The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

o13 คู่มือหรือมาตรฐานกาปฏิบัติงานรายกลุ่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by i.amornthap, 2022-09-15 02:32:13

คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน

o13 คู่มือหรือมาตรฐานกาปฏิบัติงานรายกลุ่ม

การบรหิ ารงานบคุ คล
หมายถงึ การหาทางใช้คนท่อี ยรู่ ่วมกันในองค์กรนั้นๆใหท้ าํ งานไดผ้ ล ดีท่ีสดุ ส้ินเปลอื งคา่ ใช้จา่ ย น้อยทีส่ ดุ
ในขณะเดยี วกันก็สามารถทําใหผ้ ูร้ ว่ มงานมคี วามสขุ มีความพอใจ ที่จะใหค้ วามรว่ มมอื และทํางานร่วมกบั ผู้บรหิ าร
เพ่ือใหง้ านขององค์กรนนั้ ๆ สําเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี

แนวคิด
1) ปจั จัยทางการบริหารทง้ั หลายคนถอื เป็นปัจจยั ทางการบรหิ ารทส่ี าํ คญั ทสี่ ุด
2) การบรหิ ารงานบคุ คลจะมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลผบู้ รหิ ารจะต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจ และมี

ความสามารถสูงในการบรหิ ารงานบุคคล
3) การจัดบคุ ลากรใหป้ ฏิบตั งิ านไดเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถจะมสี ว่ นทาํ ใหบ้ คุ ลากร มขี วัญ

กําลังใจ มคี วามสขุ ในการปฏบิ ัติงาน สง่ ผลใหง้ านประสบผลสําเรจ็ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4) การพฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถอย่างสม่ำเสมอและต่อเนือ่ งจะทาํ ให้บุคลากร เปลย่ี นแปลง

พฤติกรรมและกระตอื รือรน้ พฒั นางานให้ดียง่ิ ขน้ึ
5) การบริหารงานบุคคลเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากรและผู้มสี ่วนได้เสียเปน็ สําคญั

ขอบขา่ ยงานบุคลากร
1. สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการให้มปี ระสทิ ธิภาพ
2. สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนปฏบิ ัติตามในหน้าทตี่ ามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณ วิชาชีพ
ครู
3. สง่ เสรมิ การประชาสัมพนั ธ์ขอ้ มลู ขา่ วสารของบคุ ลากรภายในโรงเรยี นแกผ่ ู้เกี่ยวขอ้ งอย่างทั่วถึง
และมีประสทิ ธิภาพ
4. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหค้ รูและบคุ ลากรได้รับการพฒั นาตามสมรรถนะวิชาชพี ครู
5. ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน ในการพฒั นา โรงเรยี น
6. สง่ เสรมิ ใหค้ ณะครปู ฏบิ ัตหิ น้าท่ดี ้วยความซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
7. สง่ เสรมิ ให้คณะครปู ฏิบัตติ นในการดาํ เนนิ ชีวิตโดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง

วางแผนอัตรากําลงั /การกาํ หนดตาํ แหน่ง
มหี นา้ ท่ี

1. จัดทําแผนงาน/โครงการ แผนปฏบิ ัติงานประจาํ ปีและปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ าน
2. จดั ทําแผนงานอัตรากาํ ลงั ครู / การกําหนดตาํ แหนง่ และความตอ้ งการครูในสาขาท่ีโรงเรยี นมี ความ
ตอ้ งการ
3. จดั ทํารายงานอตั รากาํ ลังครูตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกัด

การสรรหาและบรรจุแต่งตัง้
มหี น้าท่ี

1. วางแผนดาํ เนนิ การสรรหาและเลอื กสรรและกําหนดรายละเอียดแผนปฏิบัติงาน
2. กาํ หนดรายละเอียดเก่ียวกับการสรรหาการเลอื กสรรคณุ สมบัติของบุคคลทีร่ บั สมคั ร
3. จัดทาํ ประกาศรบั สมัคร
4. รบั สมัคร
5. การตรวจสอบคณุ สมบตั ผิ สู้ มคั ร
6. ประกาศรายชอ่ื ผู้มสี ิทธิรบั การประเมิน
7. แตง่ ต้งั คณะกรรมการดําเนินการสรรหาและเลอื กสรร
8. สอบคดั เลอื ก
9. ประกาศรายชอ่ื ผู้ผา่ นการเลือกสรร
10. การเรยี กผทู้ ี่ผา่ นการคดั เลอื กมารายงานตวั
11. จัดทํารายตอ่ หน่วยงานต้นสังกัด

การพฒั นาบุคลากร
มีหน้าที่

1. จัดทําแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปี
2. สํารวจความต้องการในการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรในโรงเรยี น
3. จดั ทาํ แผนพฒั นาตนเองของครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
4. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหค้ รแู ละบุคลากรไดร้ บั การพัฒนา
5. จัดทาํ แฟม้ บุคลากรในโรงเรียน
6. ติดตาม ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการปฏิบัตงิ านเสนอผู้อำนวยการ
7. งานอ่นื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

การเลื่อนขนั้ เงินเดอื น
มีหนา้ ที่

1. จดั ทําแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบตั กิ ารประจําปี
2. นิเทศ ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิงานของครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียน
3. ประชุมคณะกรรมการในการพจิ ารณาเลอื่ นขัน้ เงินเดือนประจาํ ปี
4. จัดทาํ บญั ชผี ู้ที่ได้รบั การพจิ ารณาเลอ่ื นขัน้ ประจําปีโดยยดึ หลักความโปรง่ ใส คุณธรรมจรยิ ธรรม และการ
ปฏิบัติงานทร่ี ับผิดชอบ
5. แตง่ ต้ังผู้ทไี่ ด้รบั การเลือ่ นข้นั เงินเดอื นรายงานตอ่ ต้นสงั กัด

เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์
มหี นา้ ที่

1. จัดรวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
2. สํารวจความต้องการขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากร
3. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ของคณะครแู ละบคุ ลากรใน
โรงเรยี น
4. จดั ทําแฟ้มข้อมลู การไดร้ ับพระราชทานเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ของคณะครูและบคุ ลากรใน
โรงเรยี น

วนิ ยั และการรกั ษาวินยั
มีหนา้ ท่ี

1. จัดรวบรวมเอกสารเกย่ี ววินยั และการรกั ษาวนิ ัยของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
2. จัดทําแฟ้มขอ้ มลู เกย่ี วกบั การทําผิดเก่ียวกบั วนิ ยั ของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียน

สวสั ดกิ ารครู
มีหนา้ ท่ี

1.วางแผนดําเนนิ งานเก่ียวกับสวสั ดกิ ารของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน
2. มอบของขวัญเป็นกําลงั ใจในวนั สาํ คัญต่างๆ วันเกิด แสดงความยินดที ่ีผา่ นการประเมนิ ครู ชํานาญ
การพิเศษ ของครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
3. ซ้ือของเยี่ยมไข้เม่อื เจบ็ ปว่ ยหรอื นอนพกั รักษาตัวในโรงพยาบาล

สาํ มะโนนกั เรยี น/รบั นกั เรียน
มีหนา้ ท่ี

1. วางแผนในการจดั ทาํ สาํ มะโนนกั เรยี น
2. สาํ มะโนนักเรียนในเขตหมู่ 6 , 7 และหมู่ 8 ซึง่ เป็นเขตบริการของโรงเรยี น
3. จัดทําเอกสารการรับสมคั รนกั เรียน เด็กเลก็ ชน้ั อนบุ าล 1 ประถมศึกษาปที ่ี 1 และชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
4. เปดิ รบั สมคั รนกั เรยี น เดก็ เลก็ ชั้นอนบุ าล 1 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
5. จดั ทําแฟม้ นักเรียน เด็กเลก็ ชัน้ อนุบาล 1 ประถมศึกษาปที ่ี 1 และช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
6. สรุปการจัดทาํ สาํ มะโนนักเรยี นรายงานหน่วยงานต้นสงั กดั

การปฏิบตั ิราชการของขา้ ราชการครู

1. การลา การลาแบง่ ออกเป็น 9 ประเภท คือ
1.การลาปว่ ย
2.การลาคลอดบตุ ร
3.การลากิจส่วนตัว
4.การลาพักผอ่ น
5.การลาอปุ สมบทหรือการลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์
6.การลาเข้ารบั การตรวจเลอื กหรอื เขา้ รับการเตรยี มพล
7.การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรม ดูงาน หรอื ปฏิบตั กิ ารวจิ ยั
8.การลาไปปฏิบตั งิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ
9. การลาติดตามคู่สมรส

การลาปว่ ย ข้าราชการซ่ึงประสงค์จะลาป่วยเพอื่ รกั ษาตวั ใหเ้ สนอหรอื จัดส่งใบลาต่อ ผบู้ งั คบั บัญชา
ตามลําดบั จนถึงผู้มอี ํานาจอนุญาตกอ่ นหรอื ในวันทีล่ าเว้นแตใ่ นกรณจี าํ เปน็ จะเสนอหรอื จัดสง่ ใบลา ในวนั แรกทม่ี า
ปฏิบตั ิราชการกไ็ ด้ ในกรณที ี่ขา้ ราชการผู้ขอลามอี าการปว่ ยจนไม่สามารถจะลงชือ่ ในใบลาไดจ้ ะใหผ้ ู้อืน่ ลาแทนก็ได้
แตเ่ ม่อื สามารถลงชื่อได้แลว้ ใหเ้ สนอหรอื จดั ส่งใบลาโดยเร็ว การลาป่วยตงั้ แต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมใี บรับรองของ
แพทยซ์ ึง่ เป็นผู้ท่ีได้ขนึ้ ทะเบยี นและ รับใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวช กรรมแนบไปกบั ใบลาด้วย ในกรณี
จําเปน็ หรอื เห็นสมควรผมู้ ีอํานาจอนญุ าตจะส่ังให้ใชใ้ บรบั รองของแพทย์ ซง่ึ ผมู้ อี าํ นาจอนญุ าตเหน็ ชอบแทนกไ็ ด้การ
ลาป่วยไม่ถงึ 30 วัน ไมว่ า่ จะเป็นการลาครง้ั เดยี วหรอื หลายคร้ัง ติดตอ่ กัน ถ้าผู้มอี าํ นาจ อนญุ าตเห็นสมควร จะส่ัง
ให้มีใบรับรองแพทย์ตามวรรคสามประกอบใบลา หรอื สัง่ ให้ผู้ลาไปรับการ ตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพื่อ
ประกอบการพจิ ารณาอนญุ าตก็ได้

การลาคลอดบุตร ขา้ ราชการซง่ึ ประสงค์จะลาคลอดบุตร ให้เสนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อผบู้ งั คบั บัญชา
ตามลาํ ดับ จนถงึ ผู้มอี าํ นาจอนญุ าตกอ่ นหรอื ในวันทลี่ า เว้นแต่ไม่สามารถจะลงชอ่ื ในใบลาได้จะใหผ้ ู้อน่ื ลา แทน กไ็ ด้
แตเ่ ม่ือสามารถลงชอื่ ได้แล้วใหเ้ สนอหรอื จัดส่งใบลาโดยเรว็ และมสี ิทธลิ าคลอดบตุ รโดยไดร้ บั เงนิ เดอื นคร้งั หนงึ่ ได้
การลาคลอดบตุ รจะลาในวนั ที่คลอดก่อนหรอื หลงั วันท่คี ลอดบุตรกไ็ ด้แตเ่ มอ่ื รวมวนั ลา แล้ว ต้องไมเ่ กนิ 90 วัน

การลากิจส่วนตวั ข้าราชการซึ่งประสงคจ์ ะลากิจสว่ นตวั ใหเ้ สนอหรอื จดั ส่งใบลาต่อผู้บงั คับบญั ชา
ตามลําดับ จนถงึ ผู้มอี ํานาจอนญุ าต และเมื่อไดร้ บั อนุญาตแลว้ จึงจะหยุดราชการได้เว้นแต่มเี หตจุ าํ เป็น ไม่ สามารถ
รอรบั อนญุ าตไดท้ นั จะเสนอหรอื จดั สง่ ใบลาพร้อมด้วยระบเุ หตุจาํ เป็นไว้แลว้ หยดุ ราชการ ไปก่อนก็ ไดแ้ ตจ่ ะตอ้ ง
ชี้แจงเหตผุ ลใหผ้ ู้มอี าํ นาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพเิ ศษท่ีไม่อาจเสนอหรอื จดั สง่ ใบลากอ่ นตามวรรคหน่ึง
ได้
ให้เสนอหรอื จดั ส่ง ใบลาพร้อมท้ังเหตผุ ลความจาํ เป็นตอ่ ผบู้ ังคบั บญั ชาตามลําดบั จนถงึ ผมู้ ีอํานาจอนญุ าต ทันทีใน
วันแรก ที่มาปฏิบตั ริ าชการ ขา้ ราชการมสี ทิ ธลิ ากจิ สว่ นตัว
โดยได้รบั เงนิ เดือนปลี ะไม่เกิน 45 วนั ทาํ การ ขา้ ราชการทล่ี าคลอดบุตรตามข้อ

18 แล้ว หากประสงค์จะลากจิ ส่วนตัวเพ่อื เลีย้ งดบู ุตรให้มี สทิ ธิลาต่อเน่ืองจากการลาคลอดบตุ รได้ไมเ่ กิน 150 วันทํา
การ โดยไม่มสี ทิ ธิได้รบั เงนิ เดอื นระหวา่ งลา

การลาพักผ่อน ขา้ ราชการมีสทิ ธลิ าพกั ผอ่ นประจําปีในปหี นง่ึ ได้ 10 วันทําการ

เว้นแตข่ า้ ราชการดงั ต่อไปน้ี ไม่มสี ิทธลิ าพกั ผ่อนประจาํ ปีในปที ไ่ี ดร้ ับบรรจุเขา้ รบั ราชการยงั ไม่ถงึ 6 เดอื น 1. ผู้ซงึ่
ได้รับบรรจุเขา้ รับราชการเป็นข้าราชการครง้ั แรก ผู้ซง่ึ ลาออกจากราชการเพราะเหตสุ ว่ นตวั แลว้ ตอ่ มาไดร้ ับบรรจุ
เขา้ รับราชการอกี

2. ผซู้ ง่ึ ลาออกจากราชการเพ่ือดํารงตําแหนง่ ทางการเมอื ง หรอื เพอ่ื สมคั รรบั เลอื กตงั้ แล้ว
ต่อมาได้รับบรรจเุ ขา้ รบั ราชการอีกหลัง 6 เดอื น นบั แตว่ นั ออกจากราชการ

3. ผู้ซง่ึ ถกู สง่ั ให้ออกจากราชการในกรณีอนื่ นอกจากกรณไี ปรบั ราชการทหารตามกฎหมาย วา่ ด้วย การรบั
ราชการทหารและกรณไี ปปฏิบัตงิ านใด ๆ ตามความประสงคข์ องทางราชการ แล้วต่อมา ไดร้ บั บรรจุ เข้ารับราชการ
อีกถา้ ในปีใดข้าราชการผู้ใดมไิ ด้ลาพกั ผ่อนประจําปหี รอื ลาพกั ผ่อนประจําปี แล้วแต่ไม่ครบ 10 วนั ทาํ การ ใหส้ ะสม
วนั ที่ยงั มิไดล้ าในปนี ั้นรวมเขา้ กบั ปตี อ่ ๆไปได้แตว่ ันลาพักผอ่ น สะสมรวมกบั วันลา
พักผ่อนในปปี จั จบุ นั จะตอ้ งไม่เกนิ 20 วนั ทาํ การ สําหรับผู้ทไี่ ดร้ ับราชการตดิ ต่อกนั มาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี ให้มสี ิทธิ
นําวันลาพักผอ่ นสะสม รวมกบั วันลาพักผอ่ นในปปี จั จบุ นั ไดไ้ ม่เกนิ 30 วันทาํ การ

การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ข้าราชการซง่ึ ประสงค์จะลาอปุ สมบทใน พระพทุ ธศาสนา
หรือข้าราชการท่นี บั ถอื ศาสนา อสิ ลามซ่ึงประสงคจ์ ะลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอดุ อี าระเบียให้
เสนอหรอื จัดส่งใบลาต่อผู้บงั คับบญั ชาตามลําดับจนถงึ ผู้มอี ํานาจพจิ ารณาหรอื อนุญาตกอ่ นวนั อปุ สมบทหรอื ก่อนวนั
เดินทางไปประกอบพธิ ีฮจั ยไ์ ม่น้อยกว่า 60 วนั ในกรณีมีเหตพุ ิเศษไม่ อาจเสนอหรือจัดสง่ ใบลาก่อนตามวรรคหนง่ึ ให้
ชแี้ จงเหตผุ ลความ จาํ เป็นประกอบการลา และให้อยใู่ น ดุลพินจิ ของผู้มอี ํานาจทจี่ ะพจิ ารณาใหล้ าหรือไม่กไ็ ด้
ข้าราชการทไ่ี ดร้ บั พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ลาอปุ สมบทหรอื ไดร้ บั อนญุ าตใหล้ าไป ประกอบพิธีฮจั ยแ์ ลว้

จะตอ้ งอปุ สมบทหรอื ออกเดนิ ทางไปประกอบพธิ ีฮจั ยภ์ ายใน 10 วนั นบั แต่ วนั เร่มิ ลาและจะตอ้ งกลับมารายงานตวั
เข้าปฏิบัตริ าชการภายใน 5 วนั นบั แต่ วันทลี่ าสิกขาหรือ วันที่เดินทางกลบั ถึงประเทศไทยหลังจากการเดินทางไป
ประกอบพธิ ีฮจั ย์ การลาเขา้ รับการตรวจเลอื กหรอื เขา้ รบั การเตรียมพล ขา้ ราชการที่ไดร้ บั หมายเรียกเขา้ รบั การ
ตรวจเลอื ก ใหร้ ายงานลาต่อผบู้ งั คบั บญั ชาก่อนวัน เข้ารบั การตรวจเลือกไม่น้อยกวา่ 48 ชัว่ โมง ส่วน ขา้ ราชการท่ี
ได้รบั หมายเรียกเข้ารับการเตรียมพล ใหร้ ายงานลาตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชาภายใน 48 ชว่ั โมง นับแต่ เวลารบั หมายเรียกเปน็
ตน้ ไป และใหไ้ ปเข้า รับการตรวจเลอื กหรอื เข้ารับการเตรียมพลตามวันเวลาใน หมายเรียกนั้นโดยไม่ต้องรอรับคําสัง่
อนุญาต และใหผ้ ู้บงั คบั บญั ชาเสนอรายงานลาไปตามลําดบั จนถึง หวั หนา้ ส่วนราชการหรอื หวั หนา้ สว่ นราชการข้ึน
ตรง

การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรมดงู าน หรือปฏิบตั ิการวจิ ัย ข้าราชการซงึ่ ประสงคจ์ ะลาไปศกึ ษาฝกึ อบรม ดูงาน
หรือปฏบิ ตั ิการวิจยั ณ ต่างประเทศ ใหเ้ สนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บงั คับบญั ชาตามลาํ ดบั จนถึง ปลดั กระทรวงหรือ
หวั หน้าสว่ นราชการข้นึ ตรงเพือ่ พจิ ารณาอนุญาตสาํ หรบั การลาไปศึกษาฝึกอบรมดงู าน หรอื ปฏิบัตกิ ารวจิ ัยในประเทศ
ใหเ้ สนอหรอื จัดสง่ ใบลาตามลําดบั จนถงึ หวั หน้าสว่ นราชการ หรือหวั หนา้ สว่ น ราชการขึ้นตรงเพื่อพจิ ารณาอนญุ าต
เวน้ แตข่ า้ ราชการกรงุ เทพมหานครใหเ้ สนอหรือจัดส่งใบลาตอ่ ปลัด กรงุ เทพมหานครสําหรบั หวั หน้า สว่ นราชการให้
เสนอหรอื จดั สง่ ใบลาตอ่ ปลดั กระทรวง หัวหน้าส่วนราชการ ขึ้นตรงและข้าราชการ ในราชบัณฑิตยสถานใหเ้ สนอหรอื
จัดสง่ ใบลาตอ่ รัฐมนตรีเจ้าสงั กัดสว่ นปลดั กรุงเทพมหานครให้เสนอ หรอื จดั สง่ ใบลาต่อผู้วา่ ราชการกรงุ เทพมหานคร
เพ่ือพจิ ารณาอนญุ าต

การลาไปปฏิบตั ิงานในองค์การระหว่างประเทศ ข้าราชการซง่ึ ประสงค์จะลาไปปฏบิ ตั งิ านใน องค์การ
ระหว่างประเทศ ใหเ้ สนอหรอื จดั ส่งใบลา ตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชาตามลําดบั จนถงึ รฐั มนตรเี จา้ สงั กัดเพอ่ื พจิ ารณา โดย
ถือปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ทก่ี าํ หนด

