The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนกลยุทธ์โรงเรียนบ้านโคกสะอาด ปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนกลยุทธ์โรงเรียนบ้านโคกสะอาด ปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๕

แผนกลยุทธ์โรงเรียนบ้านโคกสะอาด ปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๕

แผนกลยทุ ธ์
ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕

โรงเรียนบ้ำนโคกสะอำด
ตำบลหนองหญำ้ ไซ
อำเภอวังสำมหมอ

สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำ
อดุ รธำนี เขต ๒

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

คำนำ

การจดั การศึกษาเปน็ กระบวนการที่สาคญั ยิ่งในการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ให้มีคุณลกั ษณะ
ตามทีส่ ังคมและประเทศชาติมงุ่ หวัง ซ่ึงการจะพฒั นาไปสูเ่ ปา้ หมายดังกล่าวได้ จาเป็นจะตอ้ งมวี ธิ ีทเ่ี หมาะสมกบั
สภาพแวดล้อมของสงั คมทเ่ี ปลีย่ นแปลงและสอดคลอ้ งกบั ความพร้อมขององค์กร ดงั นั้นในการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนจึงจาเปน็ ต้องกาหนดกลยทุ ธ์และวางแผนการดาเนินการอยา่ งเหมาะสมและเปน็ กรอบแนวทางในการ
จัดทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการของสถานศกึ ษา

ดว้ ยเหตนุ ้ี โรงเรียนบา้ นโคกสะอาด จึงได้จดั ทาแผนกลยุทธ์เพ่อื การพัฒนาซึ่งเปน็ แผนพัฒนา
โรงเรียนระยะ 4 ปีน้ขี ึน้ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 – 2565 เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรทุกระดับใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นา
การศกึ ษาใหม้ ุ่งสู่มาตรฐานคุณภาพและนาไปสู่การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ท้งั นเ้ี พ่ือบรรลุเป้าหมายของการจดั
การศึกษาของโรงเรียนอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล

ขอขอบพระคณุ ทุกท่านทีม่ ีส่วนรว่ มในการพัฒนาโรงเรียนบ้านโคกสะอาด ให้บรรลุตาม
วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ของโรงเรียน และหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการพฒั นาการศึกษา
ของโรงเรยี น บุคลากรทุกทา่ นในโรงเรยี นจะรว่ มมอื กันปฏบิ ัตหิ น้าที่ เพ่ือใหแ้ ผนกลยุทธ์ฉบับนส้ี ามารถนาสกู่ าร
ปฏบิ ตั แิ ละพฒั นานักเรยี นและโรงเรียนบา้ นโคกสะอาดให้ก้าวหน้าและเปน็ ไปตามท่ีได้กาหนดไว้

โรงเรียนบ้านโคกสะอาด

สว่ นท่ี 1 บทนำ

โรงเรยี นบ้ำนโคกสะอำด

ที่ตงั้ โรงเรียนบ้านโคกสะอาด ตง้ั อยู่ หม่ทู ี่ 2 ตาบลหนองหญ้าไซ อาเภอวงั สามหมอ จงั หวดั

อุดรธานี รหสั ไปรษณีย์ 41280 สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

ประวัติ โรงเรยี นบา้ นโคกสะอาด ตง้ั อยู่ หมทู่ ่ี 2 ตาบลหนองหญ้าไซ อาเภอวงั สามหมอ จงั หวัด

อุดรธานี ตง้ั ข้ึนเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2476 โดยชอื่ ว่าโรงเรยี นบา้ นโคกสะอาด ตาบลนายงู อาเภอกุมภวาปี

จังหวัดอดุ รธานี และเปิดสอนตามหลกั สตู รของกระทรวงศึกษาธิการ ครั้งแรกได้อาศัยศาลาวดั โพธศิ์ รี เปน็

อาคารเรียน มจี านวนนักเรียน 80 คน นกั เรยี นหญิง 40 คน นกั เรียนชาย 40 คน จดั สอน ต้ังแต่

ชน้ั มลู ศกึ ษาถึงชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทต่ี ัง้ โรงเรยี นในปจั จบุ นั มเี ขตใหบ้ รกิ าร 1 หมู่บ้าน คอื บา้ นโคกสะอาด

หมู่ที่ 2 ปัจจบุ ันโรงเรยี นบ้านโคกสะอาด เปิดทาการสอนต้ังแตช่ ั้นอนบุ าลปีท่ี 1 ถึงชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

มอี าคารเรียนและอาคารประกอบ ดงั น้ี

- อาคารเรยี นแบบ ป.1 ซ จานวน 1 หลงั

- อาคารเรียนแบบ สปช. 105/29 จานวน 1 หลัง

- อาคารอเนกประสงค์ จานวน 1 หลัง

- โรงอาหาร จานวน 1 หลัง

- สว้ ม จานวน 3 หลงั 8 ที่

พื้นท่ี ประชำกรและลกั ษณะภมู ิประเทศ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมีสภาพภมู ปิ ระเทศสว่ น

ใหญเ่ ป็นที่ราบลมุ่ ประมาณ 45 % อกี 55 % เป็นที่ดอนและตดิ กบั แมน่ ้าปาว พืน้ ดินมสี ภาพเป็นดินรว่ นปน

ทราย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาไรอ่ ้อย ทาไรม่ นั สาปะหลัง และอาชีพประมง

และมีฐานะปานกลาง บา้ นโคกสะอาดมี 187 หลงั คาเรือน รวมประชากรท้ังสิ้น 1,000 คน บริเวณใกลเ้ คียง

โดยรอบโรงเรียนไดแ้ ก่ วดั พิชยั แมน่ ้าปาว อาชีพหลักของชุมชน คอื อาชพี เกษตรกรรม เนือ่ งจากพืน้ ท่ีเป็น

พนื้ ทเ่ี หมาะแก่การทาไร่ ทานา ทาสวน และอาชีพประมง ประชากรสว่ นใหญ่ นบั ถือ ศาสนาพทุ ธ ประเพณ/ี

ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ทีเ่ ปน็ ทรี่ จู้ กั โดยทั่วไปคืองานประเพณตี ่าง ๆ ของทอ้ งถิ่นภาคอีสาน

สภำพเศรษฐกจิ ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ทานา ทาไรอ่ ้อย ทาไร่มนั สาปะหลงั

และมฐี านะปานกลาง รายได้โดยเฉลยี่ ตอ่ ครอบครัวต่อปี 30,000 บาท

อำณำเขตติดตอ่

ทศิ เหนือ ติดต่อกับบ้านหนองไผ่ บา้ นหนองหญ้าไซ ตาบลหนองหญา้ ไซ อาเภอวงั สามหมอ

ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านดงบัง ตาบลดงสมบูรณ์ อาเภอท่าคันโท จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับบ้านดงง่าม ตาบลคาโคกสงู อาเภอวังสามหมอ

ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับบ้านหนองกุงปาว อาเภอศรีธาตุ

โครงสร้ำง ขอบขา่ ยและภารกิจการบริหารและจดั การของโรงเรยี นบ้านโคกสะอาด ประกอบด้วย
1. การบริหารวิชาการ
2. การบรหิ ารงบประมาณ
3. การบริหารงานบคุ คล
4. การบริหารท่ัวไป

แผนภูมิกำรบรหิ ำรงำนโรงเรยี นบำ้ นโคกสะอำด

นำยสมำน ถำไชยลำ
ผูอ้ ำนวยกำรโรงเรยี น

คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน

กลุ่มบรหิ ำรงำนวิชำกำร กลมุ่ บรหิ ำรงำนบุคคล กลุ่มบริหำรงำนงบประมำณ กล่มุ บรหิ ำรงำนทว่ั ไป
๑. นำงประภำ ผำอำจ ๑. นำยอำรี วงั แสง
๑. นำงดษุ ฎี วังแสง ๑. นำยรงุ่ เสน่ห์ ศรหี รงิ่

๑. การพัฒนาหรอื การ ๑. การวางแผนอตั รากาลงั ๑. การจัดทาแผนงบประมาณและ ๑. การพฒั นาระบบเครอื ข่าย
๒. การจัดสรรอัตรากาลงั คาขอตัง้ งบประมาณ เพอ่ื เสนอตอ่
ดาเนนิ การเกยี่ วกบั การให้ เลขาธิการสานกั งานคณะกรรมการ ขอ้ มูลสารสนเทศ
ความเห็นการพฒั นาสาระ ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร ศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
หลกั สตู รทอ้ งถิน่ ทางการศึกษา ๒. การจัดทาแผนการใช้จา่ ยเงิน ๒. การประสานงานและ
ตามทไี่ ดร้ ับจัดสรรงบประมาณจาก
๒. การวางแผนดา้ นการวิชาการ ๓. การสรรหาและบรรจุ สานักงานคณะกรรมการศึกษาขน้ั พัฒนาเครือข่ายสถานศึกษา
๓. การจดั การเรยี นการสอนใน พื้นฐานโดยตรง
แต่งตง้ั ๓. การอนุมัตกิ ารจา่ ยงบประมาณ ๓. การวางแผนการ
สถานศึกษา ท่ีไดร้ บั จดั สรร
๔. การเปล่ียนตาแหน่งให้ ๔. การขอโอนและการขอ บรหิ ารงานการศึกษา
๔. การพัฒนาหลกั สตู รใน เปล่ียนแปลงงบประมาณ
สงู ข้นึ การยา้ ยขา้ ราชการครุ ๔. งานวิจัยเพอื่ การพัฒนา
สถานศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศึกษา
นโยบายและแผน
๕. การพฒั นากระบวนการ ๕. การดาเนินการเกย่ี วกบั การ
๕. การจัดระบบการบริหาร
เรียนรู้ เลือ่ นขั้นเงินเดือน
และพฒั นาองคก์ ร
๖. การวดั ผล ประเมนิ ผล และ ๖. การลาทุกประเภทลงโทษ
๖. การพัฒนามาตรฐานการ
ดาเนนิ การเทยี บโอนผลการ
เรียน ปฏิบัติงาน

๗. การวิจยั เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพ ๗. การประเมนิ ผลการ ๕. การรายงานผลการเบิกจา่ ย ๗. งานเทคโนโลยีเพื่อ
งบประมาณ
การศึกษาในสถานศกึ ษา ปฏิบัติงาน ๖. การตรวจสอบ ตดิ ตามและ การศึกษา
รายงานการใช้งบประมาณ
๘. การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ ี ๘. การดาเนินการทางวินยั ๗. การตรวจสอบ ตดิ ตามและ ๘. การดาเนินงานธรุ การ
รายงานการใชผ้ ลผลติ จาก ๙. การดแู ลอาคารสถานที่
แหลง่ เรียนรู้ และการลงโทษ งบประมาณ
๘. การระดมทรัพยากรและการ และส่งิ แวดล้อม
๙. การนเิ ทศการศึกษา ๙. การส่ังพักราชการและการ ลงทุนเพ่อื การศึกษา
๑๐. การแนะแนว ๙. การปฏบิ ตั งิ านอน่ื ใดตามท่ี ๑๐. การจัดทาสามะโน
๑๑. การพัฒนาระบบประกนั สง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน ไดร้ ับมอบหมายเกย่ี วกับกองทนุ
เพอ่ื การศกึ ษา ประชากร
คุณภาพภายในและมาตรฐาน ๑๐. การรายงานการ ๑๐. การการบริหารจดั การ
การศึกษา ทรัพยากรเพอื่ การศึกษา ๑๑. การรับนักเรยี น
ดาเนนิ การทางวินยั และการ ๑๑ การวางแผนพสั ดุ ๑๒. การเสนอความคิดเหน็
๑๒. การสง่ เสริมชุมชนให้มี ลงโทษ ๑๒ การกาหนดรปู แบบรายการ
หรอื คณุ ลักษณะเฉพาะของ เกี่ยวกบั การจัดตง้ั ยบุ รวมหรอื
ความเข้มแขง็ ทางวิชาการ ๑๑. การอุทธรณ์และการร้อง ครุภัณฑห์ รอื สง่ิ ก่อสร้างทีใ่ ช้ เลิกสถานศึกษา
งบประมาณเพือ่ เสนอต่อเลขาธกิ าร
๑๓. การประสานความ ทกุ ข์ คณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน ๑๓. การประสานงานจดั
พน้ื ฐาน
รว่ มมอื ในการพัฒนาวชิ าการ ๑๒. การจัดระบบและการ ๑๓. การพฒั นาระบบข้อมลู การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ
กบั สถานศกึ ษาและองค์กรอื่น สารสนเทศเพอ่ื การจดั ทาและจดั หา และตามอธั ยาศยั
จดั ทาทะเบียนประวตั ิ พัสดุ
๑๔. การสง่ เสริมและ ๑๔. การจดั หาพสั ดุ ๑๔. การระดมทรพั ยากรเพือ่
๑๓. การจัดทาบญั ชีรายชอื่ ๑๕. การควบคุมดูแล บารุงรักษา
สนบั สนุนงานวิชาการแก่บคุ คล และจาหนา่ ยพัสดุ การศึกษา
ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงาน และการให้ความเหน็ เกี่ยวกบั ๑๖. การจัดหาผลประโยชนจ์ าก
สถานศึกษาและสถาน การเสนอขอพระราชทาน ทรัพย์สนิ ๑๕. การทัศนศกึ ษา
ประกอบการอื่นทจ่ี ัดการศึกษา เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ๑๗. การรับเงนิ การเกบ็ รักษาเงิน
และการจา่ ยเงนิ ๑๖. การส่งเสริมงานกจิ การ
๑๕. การจดั ทาระเบยี บและ ๑๔. การสง่ เสรมิ การประเมนิ ๑๘. การจดั ทาบัญชกี ารเงิน นักเรียน
๑๙. การจดั ทารายงานทางการเงิน
แนวปฏบิ ัติเก่ยี วกบั งานดา้ น วทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและ และงบการเงิน ๑๗. การประชาสมั พนั ธง์ าน
วชิ าการของสถานศึกษา บุคลากรทางการศกึ ษา ๒๐. การจัดทาหรอื จดั หาแบบ
พิมพบ์ ัญชี ทะเบยี นและรายงาน การศกึ ษา
๑๖. การคดั เลือกหนังสือ ๑๕. การสง่ เสริมและยกยอ่ ง
๑๘. การส่งเสริม สนับสนนุ
แบบเรยี นเพ่อื ใชใ้ นสถานศึกษา เชดิ ชูเกยี รติ
และประสานงานการจดั
๑๗. การพฒั นาสอ่ื และใชส้ ื่อ ๑๖. การสง่ เสรมิ มาตรฐาน การศึกษา ของบคุ คล องคก์ ร
หน่วยงานและสถาบนั สงั คมอื่น
เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา วชิ าชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ ที่จัดการศึกษา

๑๗. การสง่ เสริมวินัย ๑๙. งานประสานราชการสว่ น

คุณธรรมจริยธรรมสาหรับ ภูมภิ าคและสว่ น
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร ท้องถ่ิน
ทางการศกึ ษา
๒๐. การรายงานผลการ
๑๘. การริเร่มิ ส่งเสรมิ การ
ปฏบิ ตั ิงาน
ขอรบั ใบอนุญาตประกอบ
วชิ าชพี ครูและบุคลากรทางการ ๒๑. การจัดระบบการควบคุม
ศึกษา
ภายในหนว่ ยงาน
๑๙. การพัฒนาขา้ ราชการครู
๒๒. แนวทางการจัดกิจกรรม
และบุคลากรทางการศึกษา
เพอ่ื ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม
ในการลงโทษนักเรียน

ข้อมูลครแู ละบคุ ลำกร

ที่ ชอื่ – ชื่อสกุล วุฒิ สำขำวชิ ำ สอนกลุ่มสำระ/วิชำ/ช้นั ภำระงำนสอน
เฉลี่ย/สัปดำห์
๑ นายร่งุ เสนห่ ์ ศรีหรง่ิ คบ. เทคโนโลยีและ ภาษาไทย,คณติ ศาสตร์ ,
นวตั กรรม ศลิ ปะ การงาน ป.๒ ๒๐

๒ นางดษุ ฎี วังแสง คบ. วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ป. ๕ ๒๒

ทว่ั ไป วิทยาศาสตร์ ๑-๖ ๒๒

๓ นายอารี วังแสง คบ. ประถมศกึ ษา คณติ ศาสตร์ ป.๔-๖ ๒๒

ภาษาไทย ป.๖

๔ นางประภา ผาอาจ คบ. ประถมศึกษา ภาษาต่างประเทศ ป.๑-๖

พนักงำนรำชกำร ๒ คน

ที่ ชื่อ – ช่ือสกุล วฒุ ิ วิชำ เอก สอนวิชำ/ช้นั ภำระงำนสอน
เฉลยี่ /สปั ดำห์
๑ นางจอมศรี มะลิตน้ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั อนุบาล ๒
๒๕
๒ นางสาวจาปี ศรหี ริ่ง ค.บ. การประถมศึกษา ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๒๐

