทาง เชน สัญลกั ษณจากเครื่องหมายจราจร

11.วจนสัญลักษณ (verbal symbols) ไดแก คําพูด ตัวหนังสือ ตัวอักษร ผูท่ีจะเขาใจสัญลักษณน้ีไดตอง
อาศยั ประสบการณเ ดิมเปนพ้นื ฐานมากพอสมควร

ภาพท่ี 6.1 กรวยประสบการณข อง Edgar Dale
ที่มา: (นนั ทิยา รักรตั น, 2557: ออนไลน)


Click to View FlipBook Version