การลาติดตามคู่สมรส ข้าราชการซ่งึ ประสงค์ติดตามคสู่ มรสใหเ้ สนอหรือจดั สง่ ใบลาต่อ ผู้บงั คับบญั ชา
ตามลาํ ดบั จนถงึ ปลัดกระทรวงหรือหัวหนา้ ส่วนราชการขึ้นตรงแลว้ แตก่ รณี เพ่อื พจิ ารณาอนญุ าตให้ลาได้ไมเ่ กนิ
สองปแี ละในกรณีจําเปน็ อาจอนญุ าตให้ลาไดอ้ กี สองปี แตเ่ มอื่ รวมแล้วตอ้ งไม่เกินสี่ปถี ้าเกินสป่ี ใี หล้ าออกจาก
ราชการสําหรับปลดั กระทรวง หัวหนา้ สว่ นราชการขนึ้ ตรง และข้าราชการ ในราชบัณฑิตยสถานใหเ้ สนอหรอื
จดั สง่ ใบลาตอ่ รัฐมนตรีเจา้ สงั กัด ส่วนปลัดกรงุ เทพมหานครใหเ้ สนอ หรอื จดั สง่ ใบลาต่อผู้ว่าราชการ
กรุงเทพมหานครเพอ่ื พจิ ารณา อนุญาต

วินัยและการดาํ เนินการทางวินยั

วินัย : การควบคุมความประพฤติของคนในองค์กรใหเ้ ป็นไปตามแบบแผนท่ีพึงประสงค์ วินัยขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา : ข้อบัญญตั ทิ กี่ ําหนดเปน็ ขอ้ ห้ามและ ข้อปฏบิ ัตติ ามหมวด 6 แหง่ พระราชบญั ญัติ
ระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่ แก้ไขเพมิ่ เตมิ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551

โทษทางวินัย มี5 สถาน คือ
วินัยไม่ร้ายแรง มีดังน้ี

1. ภาคทณั ฑ์

2. ตดั เงนิ เดอื น
3. ลดขั้นเงนิ เดอื น

วินยั ร้ายแรง มดี ังน้ี

4. ปลดออก
5. ไล่ออก

การวา่ กล่าวตักเตือนหรอื การทาํ ทณั ฑบ์ นไม่ถือว่าเปน็ โทษทางวนิ ยั ใชใ้ นกรณที ี่เป็นความผดิ เลก็ น้อย และมี
เหตอุ ันควรงดโทษ การวา่ กล่าวตักเตือนไม่ตอ้ งทําเป็นหนังสอื
แตก่ ารทําทัณฑบ์ นตอ้ งทําเปน็ หนงั สอื (มาตรา 100 วรรคสอง)

โทษภาคทณั ฑ์
ใช้ลงโทษในกรณที ี่เป็นความผิดเลก็ นอ้ ยหรอื มเี หตอุ ันควรลดหย่อน โทษภาคทณั ฑ์ไม่ตอ้ งหา้ มการเลอื่ นขัน้
เงินเดือน
โทษตัดเงินเดอื นและลดข้ันเงนิ เดอื น
ใช้ลงโทษในความผิดท่ีไม่ถงึ กบั เป็นความผิดรา้ ยแรง และไม่ใชก่ รณที ่ีเป็นความผดิ
เล็กนอ้ ย โทษปลดออกและไล่ออก ใชล้ งโทษในกรณีท่เี ปน็ ความผิดวินยั ร้ายแรงเทา่ นั้น
การลดโทษความผดิ วินยั ร้ายแรง

หา้ มลดโทษต่ำกว่าปลดออก ผู้ถกู ลงโทษปลดออกมสี ทิ ธไิ ดร้ บั บําเหนจ็ บาํ นาญเสมอื นลาออก การสงั่
ใหอ้ อกจากราชการไมใ่ ชโ่ ทษทางวนิ ัย

วนิ ยั ไม่รา้ ยแรง ไดแ้ ก่

1. ไม่สนบั สนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมขุ ตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดว้ ยความบริสทุ ธใ์ิ จ

2. ไม่ปฏบิ ัตหิ นา้ ทร่ี าชการด้วยความซอ่ื สัตย์สจุ ริต เสมอภาค และเท่ยี งธรรม

ตอ้ งมคี วามวิริยะ อตุ สาหะขยันหมั่นเพียร ดแู ลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ และ
ต้องปฏิบตั ติ น ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวชิ าชพี

3. อาศยั หรอื ยอมให้ผอู้ ื่นอาศัยอํานาจและหน้าที่ราชการของตนไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือ
ทางอ้อมหาประโยชนใ์ ห้แก่ตนเองและผู้อืน่

4. ไม่ปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายระเบยี บแบบแผนของทางราชการและ หน่วยงาน
การศกึ ษามติครม. หรอื นโยบายของรัฐบาลโดยถอื ประโยชนส์ งู สุดของผู้เรยี น
และไม่ให้ เกดิ ความเสียหายแก่ราชการ

5. ไม่ปฏิบตั ติ ามคําสัง่ ของผบู้ ังคบั บัญชาซง่ึ สงั่ ในหนา้ ทรี่ าชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ ระเบียบ ของทาง
ราชการแตถ่ ้าเหน็ วา่ การปฏิบัตติ ามคาํ สง่ั น้นั จะทําใหเ้ สยี หายแก่ราชการหรือจะ เป็นการไมร่ กั ษาประโยชนข์ องทาง
ราชการจะเสนอความเห็นเปน็ หนงั สือภายใน 7 วนั เพือ่ ให้ผบู้ ังคับ บญั ชาทบทวนคําสง่ั กไ็ ดแ้ ละเมื่อเสนอความเหน็
แล้ว ถา้ ผู้บังคับบัญชายืนยนั เป็นหนงั สอื ให้ ปฏบิ ตั ิ ตามคาํ สง่ั เดมิ ผอู้ ยใู่ ต้บงั คบั บัญชาตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม

6. ไม่ตรงต่อเวลา ไม่อทุ ศิ เวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรยี น ละทง้ิ หรือทอดทง้ิ หนา้ ที่ ราชการ
โดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร

7. ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี กผ่ เู้ รียนชมุ ชน สงั คม ไม่สภุ าพเรยี บร้อยและรักษา ความ สามคั คีไม่
ช่วยเหลอื เกอ้ื กลู ต่อผู้เรยี นและข้าราชการด้วยกนั หรือผรู้ ว่ มงานไม่ต้อนรบั หรอื ใหค้ วามสะดวก ใหค้ วามเปน็ ธรรม
ตอ่ ผู้เรยี นและประชาชนผู้มาติดตอ่ ราชการ

8. กลน่ั แกลง้ กลา่ วหา หรอื รอ้ งเรยี นผู้อ่ืนโดยปราศจากความเปน็ จรงิ

9. กระทําการหรือยอมใหผ้ ู้อื่นกระทําการหาประโยชนอ์ ันอาจทําใหเ้ สอ่ื มเสียความเท่ียงธรรม หรือ เสื่อม
เสียเกยี รติศักด์ิในตาํ แหนง่ หนา้ ท่ีราชการของตน

10. เป็นกรรมการผู้จัดการ หรอื ผจู้ ัดการ หรือดํารงตาํ แหนง่ อ่นื ใดที่มลี กั ษณะงานคลา้ ยคลงึ กันน้ัน ในหา้ ง
หุ้นสว่ นหรือบริษัท

11. ไม่วางตนเป็นกลางทางการเมอื งในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี และในการปฏบิ ัตกิ ารอืน่ ทีเ่ ก่ยี วข้อง กบั
ประชาชนอาศัยอาํ นาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝกั ใฝ่สง่ เสรมิ
เกื้อกลู สนบั สนนุ บคุ คล กลมุ่ บุคคลหรอื พรรคการเมืองใด

12. กระทําการอนั ใดอันได้ชอื่ วา่ เปน็ ผู้ประพฤตชิ ัว่

13. เสรมิ สร้างและพฒั นาให้ผอู้ ยู่ใต้บงั คบั บัญชามวี ินยั ไม่ปอ้ งกนั มใิ ห้ผู้อยใู่ ตบ้ ังคับบญั ชา กระทํา ผิดวินยั
หรอื ละเลย หรอื มพี ฤตกิ รรมปกปอ้ ง ช่วยเหลอื มิใหผ้ ู้อยใู่ ต้บงั คบั บญั ชาถูกลงโทษทางวินยั หรือปฏิบตั ิ หน้าที่ดงั กล่าว
โดยไม่สจุ ริต

วินัยร้ายแรง ไดแ้ ก่

1. ทจุ รติ ต่อหนา้ ทรี่ าชการ

2. จงใจไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎหมายระเบยี บแบบแผนของทางราชการและหนว่ ยงานการศึกษามติครม. หรือ
นโยบายของรฐั บาลประมาทเลนิ เล่อหรอื ขาดการเอาใจใสร่ ะมดั ระวังรักษาประโยชน์ ของทางราชการอัน เป็นเหตใุ ห้
เกิดความเสยี หายแกร่ าชการอย่างร้ายแรง

3. ขดั คําสงั่ หรอื หลีกเล่ียงไมป่ ฏิบตั ติ ามคาํ ส่งั ของผู้บงั คับบัญชาซง่ึ ส่งั ในหน้าทรี่ าชการ โดยชอบดว้ ย
กฎหมายและระเบยี บของทางราชการอนั เป็นเหตุใหเ้ สียหายแก่ราชการอย่างรา้ ยแรง

4. ละท้งิ หน้าทหี่ รอื ทอดทงิ้ หน้าทรี่ าชการ โดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควรเปน็ เหตุใหเ้ สียหายแก่ราชการ อยา่ ง
ร้ายแรง

5. ละท้ิงหน้าทรี่ าชการติดตอ่ ในคราวเดียวกนั เป็นเวลาเกนิ กวา่ 15 วัน

โดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร

6. กลั่นแกลง้ ดหู มิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรอื ข่มเหงผเู้ รียนหรอื ประชาชนผู้มาติดตอ่ ราชการ อย่าง
รา้ ยแรง

7. กลนั่ แกลง้ กล่าวหา หรอื รอ้ งเรยี นผู้อ่นื โดยปราศจากความเปน็ จรงิ
เป็นเหตใุ หผ้ ู้อน่ื ได้รบั ความเสยี หายอย่างร้ายแรง

8. กระทําการหรือยอมใหผ้ ู้อ่นื กระทําการหาประโยชนอ์ ันอาจทาํ ใหเ้ สอื่ มเสยี ความเท่ยี งธรรม หรอื เสื่อม
เสียเกียรติศักดิ์ในตําแหนง่ หนา้ ที่ราชการโดยมุ่งหมายจะใหเ้ ปน็ การซือ้ ขายหรอื ใหไ้ ดร้ บั แตง่ ตั้งให้ดํารง ตําแหนง่
หรอื วิทยฐานะใดโดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย
หรอื เป็นการกระทําอนั มลี กั ษณะ เป็นการใหห้ รือได้มาซึง่ ทรพั ย์สินหรอื สทิ ธิประโยชนอ์ ืน่ เพอ่ื ใหต้ นเองหรอื ผู้อนื่
ได้รับการบรรจแุ ละ แต่งต้ังโดยมชิ อบ
9. คดั ลอกหรอื ลอกเลยี นผลงานทางวชิ าการของผู้อื่นโดยมชิ อบหรือนาํ เอาผลงานทาง วชิ าการของผอู้ ื่น หรือจ้าง
วาน ใชผ้ ู้อ่ืนทาํ ผลงานทางวิชาการเพอ่ื ไปใชใ้ นการเสนอขอปรบั ปรุง การกําหนดตาํ แหนง่ การเลื่อนตําแหนง่ การ

เลือ่ นวิทยฐานะ หรอื การใหไ้ ด้รบั เงนิ เดอื นในระดบั ทสี่ งู ขึน้
10. รว่ มดาํ เนินการคัดลอกหรอื ลอกเลยี นผลงานของผู้อืน่ โดยมชิ อบ หรอื รบั จดั ทําผลงานทาง วิชาการ
ไม่วา่ จะมีค่าตอบแทนหรอื ไม่เพอ่ื ใหผ้ ู้อน่ื นําผลงานนน้ั ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ ปรับปรงุ การกําหนด ตําแหน่งเล่ือน
ตําแหน่ง เลอื่ นวิทยฐานะ หรอื ใหไ้ ด้รบั เงินเดอื นในอันดบั ทสี่ งู ข้นึ
11. เข้าไปเก่ยี วข้องกบั การดาํ เนินการใด ๆ อนั มลี กั ษณะเปน็ การทจุ รติ โดยการซอ้ื สทิ ธิหรือขาย เสียงใน
การเลอื กตงั้ สมาชกิ รัฐสภา สมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ ผู้บริหารทอ้ งถิน่
หรือการเลือกตัง้ อ่นื ทมี่ ีลกั ษณะเปน็ การสง่ เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย รวมทัง้
การสง่ เสรมิ สนับสนนุ หรือ ชักจูงให้ผอู้ ่นื กระทําการในลักษณะเดยี วกัน
12. กระทําความผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษจาํ คุก หรอื โทษทห่ี นกั กวา่ จําคุกโดยคําพิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ให้ จําคุก
หรือใหร้ บั โทษทห่ี นักกวา่ จาํ คุก เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาํ หรบั ความผิดทไ่ี ดก้ ระทําโดยประมาท หรอื ลหโุ ทษ หรือกระทํา
การอนื่ ใดอนั ได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอยา่ งร้ายแรง
13. เสพยาเสพติด หรือสนบั สนุนใหผ้ ู้อน่ื เสพยาเสพตดิ
14. เล่นการพนันเป็นอาจณิ
15. กระทาํ การล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษาไมว่ า่ จะอยใู่ นความดูแลรบั ผิดชอบ ของ ตน
หรือไม่

การดําเนนิ การทางวินัย
การดาํ เนนิ การทางวินยั กระบวนการและข้ันตอนการดาํ เนินการในการออกคาํ สงั่ ลงโทษ ซงึ่ เปน็ ข้ันตอน
ท่มี ลี ําดบั ก่อนหลงั ตอ่ เนอ่ื งกนั อนั ไดแ้ ก่ การตัง้ เรอื่ งกล่าวหา
การสบื สวนสอบสวน การพจิ ารณาความผดิ และกําหนดโทษและการสงั่ ลงโทษ
รวมท้งั การดําเนนิ การต่าง ๆ ในระหว่างการสอบสวนพจิ ารณา เช่น การส่งั พกั

การสงั่ ใหอ้ อกไว้กอ่ น เพอ่ื รอฟงั ผลการสอบสวนพจิ ารณา
หลกั การดําเนินการทางวนิ ัย

1. กรณที ี่ผบู้ งั คับบญั ชาพบว่าผู้ใต้บงั คบั บญั ชาผู้ใดกระทาํ ผิดวินัยโดยมีพยานหลกั ฐาน ใน
เบอื้ งตน้ อยู่แลว้ ผบู้ งั คบั บญั ชากส็ ามารถดําเนนิ การทางวินยั ไดท้ นั ที

2. กรณที ีม่ ีการรอ้ งเรียนด้วยวาจาใหจ้ ดปากคํา ให้ผรู้ ้องเรยี นลงลายมอื ชอื่ และวัน
เดอื น ปพี รอ้ มรวบรวมพยานหลกั ฐานอน่ื ๆ ประกอบการพจิ ารณาแล้วดาํ เนินการใหม้ ีการสืบสวนข้อเทจ็ จรงิ โดยตั้ง
กรรมการสบื สวนหรอื สง่ั ใหบ้ คุ คลใดไปสบื สวนหากเหน็ วา่ มมี ลู
กต็ ัง้ คณะกรรมการสอบสวน ต่อไป

3. กรณมี กี ารรอ้ งเรียนเปน็ หนงั สอื ผู้บงั คบั บญั ชาตอ้ งสบื สวนในเบอ้ื งต้นก่อนหากเหน็ วา่ ไม่มีมลู กส็ ัง่ ยุตเิ รอื่ ง
ถ้าเห็นว่ามมี ลู กต็ ้งั คณะกรรมการสอบสวนต่อไป กรณหี นงั สอื รอ้ งเรียนไมล่ ง ลายมือชือ่ และท่ีอยขู่ อง ผู้รอ้ งเรียน
หรือไมป่ รากฏพยานหลักฐานที่แนน่ อนจะเขา้ ลกั ษณะของบตั ร สนเทห่ ์ มตคิ รม.หา้ มมิใหร้ บั ฟัง เพราะจะทาํ ให้
ข้าราชการเสียขวญั ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี

ข้นั ตอนการดาํ เนินการทางวนิ ัย
1. การตงั้ เรื่องกล่าวหาเป็นการตงั้ เรอื่ งดําเนนิ การทางวนิ ัยแก่ข้าราชการเมื่อปรากฏ กรณมี มี ูลทีค่ วรกลา่ วหา
ว่า กระทาํ ผิดวินยั มาตรา 98 กําหนดใหผ้ บู้ งั คบั บัญชาแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน เพอื่ ดําเนนิ การ สอบสวนใหไ้ ด้
ความจรงิ และความยุติธรรมโดยไม่ชกั ช้าผู้ต้งั เรอื่ งกล่าวหาคอื ผู้บงั คับบญั ชาของ ผู้ถูก กล่าวหาความผิดวนิ ยั ไม่รา้ ยแรง
ผู้บงั คบั บญั ชาช้ันตน้ คอื ผู้อํานวยการสถานศึกษาสามารถแตง่ ตั้ง กรรมการสอบสวนข้าราชการในโรงเรียนทุกคน
ความผิดวนิ ยั รา้ ยแรง ผบู้ ังคบั บญั ชาผู้มีอาํ นาจบรรจุ และ แตง่ ตง้ั ตามมาตรา 53 เป็นผู้มอี ํานาจบรรจุและแต่งตัง้
คณะกรรมการสอบสวน
2. การแจ้งขอ้ กล่าวหา มาตรา 98 กาํ หนดไว้วา่ ในการสอบสวนจะต้องแจง้ ข้อกลา่ วหาและสรปุ
พยานหลกั ฐาน ที่สนบั สนุนข้อกลา่ วหาเท่าทม่ี ใี หผ้ ู้ถกู กลา่ วหาทราบ
โดยระบหุ รอื ไม่ระบุช่ือพยานกไ็ ดเ้ พ่อื ใหผ้ ู้ถกู กล่าวหามีโอกาสชีแ้ จงและนําสบื แกข้ อ้ กล่าวหา
3. การสอบสวน คือ การรวบรวมพยานหลกั ฐานและการดาํ เนนิ การท้ังหลายอื่นเพอื่ จะ
ทราบข้อเทจ็ จริง และพฤติการณ์ต่าง ๆ หรือพสิ ูจนเ์ ก่ยี วกบั เรื่องทกี่ ลา่ วหาเพอื่ ใหไ้ ด้ความจรงิ และ
ยุติธรรม และ เพือ่ พจิ ารณาวา่ ผู้ถกู กล่าวหาได้กระทําผดิ วนิ ัยจรงิ หรือไม่ถ้าผิดจรงิ กจ็ ะได้ลงโทษ
ข้อยกเวน้ กรณีทีเ่ ป็นความผดิ ท่ปี รากฏชัดแจง้ ตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดาํ เนนิ การ ทางวินยั โดย
ไม่สอบสวนกไ็ ด้

ความผดิ ทป่ี รากฏชดั แจ้งตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.ค.ศ.
วา่ ดว้ ยกรณีความผิดท่ปี รากฏชัดแจง้ พ.ศ. 2549

ก. การกระทําผดิ วินัยอยา่ งไม่รา้ ยแรงทเ่ี ปน็ กรณคี วามผิดทีป่ รากฏอย่างชัดแจง้ ไดแ้ ก่ (1) กระทาํ
ความผิดอาญาจนตอ้ งคาํ พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ วา่ ผู้นัน้ กระทาํ ผดิ และผบู้ งั คับ บญั ชาเห็นวา่ ขอ้ เท็จจรงิ ตามคําพพิ ากษา
ประจักษ์ชดั

(2) กระทําผดิ วนิ ัยไม่รา้ ยแรงและไดร้ ับสารภาพเป็นหนังสอื ตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชาหรอื
ให้ถอ้ ยคาํ รบั สารภาพตอ่ ผู้มหี น้าทส่ี บื สวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบนั ทึกถ้อยคาํ เปน็
หนงั สือ

ข. การกระทาํ ผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรงทเ่ี ป็นกรณคี วามผดิ ทป่ี รากฏชัดแจ้ง ไดแ้ ก่