ครูอตั รำจ้ำง ๕ คน ภำระงำนสอน
เฉล่ยี /สัปดำห์
ท่ี ชอื่ – ชื่อสกลุ วุฒิ สำขำวชิ ำ สอนกล่มุ สำระ/วชิ ำ/
ช้ัน ๑๕

๑ นางสาวสุปราณี โจมแก้ว วท.บ. วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ป.๑ – ๓ ๑๕

ศิลปะ ป.๔ – ๖ ๑๕

๒ นางสาวจินตนา สทิ ธกิ ุล ร.บ. รฐั ศาสตร์ สงั คมศึกษา ป. ๑-๓ ๑๕

หน้าทีผ่ ลเมอื ง ป.๑-๓ ๒๐

๓ นางสาวประครอง พันธก์ ๊กค้อ วท.บ. วทิ ยาศาสตร์ กอท ป.๔ – ๖

ท่วั ไป ภาษาองั กฤษ ป.๑

๔ นายสุรตั น์ วังแสง วท.บ. วทิ ยาศาสตร์ สขุ ศึกษา ป.๑ – ๖

การกีฬา ภาษาไทย ป.๔

๕ นางสาวนภิ าพร หลองทอง คบ. ปฐมวัย ประจาชนั้ อนบุ าล ๑

ธรุ กำรโรงเรียน วุฒิ สำขำวชิ ำ สอนกล่มุ สำระ/วชิ ำ/ช้ัน ภำระงำนสอน
ท่ี ชอ่ื – ช่ือสกุล เฉลยี่ /สัปดำห์
๑ นางสาวกชกร ผาอาจ
น.บ. นติ ศิ าสตร์ งานธรุ การ -

ข้อมูลนักเรยี น จำนวนห้อง จำนวนนกั เรียน รวม หมำยเหตุ
ชำย หญงิ ๗
ชนั้ ๑ ๒๕ ๑
๑ ๑- ๖
อนบุ าลปีท่ี ๑ ๑ ๑๕ ๑๔
อนุบาลปีท่ี ๒ ๓ ๔ ๑๐ ๙
อนุบาลปที ่ี ๓ ๑ ๒๗ ๘
รวมก่อนประถมศึกษำ ๑ ๕๓ ๑๓
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๑ ๙๔ ๑๕
ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๑ ๗๘ ๗
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๑ ๔๓ ๑๕
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๑ ๑๐ ๕ ๖๗
ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๖ ๓๗ ๓๐ ๘๑
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๙ ๔๑ ๔๐
รวมประถมศึกษำ
รวมท้ังสิ้น

ข้อมูล ณ วันท่ี ๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒

โครงสรำ้ งหลกั สูตรเวลำเรยี นโรงเรียนบ้ำนโคกสะอำด ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒

กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้/ กิจกรรม เวลำเรยี น(ชัว่ โมง/ปี)

 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษำ
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
วทิ ยาศาสตร์
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวตั ิศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลำเรียน (พนื้ ฐำน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
 รำยวชิ ำเพม่ิ เติม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
การอา่ นและการเขยี นภาษาไทย
หน้าท่ีพลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
วิทยาการคานวณ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลำเรียน (เพิ่มเตมิ ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๐
 กิจกรรมพฒั นำผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กจิ กรรมแนะแนว ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
- กจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
รวมเวลำเรียนทั้งหมด ๑๐๘๐ ๑๐๘๐ ๑๐๘๐ ๑๐๘๐ ๑๐๘๐ ๑๐๘๐

ประเภท ผลงำนดีเด่นในรอบปที ผี่ ำ่ นมำ หนว่ ยงำนที่มอบรำงวัล
สถำนศึกษำ ระดบั รำงวลั /ชอื่ รำงวลั ท่ไี ด้รับ
คะแนนเฉลี่ยโอเนต็ สงู กวา่
ระดบั ประเทศ เปน็ ผมู้ ีผลงานดเี ด่นเปน็ ท่ีประจักษ์ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ได้รบั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ “งานวัน ประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
ครู เกยี รตยิ ศ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑”ผลการ
นางสาวจินตนา สิทธิกุล ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ งานมหกรรมวิชาการและ
พืน้ ฐาน(o-net) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ เทคโนโลยี
นางดุษฎี วังแสง ชั้นประถมศึกษาสูงขึน้ เป็นลาดบั ท่ี ๖
นางสาวสปุ ราณี โจมแกว้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ของ สพป.อุดรธานี เขต ๒ จงั หวดั บุรรี มั ย์
นกั เรยี น เหรียญทอง ระดับประเทศ
๑.เดก็ หญิงอินทริ า โพธทิ์ อง ผูฝ้ กึ สอนการขับร้องเพลงไทยลูกทงุ่ งานมหกรรมวิชาการและ
นกั เรยี นท่มี ีความบกพร่องทางการ เทคโนโลยี
๑.เด็กชายเดโชพล ไรป่ ระสงค์
๒.เดกชายปฐมพร บรุ าณเดช เรียนรู้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
เหรยี ญทองแดง ระดบั ประเทศ จังหวดั บรุ รี ัมย์
การแขง่ ขนั เคร่ืองร่อนไกล ประเภท
ระยะทางอัตรารอ่ น ป.๔-ป.๖ งานมหกรรมวชิ าการและ
เทคโนโลยี
เหรียญทอง ระดับประเทศ
การประกวดการขบั ร้องเพลงไทยลกู ทุ่ง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
จังหวัดบรุ รี ัมย์
นกั เรียนท่มี ีความบกพรอ่ งทางการ
เรียนรู้ งานมหกรรมวชิ าการและ
เทคโนโลยี
เหรยี ญทองแดง ระดับประเทศ
การแข่งขันเครื่องร่อนไกล ประเภท ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
จงั หวัดบรุ รี ัมย์
ระยะทางอัตรารอ่ น ป.๔-ป.๖

ส่วนที่ 2 สถำนภำพของสถำนศกึ ษำ

ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรยี นบา้ นโคกสะอาด มีการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
และแผนปฏิบัติการประจาปี เพอื่ สนองต่อมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา ดงั น้ี
๒.๑ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ

๑) สรุปผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ ระดับกำรศกึ ษำปฐมวัย

ระดับคณุ ภำพ

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ กำลงั ปำน ดี ดี ยอด

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพเด็ก พฒั นำ กลำง เลศิ เยย่ี ม
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ ๐ ๑ ๒๓ ๔

สรปุ 







๒) สรุปผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน

ระดับคณุ ภำพ

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ กำลัง ปำน ดี ดี ยอด
พฒั นำ กลำง เลศิ เยีย่ ม

๐ ๑ ๒๓ 

มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผเู้ รยี น

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี น้น

ผูเ้ รียนเป็นสำคญั

สรปุ

๒.๒ กระบวนกำรพัฒนำงำน และผลกำรพัฒนำ
๒.๒.๑) กระบวนกำรพัฒนำงำน และผลกำรพัฒนำ ระดับกำรศึกษำปฐมวัย

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของเด็ก

ระดับคุณภำพ

ตวั บง่ ช้ี กำลัง ปำน ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
พัฒนำ กลำง

๑.๑ มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยท่ีดี 

และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้

๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และ 

แสดงออกทางอารมณ์ได้

๑.๓ มีพัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และ 

เปน็ สมาชกิ ที่ดขี องสังคม

๑.๔ มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สอื่ สารได้ มที กั ษะ 

การคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้

สรุประดับคุณภำพ 

วิธีดำเนินกำรพัฒนำ
๑ .สถานศกึ ษาดาเนินการชง่ั น้าหนกั วัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถนะทางกาย และสุขภาวะของเดก็

อยา่ งต่อเน่ือง พร้อมจดั เก็บข้อมลู เปน็ ปัจจบุ ัน และรายงานขอ้ มลู ใหผ้ ู้อานวยการโรงเรยี นทราบ
๒. มีกิจกรรมเสริมพัฒนาการให้เดก็ ไดเ้ คล่อื นไหวร่างกาย ปฏสิ ัมพนั ธ์กบั เพื่อนๆ เสริมสร้างพัฒนาการ

ครอบคลุมท้ัง ๔ ด้าน คอื ร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา พร้อมฝึกฝนทักษะการคดิ
วิเคราะหแ์ ละคิดรวบยอด เช่น การทดลอง ๒๐ กิจกรรม และจดั ทาโครงงานบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยแห่ง
ประเทศไทย เร่อื ง ดอกไม้เปลีย่ นสี และ ผกั ลอยน้า
ผลกำรพัฒนำ

จากการประเมินผลตามมาตรฐานที่ ๑ นกั เรียนมพี ัฒนาการทางด้านคุณภาพผ้เู รยี น โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับ ดีเลิศ สงั เกตจากสภาพจริงว่าครูผู้สอนได้ตระหนักพยายามส่งเสรมิ ให้เด็กเกิดพฤติกรรมตามโครงการ/
หน่วยการเรยี นทัง้ ทเ่ี ป็นโครงการของโรงเรียน โรงเรียนกาหนดแผนพฒั นาเด็กประสานกับโรงพยาบาลสง่ เริม
สุขภาพ ประเมนิ ตามมาตรฐาน โรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพ พัฒนาครูเพ่ือยกระดบั ความสามารถในการจดั การ
เรียนร้ทู ่ีเน้นสุขภาพอนามัย เพ่ือพฒั นาเด็กมี สมรรถนะตามเกณฑม์ าตรฐานควบคู่ไปกบั การจัดการเรียนการสอน
และมีการตดิ ตามนิเทศการสอนของครอู ยา่ งเป็นระบบ

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและจัดกำร

ระดับคุณภำพ

ตัวบ่งชี้ กำลงั ปำน ดี ดีเลศิ ยอดเย่ยี ม
พฒั นำ กลำง 
๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ ๔ ดา้ น
สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่ิน 
๒.๒ จดั ครใู หเ้ พยี งพอกับชน้ั เรียน 
๒.๓ สง่ เสริมให้ครมู ีความเชีย่ วชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ 
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อยา่ ง
ปลอดภยั และเพยี งพอ 
๒.๕ ให้บริการส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการ
เรยี นรูเ้ พอ่ื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ 
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ ง
ทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วม 
สรุประดับคุณภำพ

วิธดี ำเนินกำรพัฒนำ
๑. สถานศึกษามหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถิ่น
๒. จดั ครใู ห้เพียงพอกับชั้นเรยี น และสง่ เสรมิ ให้เข้ารบั การพัฒนาตนเองทุกปี
๓. จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรียนร้ทู ปี่ ลอดภยั และเพยี งพอ
๔. ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณ์สาหรับ

ครูผู้สอน และกระตนุ้ การเรียนรู้ให้กับเด็ก
๕. เปดิ โอกาสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม เพ่อื พัฒนาคุณภาพเดก็ ใหส้ ูงข้นึ

ผลกำรพฒั นำ
จากการประเมินผลตามมาตรฐานท่ี ๒ แนวการจัดการศึกษา โดยภาพรวมอย่ใู นระดับ ยอดเยีย่ ม

สงั เกตจากสภาพจริง พบวา่ โรงเรยี นกาหนดแผนพัฒนาครูเพ่ือยกระดับความสามารถในการจดั ทาพัฒนา
หลักสตู รปฐมวยั และการติดตามนิเทศการสอนของครอุ ย่างเป็นระบบ รวมทั้งมีกิจกรรมต่างๆ ของนกั เรยี นตามท่ี
กาหนดในหลกั สูตรออกมาเป็นภาพรวมได้

มำตรฐำนที่ ๓ กำรจดั ประสบกำรณท์ ่เี น้นเด็กเป็นสำคัญ

ระดับคณุ ภำพ

ตวั บง่ ช้ี กำลัง ปำนกลำง ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม
พัฒนำ

๓.๑. จดั ประสบการณ์ทส่ี ง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุก 

ด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ

๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ 

และปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสุข

๓.๓ จดั บรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใชส้ ื่อและ 

เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผล 

การประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั

ประสบการณ์และพฒั นาเดก็

สรุประดับคุณภำพ 

วิธดี ำเนินกำรพัฒนำ

๑. เดก็ ได้รับประสบการณต์ รงผา่ นกิจกรรมการทดลอง ๒๐ กจิ กรรมของโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์

นอ้ ย เช่น ภูเขาไฟระเบดิ พายทุ อนาโด สนกุ กบั ฟองสบู่ เนินน้า ลมพดั อ่อน ๆ การจมการลอย เป็นต้น

๒. จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกบั เด็กอนุบาลครบทงั้ ๖ กจิ กรรม ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและ

จงั หวะ กจิ กรรมสร้างสรรค์ กจิ กรรมเสรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจง้ กจิ กรรมเกม

การศกึ ษา

๓. ใช้เทคโนโลยีประกอบกจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน เช่น คอมพิวเตอรใ์ นการสอนอา่ น

พยัญชนะ สระ สี การอา่ นคาพนื้ ฐานของช้ันอนบุ าล กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ

ผลกำรพัฒนำ

จากการประเมินผลตามมาตรฐานที่ ๓ นักเรยี นมีพฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ น โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ดีเลศิ

สังเกตจากสภาพจริงพบว่าครูผูส้ อนไดม้ ีความตระหนักพยายามสง่ เสริมใหเ้ ด็กเกดิ พฤติกรรมตามโครงการ /

หน่วยการเรยี นรทู้ ่เี ปน็ โครงการพฒั นาหอ้ งเรียน การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญนี้ ผเู้ รยี นจะไดร้ ับการ

สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมีความรบั ผิดชอบและมสี ว่ นร่วมต่อการเรียนของตนเอง ซ่งึ แนวคิดแบบผ้เู รียนเปน็ สาคญั จะยึด

การศกึ ษาแบบก้าวหนา้ ของผู้เรียนเป็นสาคญั ผเู้ รยี นแต่ละคนมีคณุ ค่าสมควรไดร้ บั เช่ือถือไว้ใจแนวทางนเ้ี ปน็

แนวทางทจี่ ะผลักดันผเู้ รยี นไปสูก่ ารบรรลศุ กั ยภาพของตน โดยส่งเสรมิ ความคิดของผเู้ รยี นและอานวยความ

สะดวกให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเตม็ ท่ี การจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางเปน็

การจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบใหมท่ มี่ ีลักษณะแตกตา่ งจากการจัดกระบวนการเรยี นร้แู บบดัง้ เดมิ ท่วั ไป

๒) กระบวนกำรพัฒนำงำน และผลกำรพัฒนำ ระดับกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน
มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผูเ้ รยี น ผลกำรประเมินระดบั ยอดเยี่ยม

ระดับคุณภำพ

ตวั บง่ ชี้ กำลัง ปำน ดี ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม
พัฒนำ กลำง

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผ้เู รียน

๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การ 

สอ่ื สารและการคิดคานวณ

๒) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่าง

มีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็

และแกป้ ัญหา

๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศและการสือ่ สาร

๕) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู ร

สถานศกึ ษา

๖) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติที่ดีตอ่ งาน

อาชีพ

๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผ้เู รยี น

๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ีตามที่ 

สถานศกึ ษากาหนด

๒) ความภมู ใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย

๓) การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง

และหลากหลาย

๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

สรุประดับคณุ ภำพ 

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผ้เู รียน

ประเด็นกำรประเมนิ รอ้ ยละ ระดับคณุ ภำพ

ความสามารถในการอ่าน ๙๘ ยอดเยย่ี ม

ความสามารถในการส่ือสาร ๙๕ ยอดเยยี่ ม

ความสมารถในการคิดคานวณ ๘๙ ยอดเยย่ี ม

ความสามารถในการคดิ ๘๗ ยอดเยยี่ ม

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๙๙ ยอดเยยี่ ม

ความสามารถด้านความรู้ความเขา้ ใจ ๘๙ ยอดเยี่ยม

ผลการทดสอบระดับชาติ ๗๐.๘๒ ดีเลศิ

ความพร้อมในการศึกษาต่อ ๑๐๐ ยอดเยยี่ ม

วิธีดำเนนิ กำรและผลกำรพัฒนำ

๑. โรงเรยี นมีกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นด้วยวิธที หี่ ลากหลาย เชน่ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรยี น การจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั การจดั กจิ กรรมแบบโครงงาน จดั กิจกรรมการ

เรียนรใู้ หต้ อบสนองตามศักยภาพของผูเ้ รยี น กจิ กรรมการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ ไดแ้ ก่การจัดการเรยี นรู้

แบบระดมสมอง ไดล้ งมือปฏบิ ัติจรงิ แบบร่วมมอื กนั เรียนรู้ แบบใชก้ ระบวนการคดิ และเนน้ การอา่ นออกของ

ผเู้ รยี นเปน็ เรื่องทส่ี าคัญท่สี ุด ม่งุ พัฒนาผ้เู รยี นให้อา่ นออก เขยี นไดต้ ั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑

ผลกำรพัฒนำ

๑. ผูเ้ รยี นสามารถอ่านออก เขียนได้ตามมาตรฐานระดบั ชั้น สามารถเขยี นสื่อสารได้ ร้จู ักวางแผน

ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้ตามระบอบประชาธปิ ไตย กลา้ แสดงออก แสดงความคิดเหน็ สืบคน้ ขอ้ มูลและแสวงหา

ความร้จู ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเอง รวมท้ังวิเคราะหข์ ้อมูลสิ่งไหนดี เหมาะสม หรอื ไม่ดี รูเ้ ทาทนั ส่อื และสังคม

ทีเ่ ปลี่ยนแปลง

๒. ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษาสงู กว่าเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนดทกุ

กกลุม่ สาระการเรยี นรู้

๓. ผ้เู รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็

โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ัญหาได้และมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มีการนาไปใชแ้ ละ

เผยแพร่

จุดเด่น

๒.๑) ผ้เู รียนอา่ นออกเขยี นได้ สามารถเขียนสื่อสารได้ แสวงหาความรูจ้ ากสื่อเทคโนโลยีดว้ ยตนเอง

คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาตสิ าระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษ สงู กว่า

ระดบั ชาติ

๒.๒) คะแนนเฉลย่ี ทุกดา้ นของผลการทดสอบระดับชาติ NT สูงกวา่ ระดับชาติ

จุดควรพฒั นำ

๓.๑) ผูเ้ รยี นควรพัฒนาในด้านการรู้จักวางแผน การกล้าแสดงออก และแสดงความคิดเหน็

๑.๒ ) ผลกำรประเมินคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน

ประเดน็ กำรประเมนิ รอ้ ยละ ระดบั คุณภำพ
คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ๙๒ ยอดเย่ยี ม
การมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ๙๘ ยอดเยี่ยม
ความภาคภมู ิใจในความเป็นไทย ๙๘ ยอดเยย่ี ม
การยอมรบั ความคิดเหน็ ผูอ้ ืน่ ๘๔ ยอดเยย่ี ม
สขุ ภาวะทางจติ ๙๐ ยอดเย่ียม
มภี ูมคิ ้มุ กนั ตนเอง ๘๖ ยอดเยี่ยม
คานึงถึงความเป็นธรรมต่อสงั คม ๘๙ ยอดเยี่ยม
สรุป ๙๑ ยอดเยี่ยม

วธิ ีดำเนนิ กำรและผลกำรพฒั นำ
โรงเรียนมกี ารดาเนนิ การเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิตของผู้เรียน เพ่ือให้อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข เนน้ การพัฒนา
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผ้เู รียน โดยการจัดค่ายคุณธรรมกบั นักเรียนทกุ ระดับชน้ั จัด
กจิ กรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผูเ้ รียนตามหลักสตู รโตไปไมโ่ กง เน้นใหผ้ เู้ รียนมีวินยั
ซอ่ื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ และมีจติ สาธารณะ มรี ะบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต นาภมู ิปัญญาท้องถนิ่ มา
รว่ มกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรู้ในโลกกวา้ ง การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชน
รอบๆสถานศึกษา

ผลกำรพัฒนำ
๑.ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสงั คมใน
ด้านการเรยี นรู้ การสอ่ื สาร การทางาน อยา่ งสรา้ งสรรค์และมคี ุณธรรม
๒. ผู้เรยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดพี ร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดบั ช้นั ท่ีสงู ขนึ้
๓. ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทดี่ ีสงู กว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนดเปน็ แบบอย่างได้
๔, ผู้เรยี นมีความภูมใิ จในท้องถิ่น เห็นคณุ ค่าของความเปน็ ไทย มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีและภูมปิ ัญญาไทย
๕. ผเู้ รียนสามารถอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
๖. ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคมสงู กวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด

จุดเดน่
ผูเ้ รยี นมสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีระเบยี บ
วนิ ัย จนเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา เปน็ ทยี่ อมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพกฎกติกา
มารยาทของสงั คม
จุดควรพัฒนำ
ผู้เรียน ยังตอ้ งได้รบั การส่งเสริมในดา้ นทัศนคติทด่ี ตี อ่ ความเปน็ ไทย ไม่หลงใหลกับค่านยิ มตา่ งชาติ
จนเกดิ การลอกเลยี นแบบ ทาให้ลืมวฒั นธรรมอนั ดีงามของไทย

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศึกษำ ผลกำรประเมินระดับ ยอดเยี่ยม

ระดับคณุ ภำพ

ตัวบง่ ชี้ กำลงั ปำน ดี ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม
พฒั นำ กลำง
๒.๑ มีเปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษา 
กาหนดชัดเจน 
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 
๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพผเู้ รยี น
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก 
กลุ่มเปา้ หมาย 
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทาง 
วชิ าชพี 
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื
ต่อการจัดการเรยี นร้อู ย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การ
บรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
สรปุ ระดับคุณภำพ

วธิ ีดำเนินกำรและผลกำรพัฒนำ
โรงเรยี นได้ดาเนินการวเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาทีผ่ ่านมา โดยการศึกษาขอ้ มูล
สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา และจดั ประชมุ
ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนรว่ มกันกาหนดเปา้ หมาย ปรับวิสยั ทศั น์ กาหนดพันธ
กิจ กลยทุ ธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มกี ารปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพจัด
การศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี โครงการ ๑๕+๑ ของสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี
เขต ๒ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา ตามนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา พรอ้ มท้ังจัดหา
ทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ ูร้ ับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อใหบ้ รรลุ
เป้าหมายทีก่ าหนดไว้ มีการดาเนนิ การนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงาน และจดั ทารายงานผลการ
จัดการศกึ ษา
ผลกำรพฒั นำ
๑.สถานศกึ ษามีเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่ีกาหนด ชัดเจน สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา
ความต้องการชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง
๒.สถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาท่ชี ัดเจนมีประสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมีการนาข้อมลู มาใช้ในการ
ปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา่ งต่อเนอ่ื งและเปน็ แบบอยา่ งได้
๓.สถานศึกษา ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และ
ทุกกลมุ่ เป้าหมาย เชื่อมโยงกับชวี ติ จรงิ และเปน็ แบบอย่างได้

๔.ไดพ้ ัฒนาครแู ละบุคลากร ๑๐๐ %ให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ตรงตามความตอ้ งการของครแู ละ
สถานศึกษา และจดั ให้มีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพเพือ่ พัฒนางาน

๕.สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ และมี
ความปลอดภัย

๖, จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกับ
สภาพของสถานศึกษา

จุดเด่น
๑. โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนคิ การประชมุ ท่ี
หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชมุ ระดมสมอง การประชมุ กลุ่ม เพอื่ ให้ทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม
ในการกาหนดวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ที่ชดั เจน มกี ารปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั ิ
การประจาปี โครงการ ๑๕+๑ ของสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ ทีส่ อดคล้องกบั
ผลการจัดการศึกษา สภาพปญั หา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา ท่ีม่งุ เนน้ การพฒั นาให้
ผ้เู รยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ครผู สู้ อนสามารถจัดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมี
คณุ ภาพ มกี ารดาเนนิ การนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผล การดาเนนิ งาน และจัดทารายงานผลการจดั
การศึกษา และโรงเรยี นได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพ่ือใช้เปน็ ฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพ
สถานศึกษา
จุดควรพัฒนำ
๑. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาผู้เรียน
๒. สร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือของผู้มสี ่วนเก่ียวข้องในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนให้มีความเขม้ แข็ง
มีสว่ นร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการจดั การศึกษา

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
ผลกำรประเมิน ระดับยอดเยี่ยม

ระดับคุณภำพ

ตวั บง่ ชี้ กำลงั ปำน ดี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม
พฒั นำ กลำง
๓.๑ จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง 
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้
๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ่ี 
เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ 
๓.๓ มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ
และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น 
๓.๕ มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อน 
กลับเพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้
สรุประดับคุณภำพ

วิธดี ำเนนิ กำรและผลกำรพฒั นำ
โรงเรยี นดาเนินการส่งเสริมให้ครจู ดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน
โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสมู่ าตรฐานสากล กจิ กรรมสง่ เสริมงานวิชาการ กิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะ
วิชาการ เข้าค่ายวชิ าการ สอนเสรมิ เตรยี มความพร้อมก่อนสอบ O-net ,Nt และข้อสอบกลาง ของ สพฐ.
กิจกรรมวดั และประเมนิ ผล กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน งานหลักสตู รมีการประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารปรบั ปรุงหลักสตู ร
สถานศกึ ษา มกี ารบรู ณาการภาระงาน ชิน้ งาน โดย ทุกระดับชั้นจัดทาหนว่ ยบูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพียง ปรบั
โครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ สดั ส่วนคะแนนแตล่ ะหนว่ ย กาหนดคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงคท์ ี่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนบั สนุนใหค้ รูจัดการเรียนการสอนท่สี ร้างโอกาสให้นักเรยี นทุกคนมี
สว่ นรว่ ม ได้ลงมือปฏบิ ัตจิ ริงจนสรปุ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นทักษะการคิด เชน่ จดั การ
เรียนรูด้ ้วยโครงงาน ครมู กี ารมอบหมายหนา้ ทใี่ หน้ ักเรยี นจดั ป้ายนเิ ทศ และบรรยากาศตามสถานทีต่ ่าง ๆ ทงั้
ภายในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรียน ครใู ช้สือ่ การเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ มีการ
ประเมนิ คุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช้ ครูทุกคนทางานวจิ ยั ในชน้ั เรียน ปีการศกึ ษาละ ๑ เร่ือง
และไดร้ ับการนิเทศปีการศกึ ษาละ ๒ ครงั้

ผลกำรพฒั นำ
สถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั ของหลกั สตู ร
สถานศึกษา มแี ผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ มี
นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปญั ญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อ
การเรยี นรู้ โดยสรา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นได้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองคุมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น
ระบบ มีขน้ั ตอนโดยใช้เครื่องมอื และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายในการจดั การเรียนรู้ ให้
ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ ้เู รียน และนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก เด็กรักทจี่ ะเรยี นรู้ และ
เรียนร้รู ่วมกนั อยา่ งมคี วามสขุ มชี ุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพระหวา่ งครูและผเู้ ก่ียวข้องเพอ่ื พฒั นาและ
ปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ ครู และผู้เกยี่ วข้องมีการแลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและ
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้จากการดาเนินงานตามโครงการและการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย เพอ่ื พัฒนาให้ครู
จดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ สง่ ผลให้สถานศกึ ษามคี ะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสงู กว่า
ระดับประเทศผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู กวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษา

จดุ เด่น
๑. ครตู ั้งใจ มงุ่ มั่นในการพฒั นาการสอน
๒. ครูจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
๓. ครใู หน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้
๔. ครจู ัดกจิ กรรมให้นักเรียนเรียนร้โู ดยการคดิ ไดป้ ฏบิ ัติจรงิ ดว้ ยวธิ กี ารและแหลง่ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย
๕. คณะกรรมการวิจัยตรวจประเมนิ ผลงานวจิ ัยในช้นั เรยี นของครทู กุ คน พร้อมทั้งให้คาแนะนาท่ีครู
สามารถพฒั นาต่อยอดได้เปน็ อยา่ งดี
จดุ ควรพัฒนำ
๑. ควรนาภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้
๒. ควรให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั แก่นกั เรียนทนั ทีเพ่อื นักเรยี นนาไปใชพ้ ัฒนาตนเอง

๓. โรงเรียนจดั ระบบให้ครปู ระเมินตนเองรายบคุ คลตามแผนพฒั นาตนเอง แต่ยงั ขาดการให้ข้อมูล
ย้อนกลับแกค่ รูในการพัฒนาตนเองในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพของนกั เรยี น นักเรียนมีการ
ประเมินตนเองในการเรยี นรู้ แต่ก็ยงั ขาดการติดตาม ช่วยเหลือดา้ นการเรียนรู้ของนักเรียนเปน็ รายคน

ส่วนท่ี 3 ทิศทำงของสถำนศึกษำ

การจดั ทาแผนกลยุทธ์ ประจาปีงบประมาณ 2562 - 2565 ของโรงเรยี นบ้านโคกสะอาด ได้
ดาเนินการจดั ทาโดยยดึ กรอบแนวคดิ และทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั
พน้ื ฐาน สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 และประเดน็ ยุทธ์ศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษา
ของโรงเรียนบา้ นโคกสะอาด ดงั น้ี

ทศิ ทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน
วสิ ัยทศั น์
สร้างคณุ ภาพทุนมนษุ ย์ ส่สู ังคมอนาคตท่ยี ัง่ ยืน
พันธกจิ
๑. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
๒. พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันโดยพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความรู้
ทักษะวิชาการ ทักษะชวี ติ ทักษะวชิ าชีพ คุณลกั ษณะในศตวรรษที่ ๒๑
๓. สง่ เสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นมืออาชีพ
๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลอ่ื มลา้ ให้ผ้เู รยี นทุกคนได้รบั บริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง
และเทา่ เทยี ม
๕. สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยดึ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และเป้าหมายโลกเพ่ือการพฒั นาทีย่ ่งั ยืน (SDGs)
๖. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการ และส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา
เป้ำหมำย
๑. ผ้เู รยี น เป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ คิดรเิ ริ่มและสร้างสรรค์นวัตกรรม มคี วามรู้ มที กั ษะและ
คุณลักษณะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ มสี ุขภาวะที่เหมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพึง่ พาตนเอง และ
ปรบั ตัวตอ่ เปน็ พลเมืองและพลโลกท่ดี ี
๒. ผู้เรียนท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ กลุ่มผดู้ อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ทีอ่ ยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล
ทรุ กนั ดารไดร้ ับการศกึ ษาอย่างท่วั ถงึ เทา่ เทียม และมีคุณภาพ พร้อมก้าวสู่สากล ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
๓. ครู เป็นผเู้ รียนรู้ มีจิตวิญญาณความเปน็ ครู มีความแม่นยาทางวิชาการ และมที กั ษะการจดั การเรยี นรู้
ทีห่ ลากหลายตอบสนองผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล เปน็ ผูส้ รา้ งสรรคน์ วตั กรรม และทักษะในการใช้เทคโนโล
๔. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มคี วามเป็นเลศิ ส่วนบุคคล คดิ เชิงกลยทุ ธ์และนวัตกรรม มภี าวะผู้นาทาง
วิชาการ มสี านึกความรบั ผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรว่ มมอื
๕. สถานศกึ ษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจัดการเรยี นรู้ ร่วมมือกบั ชมุ ชน ภาคเอกชน และ
ผเู้ กี่ยวข้องในการจัดการศึกษาระดบั พน้ื ที่ จัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นเพ่ือการเรียนรู้ในทกุ มิติ เป็นโรงเรยี น
นวัตกรรม

๖. สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มีการบริหารงานเชิงบรู ณาการ เปน็ สานกั งานแหง่ นวัตกรรมยุคใหม่ ใช้
ขอ้ มลู สารสนเทศและการวจิ ยั และพฒั นาในการขับเคลื่อนคุณภาพ กากับ ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลอยา่ ง
เปน็ ระบบ

๗. สานักงานส่วนกลาง ปรับเปล่ยี นวฒั นธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการบริหารงานและการ
จดั การศึกษาให้สถานศึกษา บริหารเชงิ บูรณาการ มีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสทิ ธภิ าพ กากบั ติดตาม
ประเมินผล และการรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ ใชว้ ิจัยและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนคุณภาพ
นโยบำย

๑. จดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คง
๒. พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น
๓. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
๔. สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลื่อมลา้ ทางการ
ศกึ ษา
๕. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
กลยุทธ์เชิงนโยบำย
นโยบำยท่ี ๑ จดั กำรศึกษำเพือ่ ควำมมัน่ คง