(1) กระทาํ ความผิดอาญาจนไดร้ บั โทษจาํ คุกหรือโทษที่หนกั กว่าจาํ คุกโดยคําพิพากษาถึงทส่ี ดุ ให้ จําคกุ
หรอื ลงโทษทหี่ นักกวา่ จาํ คุก

(2) ละทงิ้ หนา้ ทรี่ าชการตดิ ต่อในคราวเดียวกันเปน็ เวลาเกินกวา่ 15 วัน
ผู้บังคบั บญั ชา สบื สวนแลว้ เห็นว่าไม่มเี หตผุ ลสมควร หรือมพี ฤติการณ์อันแสดงถงึ ความจงใจไม่ปฏบิ ตั ติ าม
ระเบียบ ของทางราชการ

(3) กระทาํ ผิดวินยั อย่างรา้ ยแรงและได้รบั สารภาพเป็นหนงั สอื ต่อผู้บงั คับบญั ชา
หรือให้ ถ้อยคาํ รบั สารภาพตอ่ ผู้มหี นา้ ทส่ี บื สวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมกี ารบันทึกถอ้ ยคําเป็น
หนงั สือ

การอุทธรณ์
มาตรา 121 และมาตรา 122 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากร ทาง การศกึ ษา

พ.ศ. 2547 บญั ญัตใิ ห้ผู้ถูกลงโทษทางวินัยมสี ทิ ธอิ ทุ ธรณ์คําสงั่ ลงโทษตอ่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ การศึกษา อ.ก.ค.ศ.
ที่ ก.ค.ศ. ตัง้ แลว้ แตก่ รณภี ายใน 30 วนั
เงือ่ นไขในการอทุ ธรณ์

ผู้อทุ ธรณ์ ตอ้ งเป็นผู้ทีถ่ กู ลงโทษทางวินยั และไม่พอใจผลของคําส่งั ลงโทษผู้อทุ ธรณ์ต้อง อทุ ธรณ์เพื่อ
ตนเองเท่านั้น ไม่อาจอทุ ธรณ์แทนผู้อน่ื ได้

ระยะเวลาอทุ ธรณ์ ภายใน 30 วนั นับแตว่ นั ทไ่ี ดร้ ับแจง้ คาํ สง่ั ลงโทษต้องทาํ เป็นหนังสอื การอุทธรณ์
โทษวนิ ยั ไม่ร้ายแรง
การอุทธรณ์คําสง่ั โทษภาคทณั ฑต์ ัดเงนิ เดอื น หรอื ลดขัน้ เงนิ เดอื นท่ีผบู้ งั คับบัญชาสง่ั ดว้ ยอํานาจของตนเอง ต้อง
อุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาหรอื อ.ก.ค.ศ.สว่ นราชการ
เวน้ แต่ การส่งั ลงโทษตามมติใหอ้ ุทธรณ์ตอ่ ก.ค.ศ.
การอทุ ธรณโ์ ทษวนิ ัยร้ายแรง
การอุทธรณ์คาํ ส่งั ลงโทษปลดออกหรือไล่ออกจากราชการตอ้ งอุทธรณ์ต่อก.ค.ศ.ทง้ั นีก้ ารร้องทุกข์คาํ สง่ั ให้ออก จาก
ราชการหรือคําสัง่ พักราชการหรอื ใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ นก็ตอ้ ง

รอ้ งทกุ ขต์ อ่ ก.ค.ศ.เช่นเดียวกัน
การร้องทกุ ข์

หมายถึงผู้ถกู กระทบสทิ ธหิ รอื ไม่ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมจากคาํ สง่ั ของฝ่ายปกครอง
หรอื คบั ข้องใจจากการกระทําของผบู้ ังคบั บญั ชาใชส้ ทิ ธริ ้องทุกข์ขอความเป็นธรรมขอให้เพกิ ถอนคําส่ังหรอื
ทบทวนการกระทาํ ของฝ่ายปกครองหรือของผู้บงั คบั บญั ชา

มาตรา122และมาตรา123แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ.
2547บญั ญตั ใิ หผ้ ู้ถูกสงั่ ให้ออกจากราชการมีสทิ ธิรอ้ งทุกข์ต่อก.ค.ศ.
และผซู้ ่งึ ตน เห็นว่าตนไม่ได้รบั ความเป็นธรรมหรอื มคี วามคบั ข้องใจเนื่องจากการกระทําของผบู้ ังคับบญั ชา หรอื
กรณถี ูกตง้ั กรรมการสอบสวนมสี ทิ ธริ ้องทกุ ขต์ อ่ อ.ก.ค.ศ.เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาอ.ก.ค.ศ.ทก่ี .ค.ศ.ตงั้ หรอื ก.ค. ศ.แล้วแต่
กรณภี ายใน30วนั

ผู้มสี ิทธิร้องทกุ ข์ไดแ้ ก่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
เหตทุ จี่ ะร้องทุกข์

(1) ถกู ส่ังใหอ้ อกจากราชการ
(2) ถกู สัง่ พกั ราชการ
(3) ถกู สั่งใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น
(4) ไม่ได้รบั ความเป็นธรรม หรอื คับข้องใจจากการกระทาํ ของผบู้ ังคบั บญั ชา
(5) ถูกตงั้ กรรมการสอบสวน

การเลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื น
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาจะได้รบั การพิจารณาเลือ่ นข้ันเงนิ เดือนในแตล่ ะครงั้ ตอ้ งอยู่ ใน

เกณฑ์ดงั นี้
1. ในครึ่งปที ่ีแล้วมามีผลการปฏิบตั งิ าน ความประพฤตใิ นการรักษาวนิ ยั

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพอยใู่ นเกณฑ์ทส่ี มควรได้เลือ่ นขัน้ เงินเดอื น 2. ในครงึ่ ปที ี่แล้วมาจนถึงวัน
ออกคําสงั่ เลื่อนข้ันเงินเดือนไม่ถูกลงโทษทางวนิ ัยทห่ี นกั กวา่ โทษ ภาคทณั ฑห์ รือถกู ลงโทษในคดีอาญาใหล้ งโทษใน
ความผดิ ทเ่ี ก่ยี วกบั การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีราชการ หรอื ความผดิ ที่ทาํ ใหเ้ สือ่ มเสียเกยี รติศกั ดิ์ของตําแหนง่ หน้าท่รี าชการ
ของตน
ซง่ึ ไม่ไชค่ วามผิดท่ไี ดก้ ระทาํ โดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ

3. ในคร่ึงปที ่ีแล้วมาต้องไม่ถูกสง่ั พกั ราชการเกินกว่าสองเดอื น
4. ในครง่ึ ปที ่ีแล้วมาตอ้ งไม่ขาดราชการโดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร

5. ในครึง่ ปที ่ีแล้วมาได้รับการบรรจเุ ข้ารบั ราชการมาแลว้ เปน็ เวลาไม่นอ้ ยกว่าสเี่ ดือ 6. ในคร่งึ ปที ่ีแลว้
มาถ้าเปน็ ผู้ไดร้ บั อนญุ าตไปศกึ ษาในประเทศฝกึ อบรมและดงู าน ณ ต่างประเทศต้องได้ปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการใน
ครง่ึ ปที ่ีแลว้ มาเป็นเวลาไม่น้อยกวา่ สเี่ ดือน 7. ในครงึ่ ปที ี่แล้วมาตอ้ งไม่ลาหรือมาทํางานสายเกนิ จาํ นวนครง้ั ที่
หัวหน้าสว่ นราชการกาํ หนด 8. ในครงึ่ ปที ี่แล้วมาตอ้ งมเี วลาปฏิบัตริ าชการหกเดอื นโดยมวี ันลาไม่เกินยสี่ ิบสาม
วนั แต่ไม่รวมวันลา ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ลาอปุ สมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮจั ย์
2) ลาคลอดบุตรไม่เกินเก้าสิบวัน
3) ลาปว่ ยซ่งึ จาํ เปน็ ต้องรักษาตัวเปน็ เวลานานไม่วา่ คราวเดียวหรอื หลายคราวรวมกนั ไม่เกนิ
หกสบิ วันทาํ การ
4) ลาปว่ ยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัตริ าชการตามหน้าท่หี รือในขณะเดินทางไป หรอื กลบั จาก
การปฏบิ ัตริ าชการตามหน้าท่ี
5) ลาพกั ผอ่ น
6) ลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเข้ารบั การเตรียมพล
7) ลาไปปฏิบตั งิ านในองค์การระหว่างประเทศ

การฝึกอบรมและลาศกึ ษาต่อ
การฝึกอบรม หมายความว่า การเพม่ิ พนู ความรู้ความชาํ นาญ หรอื ประสบการณ์ด้วยการเรยี น หรอื การ

วิจยั ตามหลกั สูตรของการฝกึ อบรม หรือการสัมมนาอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การดําเนนิ งานตาม โครงการแลกเปลี่ยน
กับตา่ งประเทศ การไปเสนอผลงานทางวิชาการ และการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร ทั้งนโี้ ดย มไิ ด้มีวตั ถุประสงค์เพ่อื ให้
ได้มาซงึ่ ปรญิ ญาหรอื ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ทกี่ .พ.รบั รอง และหมายความรวมถงึ การฝึกฝนภาษาและการรบั
คาํ แนะนาํ ก่อนฝึกอบรมหรอื การดูงานทเ่ี ป็นสว่ นหน่งึ ของการฝกึ อบรมหรือตอ่ จากการฝกึ อบรมนัน้ ด้วย

การดงู าน หมายความว่า การเพมิ่ พูนความรู้และประสบการณ์ดว้ ยการสงั เกตการณ์และ การแลกเปลีย่ น
ความคดิ เหน็ (การดงู านมีระยะเวลาไม่เกิน 15 วัน ตามหลกั สูตรหรือโครงการ หรือแผนการดู งานในต่างประเทศ
หากมรี ะยะเวลาเกินกาํ หนดให้ดําเนินการเปน็ การฝกึ อบรม)

การลาศึกษาต่อ หมายความวา่ การเพม่ิ พนู ความรู้ดว้ ยการเรียนหรือการวจิ ัยตามหลกั สตู รของ สถาบนั
การศกึ ษา หรอื สถาบันวิชาชีพ เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ปริญญาหรือประกาศนยี บัตรวิชาชีพที่ ก.พ.รบั รองและ หมายความ
รวมถงึ การฝึกฝนภาษาและการได้รบั คาํ แนะนาํ กอ่ นเข้าศกึ ษาและการฝึกอบรม หรอื การดงู านที่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
การศึกษา
หรอื ตอ่ จากการศกึ ษาน้นั ดว้ ย
การออกจากราชการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาออกจากราชการเมอ่ื (มาตรา 107พ.ร.บ.ระเบยี บข้าราชการ ครูฯ)
1) ตาย

2) พ้นจากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาํ เหนจ็ บาํ นาญข้าราชการ

3) ลาออกจากราชการและไดร้ ับอนญุ าตใหล้ าออก

4) ถูกสง่ั ใหอ้ อก

5) ถกู สง่ั ลงโทษปลดออกหรือไล่ออก

6) ถูกเพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ เวน้ แตไ่ ด้รับแตง่ ตง้ั ให้ดาํ รงตาํ แหน่งอน่ื ท่ีไม่ตอ้ ง
มี ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี

การลาออกจากราชการ

ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ

ให้ย่ืนหนังสือลาออกตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาเพอ่ื ใหผ้ ู้มอี ํานาจตาม มาตรา 53เปน็ ผู้พิจารณาอนญุ าต กรณผี ู้มอี ํานาจตาม
มาตรา 53 พจิ ารณาเห็นว่าจาํ เป็นเพอื่ ประโยชนแ์ ก่ราชการจะยบั ยงั้ การอนญุ าต ใหล้ าออกไว้เป็นเวลาไมเ่ กิน 90 วนั
นบั แตว่ ันขอลาออกกไ็ ด้แตต่ ้องแจง้ การยบั ยง้ั พรอ้ มเหตผุ ลให้ผู้ขอ ลาออกทราบ เม่ือครบกําหนดเวลาท่ยี บั ยงั้ แลว้ ให้
การลาออกมผี ลตั้งแตว่ ันถัดจากวันครบกาํ หนดเวลาทยี่ บั ย้ัง ถา้ ผู้มีอํานาจตามมาตรา 53 ไม่ไดอ้ นญุ าตและไม่ไดย้ ับยงั้
การอนุญาตใหล้ าออก
ให้การลาออก มผี ลตัง้ แตว่ นั ขอลาออก

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการเพ่ือดาํ รงตําแหนง่
ทางการเมืองหรอื เพ่อื สมคั รรบั เลอื กต้งั ใหย้ น่ื หนงั สอื ลาออกตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชาและใหก้ ารลาออกมผี ลนบั ตง้ั แต่ วนั ที่ผู้
นน้ั ขอลาออก
ระเบียบ ก.ค.ศ วา่ ด้วยการลาออกของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2548

ข้อ3 การย่นื หนังสือขอลาออกจากราชการให้ยื่นลว่ งหน้ากอ่ นวันขอลาออกไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน กรณผี ู้มี
อํานาจอนุญาตการลาออกเห็นวา่ มเี หตผุ ลและความจําเปน็ พเิ ศษ จะอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนวนั ขอลาออก
ให้ผู้ประสงคจ์ ะลาออกย่นื หนังสอื ขอลาออกลว่ งหน้านอ้ ย กว่า 30 วัน กไ็ ด้

หนังสือขอลาออกที่ย่ืนล่วงหน้ากอ่ นวันขอลาออกน้อยกว่า 30 วัน โดยไม่ไดร้ ับอนุญาตเป็น ลาย ลกั ษณ์
อักษรจากผมู้ อี ํานาจอนญุ าต หรอื ทมี่ ิไดร้ ะบุวันขอลาออก ใหถ้ ือวันถัดจากวันครบกาํ หนด 30 วนั นับ แตว่ นั ย่นื เปน็
วนั ขอลาออก

ข้อ5 ผู้มอี ํานาจอนญุ าตการลาออกพิจารณาวา่ จะสง่ั อนุญาตให้ผู้น้นั ลาออกจากราชการหรือจะส่ัง ยบั ยัง้
การอนุญาตให้ลาออกใหด้ าํ เนินการ ดงั นี้

(1) หากพจิ ารณาเหน็ ว่าควรอนญุ าตใหล้ าออกจากราชการได้ให้มคี ําส่งั อนุญาตใหล้ าออก เปน็ ลาย ลกั ษณ์
อกั ษรใหเ้ สรจ็ ส้ินก่อนวันขอลาออกแลว้ แจง้ คาํ สงั่ ดังกลา่ วใหผ้ ู้ขอลาออกทราบกอ่ นวนั ขอลาออกดว้ ย

(2) หากพจิ ารณาเห็นว่าควรยบั ยัง้ การอนญุ าตใหล้ าออกเน่อื งจากจาํ เปน็ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ ราชการ
ให้มีคาํ สง่ั ยบั ย้ังการอนญุ าตใหล้ าออกเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรใหเ้ สรจ็ สนิ้ ก่อนวันขอลาออกแล้วแจง้ คําสงั่ ดังกล่าว
พรอ้ มเหตผุ ลให้ผู้ขอลาออกทราบกอ่ นวันขอลาออกด้วย ท้ังนี้การยับยง้ั การอนญุ าต ให้ลาออกให้สงั่ ยับยงั้ ไว้ไดเ้ ปน็

เวลาไม่เกนิ 90 วัน และส่ังยบั ยง้ั ไดเ้ พยี งครง้ั เดียวจะขยายอกี ไม่ได้เมอ่ื ครบกําหนดเวลาทีย่ ับยงั้ แล้วใหก้ ารลาออกมี
ผลตงั้ แตว่ นั ถัดจากวนั ครบกาํ หนดเวลาทย่ี บั ยั้ง

ขอ้ 6 กรณีทผี่ ู้ขอลาออกได้ออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เนื่องจากผู้มอี าํ นาจ อนญุ าตมิได้ มคี าํ สง่ั
อนญุ าตใหล้ าออกและมิได้มีคาํ สงั่ ยับยงั้ การอนญุ าตใหล้ าออกก่อนวนั ขอลาออก หรอื เนอ่ื งจากครบ กําหนดเวลายบั ยงั้
การอนุญาตให้ลาออกใหผ้ ู้มอี าํ นาจอนุญาตมหี นงั สือแจง้ วันออกจากราชการให้ผู้ขอ ลาออกทราบภายใน 7 วัน นบั แต่
วนั ที่ผู้นัน้ ออกจากราชการและแจ้งให้สว่ นราชการทเ่ี ก่ียวข้องทราบด้วย ข้อ7 การยนื่ หนังสือขอลาออกจากราชการ
เพือ่ ดาํ รงตําแหน่งทางการเมอื ง หรือเพอื่ สมัครรบั เลอื กตงั้ ใหย้ ่นื ต่อผู้บงั คับบญั ชาอยา่ งช้าภายในวันที่ขอลาออกและให้
ผู้บงั คบั บญั ชาดังกลา่ ว เสนอ หนงั สือขอลาออกนน้ั ต่อผบู้ ังคบั บัญชาชั้นเหนือขึน้ ไปตามลาํ ดับจนถึงผมู้ อี าํ นาจอนุญาต
การลาออก โดยเร็วเมอ่ื ผู้มอี าํ นาจอนญุ าตไดร้ ับหนังสือขอลาออกแล้วใหม้ ีคาํ สง่ั อนญุ าตออกจากราชการไดต้ ั้งแต่ วันท่ี
ขอ ลาออก

5. ครูอตั ราจ้าง

กรณีครูอัตราจ้างท่ีจา้ งด้วยเงนิ งบประมาณให้ปฏบิ ตั หิ น้าทคี่ รูเชน่ ปฏิบตั หิ นา้ ท่คี รผู ู้ช่วย ครพู ่เี ล้ยี ง หรอื
ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีครทู เี่ รียกชื่อย่างอ่นื ใหป้ ฏบิ ตั ิตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยลูกจ้างประจําของส่วน ราชการพ.ศ.
2537 และแนวปฏิบัตทิ ่ีใช้เพอื่ การน้ัน

การบริหารงบประมาณ

การบริหารและการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนนิตบิ ุคคล มวี ตั ถุประสงค์เพอื่ ใหโ้ รงเรียนจดั การศกึ ษา อย่าง
เป็นอสิ ระ คล่องตวั สามารถบรหิ ารการจดั การศกึ ษาไดส้ ะดวด รวดเร็ว มปี ระสิทธภิ าพและมี ความรบั ผดิ ชอบ
โรงเรยี นนิตบิ คุ คล นอกจากมีอํานาจหน้าท่ีตามวตั ถปุ ระสงคข์ า้ งต้นแล้ว ยงั มอี าํ นาจหน้าที่ตามท่ี กฏระเบยี บ
กระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การและขอบเขตการปฏิบตั หิ นา้ ทขี่ องโรงเรียนขน้ั พ้ืนฐานทเ่ี ปน็ นติ ิ
บุคคลสงั กดั เขตพืน้ ที่การศกึ ษา พ.ศ 2546 ลงวนั ท่ี 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จงึ
กาํ หนดให้โรงเรียนนิตบิ คุ คลมอี าํ นาจหน้าที่ ดังน้ี

1. ใหผ้ ู้อาํ นวยการโรงเรียนเป็นผู้แทนนิตบิ คุ คลในกจิ การทั่วไปของโรงเรยี นทเี่ กย่ี วกบั
บุคคลภายนอก
2. ใหโ้ รงเรยี นมีอํานาจปกครอง ดแู ล บาํ รงุ รกั ษา ใชแ้ ละจดั หาผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สนิ ที่มีผู้ บรจิ าคให้
เว้นแต่การจาํ หนา้ ยอสงั หาริมทรัพยท์ ่มี ผี ู้บริจาคให้โรงเรียน ตอ้ งไดร้ ับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของโรงเรยี น
3. ใหโ้ รงเรียนจดทะเบียนลขิ สทิ ธห์ิ รอื ดําเนินการทางทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ต่างๆ ทม่ี ีผู้อทุ ิศใหห้ รือ โครงการ
ซ้ือ แลกเปลี่ยนจากรายไดข้ องสถานศึกษาใหเ้ ป็นกรรมสทิ ธข์ิ องสถานศึกษา

4. กรณโี รงเรยี นดาํ เนนิ คดีเป็นผู้ฟอ้ งรอ้ งหรือถูกฟ้องรอ้ ง ผู้บริหารจะตอ้ งดําเนินคดแี ทน สถานศกึ ษา
หรือถกู ฟ้องร่วมกบั สถานศกึ ษา ถา้ ถูกฟ้องโดยมไิ ด้อยใู่ นการปฏบิ ตั ิราชการ ใน กรอบอํานาจ ผู้บริหาร
ตอ้ งรบั ผดิ ชอบเป็นการเฉพาะตัว
5. โรงเรียนจดั ทํางบดลุ ประจาํ ปีและรายงานสาธารณะทุกสน้ิ ปีงบประมาณ
งบประมาณทส่ี ถานศึกษานาํ มาใช้จา่ ย