๑. บทนำ
การจัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคง จะเน้นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในเขตพื้นที่
พิเศษเฉพาะ ที่มีความยากลาบากในการบริหารจัดการ เช่น การจัดศึกษาของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และการจดั การศึกษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพของประชากรวยั เรียนกลมุ่ ชาติพันธุ์
กลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง
เพื่อสร้างความม่ังคงของประเทศในระยะยาว
๒. เปำ้ ประสงค์

๑.ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนท่ีพิเศษเฉพาะ ได้รับ
การบริการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทม่ี คี ณุ ภาพเหมาะสมกับสงั คมพหุวฒั นธรรม

๒.เสรมิ สรา้ งคุณภาพประชากรวัยเรยี นกลุ่มชาตพิ ันธุ์ กลุม่ ทด่ี ้อยโอกาส และกล่มุ ท่ีอย่ใู นพื้นที่
ห่างไกลสูงในถ่ินทุรกันดาร อาทิ พื้นที่สูง ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง เพื่อสร้างความม่ังคงของประเทศ
ในระยะยาว

๓. ประเดน็ กลยทุ ธ์
๓.๑ พฒั นำกำรศึกษำของสถำนศึกษำในเขตพฒั นำพเิ ศษเฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้
๓.๑.๑ ตวั ชว้ี ดั
(๑)ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นสูงขึ้น
(๒)ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยการบูรณาการหลักสูตรให้สอดคล้องกับสังคม
วัฒนธรรม และภาษาของท้องถนิ่
(๓)ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับบริการ
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานทีม่ คี ณุ ภาพ

๓.๑.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
ดาเนินการตามยุทธศาสตร์การศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน

ภาคใต้ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ๖ ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่
(๑)การศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมน่ั คง
(๒)การผลติ และพัฒนากาลังคนให้มสี มรรถนะในการแขง่ ขนั
(๓)การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
(๔)การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางการศกึ ษา
(๕)การศึกษาเพื่อเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม
(๖)การพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา
ทงั้ นี้ดาเนนิ การในลกั ษณะบูรณาการรว่ มกันของหนว่ ยงานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

และหน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งในพื้นทีจ่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้
๓.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพำะ กลุ่มชำติพันธ์ุ กลุ่มที่ด้อยโอกำส

และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นที่ห่ำงไกลทุรกันดำร เช่น พื้นท่ีสูง ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และเกำะ
แก่ง ได้รับกำรบริกำรด้ำนกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ท่ีมีคุณภำพ และเหมำะสมตรงตำม
ควำมตอ้ งกำร
๓.๒.๑ ตัวชี้วดั

(๑) จานวนผูเ้ รียนบ้านไกลได้รบั โอกาสทางการศึกษาจากการได้เข้าพัก
ในโรงเรียนท่มี หี อพักนอน หรือการสนับสนุนการเดนิ ทางจากบ้านถงึ

โรงเรียน
อยา่ งปลอดภยั

(๒) จานวนโรงเรยี นได้รับการสนบั สนนุ งบประมาณเพ่อื ใชใ้ นการประกอบอาหาร
การพัฒนาทกั ษะชวี ติ และการพฒั นาสภาพหอพักนอนให้มีคุณภาพท่ดี ี
อยา่ งเหมาะสม

(๓) จานวนผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพทั้งด้านทักษะวชิ าการ ทักษะชวี ิต และ
ทกั ษะอาชพี ท่ีเหมาะสมกบั บริบท

(๔) จานวนผู้บริหาร ครู ในสถานศึกษา/ห้องเรียนสาขา และท่ีดูแลหอพักนอน ท่ี
มีนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มที่ด้อยโอกาส กลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล
ทรุ กันดาร ไดร้ บั การพัฒนาและสวัสดกิ ารท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ท

(๕) จานวนผู้เรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล
ทุรกันดาร ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ และเกิดจิตสานึกรักใน
สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

(๖) การบรหิ ารจดั การศึกษาในโรงเรยี นที่มีผ้เู รียนกลุ่มชาติพนั ธุ์ กลุ่มที่ดอ้ ยโอกาส
และกลุ่มท่ีอยู่ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร ได้รับการปรับปรุงและมีรปู แบบท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพ

(๗) ผู้เรยี นกลุม่ ชาตพิ ันธ์ุ กลมุ่ ที่ดอ้ ยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร
มีผลสมั ฤทธิส์ ูงขน้ึ

๓.๒.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร

(๑) สนบั สนนุ งบประมาณในการพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในพ้ืนท่สี งู
ในถ่นิ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแกง่ ตามความจาเป็นและ
เหมาะสมกับบรบิ ท

(๒) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทดี่ ูแล
หอพักนอนตามความจาเป็น และเหมาะสมกับบรบิ ท

(๓) จัดสรรงบประมาณเพ่ิมเติมให้โรงเรียนในกลุม่ โรงเรยี นพื้นที่สูงในถ่ิทุรกนั ดาร
ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแก่ง ใหจ้ ัดการเรยี นรู้ท่มี ีคุณภาพ และเกดิ
จติ สานกึ รกั ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

(๔) สรา้ งเวทกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูใ้ นประเด็น “การพัฒนาการจัดการศึกษา
ท่เี หมาะสมกับสภาพบรบิ ทของพนื้ ท่สี ูงใน ถ่ินทุรกนั ดาร ชายแดน ชายฝงั่
ทะเลและ เกาะแก่ง ควรทาอย่างไร” ผ่านช่องทาง จัดเวทีเสวนา การแสดง
นิทรรศการ การตดิ ต่อส่ือสารผ่านชอ่ งทางออนไลน์ ต่าง ๆ เช่น การสรา้ ง
Website Facebook และ Line เป็นตน้

(๕) พัฒนารูปแบบและวิธกี ารจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ และการวดั และ
ประเมนิ ผลท่เี หมาะสมสาหรับการพฒั นาศักยภาพสูงสดุ ผูเ้ รียนกลุ่มชาตพิ นั ธุ์
กลุ่มท่ีด้อยโอกาสและกลุ่มท่ีอยู่ในพืน้ ทห่ี ่างไกลทุรกันดาร

(๖) พฒั นาครูใหม้ ที ักษะการสอนภาษาไทยสาหรับเดก็ ทีใ่ ช้ภาษาไทยเปน็ ภาษาท่ี๒
(๗) ส่งเสริมการจัดการเรียนรโู้ ดยใชช้ ุมชนเปน็ ฐาน ในการพฒั นาทกั ษะวิชาการ

ทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชีพ และภาษาที่ ๓ ท่สี อดคล้องและเหมาะสมกับสังคม
พหุวัฒนธรรม

นโยบำยท่ี ๒ พัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียน
๑. บทนำ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มุ่งเน้นพัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคนและทุกกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงหมาย

รวมถึง กลุ่มผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล
ทรุ กันดาร ในทุกมิติ โดยมเี ปา้ หมาย เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดมน่ั การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มที ัศนคตทิ ่ีถกู ต้องต่อบ้านเมือง เป็นพลเมืองดีของชาติและเป็น
พลโลกท่ีดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มคี วามเป็นเลิศทางวิชาการ มที กั ษะวิชาชีพ และ
มีทกั ษะชีวติ ทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกบั สังคมปัจจบุ นั โดยการพฒั นาระบบการเรียนรู้ท่ตี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมีประเด็นกลยุทธ์ ดังน้ี ๑) ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษาให้เอ้ือต่อการ
พัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ นาไปสู่การจัดการศึกษาเพ่ือการมีงาน
ทา (Career Education) ๒) พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็น
พลเมืองดีของชาติและเป็นพลเมืองโลกท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ๓) พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ให้มีทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความเป็นเลิศด้านวิชาการ นาไปสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ๔) พัฒนา
ผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต มีสุขภาวะที่ดีสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๕) การ
จดั การศกึ ษาเพ่ือการบรรลุเปา้ หมายโลกเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน (SDGs) เพอ่ื สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ

และ ๗) นา Digital Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความ
ตอ้ งการ และความถนัด สร้างสงั คมแหง่ การเรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ

๒. เปำ้ ประสงค์
๑. ผู้เรยี นทกุ คนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มที ัศนคตทิ ่ถี ูกต้องตอ่ บา้ นเมือง มหี ลักคิดที่ถกู ต้อง และ
เป็นพลเมืองดีของชาติ และการพลเมอื งโลกที่ดี (Global Citizen)
๒. ผูเ้ รียนทกุ คนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านยิ มที่พงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบ
ตอ่ สังคมและผู้อื่น มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั รกั ษาศลี ธรรม
๓. ผเู้ รยี นทุกคนได้รับการพัฒนาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพในแต่ละชว่ งวัยอย่างมีคุณภาพมีทักษะท่ี
จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความเปน็ เลศิ ทางดา้ นวิชาการ มที กั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษา
ที่ ๓ มนี สิ ัยรกั การเรียนรแู้ ละการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ และมีทักษะอาชพี ตาม
ความตอ้ งการและความถนัด
๔. ผู้เรียนทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มีพัฒนาการตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล ท้ังในด้านท่ี
พัฒนาการปกตแิ ละด้านทม่ี ีความบกพรอ่ งหรอื ความแตกต่างทางการเรียนรู้ หรือความสามารถพเิ ศษ
ตามทรี่ ะบไุ วใ้ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือแผนการใหบ้ รกิ ารช่วยเหลอื เฉพาะครอบครัว
ซึง่ จัดทาขึ้นบนพื้นฐานความต้องการจาเป็นเฉพาะของผูเ้ รียน
๕.ผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเช่ือมต่อ
(Transitional Services) หรือการส่งต่อ )Referral) เข้าสู่การศึกษาในระดับเดียวกันและท่ีสูงขึ้น
หรือการอาชีพหรอื การดาเนนิ ชีวิตในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแต่ละบุคคล
๖.ผู้เรียนทกุ คนมที ักษะชีวติ มสี ุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวยั มีความเข้มแข็ง อดทน และสามารถ
พึ่งตนเองได้ในสังคมอนาคตท่ีซับซ้อนและการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่
สามารถปอ้ งกนั ตนเองจากปัญหายาเสพตดิ ได้

๓. ประเดน็ กลยทุ ธ์
๓.๑ ปรับปรงุ และพฒั นำหลักสูตรทุกระดับกำรศึกษำ ให้เออ้ื ต่อกำรพัฒนำสมรรถนะผเู้ รียน

เป็นรำยบุคคล มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ นำไปสู่กำรจัดกำรศึกษำเพ่ือกำรมีงำนทำ (Career
Education)

๓.๑.๑ ตัวช้ีวัด
(๑) ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้สอดคล้องกบั
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน
เป็นรายบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีหลักคิดที่ถูกต้อง รักในสถาบันหลัก
ของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีความเป็นเลิศทางด้าน
วิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความต้องการ และมีทักษะในการ
ป้องกนั ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาทีม่ ีการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับ
ความต้องการของผู้เรยี นและพนื้ ท่ี

๓.๑.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) พัฒนาหลักสูตรระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับทกั ษะการเรยี นรู้
ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีหลักคิดท่ีถูกต้อง รักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเป็นพลเมืองดีของชาติ
และพลเมืองโลกทีดี มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะ
อาชีพตามความต้องการได้ และมีทักษะชีวิตในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่
(๒) ปรับปรุงหลกั สูตรปฐมวยั เพ่ือใหเ้ ดก็ ได้รับการพฒั นา ทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับ
ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
(๓) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาและปรับเปลี่ยนการ
จดั การเรยี นรู้ใหต้ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี นและบรบิ ทของพื้นท่ี
(๔) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษา จัดทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คลหรอื
แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ซ่ึงจัดทาขึ้นบนพ้ืนฐานความต้องการ
จาเป็นเฉพาะของผเู้ รียนทมี่ ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ หรอื ความสามารถพิเศษ

๓.๒ พฒั นำผ้เู รียนทุกคนใหม้ ีควำมรักในสถำบนั หลักของชำติ และยึดมน่ั กำรปกครอง
ระบอบประชำธิปไตยอันมพี ระมหำกษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มที ศั นคติทดี่ ีต่อบำ้ นเมือง มี
หลกั คดิ ท่ีถูกต้อง เป็นพลเมอื งดขี องชำติ และพลเมืองโลกทีด่ ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๓.๒.๑ ตวั ชี้วดั
(๑) รอ้ ยละของผเู้ รียนทีม่ พี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของ
ชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมขุ
(๒) รอ้ ยละของผ้เู รียนท่ีมีพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถงึ การมีทศั นคติทด่ี ตี ่อบา้ นเมือง
มหี ลกั คิดท่ีถูกตอ้ ง เป็นพลเมอื งดีของชาติ มคี ุณธรรม จริยธรรม
(๓) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีปรับปรุงหลักสูตร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และ
จดั
กิจ กร ร มการ เรี ย น รู้ ให้ ผู้ เรี ย น แส ดงออกถึงคว ามรั กใน ส ถาบั น ห ลั กของชาติ
ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี
ทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จริยธรรม
(๔) ร้อยละของสถานศกึ ษาทน่ี ้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของใน
หลวงรัชกาลท่ี ๑๐ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรียนให้มี
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามที่กาหนดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๓.๒.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) ส่งเสริม และสนับสนุนให้สถานศึกษาปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ผูเ้ รียนแสดงออกถึงความ

รักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง
เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
(๒) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้ สถานศึกษานอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา
ของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
ที่กาหนด
๓.๓ พัฒนำคุณภำพของผู้เรียน ให้มีทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มีควำมเป็นเลิศ
ด้ำนวชิ ำกำร นำไปสกู่ ำรสร้ำงขดี ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน
๓.๓.๑ ตวั ชี้วัด
(๑) ดา้ นผู้เรยี น

๑) ร้อยละของผเู้ รียนระดบั ปฐมวัย ไดร้ ับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วินัย
อารมณส์ ังคม และสติปัญญา และมคี วามพร้อมทจี่ ะเข้ารับการศึกษาใน
ระดับที่สงู ข้นึ
๒) รอ้ ยละของผู้เรียนระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานได้รับการพฒั นาร่างกาย
จิตใจวินยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา มพี ฒั นาการท่ีดรี อบดา้ น
๓) ร้อยละของผู้เรียนท่ีอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และมนี ิสัยรักการอา่ น
๔) ร้อยละของผเู้ รยี นที่มที ักษะการคิด วเิ คราะห์
๕) ร้อยละของผเู้ รียนทผ่ี ่านการประเมนิ สมรรถนะท่จี าเปน็ ด้านการรเู้ ร่ือง
การอา่ น (Reading Literacy)
๖) รอ้ ยละของผ้เู รียนทผี่ า่ นการประเมนิ สมรรถนะท่จี าเป็นด้านการรู้เร่ือง
คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
๗) รอ้ ยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะท่ีจาเป็นดา้ นการรู้เร่ือง
วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
๘) ร้อยละของผเู้ รยี นท่มี ที ักษะสื่อสารองั กฤษ และสอื่ สารภาษาที่ ๓ ไดอ้ ยา่ ง
มีประสทิ ธิภาพ
๙) ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้ได้อย่าง

มี
ประสทิ ธิภาพ
๑๐) ร้อยละของผเู้ รียนที่มคี วามรู้ และทักษะในการป้องกนั ตนเองจากภัย
คกุ คามรปู แบบใหม่
๑๑) รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่มี ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขนั้ พื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ ๕๐ ในแตล่ ะวิชาเพิ่มขึน้ จาก
ปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมา
๑๒) ร้อยละ ๖๐ ของผูเ้ รยี นระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มีสมรรถนะการเรียนรู้
เรื่องการอ่านตัง้ แตร่ ะดบั ข้นั พน้ื ฐานขนึ้ ไป (ระดับ ๒) ตามแนวทางการ
ประเมิน PISA

๑๓) ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนท้ังหมดได้รับการประเมินทักษะการคิด
แกป้ ัญหา