1. แนวคิด
การบรหิ ารงานงบประมาณของสถานศกึ ษามงุ่ เน้นความเป็นอสิ ระ ในการบริหารจดั การมคี วาม คลอ่ งตัว
โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลักการบรหิ ารมงุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธ์แิ ละบรหิ ารงบประมาณแบบมงุ่ เน้น ผลงาน ใหม้ ีการ
จดั หาผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ ินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบรกิ ารมาใช้ บรหิ ารจัดการเพอ่ื
ประโยชนท์ างการศกึ ษา สง่ ผลใหเ้ กิดคุณภาพทีด่ ขี นึ้ ตอ่ ผู้เรยี น
2. วตั ถุประสงค์
เพื่อใหส้ ถานศกึ ษาบรหิ ารงานด้านงบประมาณมีความเปน็ อสิ ระ คลอ่ งตวั โปรง่ ใสตรวจสอบได้
2.1 เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ผลลัพธเ์ ป็นไปตามข้อตกลงการใหบ้ รกิ าร
2.2 เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรทไี่ ด้อยา่ งเพียงพอและประสิทธิภาพ
3. ขอบขา่ ยภารกิจ
3.1 กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง

1. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2)

2. พระราชบญั ญัตบิ รหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
3. ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

5. แนวทางการกระจายอาํ นาจการบริหารและการจดั การศกึ ษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวง กําหนด
หลักเกณฑ์และวธิ ีการกระจายอํานาจการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา พ.ศ. 2550 รายจา่ ยตามงบประมาณ
จําแนกออกเป็น 2 ลกั ษณะ

1. รายจา่ ยของส่วนราชการและรฐั วสิ าหกิจ

- งบบุคลากร

- งบดําเนนิ งาน

- งบลงทุน

- งบเงินอดุ หนุน

- งบรายจ่ายอืน่
งบบคุ ลากร หมายถงึ รายจา่ ยทก่ี ําหนดใหจ้ า่ ยเพอื่ การบรหิ ารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่รายจา่ ยที่ จ่ายใน
ลกั ษณะเงนิ เดอื น คา่ จา้ งประจํา ค่าจ้างชว่ั คราว และค่าตอบแทนพนกั งานราชการ รวมถงึ ราจจา่ ย ที่กาํ หนดให้จ่าย
จากงบรายจา่ ยอ่นื ใดในลกั ษณะราจจ่ายดังกล่าว

งบดาํ เนนิ งาน หมายถงึ รายจ่ายท่กี าํ หนดใหจ้ า่ ยเพอื่ การบรหิ ารงานประจํา ได้แก่ รายจา่ ยทจี่ ่าย ในลักษณะ
ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ และคา่ สาธารณปู โภค รวมถงึ ราจ่ายท่ีกาํ หนดให้จา่ ยจากงบ รายจ่ายอ่ืนใดในลักษณะ
รายจ่ายดงั กลา่ ว

งบลงทนุ หมายถึง รายจ่ายทก่ี าํ หนดให้จ่ายเพอ่ื การลงทุน ได้แก่ รายจา่ ยทจี่ า่ ยในลกั ษณะคา่ ครภุ ัณฑ์
ค่าท่ีดินและสงิ่ ก่อสร้าง รวมถึงรายจา่ ยทกี่ าํ หนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอ่นื ใดในลกั ษณะรายจ่าย ดังกลา่ ว

งบดาํ เนนิ งาน หมายถงึ รายจ่ายทก่ี ําหนดใหจ้ า่ ยเพอ่ื การบรหิ ารงานประจํา ได้แก่ รายจ่ายทจ่ี า่ ย ในลักษณะ
ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วสั ดุ และคา่ สาธารณูปโภค รวมถึงรายจา่ ยทีก่ ําหนดให้จ่ายจากงบ รายจ่ายอนื่ ใดใน
ลักษณะรายจา่ ยดงั กล่าว

งบลงทุน หมายถงึ รายจ่ายท่ีกาํ หนให้จ่ายเพ่ือการลงทนุ ไดแ้ ก่ รายจ่ายทจี่ ่ายในลักษณะคา่ ครุภณั ฑ์ คา่
ที่ดนิ และส่งิ ก่อนสรา้ ง รวมถึงรายจา่ ยทก่ี ําหนดให้จา่ ยจากงบรายจา่ ยอนื่ ใดในลกั ษณะรายจา่ ย ดงั กล่าว

งบเงินอดุ หนนุ หมายถงึ รายจา่ ยทกี่ าํ หนดใหจ้ ่ายเป็นค่าบาํ รงุ หรอื เพอ่ื ชว่ ยเหลือสนบั สนนุ งานของ
หนว่ ยงานอิสระตามรัฐธรรมนญู หรอื หนว่ ยงานของรัฐ ซงึ่ มใิ ช่สว่ นกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดนิ
หนว่ ยงานในกาํ กบั ของรัฐ องค์การมหาชน รฐั วิสาหกจิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน รวมถงึ เงินอดุ หนุน งบ
พระมหากษัตรยิ ์ เงนิ อุดหนุนศาสนา

งบรายจ่ายอืน่ หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เขา้ ลกั ษณะประเภทงบรายจา่ ยใดงบรายจา่ ยหนง่ึ หรือ รายจ่ายที่
สาํ นักงานงบประมาณกาํ หนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจา่ ยนี้ เชน่ เงินราชการลบั เงนิ ค่าปรบั ที่จา่ ย คืนให้แกผ่ ู้ขายหรอื ผู้
รับจา้ ง ฯลฯ

อัตราเงนิ อดุ หนนุ รายหวั นักเรียนตอ่ ปีการศกึ ษา

ระดบั กอ่ นประถมศึกษา 1,700 บาท

ระดบั ประถมศกึ ษา 1,900 บาท

การจดั สรรเงินอดุ หนุนรายหัวนักเรยี น แบง่ การใชต้ ามสดั สว่ น ด้านวิชาการ : ดา้ นบรหิ ารทัว่ ไป : สาํ รองจา่ ย
ทงั้ 2 ดา้ นคือ

1. ด้านวชิ าการ ให้สดั สว่ นไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 นําไปใชไ้ ดใ้ นเร่อื ง
1.1 จดั หาวสั ดแุ ละครุภณั ฑ์ทจี่ าํ เป็นตอ่ การเรียนการสอน
1.2 ซอ่ มแซมวัสดอุ ุปกรณ์
1.3 การพฒั นาบุคลาการดา้ นการสอน เช่น ส่งครูเขา้ อบรมสัมมนา คา่ จา้ งช่ัวคราวของครู ปฏบิ ตั กิ าร
สอน ค่าสอนพเิ ศษ

2. ดา้ นบรหิ ารทัว่ ไป ให้สดั ส่วนไม่เกินรอ้ ยละ 30 นําไปใชไ้ ดใ้ นเรื่อง
2.1 ค่าวัสดุ ครุภณั ฑ์และค่าที่ดิน สงิ่ ก่อสร้าง คา่ จา้ งช่ัวคราวที่ไม่ใชป่ ฏิบตั กิ ารสอน
ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย
2.2 สาํ รองจ่ายนอกเหนอื ด้านวิชาการและด้านบรหิ ารทัว่ ไป ให้สดั สว่ นไม่เกินร้อยละ 20 นาํ ไปใช้
ในเร่ืองงานตามนโยบาย

เงินอุดหนนุ ปจั จยั พ้ืนฐานสาํ หรับนักเรียนยากจน

1. เป็นเงินท่ีจดั สรรให้แก่สถานศกึ ษาท่มี นี กั เรยี นยากจน เพอ่ื จดั หาปัจจัยพื้นฐานทจ่ี ําเป็นตอ่ การ ดาํ รงชวี ิตและ
เพิ่มโอกาสทางการศกึ ษา เปน็ การช่วยเหลอื นักเรยี นที่ยากจน ชัน้ ป.1 ถงึ ม.3 ใหม้ ี โอกาสไดร้ ับการศึกษาใน
ระดับทสี่ ูงข้ึน (ยกเวน้ สถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ)
2. นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรยี นที่ผปู้ กครองมรี ายได้ต่อครวั เรอื น ไม่เกิน 40,000 บาท
3. แนวการใช้

ให้ใชใ้ นลกั ษณะ ถวั จา่ ย ในรายการตอ่ ไปนี้

3.1 คา่ หนังสือและอุปกรณ์การเรียน(ยมื ใช้)
3.2 คา่ เสอ้ื ผ้าและวสั ดุเครื่องแตง่ กายนกั เรยี น(แจกจา่ ย)
3.3 คา่ อาหารกลางวนั (วัตถดุ บิ จา้ งเหมา เงนิ สด)
3.4 คา่ พาหนะในการเดินทาง (เงินสด จา้ งเหมา)
3.5 กรณจี า่ ยเปน็ เงนิ สด โรงเรียนแต่งต้ังกรรมการ 3 คน ร่วมกนั จา่ ยเงินโดยใชใ้ บสาํ คัญรบั เงินเปน็
หลักฐาน
3.6 ระดบั ประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี
3.7 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น คนละ 3,000 บาท/ปี

1.1 รายจ่ายงบกลาง
1. เงินสวัสดกิ ารค่ารกั ษาพยาบาล/การศึกษาบุตร/เงนิ ช่วยเหลือบุตร
2. เงนิ เบยี้ หวัดบาํ เหนจ็ บาํ นาญ
3. เงนิ สํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยข้าราชการ
4. เงินสมทบของลกู จ้างประจาํ

2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถงึ รายจ่ายท่ตี ้งั ไว้เพอ่ื จัดสรรใหส้ ่วนราชการและรฐั วิสาหกจิ โดยทว่ั ไป ใชจ้ ่ายตาม
รายการดงั ตอ่ ไปนี้
1. “เงนิ เบย้ี หวดั บาํ เหนจ็ บาํ นาญ” หมายความวา่ รายจ่ายทตี่ ง้ั ไว้เพอื่ จ่ายเปน็ เงนิ บาํ นาญ ขา้ ราชการ

เงินบําเหนจ็ ลกู จา้ งประจํา เงินทําขวัญข้าราชการและลูกจา้ ง เงินทดแทนข้าราชการวิสามญั เงินคา่ ทดแทน
สาํ หรับผู้ไดร้ ับอันตรายในการรกั ษาความม่นั คงของประเทศ

เงินช่วยพิเศษข้าราชการบํานาญเสยี ชวี ิต เงินสงเคราะหผ์ ู้ประสบภยั เนอื่ งจากการ

ชว่ ยเหลือ ข้าราชการ การปฏิบัตงิ านของชาตหิ รือการปฏิบตั ติ ามหน้าทีม่ นษุ ยธรรม และเงินชว่ ยคา่ ครอง ชพี ผรู้ บั
เบ้ยี หวัดบํานาญ

2. “เงนิ ชว่ ยเหลอื ขา้ ราชการ ลูกจา้ ง และพนักงานของรฐั ” หมายความว่า รายจา่ ยทต่ี ้ังไว้ เพ่อื จ่ายเป็น
เงินสวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื ในดา้ นตา่ งๆ ให้แก่ขา้ ราชการ ลูกจา้ ง และพนกั งานของรฐั ได้แก่ เงนิ ชว่ ยเหลือการศึกษา
ของบุตร เงนิ ช่วยเหลอื บุตร และเงินพเิ ศษในกรณีตายในระหวา่ งรบั ราชการ

3. “เงินเล่อื นข้นั เล่ือนอันดบั เงินเดือนและเงินปรบั วฒุ ิข้าราชการ หมายความว่ารายจ่ายทีต่ ั้ง ไว้เพื่อ
จ่ายเปน็ เงนิ เลอื่ นขัน้ เลอ่ื นอันดบั เงนิ เดอื นขา้ ราชการประจาํ ปี เงินเลือ่ นข้นั เลือ่ นอันดบั เงินเดือน ขา้ ราชการทีไ่ ดร้ บั
เล่อื นระดับ และหรือแต่งตง้ั ใหด้ ํารงตําแหนง่ ระหว่างปแี ละเงินปรบั วฒุ ิขา้ ราชการ

4. “เงินสํารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของข้าราชการ” หมายความวา่ รายจา่ ยท่ตี ้งั ไว้ เพ่อื จา่ ยเปน็
เงินสํารอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยทร่ี ัฐบาลนาํ สง่ เข้ากองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญขา้ ราชการ

5. “เงนิ สมทบของลูกจา้ งประจาํ ” หมายความว่า รายจา่ ยทตี่ ั้งไว้เพอ่ื จา่ ยเป็นเงินสมทบที่ รฐั บาลนาํ ส่ง
เขา้ กองทนุ สํารอง เลีย้ งชีพลูกจ้างประจํา

6. “ค่าใชจ้ ่ายเกีย่ วกับการเสดจ็ พระราชดําเนและตอ้ นรบั ประมขุ ต่างประเทศ หมายความวา่ รายจ่าย
ทตี่ ้ังไว้เพือ่ เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยสนบั สนนุ พระราชภารกจิ ในการเสดจ็ พระราชดาํ เนินภายในประเทศ และ หรือตา่ งประเทศ
และคา่ ใช้จา่ ยในการตอ้ นรบั ประมุขตา่ งประเทศทม่ี ายาเยือนประเทศไทย

7. “เงนิ สํารองจ่ายเพอ่ื กรณีฉกุ เฉนิ หรอื จาํ เป็น” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีต้งั สาํ รองไว้เพือ่ จัดสรร
เปน็ คา่ ใช้จ่ายในกรณฉี กุ เฉินหรือจําเปน็

8. “คา่ ใชจ้ ่ายในการดาํ เนนิ การรักษาความมัน่ คงของประเทศ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ตี ้งั ไว้เพื่อเป็น
ค่าใชจ้ ่ายในการดาํ เนนิ งานรักษาความม่นั คงของประเทศ

9. “เงินราชการลบั ในการรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความวา่ รายจา่ ยท่ตี ง้ั ไว้เพ่อื เบิกจ่าย
เปน็ เงินราชการลบั ในการดาํ เนนิ งานเพอื่ รักษาความมั่นคงของประเทศ

10. “คา่ ใชจ้ ่ายตามโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดําร”ิ หมายความวา่ รายจา่ ยทีต่ ้งั ไว้เพอื่ เปน็
ค่าใชจ้ ่ายในการดําเนนิ งานตามโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริ

11. “คา่ ใชจ้ า่ ยในการรําษาพยาบาลขา้ ราชการ ลกู จา้ ง และพนกั งานของรัฐ” หมายความวา่ รายจา่ ย
ท่ีตั้งไว้เป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการช่วยเหลอื คา่ รักษาพยาบาลขา้ ราชการ ลูกจ้างประจํา และพนกั งานของ รฐั

เงนิ นอกงบประมาณ
1. เงินรายไดส้ ถานศกึ ษา
2. เงินภาษหี ัก ณ ท่ีจา่ ย
3. เงินลูกเสือ เนตรนารี
4. เงนิ ยวุ กาชาด
5. เงนิ ประกันสญั ญา
6. เงินบริจาคทมี่ ีวตั ถุประสงค์
เงินรายไดส้ ถานศึกษา หมายถึง เงินรายไดต้ ามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
ซึ่งเกิดจาก
1. ผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สินทีเ่ ป็นราชพสั ดุ

2. คา่ บรกิ ารและค่าธรรมเนยี ม ท่ีไม่ขัดหรอื แย้งนโยบาย วัตถปุ ระสงค์และภารกจิ หลกั ของ สถานศกึ ษา

3. เบย้ี ปรบั จากการผดิ สัญญาลาศกึ ษาต่อและเบี้ยปรบั การผดิ สญั ญาซ้อื ทรพั ยส์ นิ หรือจา้ งทําของจาก เงนิ
งบประมาณ
4. ค่าขายแบบรปู รายการ เงนิ อุดหนุน อปท. รวมเงินอาหารกลางวัน
5. ค่าขายทรพั ยส์ นิ ท่ีได้มาจากเงนิ งบประมาณ

งานพสั ดุ
“การพสั ด”ุ หมายความว่า การจัดทาํ เอง การซอ้ื การจา้ ง การจ้างทีป่ รกึ ษา การจา้ งออกแบบ และควบคมุ

งาน การแลกเปลยี่ น การเชา่ การควบคุม การจาํ หน่าย และการดําเนนิ การอน่ื ๆ ทกี่ าํ หนด ไว้ในระเบียบนี้
“พัสด”ุ หมายความว่า วสั ดุ ครุภณั ฑ์ ท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสรา้ ง ทกี่ าํ หนดไว้ในหนังสือ การจําแนก ประเภท

รายจา่ ยตามงบประมาณของสํานกั งบประมาณ หรอื การจาํ แนกประเภทรายจา่ ย ตามสญั ญาเงนิ กู้ จากต่างประเทศ
“การซอื้ ” หมายความวา่ การซอ้ื พสั ทุ กุ ชนดิ ทั้งทม่ี กี ารติดตงั้ ทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่อง อน่ื ๆ แต่

ไม่รวมถงึ การจัดหาพัสดใุ นลักษณะการจ้าง
“การจา้ ง” ใหห้ มายความรวมถึง การจา้ งทําของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณชิ ย์ และ

การจา้ งเหมาบริการ แตไ่ ม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการตามระเบยี บของ กระทรวงการคลงั การับขนในการ
เดนิ ทางไปราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ การจ้างท่ีปรกึ ษา การจา้ งออกแบบและ
ควบคมุ งาน และการจา้ งแรงงานตามประมวลกฎหมายแพง่ และ พาณิชย์

ขอบข่ายภารกจิ
1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสดารทเี่ กีย่ วข้อง
2. ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพม่ิ เติม
3. ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพัสดดุ ว้ ยวธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

21

4. แนวทางการปฏิบัตติ ามระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการพสั ดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
หน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ
1. จดั วางระบบและปฏิบตั งิ านเกีย่ วกบั จัดหา การซอื้ การจ้าง การเกบ็ รักษา และการเบกิ พสั ดุ การควบคมุ
และการจําหน่ายพัสดุใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทเ่ี กี่ยวข้อง
2. ควบคมุ การเบกิ จา่ ยเงินตามประเภทเงนิ ใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี
3. จัดทําทะเบยี นท่ดี ินและสง่ิ ก่อสรา้ งทกุ ประเภทของสถานศกึ ษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใช้พน้ื ที่ของสถานศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามแผนพฒั นาการศึกษา
5. กาํ หนดหลกั เกณฑ์วิธีการและดําเนนิ การเก่ยี วกบั การจดั หาประโยชนท์ ่ีราชพสั ดุการใชแ้ ละการขอใช้ อาคาร
สถานท่ขี องสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายและระเบยี บท่เี กีย่ วขอ้ งควบคุมดู ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม บาํ รุงรกั ษา

ครุภัณฑ์ ให้อยใู่ นสภาพเรยี บร้อยตอ่ การใชง้ านและพฒั นาอาคารสถานท่ี การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน การรักษา
สภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคของสถานศึกษาใหเ้ ป็น ระเบยี บและสวยงาม
6. จดั เวรยามดแู ลอาคารสถานทขี่ องสถานศกึ ษาใหป้ ลอดภยั จากโจรภยั อัคคีภยั และภัยอนื่ ๆ
7. จดั วางระบบและควบคุมการใชย้ านพาหนะ การเบกิ จ่ายนํา้ มันเชือ้ เพลิงการบํารุงรกั ษาและการ พสั ดุ
ตา่ งๆ ที่เกี่ยวกบั ยานพาหนะของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
8. ใหค้ ําแนะนาํ ชแี้ จง และอํานวยความสะดวกแก่บคุ ลากรในสถานศกึ ษาเกย่ี วกบั งานในหน้าท่ี
9. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลกั ฐานตา่ งๆ ไว้เพื่อการตรวจสอบและดาํ เนนิ การทําลายเอกสารตาม ระเบียบท่ี
เกีย่ วข้อง
10. ประสานงานและใหค้ วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
11. เสนอโครงการและรายงานการปฏิบตั งิ านในหน้าทต่ี ามลําดบั ขน้ั
12. ปฏบิ ัตอิ นื่ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย
สวัสดิการและสทิ ธิประโยชน์

1. ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ
1.1 กฎหมายและระเบียบทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
1.2 พระราชกฤษฎกี าค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพ่มิ เติม 1.3

ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550
2. คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ

การอนุมตั เิ ดนิ ทางไปราชการ ผู้มีอํานาจอนุมัตใิ หเ้ ดนิ ทางไปราชการ อนุมัตริ ะยะเวลาในการ เดินทาง
ล่วงหน้า หรือระยะเวลาหลังเสร็จสน้ิ การปฏบิ ัตริ าชการไดต้ ามความจาํ เปน็
3. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอื่ คํานวณเบีย้ เลีย้ ง กรณพี กั ค้าง

3.1 ให้นับ 24 ชัว่ โมงเป็น 1 วนั
3.2 ถา้ ไม่ถงึ 24 ช่วั โมงหรอื เกิน 24 ชวั่ โมง และสว่ นท่ีไม่ถงึ หรอื เกิน 24 ช่วั โมง นบั ได้เกนิ 12 ชัว่ โง ให้
ถือเป็น 1 วัน
4. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คาํ นวณเบยี้ เล้ียงเดนิ ทาง กรณีไม่พกั คา้ ง
4.1 หากนบั ไดไ้ ม่ถงึ 24 ชั่วโมงและส่วนท่ีไม่ถงึ นับได้เกนิ 12 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1วนั
4.2 หากนบั ไดไ้ ม่เกิน 12 ชว่ั โมง แตเ่ กิน 6 ชว่ั โมงขึน้ ไป ใหถ้ อื เปน็ ครง่ึ วัน
5. การนบั เวลาเดนิ ทางไปราชการเพอื่ คาํ นวณเบยี้ เลี้ยงเดินทาง
6. กรณลี ากจิ หรือลาพักผ่อนก่อนปฏิบัติราชการ ให้นบั เวลาต้ังแตเ่ รม่ิ ปฏิบัตริ าชการเป็นต้นไป
7. กรณลี ากจิ หรอื ลาพักผ่อนหลงั เสร็จสน้ิ การปฏบิ ัตริ าชการ ใหถ้ ือว่าสิทธิในการเบกิ จา่ ยเบ้ียเล้ยี ง เดินทาง
สิน้ สดุ ลงเม่อื ส้ินสดุ เวลาการปฏบิ ตั ริ าชการ
8. หลักเกณฑ์การเบกิ คา่ เช่าทีพ่ กั ในประเทศ
การเบิกคา่ พาหนะ

1. โดยปกติให้ใชย้ านพาหนะประจําทางและใหเ้ บกิ คา่ พาหนะโดยประหยดั
2. กรณีไมม่ ียานพาหนะประจาํ ทาง หรอื มีแตต่ ้องการความรวดเร็ว เพอื่ ประโยชนแ์ ก่ทางราชการ ให้ ใช้
ยานพาหนะอ่ืนได้ แตต่ อ้ งชีแ้ จงเหตผุ ลและความจําเป็นไว้ในหลักฐานขอเบกิ คา่ พาหนะนน้ั
3. ขา้ ราชการระดบั 6 ขึ้นไป เบกิ ค่าพาหนะรบั จ้างได้ ในกรณีต่อไปน้ี

3.1 การเดินทางไป-กลบั ระหว่างสถานที่อยู่ ทพ่ี กั หรอื สถานท่ีปฏบิ ตั ริ าชการกบั สถานี ยานพาหนะ
ประจาํ ทาง หรือสถานท่ีจดั พาหนะท่ีใชเ้ ดนิ ทางภายในเขตจงั หวัดเดียวกัน
3.2 การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา่ งสถานที่อยู่ ท่ีพกั กบั สถานทีป่ ฏิบัติราชการภายในเขตจงั หวัด เดยี วกัน
วนั ละไม่เกนิ 2 เท่ยี ว

3.3 การเดนิ ทางไปราชการในเขตกรงุ เทพมหานคร กรณเี ปน็ การเดินทางข้ามเขตจงั หวดั ให้เบกิ ตาม
อตั ราที่กระทรวงการคลงั กาํ หนด คอื ใหเ้ บกิ ตามท่ีจ่ายจรงิ ดังน้ี ระหว่างกรุงเทพมหานคร กับเขตจังหวัด
ตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร ไมเ่ กินเท่ียวละ 400 บาท เดนิ ทางขา้ มเขตจังหวดั อ่นื นอกเหนอื กรณดี ังกล่าว
ข้างต้นไม่เกนิ เทย่ี วละ 300 บาท
3.4 ผู้ไมม่ สี ทิ ธิเบิก ถ้าต้องนาํ สมั ภาระในการเดินทาง หรอื สง่ิ ของเครอ่ื งใชข้ องทางราชการไปดว้ ย และเปน็
เหตุให้ไมส่ ะดวกทจ่ี ะเดินทางโดยยานพาหนะประจาํ ทาง ใหเ้ บิกค่าพาหนะรบั จา้ งได้(โดย แสดงเหตผุ ลและ
ความจําเป็นไว้ในรายงานเดนิ ทาง)
3.5 การเดินทางล่วงหนา้ หรอื ไม่สามารถกลับเมอ่ื เสร็จสนิ้ การปฏบิ ัตริ าชการเพราะมเี หตุสว่ นตวั (ลากิจ -
ลาพักผอ่ นไว้) ใหเ้ บิกค่าพาหนะเท่าท่ีจ่ายจริงตามเส้นทางท่ไี ด้รบั คาํ สง่ั ใหเ้ ดินทางไป ราชการ กรณมี กี าร
เดนิ ทางนอกเส้นทางในระหว่างการลานัน้ ใหเ้ บิกคา่ พาหนะไดเ้ ทา่ ที่จา่ ยจรงิ โดยไม่เกนิ อตั ราตามเส้นทาง
ทไ่ี ดร้ บั คําสงั่ ใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ
3.6 การใชย้ านพาหนะสว่ นตัว (ให้ขออนญุ าตและได้รบั อนญุ าตแลว้ ) ให้ไดร้ ับเงินชดเชย คอื รถยนต์
กิโลเมตรละ 4 บาท

คา่ ใช้จา่ ยในการฝึกอบรม

การฝกึ อบรม หมายถึง การอบรม ประชุม/สมั มนา (วิชาการเชิงปฏิบตั ิการ) บรรยายพเิ ศษ ฝกึ งาน ดู
งาน การฝกึ อบรม ประกอบด้วย

1. หลักการและเหตุผล
2. โครงการ/หลกั สตู ร
3. ระยะเวลาจดั ที่แนน่ อน
4. เพอื่ พัฒนาหรอื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน
คา่ รักษาพยาบาล

ค่ารักษาพยาบาล หมายถงึ เงนิ ทส่ี ถานพยาบาลเรยี กเกบ็ ในการรกั ษาพยาบาลเพื่อให้รา่ งกายกลับ สสู่ ภาวะ
ปกติ (ไมใ่ ช่เปน็ การปอ้ งกนั หรอื เพอื่ ความสวยงาม)

1. ระเบยี บและกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง

1.1 พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดกิ ารเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแก้ไขเพมิ่ เตมิ ( 8 ฉบับ)
1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบิกจ่ายเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545
2. ผทู้ ีม่ สี ิทธิรบั เงินคา่ รักษาพยาบาล คือ ผู้มสี ิทธิและบคุ คลในครอบครวั
2.1 บิดา
2.2 มารดา
2.3 คู่สมรสทีช่ อบด้วยกฎหมาย
2.4 บตุ รทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย ซง่ึ ยังไมบ่ รรลนุ ติ ิภาวะ หรอื บรรลุนติ ิภาวะแล้ว แตเ่ ป็นคนไร้ ความสามารถ หรอื
เสมอื นคนไรความสามารถ(ศาลส่งั ) ไม่รวมบตุ รบญุ ธรรมหรอื บตุ รซ่งึ ไดย้ ก เป็นบุตรบุญธรรมบุคคลอ่ืนแลว้
3. ผมู้ สี ทิ ธิ หมายถงึ ข้าราชการ ลกู จา้ งประจํา ผรู้ บั เบ้ียหวัดบาํ นาญ และลกู จา้ งชาวตา่ งประเทศ ซงึ่ ไดร้ บั คา่ จา้ ง
จากเงินงบประมาณ
คา่ รักษาพยาบาล แบง่ เปน็ 2 ประเภท

ประเภทไข้นอก หมายถึง เข้ารับการรกั ษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไม่ไดน้ อนพกั รักษาตัว
นาํ ใบเสร็จรบั เงินมาเบกิ จ่าย ไม่เกิน 1 ปี นับจากวนั ทจ่ี ่ายเงนิ

ประเภทไข้ใน หมายถึง เข้ารบั การรักษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรอื สถานพยาบาลของทาง ราชการ
สถานพยาบาลเอกชน ใช้ใบเสรจ็ รบั เงินนาํ มาเบิกจา่ ยเงิน พรอ้ มให้แพทย์รบั รอง “หากผปู้ ว่ ยมไิ ด้ เจ้ารับการ
รักษาพยาบาลในทันทที ันใด อาจเป็นอนั ตรายถงึ ชวี ติ ” และสถานพยาบาลทางราชการ ใช้ หนงั สอื รบั รองสทิ ธิ กรณียงั
ไม่ไดเ้ บิกจา่ ยตรง
การศึกษาบตุ ร

ค่าการศึกษาของบตุ ร หมายความว่า เงนิ บาํ รุงการศึกษา หรอื เงนิ คา่ เล่าเรียน หรอื เงินอื่นใดที่
สถานศกึ ษาเรยี กเกบ็ และรฐั ออกใหเ้ ปน็ สวัสดกิ ารกับข้าราชการผมู้ สี ทิ ธิ

1. ระเบยี บและกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง
1.1 พระราชราชกฤษฎกี าเงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523

1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ยี วกบั การศกึ ษาของบตุ ร พ.ศ. 2547
1.3 หนังสอื เวยี นกรมบญั ชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 เร่ือง ประเภทและอตั รา
เงินบํารงุ การศึกษาในสถานศกึ ษาของทางราชการ และคา่ เลา่ เรยี นใน สถานศึกษาของเอกชน และ
กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0422.3/ว 226 ลงวนั ที่ 30 มิถุนายน 2552 เรื่องการเบกิ เงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั
การศกึ ษาของบตุ ร
2. ผทู้ ม่ี สี ทิ ธิรบั เงินคา่ การศึกษาของบุตร
2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายุไม่เกิน 25 ปบี รบิ ูรณ์ ในวนั ท่ี 1 พฤษภาคมของทุกปี ไม่รวมบตุ ร บญุ ธรรม
หรือบตุ รซ่ึงไดย้ กใหเ้ ป็นบตุ รบญุ ธรรมคนอ่นื แล้ว
2.2 ใชส้ ทิ ธเิ บกิ ได้ 3 คน เวน้ แต่บตุ รคนท่ี 3 เป็นฝาแฝดสามารถนาํ มาเบกิ ได้ 4 คน
2.3 เบกิ เงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกบั ศกึ ษาบุตรภายใน 1 ปี นับตง้ั แตว่ ันเปดิ ภาคเรียนของแตล่ ะภาค

จาํ นวนเงนิ ทเ่ี บิกได้

1. ระดบั อนบุ าลหรือเทยี บเทา่ เบกิ ไดป้ ลี ะไมเ่ กนิ 4,650 บาท
2. ระดบั ประถมศึกษาหรือเทยี บเทา่ เบิกไดป้ ลี ะไมเ่ กิน 3,200 บาท
3. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ /มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ(ปวช.) หรือ เทียบเท่า
เบิกได้ปลี ะไมเ่ กิน 3,900 บาท
4. ระดบั อนปุ ริญญาหรือเทียบเท่า เบิกไดป้ ลี ะไม่เกิน 11,000 บาท
คา่ เชา่ บา้ น

1. ระเบยี บและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบา้ นขา้ ราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบกิ จ่ายเงนิ คา่ เช่าบ้าน พ.ศ. 2549

2. สทิ ธกิ ารเบกิ เงินคา่ เชา่ บา้ น
2.1 ไดร้ บั คําสง่ั ใหเ้ ดินทางไปประจําสาํ นักงานใหม่ในต่างท้องท่ี เว้นแต่
2.1.1 ทางราชการได้จัดที่พกั อาศัยให้อยแู่ ลว้
2.1.2 มเี คหสถานเป็นของตนเองหรือคู่สมรส
2.1.3 ได้รบั คําสงั่ ใหเ้ ดนิ ทางไปประจําสาํ นกั งานใหม่ในตา่ งทอ้ งท่ตี ามคาํ รอ้ งขอของตนเอง
2.2 ขา้ ราชการผู้ไดร้ ับคาํ สง่ั ให้เดนิ ทางไปประจําสาํ นักงานในท้องทท่ี ี่รบั ราชการคร้ังแรกหรอื ท้องท่ีที่ กลบั
เข้ารบั ราชการใหม่ ให้มสี ิทธไิ ดร้ บั เงินค่าเชา่ บา้ น (พระราชกฤษฎีกาเชา่ บา้ น 2550 (ฉบบั ที่ 2)
มาตรา 7)
2.3 ข้าราชการมสี ิทธิไดร้ บั เงนิ ค่าเชา่ บ้านตง้ั แตว่ นั ทเี่ ชา่ อยจู่ ริง แต่ไม่กอ่ นวนั ทร่ี ายงานตวั เพื่อเข้ารับ หน้าที่
(พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ บา้ น 2547 มาตรา 14)
2.4 ขา้ ราชการซ่งึ มสี ิทธไิ ด้รบั เงนิ ค่าเชา่ บ้านไดเ้ ช่าซื้อหรือผอ่ นชําระเงินกู้เพื่อชาํ ระราคาบ้านที่ค้าง ชําระอยู่
ในท้องท่ีทไ่ี ปประจาํ สํานกั งานใหม่ มสี ิทธินาํ หลกั ฐานการชําระคา่ เช่าซื้อหรือค่าผ่อน ชําระเงินกู้ฯ มาเบิกได้
(พระราชกฤษฎกี าค่าเชา่ บ้าน 2547 มาตรา 17)

กองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญขา้ ราชการ (กบข.)

1. กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้อง
1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บาํ เหนจ็ บํานาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญัติน้ี (ส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ ง)
บาํ นาญ หมายความวา่ เงินทจี่ า่ ยให้แกส่ มาชกิ เปน็ รายเดือนเมอ่ื สมาชิกภาพของสมาชกิ สนิ้ สดุ ลง บาํ เหนจ็

ตกทอด หมายความวา่ เงนิ ทจี่ ่ายให้แกส่ มาชกิ โดยจา่ ยใหค้ ร้งั เดยี วเม่ือสมาชิกภาพ ของสมาชกิ ส้นิ สุดลงหรอื ผู้รบั
บาํ นาญถงึ แก่ความตาย

1.2 พ.ร.บ.กองทุนบําเหนจ็ บาํ นาญข้าราชการ (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2542
2. ขา้ ราชการทุกประเภท (ยกเวน้ ราชการทางการเมือง) มสี ทิ ธสิ มคั รเปน็ สมาชกิ กบข. ได้แก่ ข้าราชการครู

ขา้ ราชการใหม่ ไดแ้ ก่ ผู้ซง่ึ เขา้ รบั ราชการหรือโอนมาเปน็ ราชการตง้ั แตว่ นั ท่ี 27 มนี าคม 2540 เป็นต้น จะตอ้ งเปน็
สมาชกิ กบข. และสะสมเงินเขา้ กองทนุ สมาชิกทจ่ี ่ายสะสมเขา้ กองทนุ ในอัตราร้อยละ 3 ของ เงินเดอื นเปน็ ประจํา
ทกุ เดือน รฐั บาลจะจา่ ยเงินสมทบให้กบั สมาชิกในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงนิ เดอื นเปน็ ประจําทกุ เดือนเช่นเดยี วกัน และ
จะนาํ เงนิ ดังกล่าวไปลงทนุ หาผลประโยชนเ์ พอื่ จา่ ยใหก้ ับสมาชกิ เม่ือกอก จากราชการ

ขอบข่ายกลุ่มการบรหิ ารงบประมาณ มีดงั น้ี

1. การจดั ทาํ แผนงบประมาณและคาํ ขอตั้งงบประมาณเพอ่ื เสนอตอ่ เลขาธิการคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
1) จัดทาํ ขอ้ มลู สารสนเทศทางการเงนิ ของสถานศกึ ษา ได้แก่ แผนชนั้ เรยี น ข้อมลู ครู นักเรยี น และ

ส่งิ อํานวยความสะดวกของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของสํานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
2) จัดทาํ กรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพอื่ ใช้ เป็นคาํ ขอ

ตง้ั งบประมาณต่อสาํ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
2. การจดั ทําแผนปฏิบตั ิการใช้จา่ ยเงนิ ตามท่ีไดร้ ับจดั สรรงบประมาณจากสาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐานโดยตรง

1) จดั ทําแผนปฏิบตั ิการประจําปีและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณภายใต้ความร่วมมือของ
สํานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา

2) ขอความเหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตอ่ คณะกรรมการ สถานศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน
3. การอนมุ ัติการใช้จา่ ยงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร

- ผู้อํานวยการสถานศึกษาอนมุ ตั ิการใช้จา่ ยงบประมาณตามงาน/โครงการทกี่ ําหนดไว้ใน
แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปี และแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ภายใต้ความรว่ มมอื ของสาํ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
4. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ

1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณทจี่ ําเป็นตอ้ งขอโอนหรอื เปลี่ยนแปลง เช่นเดียวกบั
สถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเหน็ ชอบคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน แล้วเสนอ ขอโอนหรอื
เปล่ียนแปลงรายการงบประมาณตอ่ สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา เพ่ือดาํ เนนิ การตอ่ ไป
5. การรายงานผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ

1) รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ผลการใช้จา่ ยเงินงบประมาณประจาํ ปีไปยงั สํานกั งานเขตพนื้ ที่
การศึกษา
6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้งบประมาณ

1) จดั การใหม้ กี ารตรวจสอบและตดิ ตามให้ กลุ่ม ฝา่ ยงาน ในสถานศกึ ษา รายงานผลการ
ปฏบิ ัตงิ านและผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ เพือ่ จดั ทาํ รายงานผลการปฏบิ ัติงานและผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ ตาม

แบบทสี่ ํานกั งบประมาณกาํ หนด และจดั สง่ ไปยงั สาํ นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาทกุ ไตรมาส ภายใน ระยะเวลาท่ี
สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษากําหนด

2) จัดทาํ รายงานประจําปีทีแ่ สดงถึงความสาํ เรจ็ ในการปฏิบตั งิ าน และจดั สง่ ใหส้ ํานกั งาน เขตพ้ืนที่
การศึกษาภายในระยะเวลาทส่ี าํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษากาํ หนด
7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใช้ผลผลติ จากงบประมาณ

1) ประเมินคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงานตามที่ไดร้ ับมอบหมาย
2) วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลการดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา
3) วเิ คราะห์และประเมินความมีประสทิ ธภิ าพ ประหยัด และความคุ้มคา่ ในการใช้ ทรัพยากรของ
หน่วยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา
1) วางแผน รณรงค์ สง่ เสรมิ การระดมทนุ การศึกษาและทุนเพ่ือการพฒั นาการศกึ ษาให้ ดําเนนิ งาน
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผล คุ้มคา่ และมีความโปรง่ ใส
2) จดั ทาํ ข้อมลู สารสนเทศ และระบบการรบั จ่ายทุนการศกึ ษาและเพื่อการพฒั นา การศกึ ษาให้
ดําเนนิ งานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล คุ้มคา่ และมคี วามโปร่งใส 3) สรปุ รายงาน เผยแพร่ และเชดิ
ชเู กยี รตผิ สู้ นบั สนนุ ทนุ การศึกษาและทนุ เพื่อการพัฒนา สถานศึกษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ัน
พืน้ ฐาน

9. การบริหารจดั การทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา
1) จัดทํารายการทรพั ยากรเพ่อื เปน็ สารสนเทศได้แก่แหลง่ เรยี นรู้ภายในสถานศกึ ษา แหล่ง เรียนรู้ใน

ท้องถน่ิ ทั้งทีเ่ ปน็ แหล่งเรียนรธู้ รรมชาตแิ ละภูมปิ ัญญาท้องถิน่ แหลง่ เรยี นรู้ที่เปน็ สถานประกอบการ เพอื่ การรบั รู้ของ
บคุ ลากรในสถานศกึ ษา นกั เรยี นและบุคคลท่วั ไปจาํ ได้เกิดการใชท้ รพั ยากรร่วมกันในการจัด การศึกษา

2) วางระบบหรอื กาํ หนดแนวปฏบิ ัติการใชท้ รัพยากรรว่ มกนั กับบุคคล หน่วยงานรฐั บาล และ
เอกชนเพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ

3) กระตุ้นใหบ้ คุ คลในสถานศึกษารว่ มใชท้ รพั ยากรภายในและภายนอก รวมทงั้ ใหบ้ ริการ การใช้
ทรัพยากรภายในเพือ่ ประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้และสง่ เสริมการศกึ ษาในชุมชน