ตามแนวทางการประเมิน PISA
(๒) ด้านสถานศกึ ษา

๑) ร้อยละของสถานศกึ ษาจัดการเรยี นรทู้ ใี่ หผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรู้ผ่านกจิ กรรม
การปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning)
๒) ร้อยละของสถานศกึ ษาท่มี กี ารจดั การเรยี นรู้ให้ผูเ้ รียนในลกั ษณะของ
STEM ศึกษา
๓) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีการจดั การเรียนรู้ตามกระบวนการ ๕ ขนั้ ตอน
หรอื บันได ๕ ข้นั (IS: Independent Study)
๔) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรียนรู้ และบรรยากาศสง่ิ แวดล้อม
ท่สี ่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ ูเ้ รยี นได้เรียนรแู้ ละฝกึ ทกั ษะดา้ นภาษาองั กฤษและ
ภาษาท่ี ๓ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๓.๓.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) พฒั นาผู้เรียนระดับปฐมวัยมคี วามพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
สติปญั ญา เพ่อื ทจ่ี ะเข้ารับการพัฒนาการเรยี นรู้ในระดบั ท่ีสูงข้ึน
(๒) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมทง้ั ในและนอกห้องเรยี นให้
เอ้ือตอ่ การพัฒนาการเรียนร้ขู องเด็กปฐมวยั
(๓) สง่ เสริม สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจดั การเรยี นรูร้ ะดับปฐมวัยในรปู แบบทีห่ ลากหลาย
(๔) ส่งเสรมิ การสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแก่พ่อแมผ่ ู้ปกครองเกี่ยวกับการเลีย้ งดเู ด็ก
ปฐมวยั ทีถ่ กู ตอ้ งตามหลกั จติ วทิ ยาพัฒนาการ
(๕) จัดใหม้ โี รงเรยี นต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ให้สามารถพฒั นาเดก็ กอ่ น
ประถมให้มพี ัฒนาการความพร้อม เพ่ือเตรยี มตวั ไปส่กู ารเรียนรใู้ นศตวรรษที่๒๑
(๖) พัฒนาผ้เู รยี นสู่ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ โดยเน้นการพฒั นาสมรรถนะท่จี าเปน็
๓ ดา้ น
๑) การรูเ้ รื่องการอ่าน (Reading Literacy)
๒) การรเู้ ร่อื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy)
๓) การรูเ้ รือ่ งวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
(๗) พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะด้านดิจทิ ัล (Digital Competence) และ
สมรรถนะดา้ นการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓
(๘) มคี วามรู้ และทกั ษะในการป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่
(๙) ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจดั การเรยี นรทู้ ่ใี หผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ผา่ น
กิจกรรมการปฏิบตั จิ ริง (Active Learning)
(๑๐) ส่งเสรมิ สนบั สนุนสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรยี นร้ใู หผ้ ู้เรียนในลกั ษณะของ
STEM ศึกษา
(๑๑) สง่ เสริม สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาจัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ ๕ ข้ันตอน
หรือบันได ๕ ขั้น (IS: Independent Study)
(๑๒) สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาจดั การเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบมุง่ เนน้ การใช้ฐานความรู้

และระบบความคดิ ในลกั ษณะสหวทิ ยาการ เช่น
๑) ความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละการต้งั คาถาม
๒) ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๓) ความรูท้ างวิศวกรรม และการคดิ เพื่อหาทางแก้ปญั หา
๔) ความรูแ้ ละทกั ษะในด้านศลิ ปะ
๕) ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ และระบบคิดของเหตุผลและการหาความสมั พันธ์

(๑๓) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาประเมนิ สมรรถนะตามแนวทางการประเมนิ
PISA ด้วยระบบการสอบ แบบ Online ใหก้ ับผูเ้ รยี นทกุ คนตัง้ แตร่ ะดบั ชั้น
ประถมศึกษาตอนปลาย จนถงึ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
(๑๔) สง่ เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจในทางการประเมนิ ทักษะการคิดแกป้ ญั หา
ตามแนวทางการประเมนิ PISA ให้แก่ศกึ ษานิเทศก์และครผู ู้สอน
(๑๕) ใหบ้ รกิ ารเครอื่ งมือการวัดและประเมินอิงสมรรถนะตามแนวทางการ
ประเมินผลผเู้ รียนรว่ มกับนานาชาติ (PISA) ดว้ ยระบบ Online Testing
(๑๖) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดหลักสตู รและแผนการเรียนนาไปส่คู วามเป็นเลิศ
ในแต่ละดา้ น
(๑๗) ส่งเสรมิ ผู้เรยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษ ด้านศิลปะดนตรีและกฬี าโดยจัดเป็น
หอ้ งเรยี นเฉพาะด้าน
(๑๘) พฒั นาศักยภาพของผูเ้ รยี นตามความถนัด และเป็นนวัตกร ผ้สู ร้างนวตั กรรม

๓.๔ พัฒนำผู้เรยี นใหม้ ที ักษะอำชีพและทกั ษะชีวิต มสี ุขภำวะที่ดีสำมำรถดำรงชวี ิตอยู่ใน
สงั คมได้อยำ่ งมีควำมสุข

๓.๔.๑ ตัวชี้วดั
(๑) รอ้ ยละของผูเ้ รียน มี ID plan และ Portfolio เพื่อการศกึ ษาต่อและการ
ประกอบอาชพี
(๒) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีจดั การเรยี นรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อ
การพฒั นาทกั ษะอาชีพตามความถนัด
(๓) ร้อยละของผู้เรยี นทมี่ สี ขุ ภาวะทดี่ ีทกุ ช่วงวยั
(๔) รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีระบบป้องกันและแก้ไขปญั หาในสถานศึกษา

๓.๔.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
องิ สมรรถนะและเตรียมความพร้อมสูก่ ารประกอบสัมมาอาชีพ
(๒) พัฒนารายวิชาที่สง่ เสรมิ การศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
(๓) สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาจดั หลกั สูตรทักษะอาชีพควบคูก่ บั วิชาสามญั เชน่
ทวิศกึ ษาหลกั สตู รระยะสน้ั
(๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนตามความสนใจ
ในทักษะอาชีพที่ตนเองถนัด เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ

(๕) ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และ
เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานของอนามัย

(๖) ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านอารมณ์และสังคม (Social and
Emotional Learning : SEL) ในทกุ ชว่ งวัย

(๗) สถานศึกษามรี ะบบการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา

๓.๕ กำรจดั กำรศกึ ษำเพอ่ื กำรบรรลเุ ปำ้ หมำยโลกเพ่ือกำรพัฒนำอยำ่ งยง่ั ยืน (SDGs) เพื่อ
สรำ้ งเสริมคณุ ภำพชีวติ ทเี่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๓.๕.๑ ตวั ชีว้ ดั
(๑) ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมีพฤติกรรมแสดงออกถงึ การดาเนินชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรกบั
ส่ิงแวดล้อม และการประยุกตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมีการจัดสภาพแวดล้อมที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน (Environmental
Education Sustainable Development: EESD)
(๓) ทุกสถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโลก เพื่อการพัฒนา
อย่างย่งั ยนื (Global Goals for Sustainable Development)

๓.๕.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดการเรยี นรูเ้ พอ่ื พัฒนาผูเ้ รยี นตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(๒) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาการจัดการศึกษาเป้าหมายโลกเพื่อ
การพฒั นาอยา่ งยั่งยืน (Global Goals for Sustainable Development)
(๓) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานทุกสงั กัดจดั ส่ิงแวดลอ้ ม สงั คม
และเศรษฐกิจให้สอดคลอ้ งกับหลัก Zero waste และมาตรฐานส่งิ แวดลอ้ ม
เพ่อื การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Environmental Education Sustainable
Development: EESD)
(๔) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจดั กิจกรรมการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และการ
ประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยา่ งต่อเนื่อง

๓.๖ พัฒนำคณุ ภำพผูเ้ รียนทีม่ ีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ
๓.๖.๑ ตวั ช้วี ดั
(๑) รอ้ ยละของผ้เู รียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของแตล่ ะระดับ
(๒) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาด้านทักษะ
อาชพี ทกั ษะการดารงชีวติ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสาธารณะ
(๓) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มี
ความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และเทคโนโลยี เปน็ ตน้
๓.๖.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) ใหบ้ รกิ ารช่วยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ (Early Intervention: EI) ทศี่ นู ยก์ ารศกึ ษา

พิเศษ หน่วยบรกิ ารและทีบ่ า้ นอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพัฒนาการจดั การศกึ ษาสาหรบั ผเู้ รียนท่ีมีความต้องการ

จาเปน็ พิเศษ ดว้ ยระบบและรปู แบบที่หลากหลาย
(๓) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในโรงเรียนเรียนรวมและศูนย์การเรียน

เฉพาะความพิการ
(๔) ปรับปรงุ และพฒั นากระบวนการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ
(๕) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสาร

การคดิ คานวณ การคิดวิเคราะห์ และการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
(๖) ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะ

การดารงชีวิต ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะและการดารงชีวิตท่ี
เป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(๗)ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริฯ
(๘) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนมีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อการปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ
(๙) ส่งเสริม สนับสนุน การใช้ส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารอย่าง
ถูกตอ้ ง เหมาะสม และสร้างสรรค์
(๑๐) สง่ เสรมิ สนับสนนุ เทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก สอ่ื บริการ และความ
ช่วยเหลอื อ่ืนใดทางการศึกษา
(๑๑) ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ที่มีความสามารถ
พิเศษในด้านวิชาการ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และอื่นๆ เพื่อยกระดับสู่ความเป็น
เลิศพรอ้ มกา้ วส่สู ากล
(๑๒) ส่งเสริม สนับสนุนการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการ
เรียนการสอน
(๑๓) จัดให้มีระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชิงบูรณา
การ
(๑๔) จัดให้มีกลุ่มงานระบบประกันคุณภาพในสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่
เขม้ แขง็
(๑๕) ส่งเสริม สนับสนุนใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาจดั ทา รวบรวม ผลติ พฒั นา
และเผยแพร่ สื่อ นวตั กรรม งานวจิ ยั ทางการศึกษา
(๑๖) สารวจสภาพอาคารสถานที่ และส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา จัดทาผงั บริเวณ
จดั ทาแบบรูปและรายการสิ่งกอ่ สรา้ ง
(๑๗) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีแนวทางปฏิบัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัย
ของสถานศึกษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
(๑๘) ส่งเสริม สนับสนุนให้เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพและกลุ่มสถานศึกษา
ขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพ

(๑๙) ส่งเสริม สนับสนุน การดาเนินงานของคณะอนุกรรรมการส่งเสริมการจัด
การศึกษาสาหรับคนพกิ ารจังหวดั

(๒๐) ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร
ปกครองในพ้นื ที่ พัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นและระบบแนะแนว
ให้มปี ระสิทธภิ าพ

(๒๑) ส่งเสริม สนับสนุนการจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการจัด
การศกึ ษา

๓.๗ ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศกึ ษำ นำ Digital Technology มำใชใ้ นกำรจัดกำรเรียนรู้
ใหแ้ ก่ผเู้ รยี นเป็นรำยบุคคลตำมสมรรถนะ ควำมตอ้ งกำร และควำมถนดั สร้ำงสงั คม
ฐำนควำมรู้ (Knowledge-Based Society) เพ่ือกำรเรยี นรูอ้ ยำ่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต

๓.๗.๑ ตัวชวี้ ดั
(๑) รอ้ ยละของผู้เรยี นทเ่ี รียนร้ผู ่าน Digital Platform
(๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้เพ่ือให้พัฒนาตนเองผ่าน Digital
Platform

๓.๗.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) พฒั นาระบบคลังขอ้ มลู องค์ความรู้ เพือ่ ใหบ้ ริการ Digital Textbook ตาม
เนอ้ื หาหลักสตู รทีก่ าหนด สอ่ื วดิ ีโอ และองคค์ วามรู้ประเภทต่าง ๆ และ
ให้บริการแกผ่ เู้ รียนใหก้ ารพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
(๒) พัฒนา Digital Platform เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นรายบคุ คล
(๓) สถานศึกษาสนับสนนุ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นเรียนร้ดู ว้ ยตนเองผา่ น Digital Platf

นโยบำยท่ี ๓ พฒั นำผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
๑. บทนำ
การปรับเปล่ียนระบบการผลิตและพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท

ตั้งแต่การจูงใจ คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะ
อย่างต่อเน่ืองครอบคลุมท้ังเงินเดือน เสน้ ทางสายอาชีพ ปรบั เปลีย่ นบทบาทครูให้เปน็ ครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ เป็นมืออาชีพ มีทักษะวิชาชีพขั้นสูง โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน” เป็น
“โค้ช” หรอื “ผู้อานวยการการเรียนรู้” สรา้ งเครือข่ายพัฒนาครใู ห้มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรรู้ ะหว่างกัน รวมถึงการ
พัฒนาครูที่มีความเช่ียวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และวัดผลงานจากการพัฒนา
ผู้เรียนโดยตรง นอกจากน้ีมีการออกแบบ วางแผนการผลิตและพัฒนาครูอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การกาหนด
มาตรฐานวชิ าชีพขน้ั สงู เงินเดือนค่าตอบแทนและสวัสดิการต่าง ๆ ใหส้ ามารถจูงใจบุคคลที่เกง่ ดี มคี วามรู้ มาเป็นครู
มีการวางแผนอัตรากาลังระยะยาว (๒๐ ปี) ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในการผลิตครู และมีการวางแผนการ
พัฒนาครูอย่างต่อเน่ือง โดยนา Digital Platform มาเป็นเครื่องมือทั้งการพัฒนา อบรมครู และการจัดทา
ฐานข้อมูลกาลังคน เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลประวัติครู ประวัติการพัฒนา ฝึกอบรม นาไปสู่การวิเคราะห์ วางแผน
กาลังคนไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

๒. เป้ำประสงค์

ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ
เปน็ มืออาชีพ และมที กั ษะวิชาชีพข้ันสงู

๓. ประเด็นกลยุทธ์
๓.๑ สรำ้ งเครือขำ่ ยควำมร่วมมือกับสถำบนั ทำงกำรศกึ ษำที่ผลิตครู ในกำรผลติ และพัฒนำ
ครูให้ตรงกับสำขำวิชำ และสอดคล้องกบั กำรพัฒนำในศตวรรษที่ ๒๑
๓.๑.๑ ตัวชวี้ ัด
(๑) สถานศึกษามีแผนความตอ้ งการครรู ะยะ ๒๐ ปี
(๒) สถานศึกษามีกรอบสมรรถนะครูท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี ๒๑
และสอดคล้องกับบริบทของพนื้ ที่
(๓) สถานศึกษาทุกแห่งมีจานวนครูอย่างเหมาะสม และพอเพียงต่อการพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียน
๓.๑.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) ประสานความรว่ มมอื กับสถาบันการศึกษาในการวเิ คราะหค์ วามขาดแคลน
และความต้องการครู
(๒) ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในการกาหนดสมรรถนะครู
ใหส้ อดคลอ้ งกบั การพัฒนาในศตวรรษที่ ๒๑
(๓) ประสานความร่วมมือ ในการวางแผนในการผลิตครทู ั้งระบบ
(๔) สถาบนั การศึกษาผลิตครูตามความตอ้ งการและความขาดแคลนครูระยะ ๒๐ ปี
(๕) ประสานความรว่ มมอื ตดิ ตาม ประเมินผล การผลติ ครู
๓.๒ พฒั นำผูบ้ รหิ ำร ครู และบุคลำกรทำงกำรศึกษำทุกประเภท ใหม้ สี มรรถนะตำม
มำตรฐำนวิชำชีพ มศี กั ยภำพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
๓.๒.๑ ตัวชีว้ ัด
(๑) ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท มศี ักยภาพในกา
ปฏิบัติงานครบตามความจาเป็น ในการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
(๒) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลอย่างมีคุณภาพในรูปแบบท่ี
หลากหลาย ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบคุ คล
๓.๒.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นาตนเอง (Need Assessment)
ของผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพอ่ื วางแผนการพัฒนาอย่าง
เป็นระบบและครบวงจร
(๒) กาหนดกรอบและวิเคราะห์หลักสูตรเพ่ือพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษา ให้เชอ่ื มโยงกบั ความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี (Career Path)
(๓) ประสานกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ จัดทา
หลักสตู รทมี่ ีคณุ ภาพใหส้ อดคล้องกับกรอบหลักสตู รที่กาหนด
(๔) สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเข้ารับการ
พัฒนาตามหลักสูตรท่ีกาหนดท่ีเชื่อมโยงความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career
Path)

(๕) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community: PLC)

(๖) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้ออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับการวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดขั้นสูง (Higher Order
Thinking) ผา่ นกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning)

(๗) ส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ให้มี
ความรู้ทักษะด้าน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ ทักษะส่อื สารภาษาที่ ๓

(๘) ส่งเสริมพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดย
ใชร้ ะดบั การพัฒนาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ กี่ าหนด