4) ประสานความรว่ มมอื กบั ผู้รบั ผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรทม่ี นษุ ย์สร้าง
ทรพั ยากรบคุ คลที่มศี กั ยภาพใหก้ ารสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา

5) ดําเนินการเชิดชเู กยี รตบิ ุคคลและหนว่ ยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชน ท่ีสนบั สนนุ การใช้ ทรพั ยากร
รว่ มกนั เพอื่ การศกึ ษาของสถานศึกษา
10. การวางแผนพัสดุ

1) การวางแผนพสั ดุลว่ งหน้า 3 ปี ให้ดําเนินการตามกระบวนการของการวางแผน งบประมาณ
2) การจัดทําแผนการจัดหาพสั ดุให้ฝ่ายทีท่ ําหนา้ ท่จี ัดซอ้ื จดั จา้ งเป็นผู้ดาํ เนนิ การ โดยให้ ฝา่ ยที่
ต้องการใช้พสั ดุ จดั ทาํ รายละเอียดพสั ดุที่ตอ้ งการ คอื รายละเอยี ดเกี่ยวกบั ปรมิ าณ ราคา คณุ ลกั ษณะ เฉพาะ หรือแบบ

รปู รายการและระยะเวลาท่ีตอ้ งการนต้ี ้องเป็นไปตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปี (แผนปฏบิ ัติงาน) และตามทร่ี ะบุไว้ใน
เอกสารประกอบพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาํ ปี ส่งใหฝ้ า่ ยทที่ ําหนา้ ที่ จัดซอ้ื จดั จ้างเพ่อื จัดทาํ แผนการ
จัดหาพสั ดุ

3) ฝ่ายทีจ่ ดั ทาํ แผนการจดั หาพสั ดทุ ําการรวบรวมข้อมลู รายละเอยี ดจากฝา่ ยท่ีตอ้ งการใช้ พัสดุโดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจําปี และความ
เหมาะสมของวิธกี ารจดั หาวา่ ควรเปน็ การซ้อื การเช่าหรอื การจดั ทําเองแลว้ จาํ นาํ ขอ้ มลู ทส่ี อบทาน แล้วมาจดั ทาํ
แผนการจดั หาพสั ดใุ นภาพรวมของสถานศึกษา
11. การกาํ หนดแบบรูปรายการหรือคณุ ลกั ษณะเฉพาะของครุภัณฑ์หรอื สง่ิ กอ่ สรา้ งท่ีใช้เงินงบประมาณ เพอ่ื
สนองต่อเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

1) กาํ หนดแบบรูปรายการหรือคุณลกั ษณะเฉพาะเพอื่ ประกอบการขอตง้ั งบประมาณ สง่ ให้
สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

2) กรณีท่เี ป็นการจัดหาจากเงนิ นอกงบประมาณให้กําหนดแบบรปู รายการหรอื คณุ ลกั ษณะเฉพาะ
ไดโ้ ดยให้พจิ ารณาจากแบบมาตรฐานกอ่ นหากไม่เหมาะสมกใ็ หก้ ําหนดตามความตอ้ งการโดย ยดึ หลักความโปรง่ ใส
เปน็ ธรรมและเป็นประโยชนก์ ับทางราชการ
12. การจดั หาพสั ดุ

1) การจดั หาพสั ดถุ อื ปฏบิ ัติตามระเบียบว่าดว้ ยการพสั ดุของส่วนราชการและคําสง่ั มอบ อํานาจของ
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

2) การจัดทําพสั ดถุ ือปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาวา่ ดว้ ยการให้สถานศกึ ษารบั จดั ทาํ รับ
บริการ

13. การควบคมุ ดูแล บาํ รงุ รกั ษาและจาํ หนา่ ยพสั ดุ
1) จดั ทําทะเบยี นคุมทรพั ยส์ นิ และบญั ชวี ัสดุไม่ว่าจะไดม้ าดว้ ยการจดั หาหรอื การรบั บรจิ าค
2) ควบคุมพสั ดุให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มการใชง้ าน
3) ตรวจสอบพสั ดุประจําปี และใหม้ ีการจําหน่ายพสั ดทุ ่ชี ํารดุ เสอื่ มสภาพหรือไมใ่ ชใ้ น ราชการอีก

ต่อไป
4) พสั ดุท่เี ป็นทดี่ ินหรอื ส่งิ ก่อสรา้ ง กรณที ไ่ี ดม้ าดว้ ยเงินงบประมาณให้ดําเนนิ การขนึ้ ทะเบยี น เป็น

ราชพสั ดุ กรณีที่ได้มาจากการรบั บริจาคหรอื จากเงินรายได้สถานศึกษาให้ขนึ้ ทะเบียนเปน็ กรรมสทิ ธ์ิของสถานศึกษา
14. การรบั เงนิ การเก็บรักษาเงิน และการจา่ ยเงนิ

1) การปฏิบัตเิ ก่ยี วกับการรบั เงิน และการจา่ ยเงินใหป้ ฏิบตั ิตามระเบยี บที่ กระทรวงการคลงั กําหนด
คอื ระเบยี บการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาํ เงนิ ส่งคลงั ในหนา้ ทข่ี องอาํ เภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศึกษาสามารถกาํ หนด
วธิ ีปฏบิ ตั เิ พ่มิ เตมิ ได้ตามความเหมาะสมแตต่ อ้ งไม่ขดั หรือแยง้ กับระเบียบ ดงั กล่าว

2) การปฏิบัตเิ กี่ยวกบั การเกบ็ รักษาเงินใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บท่กี ระทรวงการคลงั กําหนด คือ
ระเบยี บการเก็บรกั ษาเงนิ และการนําเงนิ สง่ คลงั ในส่วนของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนุโลม

15. การนําเงนิ ส่งคลัง
1) การนําเงินสง่ คลงั ให้นาํ สง่ ตอ่ สํานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาภายในระยะเวลาทก่ี ําหนดไว้ ตาม

ระเบียบการเก็บรกั ษาเงนิ และการนําเงนิ สง่ คลงั ในหนา้ ทขี่ องอําเภอพ.ศ. 2520 หากนาํ สง่ เปน็ เงินสดให้ ตัง้
คณะกรรมการนําสง่ เงินดว้ ย
16. การจดั ทําบญั ชกี ารเงิน

1) ใหจ้ ดั ทําบญั ชีการเงนิ ตามระบบทเี่ คยจัดทําอยเู่ ดิม คือ ตามระบบทกี่ าํ หนดไว้ในคู่มือ การบญั ชี
หนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคุมการเงนิ ของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544 แลว้ แตก่ รณี
17. การจัดทาํ รายงานทางการเงนิ และงบการเงิน

1) จดั ทาํ รายงานตามท่ีกาํ หนดในคู่มือการบญั ชสี ําหรับหนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบ
การควบคมุ การเงินของหนว่ ยงานยอ่ ยพ.ศ. 2515 แล้วแตก่ รณี

2) จดั ทาํ รายงานการรบั จ่ายเงินรายได้สถานศกึ ษา ตามทส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานกําหนด คือ ตามประกาศสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานว่าดว้ ย หลักเกณฑ์ อตั ราและวธิ ีการนํา
เงนิ รายไดส้ ถานศึกษาไปจ่ายเป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาของ สถานศึกษาที่เป็นนิตบิ ุคคลรายไดส้ ถานศึกษาไป
จ่ายเป็นค่าใชจ้ ่ายในการจดั การของสถานศกึ ษาทเี่ ป็นนติ ิ
บุคคลในสงั กัดเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
18. การจดั ทําและจัดหาแบบพมิ พบ์ ัญชี ทะเบียนและรายงาน

1) แบบพิมพบ์ ัญชี ทะเบยี นและแบบรายงานให้จัดทาํ ตามแบบทกี่ าํ หนดในคู่มือการบญั ชี สาํ หรับ
หนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2544

งานด้านการบริหารทัว่ ไป

เปน็ ภารกจิ หนงึ่ ของโรงเรยี นในการสนับสนุน ส่งเสรมิ การปฏิบัติงาน ของโรงเรียนใหบ้ รรลุตาม นโยบาย
และมาตรฐานการศกึ ษาทโ่ี รงเรียนกําหนดให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล เช่น การ ดาํ เนินงานธรุ การ งาน
เลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน งานพฒั นาระบบและเครอื ข่าย ข้อมลู สารสนเทศ การประสาน
และพฒั นาเครือขา่ ยการศึกษา การจดั ระบบการบริหารและพัฒนาองคก์ ร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่งเสริม
สนบั สนุนดา้ นวชิ าการ งบประมาณ บุคลากรและบรหิ ารท่ัวไป การดูแลอาคารสถานทแ่ี ละ สภาพแวดล้อม การ
จัดทําสํามะโนผู้เรียน การรบั นักเรยี น การสง่ เสรมิ และประสานงานการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และ ตาม
อัธยาศยั การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา งานสง่ เสริมงานกิจการนักเรยี น การ ประชาสมั พนั ธ์ งาน
การศึกษา การสง่ เสรมิ สนบั สนุน และสถาบันสงั คมอื่นทจ่ี ัดการศกึ ษา งานประสานราชการกบั เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
และ หนว่ ยงานอืน่ การจดั ระบบการควบคุมในหน่วยงาน งานบริการสาธารณะ

30

บทบาทและหนา้ ทข่ี องกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป

หัวหนา้ กลมุ่ บริหารทวั่ ไป
มหี น้าทร่ี บั ผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปนี้
1. ปฏิบตั หิ นา้ ทีใ่ นฐานะรองผู้อาํ นวยการกลมุ่ บริหารทัว่ ไปของโรงเรียน
2. เป็นทป่ี รกึ ษาของผู้อํานวยการโรงเรยี นเกี่ยวกบั งานบรหิ ารทว่ั โรงเรยี น
3. กํากบั ตดิ ตาม การดาํ เนนิ งานของกล่มุ บรหิ ารทว่ั ไปให้ดาํ เนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และมีประสทิ ธภิ าพ
4. กําหนดหนา้ ทีข่ องบุคลากรในกลุม่ บรหิ ารท่ัวไป และควบคุมการปฏบิ ัติงานของสาํ นกั งานบรหิ ารท่วั ไป
5. บรหิ ารจัดการในสายงานตามบทบาทและหน้าท่ีความรบั ผิดชอบได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. กํากบั ตดิ ตาม ใหง้ านแผนงานและบรหิ ารท่ัวไป ประสานฝา่ ยตา่ งๆ เพอ่ื ดําเนินกจิ กรรม งาน โครงการ ให้
เป็นไปตามแผนปฏบิ ตั กิ าร และปฏิบตั กิ ารของโรงเรียน
7. กาํ กบั ตดิ ตาม ประสานงานใหม้ กี ารรวบรวมข้อมลู สถติ ิเกีย่ วกับงานบรหิ ารท่ัวไปใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน เพ่อื
นาํ ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนา และแก้ไขปัญหา
8. ควบคุม กํากับ ติดตาม การดําเนินงานและประเมินผลการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรในกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป อยา่ ง
ตอ่ เนอื่ ง
9. ติดตามประสานประโยชนข์ องครู ผู้ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีและปฏบิ ัติหนา้ ที่พเิ ศษ เพ่อื สร้างขวญั และกาํ ลังใจ
10. วนิ จิ ฉัยสง่ั การงานทร่ี ับมอบหมายไปยงั งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
11. ตดิ ตามผลสมั ฤทธแ์ิ ละประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื สรปุ ปัญหา และอปุ สรรคในการดําเนินงาน เพอื่ หา
แนวทางในการพฒั นางานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ
12. กํากับ ตดิ ตาม ใหง้ านตดิ ตามประเมนิ ผล และประสานงาน ดาํ เนินการตดิ ตามการปฏิบัติงานของทุกงาน พร้อม
รายงานผลการปฏิบัตอิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
13. ประสานงานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานโรงเรยี นวดั กองทราย
14. ตดิ ตอ่ ประสานงานระหวา่ งโรงเรยี นกบั หน่วยงานภายนอกในสว่ นทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั งานบริหารทว่ั ไป
15. ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่อี ่ืนๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

งานกลุ่มบริหารท่วั ไป
1. งานสารบรรณกลมุ่ บริหารบริหารทวั่ ไป
มีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี

1.1 จัดทําแผนพฒั นางาน/โครงการ แผนปฏิบัตริ าชการและปฏทิ นิ งานเสนอรองกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไปเพอ่ื จดั สรร
งบประมาณ

1.2 จัดหา จดั ซื้อทรพั ยากรทจ่ี ําเป็นในสาํ นกั งานกล่มุ บรหิ ารทว่ั ไป
1.3 จดั ทําทะเบยี นรบั – ส่ง หนงั สือราชการ โดยแยกประเภทของเอกสารและหนังสอื ของสํานักงาน ให้ เป็น
หมวดหมมู่ รี ะบบการเก็บเอกสารทีส่ ามารถค้นหาเรื่องได้อยา่ งรวดเรว็
1.4 โต้ตอบหนังสือราชการ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเอกสาร หลักฐานให้ถกู ตอ้ งตามระเบียบของ งานสาร
บรรณอย่างรวดเรว็ และทนั เวลา

1.5 จัดส่งหนังสือราชการ เอกสารของกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป ใหง้ านที่รับผดิ ชอบและตดิ ตามเรอ่ื งเกบ็ คนื จดั เข้าแฟ้ม
เรอ่ื ง

1.6 จัดพมิ พ์เอกสารและจดั ถ่ายเอกสารต่าง ๆ ของกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป เชน่ บนั ทกึ ขอ้ ความ แบบสาํ รวจ
แบบสอบถาม แบบประเมินผลงานระเบียบและคําสง่ั

1.7 ประสานงานด้านข้อมลู และรว่ มมอื กบั กลุม่ บรหิ ารงานตา่ ง ๆ ในโรงเรยี น เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจและ รว่ มมอื
อันดีต่อกนั ในการดําเนนิ งานตามแผน

1.8 ประเมนิ ผลและสรุปรายงานผลปฏบิ ตั ิราชการประจําปี
1.9 ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอน่ื ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

2. งานพัสดุกลมุ่ บรหิ ารทวั่ ไป
2.1 ประสานงานในกลมุ่ งานบรหิ ารท่ัวไป วางแผน จัดซือ้ จดั หาวสั ดุ ครุภณั ฑ์ท่ีจําเป็นในการซ่อมแซม อาคาร

สถานที่ สาธารณปู โภคและอปุ กรณ์อาํ นวยความสะดวกทีช่ ํารุด โดยประสานงานกับพสั ดโุ รงเรยี น
2.2 จดั ทาํ บญั ชคี วบคมุ การเบิกจา่ ยวสั ดุ ยืมวสั ดุให้ถกู ตอ้ งมรี ะบบและเป็นปัจจุบัน
2.3 จัดทําระเบียบ แนวปฏิบตั ิ แบบรายงาน แบบฟอร์มต่าง ๆ ที่จําเปน็ ในการใหบ้ รกิ ารปรบั ซ่อม
2.4 ติดตามการปรบั ซ่อมและบาํ รงุ รกั ษาสภาพวสั ดุ ครุภัณฑใ์ ห้มีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน
2.5 ประเมิน สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ปกี ารศกึ ษาและรายงานตอ่ ผู้เก่ยี วข้อง
2.6 ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี ื่น ๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

3. งานสารสนเทศกลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป
3.1 วางแผนงาน/โครงการ และจดั ทรัพยากรท่ีใชใ้ นงานสารสนเทศของกล่มุ บริหารท่ัวไป
3.2 ประสานงานดา้ นความรว่ มมือเก่ยี วกบั ขอ้ มลู กับงานต่าง ๆ เพ่ือรวบรวมและจัดระบบขอ้ มลู

สารสนเทศทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสมและทันสมยั ทจ่ี ะบง่ บอกถึงสภาพปญั หาความต้องการ
3.3 รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั นโยบายของโรงเรียน เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานแนวทางการปฏริ ูป

การศกึ ษา
3.4 จัดทาํ เอกสารเผยแพร่ข้อมลู ใหก้ ลมุ่ งาน ไดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นการวางแผนแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานใน กลมุ่

งานต่อไป
3.5 ร่วมมอื กับสารสนเทศของโรงเรยี น เผยแพร่งานของกลมุ่ บรหิ ารทว่ั ไป
3.6 ประเมนิ สรปุ รายงานผลการดําเนนิ งานประจําปกี ารศกึ ษา
3.7 ปฏบิ ัตหิ น้าทอี่ ่ืน ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย

4. งานแผนงานกล่มุ บรหิ ารทวั่ ไป
4.1 ประสานงานจดั ทาํ แผนพฒั นางาน แผนปฏบิ ตั ิราชการ/โครงการ ปฏิทนิ ปฏิบัตงิ านกล่มุ บริหาร ทว่ั ไป

เสนอผู้บริหารเพ่อื จดั สรรงบประมาณ

4.2 พิจารณาจดั แผนงาน/โครงการของกลุ่มบรหิ ารทั่วไป ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของโรงเรยี นและ เกณฑ์
ประเมินมาตรฐานและการปฏริ ูปการศกึ ษา

4.3 กํากับ ตรวจสอบดูแลงาน/โครงการ ให้เกิดการดาํ เนนิ งานให้เป็นไปตามแผน
4.4 ประสานงานกับแผนงานของโรงเรยี นและกลมุ่ งานตา่ ง ๆ เพอ่ื นาํ เอาเทคโนโลยมี าใชใ้ หม้ ี
ประสิทธิภาพ
4.5 ประเมนิ สรปุ รายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ
4.6 ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ทไี่ ด้รับมอบหมาย

งานอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
มหี นา้ ทรี่ ับผดิ ชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี

1. วางแผนกาํ หนดงาน /โครงการงบประมาณแผนปฏบิ ัตงิ านดา้ นอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม
ตลอดจนการติดตามการปฏบิ ตั งิ านของนักการ แม่บ้านทําความสะอาด

2. วางแผนรว่ มกับแผนงานโรงเรียน พสั ดโุ รงเรยี น เพอ่ื เสนอของบประมาณจัดสร้างอาคารเรยี น และ อาคาร
ประกอบ เช่น ห้องเรียน หอ้ งบรกิ าร หอ้ งพเิ ศษใหเ้ พียงพอ กับการใชบ้ รกิ ารของโรงเรียน

3. จดั ซอ้ื จดั หาโตะ๊ เก้าอ้ี อุปกรณ์การสอน อปุ กรณ์ทาํ ความสะอาดห้องเรยี น ห้องบริการหอ้ ง พิเศษ ให้
เพียงพอและอยใู่ นสภาพท่ดี ีอยตู่ ลอดเวลา

4. จัดเครือ่ งมือรักษาความปลอดภยั ในอาคาร ตดิ ต้งั ในทท่ี ่ีใช้งานไดส้ ะดวกใชง้ านไดท้ นั ที
5. จดั บรรยากาศภายในอาคารเรยี น ตกแต่งอยา่ งสวยงาม เป็นระเบียบ ประตหู น้าตา่ งอยใู่ นสภาพ ดดี แู ลสี
อาคารต่าง ๆใหเ้ รียบรอ้ ย มปี ้ายบอกอาคารและหอ้ งตา่ ง ๆ
6. ประสานงานกบั พสั ดุโรงเรียนในการซอ่ มแซมอาคารสถานท่ี ครุภณั ฑ์ โต๊ะ เก้าอี้ และอ่ืน ๆใหอ้ ยู่ใน สภาพท่ี
เรยี บร้อย
7. ดแู ลความสะอาดทว่ั ไปของอาคารเรียน หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วม ให้สะอาด ปราศจากกลิ่นรบกวน
8. ติดตาม ดูแลใหค้ ําแนะนาํ ในการใช้อาคารสถานท่ี โดยการอบรมนกั เรยี นในดา้ นการดูแลรกั ษา ทรพั ย์สนิ
สมบตั ขิ องโรงเรยี น
9. ประสานงานกบั พัสดโุ รงเรียนในการจําหน่ายพสั ดเุ ส่อื มสภาพออกจากบัญชพี สั ดุ
10. ประสานงานกับหัวหนา้ อาคาร โดยนาํ ข้อเสนอแนะ มาปรบั ปรงุ งานใหท้ ันเหตุการณ์และความ ตอ้ งการ
ของบคุ ลากรในโรงเรียน
11. อํานวยความสะดวกในการใชอ้ าคารสถานที่แกบ่ ุคคลภายนอก รวมทั้งวสั ดอุ ่ืน ๆ จดั ทําสถติ ิการ
ให้บรกิ ารและรวบรวมขอ้ มลู
12. ประเมิน สรปุ และรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน/โครงการประจาํ ปีการศึกษา
13. ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

งานสาธารณปู โภค

มหี น้าทร่ี บั ผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี
1. จัดทาํ แผนงานพฒั นางาน/โครงการเพอ่ื เสนอต่อผู้บริหาร เพ่ือจัดสรรงบประมาณ
2. จดั ซ้อื จัดหา สาธารณูปโภคในโรงเรียนให้เพยี งพออยู่ตลอดเวลา
3. กําหนดขอ้ ปฏิบัติและติดตามการใชน้ ้ำ ใชไ้ ฟฟ้าใหเ้ ปน็ ไปอย่างประหยัด
4. จดั บรกิ ารและติดตามการใชส้ าธารณปู โภคให้เปน็ ไปอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่
5. มีมาตรการตรวจสอบคุณภาพของนา้ํ ดม่ื นาํ้ ใช้ เคร่ืองกรองนาํ้ หมอ้ แปลงไฟฟ้า โทรศพั ท และ สาธารณปู โภคอ่นื
ๆ ให้อยใู่ นสภาพที่ได้มาตรฐาน
6. จัดทําป้ายคาํ ขวัญ คาํ เตือน เก่ยี วกบั การใชน้ าํ้ ใชไ้ ฟฟา้ และโทรศพั ท์
7. รว่ มมอื กบั งานกจิ กรรมนกั เรียน อบรมนักเรียนเกีย่ วกบั การใชไ้ ฟฟ้า ใชโ้ ทรศพั ท์
8. สาํ รวจ รวบรวม ข้อมูลเก่ียวกบั สาธารณูปโภคทช่ี าํ รดุ
9. ซอ่ มแซมสาธารณปู โภคทชี่ ํารุดให้อยู่ในสภาพท่ดี ีและปลอดภยั อยตู่ ลอดเวลา
10. ประเมินผลและสรุปรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนงาน/โครงการ
11. ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

งานธรุ การ และสารบรรณ
มหี นา้ ทร่ี ับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี

1. รบั -ส่งเอกสาร ลงทะเบยี นหนงั สอื เข้า – ออก จัดส่งหนงั สอื เข้าหรอื เอกสารใหห้ น่วยงานหรอื บุคคลท่ี เกย่ี วข้อง
2. จัดทําคําสงั่ และจดหมายเวียนเรอื่ งตา่ ง ๆ เพอื่ แจ้งใหก้ บั ครแู ละผู้เกี่ยวข้องไดร้ บั ทราบ
3. เกบ็ หรอื ทําลายหนงั สอื เอกสารตา่ ง ๆตามระเบียบงานสารบรรณ
4. รวบรวมเอกสาร หลักฐาน ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกาศ คําสง่ั และวิธปี ฏบิ ตั ิทเ่ี กยี่ วขอ้ งให้เปน็ ปจั จบุ นั อยเู่ สมอ
และเวียนใหผ้ ู้ทเี่ ก่ยี วข้องทราบ
5. รา่ งและพมิ พห์ นงั สือออก หนงั สอื โต้ตอบถึงส่วนราชการ และหน่วยงานอน่ื
6. ติดตามเอกสารของฝ่ายต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องกบั ทางโรงเรียนและเกบ็ รวบรวมเพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการ อ้างองิ
7. ประสานงานการจดั ส่งจดหมาย ไปรษณยี ์ พัสดแุ ละเอกสารตา่ ง ๆ ของโรงเรียน
8. เปน็ ที่ปรึกษาของรองผู้อาํ นวยการฝ่ายบรหิ ารท่วั ไปในเรอ่ื งงานสารบรรณ
9. ควบคุมการรบั – สง่ หนงั สอื ของโรงเรียน (E – Office)
10. บรกิ ารทางจดหมายและสิ่งตีพิมพ์ท่มี มี าถึงโรงเรียน
11. จัดหนังสอื เข้าแฟ้มเพอื่ ลงนาม
13. ปฏิบตั หิ นา้ ท่อี นื่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย
งานยานพาหนะ

มหี นา้ ทร่ี บั ผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปนี้
1. จดั ทําแผนงาน / โครงการ เกย่ี วกบั การจัดหา บาํ รงุ รักษา การให้บรกิ ารยานพาหนะแก่คณะครแู ละ บุคลากร
ของโรงเรียนตลอดจนกาํ หนดงบประมาณเสนอขออนมุ ตั ิ

2. กาํ หนดหน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบ ให้ความรู้ พนกั งานขับรถ ตลอดจนพจิ ารณา จัดและใหบ้ รกิ ารพาหนะ แก่
บคุ ลากร
3. กํากบั ตดิ ตาม จัดทาํ ข้อมลู สถติ ิ การใช้ และใหบ้ รกิ ารยานพาหนะของโรงเรยี น 4. กาํ หนดแผนตรวจสอบ ซ่อม
บาํ รงุ เพื่อใหพ้ าหนะใชก้ ารได้ และปลอดภยั ตลอดเวลา ให้คาํ แนะนํา เสนอผู้ มอี าํ นาจอนมุ ัติ
5. ประเมนิ สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ปี
6. ปฏบิ ัตหิ น้าที่อ่นื ๆ ตามทผ่ี ู้บงั คบั บญั ชามอบหมาย

งานประชาสัมพนั ธ์
มหี นา้ ทรี่ ับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี

1. กาํ หนดนโยบาย วางแผน งานโครงการ การดําเนินการประชาสมั พนั ธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายและ
จดุ ประสงค์ของโรงเรียน
2. ประสานงาน รว่ มมอื กับกลมุ่ สาระฯ และงานตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นในการดาํ เนินงานด้านประชาสมั พันธ์
3. ต้อนรบั และบรกิ ารผู้มาเยี่ยมชมหรอื ดงู านโรงเรยี น
4. ตอ้ นรบั และบริการผู้ปกครองหรือแขกผมู้ าติดต่อกบั นกั เรยี นและทางโรงเรียน
5. ประกาศขา่ วสารของกลุ่มสาระฯ หรอื ข่าวทางราชการใหบ้ ุคลากรในโรงเรียนทราบ
6. ประสานงานด้านประชาสัมพนั ธ์ท้ังในและนอกโรงเรยี น
7. เป็นหนว่ ยงานหลกั ในการจดั พิธกี ารหรอื พธิ ีกรในงานพธิ กี ารตา่ ง ๆ ของโรงเรียน
8. เผยแพรก่ ิจกรรมต่าง ๆ และชอ่ื เสยี งของโรงเรียนทางสื่อมวลชน
9. จัดทาํ เอกสาร – จลุ สารประชาสมั พันธ์เพือ่ เผยแพร่ขา่ วสาร รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและความ
เคล่อื นไหวของโรงเรียนให้นกั เรยี นและบุคลากรท่ัวไปทราบ
10. รวบรวม สรุปผลและสถติ ิตา่ ง ๆ เกย่ี วกับงานประชาสมั พันธ์และจดั ทํารายงานประจําปีของงาน
ประชาสมั พันธ์
11. งานเลขานกุ ารการประชมุ ครูโรงเรยี นบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
12. ปฏิบตั หิ น้าทอี่ นื่ ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

งานพยาบาลและอนามัย
มหี นา้ ทร่ี ับผดิ ชอบในขอบข่ายตอ่ ไปนี้

1. กาํ หนดนโยบาย วางแผนงานโครงการ การดาํ เนินงานของงานอนามยั โรงเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย และ
วตั ถปุ ระสงค์ของโรงเรยี น
2. ประสานงานกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้และงานต่าง ๆ ของโรงเรียน ในการดาํ เนินงานด้านอนามัยโรงเรียน
3. ควบคมุ ดแู ล หอ้ งพยาบาลใหส้ ะอาด ถูกสุขลักษณะ
4. จัดเคร่อื งมือ เคร่ืองใช้ และอปุ กรณ์ในการปฐมพยาบาล รกั ษาพยาบาลให้พรอ้ มและใชก้ ารไดท้ นั ที
5. จดั หายาและเวชภณั ฑ์ เพอ่ื ใชใ้ นการรกั ษาพยาบาลเบ้อื งตน้

6. จัดปฐมพยาบาลนกั เรยี น ครู – อาจารย์ และคนงานภารโรงในกรณีเจบ็ ป่วย และนาํ ส่งโรงพยาบาลตาม ความ
จาํ เปน็
7. จดั บรกิ ารตรวจสขุ ภาพนกั เรยี น ครู – อาจารย์ นักการภารโรงและชุมชนใกล้เคียง
8. จัดทําบัตรสุขภาพนักเรยี น ทาํ สถิติ บันทกึ สุขภาพ สถติ นิ า้ํ หนักและส่วนสงู นกั เรียน
9. ตดิ ตอ่ แพทยห์ รือเจา้ หนา้ ทอี่ นามัยให้ภมู ิคมุ้ กนั แก่บุคลากรของโรงเรียนหรอื ชุมชนใกล้เคยี ง
10. ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองนกั เรียนในกรณีนักเรยี นเจบ็ ปว่ ย
11. แนะนาํ ผปู้ ว่ ย ญาติ ประชาชนถึงการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากโรค ให้ภมู ิคมุ้ กันโรค
12. ใหค้ ําแนะนําปรกึ ษาด้านสขุ ภาพนกั เรยี น
13. ประสานงานกับครแู นะแนว ครทู ี่ปรกึ ษาหรอื ครูผู้สอนเก่ยี วกับนกั เรียนทม่ี ีปญั หาดา้ นสุขภาพ
14. ใหค้ วามร่วมมอื ดา้ นการปฐมพยาบาลแก่หน่วยงานอ่ืนหรอื กจิ กรรมของโรงเรียนตามควรแก่โอกาส
15. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั เช่น จดั นทิ รรศการเก่ยี วกบั สขุ ภาพอนามัย จดั ต้งั ชมรม ชมุ ชน
อาสาสมคั รสาธารณสขุ
16. จัดทาํ สถิติ ขอ้ มูลทางดา้ นสขุ ภาพอนามัยและจดั ทาํ รายงานประจําภาคเรยี น ประจําปีของงานอนามยั
17. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ ่ืน ๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

งานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
มีหน้าทร่ี ับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี

1. รวบรวมประมวลวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
2. สนบั สนนุ ข้อมูล รบั ทราบหรือดําเนินการตามมติทปี่ ระชุมของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
3. ดาํ เนนิ งานด้านธรุ การในการจัดประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
4. จัดทาํ รายงานการประชมุ และแจง้ มตทิ ป่ี ระชมุ ใหผ้ ู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ งเพื่อทราบดาํ เนนิ การหรอื ถือปฏบิ ตั ิแล้วแต่ กรณี
5. ประสานการดาํ เนนิ งานตามมตกิ ารประชมุ ในเรื่องการอนมุ ัติ อนญุ าต สงั่ การ เรง่ รดั การดาํ เนินการและ
รายงานผลการดาํ เนนิ การให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
6. ปฏิบัตหิ นา้ ที่อนื่ ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมาย

งานชุมชนสัมพนั ธแ์ ละบริการสาธารณะ
มหี น้าทร่ี ับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปนี้

1.วางแผนกาํ หนดงาน โครงการงบประมาณแผนปฏิบัตงิ านดา้ นชมุ ชนสมั พันธ์และบรกิ ารสาธารณะตลอดจน การ
ติดตามการปฏิบตั งิ าน
2. รวบรวมวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของชุมชน เพอื่ นําไปใชใ้ นงานสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งชุมชนกบั โรงเรยี นและ บรกิ าร
สาธารณะ
3. ใหบ้ ริการชุมชนในดา้ นขา่ วสาร สขุ ภาพอนามยั อาคารสถานท่ี วสั ดุ ครุภณั ฑ์ และวชิ าการ
4. จัดกจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาชุมชน เชน่ การบรจิ าควัสดุ ส่ิงของ อุปโภคบรโิ ภค ให้ความรู้และจัดนทิ รรศการ

5. การมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย ศาสนาและงานทเ่ี กย่ี วกับชมุ ชน
6. สนบั สนนุ ส่งเสริมให้มีการจัดตงั้ องค์กรตา่ ง ๆ เพอ่ื ช่วยเหลอื โรงเรยี น เชน่ สมาคมฯ มลู นิธิ
7. ประสานและใหบ้ ริการแก่คณะครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน หน่วยงานต่างๆทง้ั ภาครฐั และเอกชนในด้าน อาคาร สถานที่
วัสดุ ครุภัณฑ์ บุคลากร งบประมาณ
8. รวบรวมข้อมลู จัดทําสถิติ
9. ประเมินสรุป รายงาน ผลการการดาํ เนินงานตามแผนงาน/โครงการประจําปีการศึกษา
10. ปฏิบัตงิ านอน่ื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
งานป้องกนั อบุ ตั เิ หตุและอบุ ัติภัย

มหี น้าทรี่ บั ผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี
1. จัดทําแผนงาน / โครงการ เกย่ี วกบั การให้ความรเู้ กี่ยวกบั การปอ้ งกันอบุ ัติเหตุและอัคคีภยั ของโรงเรียน
2. กําหนดแนวทางปฏิบตั ใิ นการป้องกันอบุ ัติเหตแุ ละอัคคภี ัย ให้ความรู้นกั เรียน ครู และบคุ ลากร
3. กาํ กบั ตดิ ตาม จัดทําข้อมลู สถิติ ตา่ งๆ เกีย่ วกบั การปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตแุ ละอคั คีภัย
4. กําหนดแผนตรวจสอบ ซอ่ มบํารงุ เพื่อใหอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกันอัคคีภยั ใชก้ ารได้ และปลอดภัยตลอดเวลา ให้
คาํ แนะนํา เสนอผมู้ ีอาํ นาจอนมุ ตั ิ
5. ประเมนิ สรปุ ผลการดาํ เนินงานประจาํ ปี
6. ปฏบิ ัตหิ น้าที่อน่ื ๆ ตามทผี่ ู้บงั คบั บัญชามอบหมาย

การบรหิ ารงานวชิ าการ
แนวคิดหลักในการบรหิ ารวิชาการ

การบริหารงานวิชาการเปน็ ภารกิจทสี่ ําคัญของการบรหิ ารโรงเรียนตามทพี่ ระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบบั ที่ 2)พ.ศ.2545 ถือเป็นงานทมี่ ีความสําคัญ ทส่ี ดุ เปน็ หวั ใจ
ของการจดั การศกึ ษา ซงึ่ ท้ังผู้บรหิ าร โรงเรยี น คณะครู และผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องทกุ ฝา่ ย ตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจ ให้
ความสําคัญและ มสี ่วนรว่ มในการวางแผน กาํ หนดแนวทางปฏบิ ัตกิ าร ประเมินผล และการปรบั ปรงุ แก้ไขอยา่ ง
เปน็ ระบบและต่อเนื่อง มุ่งใหก้ ระจายอํานาจในการบรหิ าร จดั การไปให้สถานศกึ ษาใหม้ ากทสี่ ุด ดว้ ยเจตนารมณท์ ่ี
จะใหส้ ถานศึกษาดําเนินการได้โดยอสิ ระ คลอ่ งตวั รวดเร็ว สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้เรียน โรงเรียน ชมุ ชน
ท้องถิ่น และการมสี ่วนรว่ ม จากผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทุกฝ่าย ซง่ึ จะเปน็ ปจั จยั สําคัญทาํ ใหส้ ถานศกึ ษามีความเข้มแข็ง
ในการบริหารและ จัดการ สามารถพฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมท้ัง
ปจั จยั เกื้อหนุนการพฒั นาคณุ ภาพนกั เรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถนิ่ ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพและมปี ระสิทธิภาพ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ให้บรหิ ารงานดา้ นวชิ าการได้โดยอสิ ระ คล่องตัว รวดเรว็ และ สอดคล้องกับความต้องการ ของ
นักเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน ท้องถ่ิน

2. เพอ่ื ให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรยี นไดม้ าตรฐาน และ มคี ณุ ภาพสอดคล้องกับ ระบบ
ประกนั คุณภาพการศกึ ษา และ ประเมนิ คุณภาพภายในเพ่ือพฒั นาตนเอง และ จากการ ประเมนิ หน่วยงาน
ภายนอก

3. เพอื่ ใหโ้ รงเรยี นพฒั นาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนนุ การเรยี นรู้ทส่ี นอง ตอ่ ความ
ตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน และ ท้องถ่ิน โดยยึดผู้เรยี นเปน็ สาํ คญั ได้อยา่ งมีคุณภาพ และ ประสทิ ธิภาพ

4. เพอื่ ใหโ้ รงเรียนได้ประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา และ ของบคุ คล
ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และ สถาบันอ่นื ๆอย่างกว้างขวาง

ด้านบริหารวิชาการ
1. หัวหน้างานบรหิ ารวชิ าการ ปฏบิ ตั หิ น้าทห่ี ัวหนา้ กลุม่ การบรหิ ารวิชาการ มีหนา้ ท่ี ดแู ล กํากบั ติดตาม

กลน่ั กรองอาํ นวยความสะดวก ใหค้ ําแนะนาํ ปรกึ ษาการปฏบิ ัติงานของเจา้ หน้าท่ที ป่ี ฏบิ ตั งิ านในกลมุ่ การบริหาร
วิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบรหิ ารวิชาการ ปฏิบัตหิ น้าที่เกีย่ วข้องกับการจดั ระบบ บรหิ ารองค์กร การ
ประสานงานและใหบ้ รกิ ารสนบั สนุน สง่ เสริมให้ฝ่ายบรหิ ารงานวชิ าการตา่ งๆ ในโรงเรียน สามารถบรหิ ารจดั การและ
ดาํ เนนิ การตามบทบาทภารกจิ อํานาจหนา้ ท่ดี ้วยความเรยี บร้อยตลอดจน สนบั สนนุ และใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ข่าวสาร
เอกสาร ส่อื อปุ กรณ์ทางการศึกษา และทรพั ยากรที่ใชใ้ นการจดั การศกึ ษาแกเ่ จา้ หนา้ ที่ของแตล่ ะฝา่ ยงานเพื่อใหฝ้ ่าย
บรหิ ารจดั การได้อย่างสะดวกคล่องตัว มคี ณุ ภาพและเกิด ประสทิ ธภิ าพ

2. หวั หนา้ วชิ าการสายช้ัน ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีผู้ชว่ ยหวั หนา้ กลมุ่ การบรหิ ารวิชาการ มหี นา้ ท่ีชว่ ย หัวหน้ากลุ่มการ
บรหิ ารวิชาการ ในการปฏบิ ัติงานตามภารกิจของงานบรหิ ารงานวชิ าการและหนา้ ท่อี ื่นๆท่ี หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
มอบหมายปฏิบัตหิ นา้ ท่แี ทนในกรณีหัวหน้าบริหารงานวิชาการไม่สามารถปฏบิ ัติ หนา้ ทไี่ ด้

ขอบข่ายงานบรหิ ารวิชาการ มดี ังน้ี
1. การพัฒนาหรอื การดาํ เนนิ งานเกยี่ วกบั การให้ความเหน็ การพัฒนาสาระหลักสูตรทอ้ งถนิ่ หนา้ ที่
รับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี

1) วิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ ทสี่ าํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาจัดทาํ ไว้
2) วิเคราะหห์ ลักสูตรสถานศกึ ษาเพอ่ื กาํ หนดจุดเนน้ หรอื ประเด็นทสี่ ถานศึกษาหรอื กลมุ่ เครือขา่ ย
สถานศกึ ษาใหค้ วามสาํ คัญ
3) ศกึ ษาและวิเคราะห์ข้อมลู สารสนเทศของสถานศึกษาและชมุ ชนเพอื่ นาํ มาเปน็ ขอ้ มลู จัดทําสาระ
การเรียนรทู้ ้องถน่ิ ของสถานศกึ ษาใหส้ มบรู ณ์ยิ่งขนึ้

4) จัดทาํ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ของสถานศึกษาเพอื่ นําไปจดั ทํารายวชิ าพ้นื ฐานหรอื รายวิชา
เพม่ิ เตมิ จดั ทาํ คาํ อธิบายรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื จัดประสบการณ์และ กจิ กรรมการเรยี น
การสอนให้แกผ่ ู้เรยี นประเมนิ ผลและปรับปรงุ

5) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั ิ

2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ หน้าท่รี บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดงั น้ี
1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมลู และกํากบั ดแู ล นิเทศและตดิ ตาม เกี่ยวกบั งาน

วิชาการ ได้แก่ การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมนิ ผล และการเทียบ
โอนผลการเรยี นการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพฒั นา และใช้สื่อและเทคโนโลยเี พ่ือ
การศกึ ษา การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้การวิจยั เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาและการสง่ เสริมชุมชนให้มี
ความเข้มแขง็ ทางวิชาการ

2) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนุมัตโิ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา หน้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี

1) จัดทําแผนการเรียนรทู้ ุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้โดยความรว่ มมือของเครอื ข่ายสถานศกึ ษา
2) จดั การเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทกุ ช่วงชน้ั ตามแนวปฏริ ปู การเรียนรู้โดย เน้น
ผู้เรียนเป็นสาํ คญั บรู ณาการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่างๆ เพอื่ คุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรยี นพัฒนา คุณธรรมนาํ
ความรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3) ใชส้ ื่อการเรียนการสอนและแหลง่ การเรียนรู้
4) จดั กิจกรรมพฒั นาห้องสมดุ ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ ใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้
5) สง่ เสรมิ การวจิ ัยและพัฒนาการเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้
6) สง่ เสรมิ การพฒั นาความเปน็ เลิศของนักเรยี นและช่วยเหลอื นกั เรยี นพกิ ารด้อยโอกาส และมี
ความสามารถพเิ ศษ

4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษา หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั นี้
1) จัดทาํ หลักสตู รสถานศึกษาเปน็ ของตนเอง
1.1 จัดใหม้ ีการวจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู รขึ้นใชเ้ องใหท้ นั กบั การเปล่ยี นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ และ

สังคมและเป็นตน้ แบบให้กบั โรงเรียนอืน่
1.2 จัดทาํ หลกั สตู รที่มงุ่ เนน้ พฒั นานกั เรยี นใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ทงั้ ร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา มี

ความรู้และคณุ ธรรม สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
1.3 จดั ใหม้ วี ิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ

1.4 เพมิ่ เตมิ เน้อื หาสาระของรายวิชาใหส้ งู และลกึ ซงึ้ มากข้นึ สําหรบั กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ ได้แก่
การศกึ ษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาที่สง่ เสรมิ ความเป็นเลิศ ผู้ บกพร่อง พิการ และ
การศกึ ษาทางเลอื ก

1.5 เพมิ่ เติมเนอ้ื หาสาระของรายวิชาท่สี อดคลอ้ งสภาพปัญหา ความต้องการของผเู้ รียน ผปู้ กครอง
ชุมชน สงั คม และโลก

2) สถานศึกษาสามารถจดั ทําหลักสูตรการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การสอนและอ่นื ๆให้ เหมาะสมกับ
ความสามารถของนกั เรียนตามกล่มุ เป้าหมายพิเศษ โดยความรว่ มมอื ของสํานกั งานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษาและเครอื ข่าย
สถานศึกษา

3) คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานให้ความเห็นชอบหลักสตู รสถานศกึ ษา
4) นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา และรายงานผลให้ สาํ นกั งานเขต
พนื้ ทกี่ ารศกึ ษารบั ทราบ

5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
หน้าที่รบั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี

1) จดั เน้ือหาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนัดของผเู้ รียนโดย คํานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล

2) ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการคดิ การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความรู้ มาใชเ้ พื่อ
ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา

3) จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณ์จริงฝกึ การปฏบิ ัติใหท้ าํ ได้ คดิ เป็น ทําเปน็ รักการ
อา่ นและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนอ่ื ง

4) จดั การเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สดั ส่วนสมดลุ กัน รวมทง้ั
ปลกู ฝังคุณธรรม ค่านยิ มทด่ี ีงานและคุณลกั ษณะอนั พงึ่ ประสงค์ไว้ในทุกวชิ า

5) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ผสู้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม ส่อื การเรียนและ อํานวยความ
สะดวกเพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใชก้ ารวจิ ัยเป็นสว่ นหนงึ่ ของ กระบวนการเรียนรู้
ทัง้ น้ี ผสู้ อนและผเู้ รียนอาจเรียนรู้ไปพรอ้ มกนั จากสอ่ื การเรียนการสอน และแหล่ง วิทยาการประเภทตา่ งๆ

6) จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความรว่ มมือ กับบิดามารดา และ
บุคคลในชุมชนทกุ ฝา่ ย เพือ่ ร่วมกันพฒั นาผู้เรียนตามศกั ยภาพ

6. การวดั ผล ประเมนิ ผลและดําเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) กาํ หนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รสถานศึกษาโดย สอดคลอ้ ง

กบั นโยบายระดบั ประเทศ
2) จัดทาํ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบการวัดและประเมนิ ผลของ สถานศกึ ษา

3) วัดผล ประเมนิ ผล เทยี บโอนประสบการณ์ผลการเรยี นและอนุมัตผิ ลการเรยี น
4) จัดให้มกี ารประเมินผลการเรยี นทุกชวงชั้นและจัดใหม้ กี ารซอ่ มเสริมกรณีทม่ี ีผเู้ รียนไม่ ผ่านเกณฑ์
การประเมิน
5) จัดให้มกี ารพฒั นาเครือ่ งมือในการวัดและประเมนิ ผล
6) จดั ระบบสารสนเทศดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผลและการเทยี บโอนผลการเรยี นเพอ่ื ใช้ใน การ
อ้างองิ ตรวจสอบและใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาการเรียนการสอน
7) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนุมัตผิ ลการประเมนิ การเรยี นด้านตา่ งๆ รายป/ี รายภาคและ ตัดสินผลการ
เรยี นการผา่ นชว่ งชั้นและจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
8) การเทยี บโอนผลการเรียนเปน็ อํานาจของสถานศึกษาทจี่ ะแตง่ ต้ังคณะกรรมการ ดําเนินการเพอื่
กําหนดหลกั เกณฑ์วธิ ีการ ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเทยี บระดบั การศกึ ษา ทัง้ ในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศยั
คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ พร้อมท้งั ให้ผบู้ รหิ าร
สถานศกึ ษาอนมุ ัติการเทยี บโอน

7. การวจิ ัยเพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา
หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี

1) กาํ หนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการทาํ งานของ นักเรียน
ครู และผเู้ กย่ี วข้องกบั การศกึ ษา

2) พฒั นาครูและนักเรยี นใหม้ ีความรู้เกย่ี วกับการปฏิรปู การเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการวิจัย เปน็ สาํ คัญ
ในการเรียนรทู้ ี่ซบั ซ้อนขึน้ ทําใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ การคดิ การจัดการ การหาเหตผุ ล ในการตอบปญั หา การผสมผสาน
ความรู้แบบสหวทิ ยาการและการเรยี นรู้ในปญั หาที่ตนสนใจ

3) พฒั นาคุณภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการวิจัย
4) รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั เพือ่ การเรียนรู้และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา รวมทั้ง สนบั สนนุ
ให้ครูนาํ ผลการวิจยั มาใช้ เพือ่ พฒั นาการเรียนรู้และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

8. การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหลง่ เรียนรู้
หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้

1) จัดให้มีแหลง่ เรียนรู้อยา่ งหลากหลายทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาใหพ้ อเพยี งเพอื่
สนบั สนนุ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกบั การจดั กระบวนการเรียนรู้

2) จัดระบบแหล่งการเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นให้เออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น เชน่ พฒั นา
ห้องสมดุ หมวดวิชา หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่ี มมุ หนังสือในหอ้ งเรียน หอ้ งพพิ ิธภัณฑ์ หอ้ งมัลตมิ ีเดยี หอ้ ง คอมพวิ เตอร์
อินเตอรเ์ นต็ ศนู ยว์ ิชาการ ศนู ย์วทิ ยบรกิ าร Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนหนงั สือ สวนธรรมะ
เปน็ ต้น

3) จัดระบบขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรู้ในท้องถ่ินใหเ้ ออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ของผเู้ รียนของ สถานศกึ ษา
ของตนเอง เช่น จดั เส้นทาง/แผนที่ และระบบการเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยหอ้ งสมดุ ประชาชน หอ้ งสมุดสถาบันการศกึ ษา
พิพิธภัณฑ์ พิพธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ฯลฯ

4) สง่ เสรมิ ใหค้ รูและผู้เรยี นได้ใชแ้ หล่งเรียนรู้ ทัง้ ในและนอกสถานศึกษาเพ่อื พฒั นาการ เรยี นรู้และ
นิเทศ กํากบั ติดตาม ประเมิน และปรบั ปรุงอย่างตอ่ เนื่อง

9. การนเิ ทศการศึกษา

หน้าที่รบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี

1) สร้างความตระหนกั ให้แก่ครแู ละผู้เกีย่ วข้องให้เขา้ ใจกระบวนการนเิ ทศภายในวา่ เปน็
กระบวนการทํางานรว่ มกนั ท่ีใชเ้ หตผุ ลการนเิ ทศเปน็ การพฒั นาปรับปรงุ วิธีการทาํ งานของแตล่ ะบุคคลให้มี คณุ ภาพ
การนิเทศเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ าร เพ่อื ใหท้ ุกคนเกิดความเช่อื มนั่ ว่า ไดป้ ฏิบัตถิ ูกตอ้ ง ก้าวหน้า และเกดิ
ประโยชนส์ ูงสุดต่อผเู้ รยี นและตวั ครเู อง

2) จัดการนเิ ทศภายในสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพท่ัวถงึ และตอ่ เนอื่ งเปน็ ระบบและ กระบวนการ

3) จดั ระบบนิเทศภายในสถานศกึ ษาให้เชื่อมโยงกบั ระบบนเิ ทศการศึกษาของสํานักงาน เขตพ้ืนที่

การศึกษา

10. การแนะแนวการศึกษา

มีหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี

1) กาํ หนดนโยบายการจัดการศกึ ษาทมี่ กี ารแนะแนวเปน็ องคป์ ระกอบสําคญั โดยใหท้ กุ คน ใน
สถานศึกษาตระหนกั ถงึ การมสี ่วนรว่ มในกระบวนการแนะแนวและการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน

2) จดั ระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะนาํ และดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
3 สร้างความตระหนักใหค้ รทู กุ คนเห็นคณุ คา่ ของการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
4) สง่ เสรมิ และพฒั นาให้ครูได้รบั ความรู้เพมิ่ เตมิ ในเรอ่ื งจิตวทิ ยาและการแนะแนวและดแู ล
ช่วยเหลอื นกั เรียนเพื่อใหส้ ามารถ บรู ณาการ ในการจดั การเรยี นรู้และเชือ่ มโยง สกู่ ารดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั
5) คัดเลือกบคุ ลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถและบคุ ลกิ ภาพที่เหมาะสม ทาํ หน้าที่ครแู นะ แนวครูท่ี
ปรึกษา ครูประจาํ ชน้ั และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6) ดูแล กาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตามและสนบั สนนุ การดาํ เนินงานแนะแนวและดแู ลช่วยเหลือ นกั เรยี น
อยา่ งเป็นระบบ
7) สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งครู ผู้ปกครองและชุมชน

8) ประสานงานดา้ นการแนะแนว ระหวา่ งสถานศึกษา องค์กรภาครฐั และเอกชน บา้ น ศาสนสถาน
ชมุ ชน ในลกั ษณะเครือขา่ ยการแนะแนว

9) เช่ือมโยงระบบแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น

11. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา
มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้

1) กาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาเพม่ิ เติมของสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน การศกึ ษาชาติ
มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานมาตรฐานสํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและความต้องการของ ชุมชน

2) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสรา้ งการบรหิ ารทเ่ี อ้ือต่อการพฒั นางาน และการ
สรา้ งระบบประกันคณุ ภาพภายในจัดระบบสารสนเทศใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ ข้อมลู มคี วามสมบรู ณ์ เรยี กใช้งา่ ย สะดวก
รวดเร็ว ปรบั ปรงุ ให้เปน็ ปจั จบุ นั อยู่เสมอ

3) จัดทําแผนสถานศกึ ษาที่มุง่ เนน้ คณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยุทธ์/แผนยทุ ธศาสตร์)
4) ดําเนนิ การตามแผนพฒั นาสถานศกึ ษาในการดําเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสถานศกึ ษาต้อง สร้าง
ระบบการทาํ งานทเ่ี ข้มแข็งเนน้ การมีส่วนรว่ ม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิง่ (Deming Cycle) หรอื ที่รจู้ กั
กนั ว่าวงจร PDCA
5) ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษาโดยดําเนนิ การอยา่ งจรงิ จังตอ่ เนอ่ื งดว้ ยการ สนบั สนนุ
ใหค้ รู ผู้ปกครองและชมุ ชนเข้ามามีส่วนรว่ ม
6) ประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานทีก่ ําหนดเพอ่ื รองรบั การ ประเมนิ
คุณภาพภายนอก
7) จดั ทาํ รายงานคุณภาพการศึกษาประจาํ ปี (SAR) และสรปุ รายงานประจําปี โดยความ เหน็ ชอบ
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั และเผยแพร่ต่อสาธารณชน

12. การส่งเสรมิ ชุมชนให้มคี วามเข้มแข็งทางวิชาการ
มีหนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี

1) จัดกระบวนการเรยี นรู้ร่วมกบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วน
ทอ้ งถนิ่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่ืน

2) สง่ เสรมิ ความเข้มแข็งของชุมชนโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน
3) สง่ เสรมิ ให้ชุมชนมกี ารจดั การศึกษาอบรมมกี ารแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารและรจู้ ัก
เลอื กสรรภูมปิ ญั ญาและวิทยาการตา่ งๆ
4) พฒั นาชมุ ชนให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความต้องการรวมท้ังหาวิธกี ารสนบั สนุน ใหม้ ีการ
แลกเปล่ียนประสบการณร์ ะหว่างชุมชน

13. การประสานความร่วมมอื ในการพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษาและองค์กรอน่ื มีหนา้ ที่
รบั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี

1) ระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เพ่ือ เสรมิ สร้าง
พฒั นาการของนักเรียนทกุ ด้านรวมทงั้ สบื สานจารีตประเพณศี ิลปวัฒนธรรมของทอ้ งถ่ิน

2) เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสถานศกึ ษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกบั องค์กร ทงั้
ภาครฐั และเอกชน เพื่อใหส้ ถานศึกษาเปน็ แหลง่ วทิ ยาการของชุมชนและมสี ว่ นในการพฒั นาชุมชนและ ทอ้ งถ่ิน

3) ใหบ้ รกิ ารด้านวชิ าการทสี่ ามารถเชอื่ มโยงหรอื แลกเปล่ยี นข้อมูลขา่ วสารกบั แหลง่ วชิ าการ ในท่ี
อื่นๆ

4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพอ่ื สง่ เสริมวฒั นธรรมการสรา้ งความสัมพันธ์อันดกี ับศษิ ยเ์ ก่า การประชุม
ผู้ปกครองนกั เรียน การปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั ชมุ ชน การรว่ มกจิ กรรมกบั สถานบันการศกึ ษาอนื่ เปน็ ต้น

14. การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนงานวิชาการแกบ่ ุคคล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน สถานประกอบการ และ
สถาบันอื่นท่ีจัดการศกึ ษา
มีหน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั นี้

1) ประชาสมั พันธส์ ร้างความเข้าใจตอ่ บคุ คล ครอบครวั ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กร ปกครองสว่ น
ท้องถนิ่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอืน่ ในเรอ่ื งเกี่ยวกับ
สิทธิในการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

2) จดั ใหม้ ีการสรา้ งความรู้ความเข้าใจ การเพ่ิมความพร้อมใหก้ ับบุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กร
ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและ สถาบนั สงั คมอนื่ ที่
ร่วมจัดการศึกษา

3) รว่ มกับบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เอกชน องค์กร-เอกชน
องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอนื่ รว่ มกันจัดการศกึ ษาและ ใชท้ รพั ยากรร่วมกันให้
เกิดประโยชนส์ งู สุดแกผ่ เู้ รยี น

4) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ ีการจัดกจิ กรรมการเรียนรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศึกษากับบุคคล ครอบครวั
ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เอกชน องคก์ รเอกชน องค์กร-วชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถาน
ประกอบการณ์ และสถาบันสงั คมอน่ื

5) สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหบ้ คุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบนั สงั คมอื่น ได้รบั ความ ชว่ ยเหลือ
ทางดา้ นวิชาการตามความเหมาะสมและจําเป็น

6) สง่ เสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ ท้ังด้านคุณภาพและปรมิ าณเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ

15. การจัดทาํ ระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
มหี น้าทรี่ ับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี

1) ศึกษาและวิเคราะหร์ ะเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เพอ่ื ใหผ้ ู้ที่
เกี่ยวขอ้ งทุกรายรบั รู้และถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกนั

2) จัดทําร่างระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา เพอ่ื ใหผ้ ู้ที่ เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายรบั รู้และถือปฏบิ ัตเิ ป็นแนวเดยี วกัน

3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษาและ แก้ไข
ปรบั ปรงุ

4) นาํ ระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเกีย่ วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษาไปสู่การปฏิบตั ิ
5) ตรวจสอบและประเมินผลการใชร้ ะเบยี บและแนวปฏิบัติเก่ียวกบั งานด้านวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนําไปแก้ไขปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมตอ่ ไป

16. การคัดเลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพือ่ ใช้ในสถานศกึ ษา มีหนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนงั สือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ ทม่ี คี ณุ ภาพสอดคลอ้ ง กลบั

หลักสูตรสถานศกึ ษาเพอื่ เป็นหนงั สอื แบบเรียนเพื่อใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
2) จดั ทําหนงั สอื เรยี น หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสอื อ่านประกอบ แบบฝกึ หดั ใบงาน ใบ

ความรู้เพ่อื ใช้ประกอบการเรียนการสอน
3) ตรวจพิจารณาคณุ ภาพหนงั สอื เรยี น หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหดั

ใบงาน ใบความรู้เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน

17. การพฒั นาและใชส้ ื่อและเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา มีหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) จัดให้มีการรว่ มกนั กาํ หนดนโยบาย วางแผนในเรือ่ งการจดั หาและพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ และ

เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาของสถานศกึ ษา
2) พฒั นาบคุ ลากรในสถานศกึ ษาในเร่ืองเก่ียวกบั การพฒั นาสือ่ การเรียนรู้และเทคโนโลยี เพอ่ื

การศึกษา พร้อมทง้ั ให้มกี ารจดั ตง้ั เครอื ข่ายทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพ่ือเปน็ แหลง่ เรียนรู้ของ สถานศึกษา
3) พฒั นาและใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยม่งุ เน้นการพฒั นาส่อื และเทคโนโลยี ทาง

การศกึ ษาทใ่ี ห้ขอ้ เทจ็ จริงเพื่อสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขน้ึ โดยเฉพาะหาแหลง่ สื่อทเี่ สรมิ การจดั การศึกษา ของ
สถานศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ

4) พฒั นาห้องสมุดของสถานศกึ ษาให้เปน็ แหลง่ การเรียนรู้ของสถานศกึ ษาและชมุ ชน
5) นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรในการจดั หา ผลิตใชแ้ ละ พฒั นาสอ่ื
และเทคโนโลยที างการศกึ ษา

18. การรบั นักเรยี น
หน้าที่รบั ผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี

1) ใหส้ ถานศึกษาประสานงานการดําเนนิ การแบ่งเขตพืน้ ที่บรกิ ารการศกึ ษาร่วมกัน และ เสนอ
ข้อตกลงให้เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาเห็นชอบ

2) กาํ หนดแผนการรบั นักเรยี นของสถานศึกษา โดยประสานงานกบั เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
3) ดําเนินการรบั นกั เรียนตามท่ีแผนกําหนด
4) ร่วมมือกบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ชุมชน ในการติดตามชว่ ยเหลือนกั เรยี นทมี่ ี ปญั หาในการ
เขา้ เรยี น
5) ประเมินผลและรายงานผลรบั เดก็ เข้าเรียนใหเ้ ขตพ้นื ท่กี ารศึกษาทราบ

19. การจัดทาํ สาํ มะโนนักเรยี น
มีหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั น้ี

1) ประสานงานกบั ชมุ ชนและทอ้ งถิ่นในการสํารวจขอ้ มลู จาํ นวนนกั เรยี นทจ่ี ะเขา้ รบั บรกิ าร ทาง
การศกึ ษาในเขตบรกิ ารของสถานศกึ ษา

2) จัดทาํ สํามะโนผเู้ รยี นทจี่ ะเขา้ รบั บรกิ ารทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3) จัดระบบข้อมลู สารสนเทศจากสาํ มะโนผู้เรยี นใหเ้ ขตพน้ื ทก่ี ารศึกษารบั ทราบ

20. การทศั นศกึ ษา มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้
1) วางแผนการนาํ นักเรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษา
2) ดาํ เนินการนาํ นกั เรียนไปทัศนศกึ ษานอกสถานศกึ ษา ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่กี ําหนด


Click to View FlipBook Version