(๙) สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู หม้ ีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนร้สู าหรบั ผู้เรียน
ทมี่ ีความแตกต่าง (Differentiated Instruction)

(๑๐) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการสร้างเครื่องมือการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order
Thinking)

(๑๑) ส่งเสริมและพัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ให้มี
ความรู้ความสามารถจดั การเรียนรู้เปน็ รายบุคคล และการสอนแบบคละชน้ั

(๑๒) ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการ
จาเป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและ
ประเภทของความพิการ

(๑๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face
Training

(๑๔) ปรับเปลี่ยนกระบวนการวิธีการประเมินครู โดยเน้นการประเมินสมรรถนะ
ในการจัดการเรียนการสอนโดยผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นหลกั และประเมิน
จรรยาบรรณของครู ทุก ๆ ๕ ปี (ประเมิน ๓๖๐ องศา)

๓.๓ นำ Digital Technology มำใช้ในกำรพฒั นำผู้บรหิ ำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
ทกุ ประเภทท้ังระบบ

๓.๓.๑ ตวั ช้วี ดั
(๑) สถานศึกษา และหนว่ ยงานในสงั กัดทกุ แหง่ มรี ะบบฐานขอ้ มลู ผบู้ ริหาร ครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่ือวางแผนการผลติ และพัฒนาครทู ง้ั ระบบ
(๒) รอ้ ยละของบุคลากรในสังกัดทพี่ ัฒนาตนเองผา่ นระบบ Digital Technology
(๓) ร้อยละของ Digital Content เก่ียวกบั องค์ความรูใ้ นสาขาท่ีขาดแคลน

๓.๓.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) พฒั นา Digital Platform เพอ่ื ใช้ในการพัฒนาผูบ้ รหิ าร ครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษาทกุ ประเภททัง้ ระบบ
(๒) พัฒนา Digital Platform ระบบบริหารจัดการผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศกึ ษาทุกประเภทท้ังระบบ

(๓) พัฒนา Digital Content ในองค์ความรู้การจัดการศึกษาในสาขาท่ีขาดแคลน
เช่น การพัฒนาทักษะกำรคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนท่ีมีความ
ต้องการจาเปน็ พิเศษ และผู้เรยี นท่มี คี วามแตกต่าง เป็นต้น

(๔) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท
พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนือ่ งผ่านระบบ Digital Technology

นโยบำยที่ ๔ สร้ำงโอกำสในกำรเขำ้ ถงึ บรกิ ำรกำรศกึ ษำที่มคี ณุ ภำพ มมี ำตรฐำน และลดควำมเหลื่อมล้ำ
ทำงกำรศึกษำ

๑. บทนำ
การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา เพอ่ื ให้ประชากรในวัยเรยี นทุกคน และทุกกล่มุ เป้าหมาย ซ่ึงหมายรวมถงึ
กลุ่มผู้เรยี นที่มคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ กลุ่มชาติพนั ธ์ุ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกลุ่มที่อย่ใู นพื้นทหี่ ่างไกล
ทุรกนั ดาร ไดเ้ ขา้ ถึงการบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และมีมาตรฐาน โดย ๑) เนน้ การสรา้ งความรว่ มมือกบั
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ภาคเอกชน และหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องระดับพ้นื ที่ เพื่อวางแผนการจัดการศึกษาทั้ง
ระบบต้งั แต่การสามะโนประชากรวัยเรยี น การรบั เด็กเขา้ เรียน การตรวจสอบตดิ ตามการเข้าเรียน การตดิ ตาม
เดก็ นกั เรยี นออกกลางคัน ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับพน้ื ที่ และการระดมทนุ เพ่ือพัฒนา
การศึกษา ๒) ปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศึกษาทุกแห่งให้มมี าตรฐานในดา้ นตา่ ง ๆ สอดคลอ้ งกับบริบทเชงิ พื้นท่ี เชน่
มาตรฐานดา้ นโครงสร้างพืน้ ฐานและสิ่งอานวยความสะดวก ไดแ้ ก่ อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชมุ
สนามกฬี า ห้องเรยี น หอ้ งพเิ ศษ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เป็นตน้ มาตรฐานดา้ นครูและบุคลากรทางการศึกษา มาตรฐาน
ดา้ นการบริหารจดั การ มาตรฐานดา้ นระบบงบประมาณ มาตรฐานดา้ นความปลอดภัย และมาตรฐานด้าน
Digital Technology เป็นต้น ๓) สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบริหารจัดการศึกษาสาหรับผเู้ รยี นท่มี ีความต้องการ
จาเป็นพเิ ศษ 4) ปรบั เปลี่ยนกระบวนการงบประมาณตัง้ แต่การจดั สรรงบประมาณอุดหนุนตรงไปยงั ผูเ้ รยี นและ
สถานศกึ ษาโดยตรง และมคี วามเหมาะสม เพียงพอ และ ๔) นา Digital Technology มาเปน็ เครอ่ื งมือในการลด
ความเหลอื่ มลา้ และสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงการบรกิ ารการเรียนรู้ที่มีประสทิ ธภิ าพ

๒. เป้ำประสงค์
สร้างโอกาสให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอ

กัน และลดความเหลอ่ื มล้าด้านการศึกษา
๓. ประเด็นกลยุทธ์
๓.๑ ร่วมมือกับองคก์ รปกครองระดบั ท้องถน่ิ ภำคเอกชน หนว่ ยงำนทีเ่ ก่ียวขอ้ งในกำรจดั
กำรศกึ ษำใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของพ้นื ที่
๓.๑.๑ ตวั ชีว้ ดั
(๑) รอ้ ยละของเดก็ วยั เรียนท่เี ขา้ รบั การศึกษาในแตล่ ะระดบั การศึกษา
(๒) ร้อยละของนักเรยี นออกกลางคนั
(๓) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและ
การแนะแนวทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ
(๔) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถ
นามาใช้ในการวางแผนจดั การเรยี นร้ใู ห้แก่ผเู้ รียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
๓.๑.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร

คณุ ภาพ (๑) สถานศึกษาร่วมกบั องค์กรปกครองระดับพนื้ ที่ ภาคเอกชน และหนว่ ยงาน
พเิ ศษ
ท่เี ก่ียวข้อง วางแผนการจัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องเหมาะสมกบั บริบทของ
พื้นที่
(๒) สถานศึกษาร่วมกบั องค์กรปกครองระดับพน้ื ที่ จัดทาสามะโนประชากรวัยเรียน
(๐ – ๖ ปี)
(๓) สถานศึกษาร่วมมือกับองค์กรปกครอง ชุมชน เอกชน และหน่วยงานท่ี
เก่ยี วข้องระดับพืน้ ที่ จดั ทาแผนการนกั เรยี นทกุ ระดับ
(๔) สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี ติดตาม ตรวจสอบ เด็กวัย
เรียนไดเ้ ขา้ ถึงการบริการการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งทั่วถึง ครบถว้ น
(๕) สถานศึกษาจัดทาฐานข้อมูลประชากรวัยเรียน เพื่อเก็บรวบรวม เชื่อมโยง
ข้อมลู ศึกษา วเิ คราะห์ เพอ่ื วางแผนการจัดบริการการเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผู้เรยี น
๓.๒ ยกระดับสถำนศกึ ษำในสงั กัดทุกระดับ และทุกประเภท ให้มีมำตรฐำนตำมบริบทของ
พน้ื ท่ีเพอ่ื ให้พัฒนำผเู้ รยี น มีคณุ ภำพ มีมำตรฐำนเสมอกัน
๓.๒.๑ ตวั ชีว้ ัด
(๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษามีกรอบมาตรฐานสถานศึกษา
(๒) ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ผ่านการประเมนิ มาตรฐานสถานศึกษาตามทกี่ าหนด
๓.๒.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) จดั ทามาตรฐานสถานศึกษาโดยพิจารณาจากปัจจัย หรือองคป์ ระกอบข้ัน
พื้นฐาน เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้เรยี นเขา้ ถงึ บริการการเรยี นรู้ที่จะพัฒนา

ผเู้ รยี นใหม้ มี าตรฐานเสมอกัน ตามบริบทเชิงพนื้ ที่ เชน่
๑) ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวก เช่น อาคารเรียน

อาคารประกอบ หอประชุม สนามกีฬา ห้องเรียน ห้องพิเศษ วัสดุ ครุภัณฑ์
เปน็ ต้น
๒) ดา้ นครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓) ด้านการบริหารจดั การ
๔) ดา้ นงบประมาณ
๕) ดา้ นความปลอดภัย และ
๖) ด้าน Digital Technology
(๒) ส่งเสริม สนบั สนุน ปรบั ปรุง พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีมาตรฐานตามทก่ี าหนด
๓.๓ สร้ำงควำมเข้มแข็งในกำรบริหำรจัดกำรศึกษำสำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรจำเป็น

๓.๓.๑ ตวั ช้ีวัด
(๑) มขี อ้ มลู สารสนเทศของการจัดการศกึ ษาพิเศษ ทเ่ี ชอื่ มโยงกับหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องทุกระดบั

(๒) สานักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษมียุทธศาสตร์ แผนการดาเนินงาน และ
แผนปฏิบัติการท่ตี อบสนองสาหรับผูเ้ รยี นทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ตาม
ศกั ยภาพของผูเ้ รียนแตล่ ะบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร

(๓) ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมท้ังระบบ เพ่ือสามารถการจัดการศึกษา
แบบเรยี นรวม

๓.๓.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) จัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ ที่เชื่อมโยงกับหน่วยงาน

ที่
เกี่ยวข้องทุกระดบั และนามาใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

(๒) ส่งเสริม สนับสนุน สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษจัดทากลยุทธศาสตร์
แผนการดาเนินงาน และแผนปฏิบัติเชิงรุก เน้นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการทางานแบบมีส่วนรว่ ม

(๓) ส่งเสริม สนับสนุนระบบการจัดการศึกษาพิเศษ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าสู่บริการ
ช่วงเช่ือมต่อ (Transitional Services) หรือการส่งต่อ (Referral) เข้าสู่การศึกษา
ในระดับเดียวกันและท่ีสูงข้ึน หรือการอาชีพ หรือการดาเนินชีวิตในสังคมได้ตาม
ศักยภาพของแต่ละบคุ คล

(๔) ส่งเสริม สนับสนุน ให้ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมทั้งระบบ เพื่อสามารถ
การจัดการศกึ ษาแบบเรยี นรวม

(๕) จดั ใหม้ ีศกึ ษานเิ ทศก์ผรู้ ับผดิ ชอบการจัดการศึกษาพเิ ศษ ในการตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื
และสนับสนุนใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การจัดการศึกษาพเิ ศษได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

๓.๔ จดั สรรงบประมำณสนบั สนนุ ผ้เู รยี น และสถำนศกึ ษำอยำ่ งเหมำะสม เพียงพอ
๓.๔.๑ ตวั ชว้ี ัด
(๑) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กบั ผู้เรียน และสถานศึกษา
โดยตรงอยา่ งเหมาะสม
(๒) ผู้เรียนทุกคน และสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
(๓) จานวนโครงการ/ กิจกรรมท่ีได้รับความร่วมมือจากกองทุนความเสมอภาค
ทางการศึกษา
๓.๔.๒ แนวทำงกำรดำเนินงำน
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา
ทัง้ ดา้ นความเหมาะสม เพียงพอ
(๒) จดั สรรงบประมาณให้ผเู้ รียน และสถานศึกษาโดยตรง
(๓) ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา เพ่ือสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดการ
เรยี นรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น

๓.๕ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถำนศกึ ษำ หน่วยงำนทุกระดบั นำ Digital Technology มำใช้
เปน็ เครอื่ งมอื ในกำรพัฒนำคุณภำพของผู้เรยี น

๓.๕.๑ ตัวชีว้ ัด
(๑) สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบโครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมท่ีสามารถเช่ือมต่อ
กบั โครงข่ายอินเทอรเ์ น็ตไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และปลอดภยั
(๒) สถานศึกษามี Digital Device เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของผู้เรียน
และเปน็ เคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๓.๕.๒ แนวทำงกำรดำเนินงำน
(๑) ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษามโี ครงขา่ ยสื่อสารโทรคมนาคมที่มี
ประสิทธิภาพและปลอดภยั
(๒) สง่ เสริม สนับสนุน ใหส้ ถานศกึ ษามรี ะบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทใี่ ช้เปน็
เครอื่ งมือในพัฒนาทกั ษะด้าน Digital Literacy แกผ่ ู้เรียน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาห้องเรียนให้เป็นห้องเรียน
Digital
(๔) ส่งเสริม สนับสนุน Digital Device สาหรับผู้เรียนทุกระดับอย่างเหมาะสม
เพ่ือเปน็ เครือ่ งมือในการพัฒนาการเรยี นรขู้ องตนเอง อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ
(๕) สง่ เสริม สนบั สนุน Digital Device และพัฒนา Digital Pedagogy สาหรบั ครู
อยา่ งเหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมอื ในการจดั กระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
ผู้เรยี นได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
(๖) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Distance Learning Information Technology: DLIT)
(๗) โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

นโยบำยท่ี ๕ เพม่ิ ประสิทธภิ ำพกำรบริหำรจัดกำร
๑. บทนำ
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ จะเน้นการพัฒนา

หน่วยงานในสังกัด ให้เป็นหน่วยงานท่ีมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ สามารถให้บริการได้อย่างมีคุณภาพ
และประสิทธภิ าพ แยกแยะบทบาทหนว่ ยงานแต่ละระดับอย่างชัดเจน เช่น ระดบั ปฏบิ ัติ ระดบั ทที่ าหน้าท่ีในการ
กากับติดตาม เป็นหน่วยงานที่มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล และโปร่งใส เป็นองค์กรท่ีปราศจากการ
ทุจรติ คอรัปช่นั ปรบั วฒั นธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มคี วามทนั สมยั และพร้อมที่
จะปรบั ตัวใหท้ นั ต่อการเปลย่ี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูล
ขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็น Digital เข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ
มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยมีประเด็นกลยุทธ์ ดงั นี้ ๑) เพ่ิมประสิทธิภาพ
ในการบริหารจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และ
สถานศึกษา ๒) สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัด
การศึกษา ๓) ยกระดับการบริหารงานของสถานศึกษาให้มีอิสระ นาไปสู่การกระจายอานาจ ๔ ด้าน ให้
สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ ๔) ปรับเปล่ียนระบบงบประมาณเพื่อ
สนบั สนุนผเู้ รยี นและสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ และ
๕) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital Technology มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารอย่างเปน็ ระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพือ่ เช่อื มโยงขอ้ มลู ดา้ น ตา่ ง ๆ ต้งั แต่ข้อมลู ผูเ้ รยี น

ข้อมลู ครู ขอ้ มูลสถานศึกษา ขอ้ มลู งบประมาณ และขอ้ มูลอ่ืน ๆ ท่ีจาเปน็ มาวเิ คราะห์เพ่ือให้สถานศกึ ษา สามารถ
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูลใน
การวางแผนการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศ ต่อไป

๒. เปำ้ ประสงค์
สถานศึกษา และหน่วยงานระดับภูมิภาคมีความอิสระในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียน

ให้มีคณุ ภาพ มมี าตรฐานสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
๓. ประเดน็ กลยุทธ์
๓.๑ เพิ่มประสิทธภิ ำพในกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำ
ขั้นพ้นื ฐำน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศกึ ษำ
๓.๑.๑ ตวั ชว้ี ดั
(๑) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานมผี ลการดาเนนิ งานผ่านเกณฑ์
การประเมินสว่ นราชการทสี่ านักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ
กาหนด
(๒) ร้อยละของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพ
มาตรฐานสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
(๓) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มีผลการประเมินภายนอกในระดับดขี น้ึ ไป
(๔) ร้อยละของหน่วยงานผ่านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment)
๓.๑.๒ แนวทำงกำรดำเนินกำร
(๑) กากบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อการบริหารจดั การท่ีมี
ประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล
(๒) สง่ เสริมระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ ขม้ แขง็
(๓) ยกย่องเชิดชูเกียรติสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักบริหารงานการศึกษา
พเิ ศษ สถานศกึ ษา และองคค์ ณะบุคคลทมี่ ผี ลงานเชิงประจักษ์
(๔) กาหนดใหห้ น่วยงานในสงั กดั ทุกหนว่ ยงานใชร้ ะบบการบรหิ ารจัดการท่ีมุ่งเน้น
คุณธรรมและความโปร่งใสในการทางานตามหลักการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA: Integrity &
Transparency Assessment)
๓.๒ สร้ำงเครอื ข่ำยควำมร่วมมือและส่งเสริมให้ทกุ ภำคสว่ นของสังคมเข้ำมำมีสว่ นร่วม
บรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำ
๓.๒.๑ ตวั ชี้วัด
ร้อยละของสถานศกึ ษาหนว่ ยงานมกี ารบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วม
๓.๒.๒ แนวทำงกำรดำเนินงำน
(๑) ส่งเสริมการบรหิ ารจดั การเขตพื้นที่การศึกษาโดยใชพ้ ้ืนทเ่ี ป็นฐาน (Area-based
Management) รปู แบบการบรหิ ารแบบกระจายอานาจ“CLUSTERs”
(๒) ส่งเสริม การมีสว่ นรว่ ม จัดทาแผนบรู ณาการจดั การศกึ ษา ในระดบั พน้ื ท่ี

(๓) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น
เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจดั การศึกษา ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรู้
สหวิทยาเขต กลุม่ โรงเรียน ฯลฯ

(๔) ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนของสงั คมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
ทีต่ อบสนองความตอ้ งการของประชาชนและพ้นื ที่

(๕) ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้มีความรู้
ความเข้าใจ และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจัด
การศึกษา

(๖) สง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนของสังคมเขา้ มามีส่วนร่วมสนับสนนุ ทรัพยากรเพ่อื การศึกษา

การศึกษา ๓.๓ ยกระดบั กำรบรหิ ำรงำนของสถำนศึกษำให้มีอิสระ นำไปสูก่ ำรกระจำยอำนำจ ๔ ดำ้ น
ให้สถำนศกึ ษำเป็นศนู ยก์ ลำงในกำรจัดกำรศึกษำตำมบริบทของพ้ืนที่

๓.๓.๑ ตวั ชว้ี ัด
(๑) มีรูปแบบและแนวทางในการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี นให้เกดิ คุณภาพ
(๒) มขี ้อเสนอเชงิ นโยบายในการกระจายอานาจทง้ั ระบบ
(๓) มรี ูปแบบและแนวทางในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ให้เกดิ คุณภาพ
(๔) ร้อยละของสถานศึกษามีคุณภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศึกษา ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน/ปฐมวัย/ศูนย์การศึกษาพิเศษ) และพัฒนาสู่ระดับ
สากล
(๕) จานวนโรงเรียนขนาดเลก็ ลดลง
(๖) รอ้ ยละของผ้เู รียนทีอ่ ยู่ในโรงเรียนขนาดเล็กมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ข้นึ

๓.๓.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ กำร
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ ปรบั ปรุง เปล่ยี นแปลง ระบบการบริหารงานของหนว่ ยงาน
บทบาทหน้าที่ท้งั ระดับปฏบิ ัติ และรับการกากับติดตาม
(๒) ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนารูปแบบการกระจายอานาจการจดั

๔ ด้าน ให้สถานศึกษา โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ใหศ้ กึ ษานาร่องรปู แบบ
การกระจายอานาจ เช่น
๑) เขตพ้ืนทน่ี วตั กรรมการศึกษา
๒) โรงเรยี นรว่ มพัฒนา (Partnership School)
๓) Autonomous School
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของสถานศึกษา (Enterprise Architecture)
ในฐานหน่วยงานระดบั ปฏิบัติ และหน่วยงานระดับกากับตดิ ตามให้เหมาะกบั
บริบทการเปลีย่ นแปลงของโลกปจั จุบัน
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา Digital Technology ใช้ในการจัด
การศึกษาทั้งระบบ (Digital Transformation)

(๕) สนับสนุน ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดหาเจ้าหน้าที่เพ่ือปฏิบัติหน้าที่สนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูสายผู้สอนปฏิบัติหน้าท่ีเฉพาะด้านท่ีเกี่ยวข้องกับ
การจดั การเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผ้เู รียนเทา่ น้ัน

(๖) ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นศูนย์กลางในการ
พัฒนาทกั ษะ และคณุ ภาพชีวิตของชมุ ชน

(๗) สร้างความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี
เช่น โรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนนวัตกรรม โรงเรียนร่วมพัฒนา โรงเรียน
ประชารัฐ โรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนหอ้ งเรยี นกฬี า ฯลฯ

(๘) นาผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผนการปฏิบัติการตรวจสอบ
ติดตามเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษา

(๙) สร้างมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก

(๑๐)ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนขนาดเล็กมีระบบการบริหารจัดการที่หลากหลาย
เช่น การบริหารจัดการแบบกลมุ่ โรงเรียน การสอนแบบคละชนั้

(๑๑)พิจารณาแต่งต้ังผู้บริหารท่ีมีศักยภาพในโรงเรียนขนาดเล็ก พิจารณาค่าตอบแทน
พิเศษและสวัสดกิ ารอ่ืน ๆ สาหรับผู้ปฏบิ ตั งิ านในโรงเรยี นขนาดเลก็

(๑๒)ปรับปรงุ กฎหมายระเบยี บข้อปฏบิ ัติใหส้ อดคลอ้ งกับการกระจายอานาจ
(๑๓)สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงาน และจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียน

ให้ได้ตามมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่น นาไป
ส่กู ารพัฒนาทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชีพของผเู้ รยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๓.๔ ปรบั เปลี่ยนระบบงบประมำณเพ่ือสนับสนุนผ้เู รยี นและสถำนศกึ ษำอยำ่ งเหมำะสม
เพียงพอ
๓.๔.๑ ตัวช้วี ัด
(๑) มีรปู แบบหรอื แนวทางในการจดั สรรงบประมาณให้กบั ผูเ้ รียน และสถานศกึ ษา
โดยตรงอยา่ งเหมาะสม
(๒) ผู้เรียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการ
เรยี นร้อู ย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
(๓) จานวนโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากกองทุนความเสมอภาค
ทางการศึกษา
๓.๔.๒ แนวทำงกำรดำเนินงำน
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา
ทง้ั ด้านความเหมาะสม เพียงพอ
(๒) จัดสรรงบประมาณใหผ้ ู้เรยี น และสถานศกึ ษาโดยตรง
(๓) ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อลดความ
เหลื่อมล้าทางการศึกษา เพ่ือสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดการ
เรยี นรใู้ ห้แกผ่ ู้เรียน

๓.๕ ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถำนศกึ ษำ หนว่ ยงำนทุกระดบั นำ Digital Technology มำใช้
ในกำรเพ่ิมประสทิ ธภิ ำพกำรบรหิ ำรอย่ำงเป็นระบบ นำไปสกู่ ำรนำเทคโนโลยี Big Data เพอื่
เชื่อมโยงข้อมูลดำ้ นต่ำง ๆ ตั้งแตข่ อ้ มูลผู้เรียน ขอ้ มลู ครู ขอ้ มลู สถำนศึกษำ ขอ้ มูล
งบประมำณ และขอ้ มูลอนื่ ๆ ที่จำเป็นมำวเิ ครำะหเ์ พ่ือใหส้ ถำนศึกษำ สำมำรถจัดกำรเรยี นรู้
เพ่อื พฒั นำผเู้ รยี นเปน็ รำยบคุ คลตำมสมรรถนะ และควำมถนัด และสำมำรถวเิ ครำะห์เป็น
ข้อมูลในกำรวำงแผนกำรพฒั นำทรพั ยำกรมนษุ ยข์ องประเทศต่อไป

๓.๕.๑ ตัวชี้วัด
(๑) สถานศกึ ษาทุกแห่งมรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศที่สามารถใชใ้ นการวางแผนการ
จดั การศกึ ษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(๒) สถานศกึ ษาทุกแหง่ มีขอ้ มลู ผูเ้ รียนรายบุคคลทส่ี ามารถเช่ือมโยงกบั ขอ้ มลู
ตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารวเิ คราะหเ์ พอื่ วางแผนการจัดการเรียนร้ใู หผ้ เู้ รยี นไดอ้ ยา่ ง
มีประสทิ ธภิ าพ

กระทรวง ๓.๕.๒ แนวทำงกำรดำเนนิ งำน
การ (๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถ
เช่ือมโยง และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่าง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการเชื่อมโยงข้อมูลรายบุคคลที่เกี่ยวกับการศึกษา

พัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชพี ในตลอดชว่ งชวี ติ เปน็ ฐานข้อมูลการ
พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศไทยทม่ี ีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล
สามารถประเมนิ จุดอ่อน จดุ แข็ง และศักยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสู่การ
ตดั สนิ ใจระดับนโยบายและปฏบิ ัติ
(๒) พัฒนา Digital Platform ด้านการเรียนรู้ผู้เรียน และบุคลากรทางการศึกษา
เพื่อใหส้ ถานศึกษา และหนว่ ยงานในสงั กดั ใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจ
(๓) พัฒนา Digital Platform ด้านการบริหารงาน เพ่ือสนองตอบต่อการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรตามภารกิจที่รับผิดชอบ นาไปสู่การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากร
ที่เชื่อมโยงกันท้ังระบบตั้งแต่การคัดสรร บรรจุแต่งต้ัง ตลอดจนเชื่อมโยง
ถึงการพฒั นาครู เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั ความก้าวหนา้ ในอาชีพ
(๔) พัฒนา Digital Platform ระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ต้ังแต่ระดับปฐมวัย จนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่สามารถเช่ือมโยงกับ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง นาไปสู่การพัฒนาฐานข้อมูลประชากรด้านการศึกษา
ของประเทศ
(๕) พัฒนา Big Data เพื่อเช่ือมโยง วิเคราะห์ข้อมูลทุกมิติ นาไปสู่การวางแผน
การจัดการเรยี นรูใ้ หแ้ ก่ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล

ทศิ ทำงกำรจัดกำรศกึ ษำสำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำอุดรธำนี เขต ๒

วิสัยทศั น์ (VISION)
ภายในปี ๒๕๖๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ เป็นองค์กรท่ีมี

ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจัดการศึกษา ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาตแิ ละมาตรฐานสากลบน
พ้นื ฐานของความเปน็ ไทย ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พนั ธกิจ (MISSION)

๑. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การบริหารจดั การศึกษาทุกระดบั ให้มีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล
๒. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ประชากรวัยเรียนทกุ คน ไดร้ ับการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และมีคุณภาพ
๓. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านิยมอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตร
๔. พฒั นาระบบบริหารจดั การทเ่ี น้นการมสี ว่ นรว่ ม

เปำ้ ประสงค์หลัก (GOAL)
๑. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ บรหิ ารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล

กระจายอานาจและความรับผิดชอบสสู่ ถานศึกษา
๒. สถานศึกษาเปน็ กลไกขับเคลอื่ นท่มี ีประสทิ ธิภาพในการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนสู่คุณภาพมาตรฐาน

การศึกษาชาติ และมาตรฐานระดับสากลอยา่ งต่อเนือ่ งและยั่งยืน
๓. ครู ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและบคุ ลากรทางการศึกษาอน่ื มีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่

เหมาะสม
ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ปฏิบัติตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ

๔. นกั เรยี นระดับก่อนประถมศกึ ษา มีพฒั นาการท่ีเหมาะสมตามชว่ งวัย ได้อยา่ งสมดลุ และนักเรียน
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานทุกคนมีคุณภาพตามหลกั สูตร

๕. ประชากรวยั เรียนทุกคนได้รบั โอกาสในการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานอยา่ งท่ัวถงึ และเสมอภาค
ค่ำนิยมองคก์ ร (VALUE)

สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๒ ได้กาหนดค่านิยมองค์กร ๔ ประการ เพือ่ ให้
ขา้ ราชการในสงั กดั ยึดถือเปน็ เปา้ หมายในการปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั คือ PUSH หมายถึง
๑. P = Participation หมายถงึ ความร่วมมือ รว่ มใจ จากทุกภาคสว่ น
๒. U = Unity หมายถึง ความเป็นเอกภาพ
๓. S = Standard Service หมายถึง การบริการด้วยความเต็มใจ เตม็ ความสามารถ และไดม้ าตรฐาน
๔. H = High Technology หมายถึง การใชเ้ ทคโนโลยีชน้ั สูงเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพของงาน
กล่าวโดยรวม คือการผลกั ดันให้การบริหารจัดการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมุ่งสู่คณุ ภาพและได้มาตรฐาน
โดยการให้บริการดว้ ยความเต็มใจ เตม็ ความสามารถ ภายใตค้ วามร่วมมือจากทุกภาคส่วน ท่มี คี วามสามัคคี
กลมเกลยี วและเปน็ เอกภาพ

ยุทธศำสตร์กำรพฒั นำ

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ กาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีสอดคล้องกบั จุดเนน้ ๕ นโยบาย กระทรวงศึกษาธกิ าร และสานกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดงั นี้

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ จดั การศึกษาเพือ่ ความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน

และลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ

ยุทธศำสตร์ท่ี ๑ จดั กำรศกึ ษำเพือ่ ควำมมนั่ คง
เป้ำประสงค์
เสริมสรา้ งคณุ ภาพประชากรวยั เรียน กลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุ่มทอ่ี ยูใ่ นพน้ื ท่ีห่างไกล เพอื่ สรา้ งความ

มั่งคงของประเทศในระยะยาว
ประเด็นกลยทุ ธ์
สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ผู้เรยี นในเขตพ้นื ทีเ่ ฉพาะกล่มุ ท่ีด้อยโอกาส และกล่มุ ท่ีอย่ใู นพนื้ ที่

หา่ งไกลทรุ กันดาร เช่น ชายแดน ไดร้ บั การบริการด้านการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ท่ีมคี ุณภาพและเหมาะสมตรงตาม
ความต้องการ

๑. ตวั ชีว้ ัด
๑) จานวนผู้เรยี นบา้ นไกลได้รับโอกาสทางการศึกษาจากการได้เข้าพกั ในโรงเรียน

ท่มี หี อพกั นอน หรือการสนบั สนนุ การเดนิ ทางจากบา้ นถึงโรงเรยี นอย่างปลอดภยั
๒) จานวนโรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือใช้ในการประกอบอาหาร การ

พฒั นาทักษะชวี ิต และการพฒั นาสภาพหอพักนอนให้มคี ุณภาพทด่ี ีอย่างเหมาะสม
๓) จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพทั้งด้านทักษะวิชาก าร ทักษะชีวิต

และทักษะอาชีพ ที่เหมาะสมกบั บริบท
๔) จานวนผู้บริหาร ครู ในสถานศึกษา/ห้องเรียนสาขา และท่ีดูแลหอพักนอน

ท่มี ีนกั เรยี นกล่มุ ที่ด้อยโอกาส กล่มุ ท่ีอยใู่ นพื้นทห่ี า่ งไกลทุรกันดาร ได้รบั การพัฒนาและสวัสดิการที่เหมาะสมกบั บริบท
๕) จานวนผ้เู รียนกลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนทีห่ ่างไกลทุรกันดาร ได้รับการส่งเสริม

การเรยี นร้ทู ี่มคี ุณภาพ และเกิดจติ สานกึ รักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
๖) การบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนท่ีมีผู้เรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาส และกลุ่มที่ อยู่ในพ้ืนท่ี

ห่างไกลทรุ กันดาร ได้รับการปรบั ปรุงและมรี ปู แบบท่ีมีประสิทธภิ าพ
๗) ผ้เู รยี นกลุ่มท่ีดอ้ ยโอกาส และกลมุ่ ท่ีอยู่ในพื้นทหี่ า่ งไกลทุรกนั ดารมผี ลสัมฤทธิ์สงู ข้ึน

๒. แนวทางการดาเนนิ การ
๑) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่สูง ในถิ่น

ทรุ กนั ดาร ชายแดน ตามความจาเป็นและ เหมาะสมกับบริบท
๒) สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ดูแลหอพักนอนตาม

ความจาเปน็ และเหมาะสมกบั บริบท
๓) จัดสรรงบประมาณเพ่ิมเติมให้โรงเรยี นในกลุ่มโรงเรียนพ้นื ท่ีชายแดนใหจ้ ัดการเรียนรู้ท่ีมี

คณุ ภาพ และเกิดจิตสานึกรักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

๔) สร้างเวทีการแลกเปล่ียนเรียนรใู้ นประเด็น “การพัฒนาการจดั การศึกษาท่เี หมาะสมกับ
สภาพบริบทของพื้นทชี่ ายแดน ควรทาอยา่ งไร” ผา่ นช่องทาง จัดเวทเี สวนา การแสดงนิทรรศการ การติดต่อสื่อสาร
ผา่ นช่องทางออนไลน์ ต่าง ๆ เช่น การสร้าง Website Facebook และ Line เปน็ ต้น

๕) พัฒนารปู แบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผล ท่ี
เหมาะสมสาหรบั การพฒั นาศักยภาพสูงสดุ ผู้เรียนกลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มท่ีด้อยโอกาส และกลุ่มทอ่ี ยู่ในพ้ืนทหี่ ่างไกล
ทรุ กันดาร

๖) พัฒนาครูให้มีทักษะการสอนภาษาไทยสาหรับเด็กท่ใี ชภ้ าษาไทยเปน็ ภาษาท่ี ๒
๗) ส่งเสริมการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ในการพฒั นาทักษะวชิ าการ
ทกั ษะชีวิต ทักษะอาชพี และภาษาท่ี ๓ ทส่ี อดคล้องและเหมาะสมกับสงั คมพหุวัฒนธรรม
ยทุ ธศำสตร์ท่ี ๒ พฒั นำคณุ ภำพผ้เู รียน
เป้ำประสงค์
(๑) ผ้เู รยี นทกุ คนมีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มีทัศนคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมอื ง มหี ลกั คิดที่ถูกตอ้ ง และเป็นพลเมืองดี ของชาติ
และการพลเมืองโลกท่ีดี (Global Citizen)
(๒) ผ้เู รียนทุกคนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
สังคมและผู้อนื่ มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รกั ษาศีลธรรม
(๓) ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ บั การพฒั นาและสร้างเสรมิ ศักยภาพในแต่ละชว่ งวัยอย่างมีคณุ ภาพมีทกั ษะ
ทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีความเป็นเลศิ ทางด้านวิชาการ มีทักษะสอ่ื สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี ๓ มีนสิ ัยรัก
การเรียนร้แู ละการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ และมีทกั ษะอาชีพตามความตอ้ งการและความถนัด
(๔) ผู้เรยี นท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มีพัฒนาการตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล ทั้งในด้านที่มี
พัฒนาการปกติและด้านที่มีความบกพร่องหรือความแตกต่างทางการเรียนรู้ หรือความสามารถพิเศษ ตามที่ระบุไว้ใน
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลหรือแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ซึ่งจัดทาข้ึนบนพ้ืนฐานความ
ตอ้ งการจาเปน็ เฉพาะของผเู้ รยี น
(๕) ผู้เรียนทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ มีความพร้อมสามารถเขา้ ส่บู รกิ ารช่วงเช่อื มตอ่
(Transitional Services) หรอื การส่งต่อ (Referral) เข้าสกู่ ารศึกษาในระดับเดียวกันและท่ีสูงขน้ึ หรอื การอาชีพ
หรือการดาเนินชีวติ ในสังคมไดต้ ามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล
(๖) ผู้เรยี นทุกคนมที ักษะชวี ิต มีสขุ ภาวะทีเ่ หมาะสมตามวัย มีความเขม้ แข็ง อดทนและสามารถ
พึ่งตนเองได้ในสังคมอนาคตท่ีซับซ้อนและการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ สามารถป้องกัน
ตนเองจากปญั หายาเสพตดิ ได้

ประเดน็ กลยทุ ธ์
(๑) ปรบั ปรุง และพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ใหเ้ อื้อต่อการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน เป็น
รายบุคคล มีทักษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ นาไปสู่การจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทา
(Career Education)

๑. ตัวช้ีวัด
๑) ร้อยละของสถานศึกษาพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกบั ทักษะการ
เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คล เพื่อสง่ เสริมให้
ผู้เรียน มีหลกั คิดทถ่ี ูกต้อง รักในสถาบนั หลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ เป็นพลเมืองดีของชาติ และพลเมอื งโลกท่ี
ดี มีความเปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มที ักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความต้องการ และมี
ทกั ษะในการปอ้ งกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่
๒) ร้อยละของสถานศึกษาท่มี ีการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกบั ความ
ต้องการของผ้เู รยี นและพ้นื ท่ี

๒. แนวทางการดาเนนิ การ
๑) พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ ใน

ศตวรรษท่ี ๒๑ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีหลักคิดที่ถูกต้อง รักใน
สถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเป็น
พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพตามความ
ต้องการได้ และมีทักษะชีวติ ในการป้องกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่

๒) ปรับปรุงหลักสูตรปฐมวัยเพ่ือให้เด็กได้รับการพัฒนา ทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

๓) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและปรบั เปลี่ยนการจดั การ
เรยี นรู้ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผเู้ รยี นและบรบิ ทของพนื้ ท่ี

๔) สง่ เสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษา จดั ทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลหรอื แผนการ
ใหบ้ ริการชว่ ยเหลือเฉพาะครอบครวั ซง่ึ จดั ทาข้ึนบนพน้ื ฐานความต้องการจาเป็นเฉพาะของผเู้ รยี นทมี่ คี วามต้องการ
จาเปน็ พิเศษ หรอื ความสามารถพเิ ศษ

(๒) พฒั นาผูเ้ รียนทกุ คนให้มีความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มนั่ การปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มที ศั นคติทดี่ ีต่อบ้านเมือง มีหลักคดิ ทถ่ี กู ต้อง เปน็ พลเมืองดี
ของชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

๑. ตัวชวี้ ัด
๑) ร้อยละของผู้เรยี นทมี่ ีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึด
มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
๒) ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง
มหี ลกั คดิ ที่ถูกตอ้ ง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม
๓) ร้อยละของสถานศกึ ษาทีป่ รบั ปรุงหลักสตู ร จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจดั
กจิ กรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนแสดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติยดึ ม่นั
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข มที ัศนคติ
ทด่ี ตี ่อบา้ นเมือง มีหลักคดิ ท่ีถูกตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม

๔) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวง
รชั กาลท่ี ๑๐ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ี
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่กี าหนดได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

๒. แนวทางการดาเนินการ
๑) สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้สถานศึกษาปรบั ปรุงหลักสตู ร จดั บรรยากาศ
สง่ิ แวดลอ้ ม และจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ หผ้ ูเ้ รยี นแสดงออกถึงความรกั ใน
สถาบันหลกั ของชาติ ยึดมนั่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ บ้านเมือง มหี ลักคดิ ท่ี
ถูกต้องเป็นพลเมืองดขี องชาติ และพลเมืองโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม
๒) ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ สถานศึกษาน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรชั กาลที่ ๑๐ และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปบูรณา
การจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ พอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
ตามท่ีกาหนด

(๓) พฒั นาคุณภาพของผู้เรียน ให้มีทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มคี วามเปน็ เลศิ ดา้ น
วิชาการนาไปส่กู ารสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขัน
๑. ตัวชว้ี ดั
ด้านผู้เรียน
๑) รอ้ ยละของผเู้ รยี นระดบั ปฐมวยั ไดร้ บั การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์
สงั คม และสตปิ ญั ญา และมคี วามพร้อมทจ่ี ะเข้ารบั การศึกษาในระดับทส่ี งู ขนึ้
๒) รอ้ ยละของผเู้ รียนระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานได้รับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วินยั
อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา มพี ฒั นาการท่ีดีรอบด้าน
๓) รอ้ ยละของผเู้ รียนที่อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และมีนิสยั รักการอ่าน
๔) ร้อยละของผู้เรยี นท่ีมที ักษะการคิด วเิ คราะห์
๕) ร้อยละของผูเ้ รียนท่ีผา่ นการประเมนิ สมรรถนะที่จาเปน็ ดา้ นการรเู้ รือ่ งการอ่าน
(Reading Literacy)
๖) รอ้ ยละของผู้เรียนทผี่ ่านการประเมินสมรรถนะทจี่ าเป็นด้านการรเู้ รอื่ งคณิตศาสตร์
(Mathematical Literacy)
๗) ร้อยละของผู้เรียนทผี่ ่านการประเมนิ สมรรถนะทจ่ี าเป็นดา้ นการรู้เร่อื งวิทยาศาสตร์
(Scientific Literacy)
๘) ร้อยละของผเู้ รยี นที่มีทกั ษะส่ือสารองั กฤษ และสอื่ สารภาษาท่ี ๓
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
๙) รอ้ ยละของผูเ้ รยี นที่มีทกั ษะด้าน Digital Literacy ในการเรยี นรไู้ ด้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

๑๐) ร้อยละของผเู้ รียนที่มคี วามรู้ และทักษะในการป้องกนั ตนเองจากภยั คุกคาม
รูปแบบใหม่
๑๑) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน
(O-NET) มากกว่ารอ้ ยละ ๕๐ ในแต่ละวชิ าเพ่มิ ข้ึนจากปีการศึกษาทีผ่ ่านมา
๑๒) รอ้ ยละ ๖๐ ของผูเ้ รยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นมสี มรรถนะการเรียนรู้เร่ืองการ
อ่านตัง้ แตร่ ะดับข้นั พื้นฐานขนึ้ ไป (ระดับ ๒) ตามแนวทางการประเมิน PISA
๑๓) ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียนทัง้ หมดได้รบั การประเมินทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหาตาม

แนวทางการประเมิน PISA ด้านสถานศกึ ษา
๑) ร้อยละของสถานศึกษาจัดการเรียนรทู้ ่ีให้ผ้เู รียนได้เรยี นรผู้ า่ นกิจกรรม
การปฏิบัติจริง (Active Learning)
๒) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีการจดั การเรียนรู้ให้ผ้เู รียนในลักษณะของ STEM
ศกึ ษา
๓) รอ้ ยละของสถานศึกษาที่การจดั การเรียนรู้ตามกระบวนการ ๕ ข้ันตอน
หรอื บันได ๕ ขนั้ (IS: Independent Study)
๔) รอ้ ยละของสถานศึกษาทีจ่ ัดการเรยี นรู้ และบรรยากาศส่งิ แวดลอ้ มท่สี ง่ เสรมิ
สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ
๒. แนวทางการดาเนนิ การ
๑) พัฒนาผู้เรียนระดับปฐมวัยมีความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมสติปัญญา
เพ่ือที่จะเข้ารับการพฒั นาการเรยี นรใู้ นระดบั ทส่ี ูงขน้ึ
๒) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียนให้
เอ้อื ต่อการพัฒนาการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวัย
๓) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวยั ในรปู แบบที่หลากหลาย
๔) สง่ เสรมิ การสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจแก่พ่อแม่ผูป้ กครองเก่ยี วกับการเลีย้ งดูเดก็
ปฐมวยั ท่ีถูกต้องตามหลักจิตวทิ ยาพฒั นาการ
๕) จัดใหม้ โี รงเรียนตน้ แบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ใหส้ ามารถพฒั นาเดก็
กอ่ นประถมให้มีพฒั นาการความพร้อมเพื่อเตรยี มตวั ไปสู่การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่๒๑
๖) พฒั นาผูเ้ รยี นสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ โดยเน้นการพฒั นาสมรรถนะท่จี าเปน็ ๓
ดา้ น
๑. การรู้เรอ่ื งการอา่ น (Reading Literacy)
๒. การรู้เรอ่ื งคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy)
๓. การรเู้ ร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
๗) พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีสมรรถนะดา้ นดิจทิ ลั (Digital Competence) และสมรรถนะ
ดา้ นการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓

๘) มคี วามรู้ และทักษะในการปอ้ งกันตนเองจากภยั คุกคามรูปแบบใหม่
๙) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม

การปฏบิ ัติจริง (Active Learning)
๑๐)ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในลักษณะของ

STEM ศึกษา
๑๑) สง่ เสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการ ๕ ขัน้ ตอน หรือ

บันได ๕ ขนั้ (IS: Independent Study)
๑๒) สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนรอู้ ย่างเป็นระบบม่งุ เนน้ การใช้ฐานความรู้และ

ระบบความคิดในลกั ษณะสหวิทยาการ เชน่
๑. ความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละการต้งั คาถาม
๒. ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๓. ความรทู้ างวิศวกรรม และการคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา
๔. ความรูแ้ ละทักษะในดา้ นศลิ ปะ
๕.ความร้ดู ้านคณิตศาสตร์ และระบบคดิ ของเหตุผลและการหาความสมั พนั ธ์

๑๓)ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการประเมิน
PISA ด้วยระบบการสอบ แบบ Online ให้กับผู้เรียนทุกคนตั้งแต่ระดับช้ัน
ประถมศึกษาตอนปลาย จนถงึ มธั ยมศึกษาตอนต้น
๑๔)ส่งเสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจในทางการประเมินทกั ษะการคดิ แก้ปัญหาตาม
แนวทางการประเมิน PISA ให้แกศ่ กึ ษานเิ ทศก์และครผู สู้ อน
๑๕)ให้บริการเคร่อื งมอื การวัดและประเมินอิงสมรรถนะตามแนวทางการประเมินผล
ผ้เู รยี นรว่ มกบั นานาชาติ (PISA) ดว้ ยระบบ Online Testing
๑๖)ส่งเสริมให้สถานศกึ ษาจดั หลกั สตู รและแผนการเรยี นนาไปสูค่ วามเปน็ เลศิ
ในแตล่ ะด้าน
๑๗)สง่ เสรมิ ผู้เรยี นทม่ี ีความสามารถพิเศษ ด้านศลิ ปะดนตรแี ละกีฬาโดยจัดเปน็
หอ้ งเรียนเฉพาะดา้ น
๑๘)พฒั นาศกั ยภาพของผู้เรียนตามความถนัด และเปน็ นวตั กร ผู้สร้างนวตั กรรม
๔. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีทักษะอาชพี และทักษะชีวิต มีสุขภาวะทด่ี สี ามารถดารงชีวิตอยูใ่ นสงั คมได้
อยา่ งมคี วามสุข
๑. ตวั ชว้ี ดั
๑) รอ้ ยละของผูเ้ รยี น มี ID plan และ Portfolio เพ่อื การศึกษาตอ่ และการประกอบอาชพี
๒) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ และบรรยากาศส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ

พัฒนาทกั ษะอาชีพตามความถนัด
๓) ร้อยละของผเู้ รยี นทมี่ ีสขุ ภาวะที่ดที กุ ช่วงวัย

๔) ร้อยละของสถานศกึ ษาทมี่ ีระบบป้องกนั และแก้ไขปัญหาในสถานศึกษา
๒. แนวทางการดาเนินการ

๑) สร้างกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
อิงสมรรถนะและเตรียมความพรอ้ มสูก่ ารประกอบสมั มาอาชีพ

๒) พัฒนารายวิชาทสี่ ง่ เสริมการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชีพ
๓) สง่ เสริมใหส้ ถานศึกษาจัดหลักสูตรทักษะอาชพี ควบคู่กับวิชาสามญั เช่น ทวศิ กึ ษา

หลกั สตู รระยะสัน้
๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนตามความสนใจ

ในทักษะอาชพี ทีต่ นเองถนดั เพอื่ เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเขา้ สูต่ ลาดแรงงานและ
การพัฒนาประเทศ
๕) ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นทุกคนได้รบั ประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ
และเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานของอนามัย
๖) สง่ เสริมการเรียนรแู้ ละพัฒนาด้านอารมณแ์ ละสงั คม (Social and Emotional
Learning : SEL) ในทกุ ช่วงวัย
๗) สถานศึกษามรี ะบบการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาในสถานศึกษา
๕. การจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) เพ่ือสร้าง
เสรมิ คณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑. ตวั ชว้ี ัด
๑) ร้อยละของผเู้ รยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมแสดงออกถึงการดาเนินชีวติ ท่ีเป็นมิตร กับ
สิง่ แวดล้อม และการประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒) ร้อยละของสถานศึกษาท่มี ีการจดั สภาพแวดล้อมทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐาน
สิง่ แวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพ่ือการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื (Environmental
Education Sustainable Development: EESD)
๓) ทกุ สถานศึกษาจดั การศึกษาเพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมายโลก เพอ่ื การพัฒนาอย่างย่ังยนื
(Global Goals for Sustainable Development)
๒. แนวทางการดาเนินการ
๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาการจัดการศึกษาเป้าหมายโลกเพ่ือการพัฒนา
อย่างย่ังยืน (Global Goals for Sustainable Development)
๓) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาและหนว่ ยงานทุกสงั กัดจัดสิ่งแวดลอ้ ม สังคม
และเศรษฐกจิ ให้สอดคล้องกับหลกั Zero waste และมาตรฐานสิง่ แวดล้อมเพื่อ


Click to View FlipBook Version