The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัย ม.2 บทเรียนออนไลน์ google site.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dara.kongkwan, 2022-07-14 01:43:42

รายงานวิจัยในชั้นเรียน ม.2

วิจัย ม.2 บทเรียนออนไลน์ google site.docx

รายงานการวิจยั ในชนั้ เรียน

เร่อื ง ผลการใชบ้ ทเรียนออนไลน์ผา่ น Google Site และแอปพลิเคชนั Padlet และ
Quizizz ทม่ี ตี อ่ การจดั การเรยี นรู้ด้วยรปู แบบเชิงรุก (Active learning) รายวิชา

การส่อื สารและการนาเสนอ นกั เรยี นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒

โดย
นางดาราลกั ษณ์ อินปา
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรยี นเชยี งกลาง “ประชาพัฒนา”
อาเภอเชยี งกลาง จงั หวัดน่าน

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษานา่ น

บทคดั ย่อ

ชอ่ื เร่อื ง ผลการใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google Site และแอปพลิเคชัน Padlet และ Quizizz ทมี่ ตี อ่

การจดั การเรยี นร้ดู ้วยรปู แบบเชิงรุก (Active learning) รายวชิ า การส่อื สารและการนาเสนอ นักเรียน

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒

ผวู้ ิจัย นางดาราลักษณ์ อนิ ปา

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

การวจิ ัยในครงั้ น้ีเป็นการการวิจยั เชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพ่อื (๑) เพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกอ่ นเรยี น และหลังเรียน รายวชิ าการสือ่ สารและการนาเสนอ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ โดยใช้
บทเรียนออนไลนผ์ ่าน Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz (๒) เพ่ือศึกษาผลของ
การจดั การเรยี นรู้ดว้ ยรูปแบบเชิงรุก (Active learning) โดยใช้บทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google Site และ
แอปพลิเคชัน Padlet และ Quizizz ในการจัดการเรยี นการสอน การสื่อสารและการนาเสนอ ชั้นมธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี ๒ และ (๓) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ที่มีต่อบทเรยี นออนไลนผ์ ่าน

Google Site และแอปพลเิ คชนั Padlet และ Quizizz รายวชิ าการส่ือสารและการนาเสนอ กลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้

คือ นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนเชียงกลาง “ประชาพัฒนา”
อาเภอเชียงกลาง จงั หวดั น่าน จานวน ๓๘ คน โดยวธิ ีการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา ได้แก่ แผนการสอน รายวชิ าการสอื่ สารและการนาเสนอ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น และหลังเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ท่ีมี
ตอ่ บทเรียนออนไลนผ์ า่ น Google Site และแอปพลิเคชัน Padlet และ Quizizz รายวิชาการสอื่ สาร และ

การนาเสนอ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชส้ ถิติ ค่าเฉล่ียเลขคณติ () คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.) และ การทดสอบสถติ ิที (t – test) ผลการศกึ ษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี น จากการ
ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนรายวิชาการสือ่ สารและการนาเสนอ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒
ปีการศกึ ษา 256๔ พบว่าคะแนนเฉล่ยี กอ่ นเรียนของนักเรียนเทา่ กบั ๘.๐0 คะแนนเฉล่ียหลังเรียนเทา่ กบั
เทา่ กับ ๑๖.๓๔ ดงั นน้ั นกั เรียนมีคะแนนเฉล่ียเพิ่มขน้ึ โดยเฉลย่ี ร้อยละ ๔๑.๗๑ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของ
นักเรียน เทา่ กบั ๔.๕2 และการทดสอบสถิติ (t-test) เท่ากับ ๑.๗๗ ความพงึ พอใจของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษา

ปีที่ ๒ ท่มี ตี ่อการจัดการเรียนรู้ด้วยรปู แบบเชงิ รกุ (Active learning) รายวิชาการสือ่ สารและการนาเสนอ
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ พบวา่ ความพงึ พอใจทีม่ ีต่อบทเรียนออนไลนผ์ ่าน Google Site และแอปพลิเคชนั
Padlet และ Quizizz เพอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน รายวิชาการสอ่ื สารและการนาเสนอ
ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาพรวมมีค่าเฉล่ียในระดับมาก (X= ๓.๗๗) ค่า S.D. เท่ากับ 0.๙๗ ความพึงพอใจของ
นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ทม่ี ตี ่อบทเรยี นออนไลนผ์ า่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ
Quizizz รายวิชาการส่อื สาร และการนาเสนอ ผลการประเมินสว่ นใหญ่อยใู่ นระดับมาก

รายงานการวิจัยในชัน้ เรยี น

งานวจิ ัยในชน้ั เรยี นเรื่อง ผลผลการใชบ้ ทเรยี นออนไลนผ์ า่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ
Quizizz ที่มตี ่อการจัดการเรยี นรู้ด้วยรูปแบบเชิงรุก (Active learning) รายวชิ า การสื่อสารและการนาเสนอ
นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒

1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

ในปจั จุบนั เทคโนโลยมี บี ทบาทต่อการใช้ชวี ิตประจาวนั มาก ท้ังในดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง สงั คม และ
การศึกษา มีการนาเอาระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ มาใชใ้ นการเรียนการสอนอยา่ งกว้างขวาง เนื่องจาก
อินเทอรเ์ น็ตเปน็ แหล่งรวบรวมขอ้ มูลทางปญั ญาอย่างมากมายมหาศาลในลักษณะทสี่ ื่อประเภทอน่ื ๆ ไม่
สามารถทาได้ ซงึ่ มนุษยเ์ ราต้องอาศยั ขอ้ มลู ขา่ วสารเปน็ เครื่องมือในการตัดสนิ ใจ ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต
เป็นเทคโนโลยที ี่มศี ักยภาพในการท างานสูง มีการเช่ือมโยงเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมอี ยู่ทั่วโลกเขา้ ด้วยกัน มี
ความสะดวกต่อการเรียนรู้ สามารถเข้าถึงข้อมลู ขา่ วสารได้อย่างรวดเรว็ ทันตอ่ ข้อมลู ท่เี ปล่ยี นแปลงในดา้ น
เศรษฐกจิ การเมอื ง สงั คม และการศึกษาทเี่ กิดขึน้ อยา่ งรวดเรว็ สามารถคน้ หาข้อมลู ในลักษณะใดก็ได้
สามารถเรียนร้ไู ด้ทกุ ทีท่ ุกเวลาท่ีมีอนิ เทอร์เน็ตเข้าถงึ สภาพปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครูในรปู
แบบเดิมซา้ ๆ ทาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดความเบอื่ หนา่ ย ไมต่ ้ังใจเรียน เกิดความไม่เขา้ ใจในเน้ือหาบทเรียนหรือเรยี นไม่
ทันเพื่อน ไม่สามารถจดจาเนื้อหาของบทเรียนที่ เรียนไปแล้วได้ ทาให้เสียเวลาในการทบทวนบทเรียน การจดั
กิจกรรมการเรยี นใหก้ บั ผเู้ รยี นคงไม่ใชเ่ รื่องยาก ถ้าหากผู้เรียนท้ังหมดมีพ้ืนฐานความรู้เท่ากนั มคี วามสามารถ
ทัดเทียมกัน และพร้อมจะเรยี นรไู้ ดจ้ ากกิจกรรม การเรียนรู้ของครูในรูปแบบเดียวกนั ซา้ ๆ ไดท้ กุ เวลาโดยไม่
เบื่อ แต่ในความเป็นจริงผู้เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถพนื้ ฐานแตกตา่ งกนั จึงมักเกดิ ปัญหาในการจดั กิจกรรม
การเรยี นรู้ ดงั น้ันจงึ ต้องจัดหารปู แบบ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมสาหรับผู้เรียนในยุคปัจจบุ นั คือ
การจดั กิจกรรมการเรยี นรูผ้ ่าน เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ บน Google Sites ซ่ึงเปน็ รูปแบบคล้ายกบั การจัด
กิจกรรมการเรยี นรใู้ นห้องเรียนผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่คี รูสามารถสัง่ งาน และสามารถเพิ่มเนอ้ื หาของ
บทเรยี นได้ Google Sites เป็นการบรกิ ารที่มคี วามปลอดภัยสงู บริการรหัสเขยี นโปรแกรมสาหรบั สรา้ ง
เว็บไซต์ ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต และสามารถบรหิ ารจดั การในกลมุ่ คนที่ทางานร่วมกันเป็นอยา่ งดี มีลักษณะ
การ ท างานคลา้ ยกับบล็อกหรือเวบ็ ไซตส์ าเร็จรูป ครสู ามารถใชใ้ นการสร้างโครงการสอน แผนการสอน
กิจกรรม การเรยี นรู้ สอดแทรกรปู ภาพ วิดีโอ และสามารถรวบรวมเนอื้ หา ขอ้ มูลท่หี ลากหลายไวใ้ นท่ีเดยี วกัน
ประกอบการสอนท้ังหมดลงในเว็บไซตน์ ้ีได้ (ภาสกร เรอื งรอง,มลชยา หวานชะเอม : ๒๕๕๘) ซง่ึ Google
Sites เป็นนวตั กรรมทางการศกึ ษาทใ่ี ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรอู้ าจจะเปน็ สิง่ ใหมท่ ัง้ หมด นวตั กรรมทาง
การศึกษา มลี ักษณะเป็น แนวคดิ หรือวธิ กี ารหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่สี ามารถ นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้
โดยความใหม่มใิ ช่เป็น คุณสมบัติประการเดียวของนวัตกรรม นวตั กรรมไมว่ ่าจะ เปน็ ดา้ นใดจาเปน็ ตอ้ งมี
คณุ สมบตั ิทส่ี าคญั คือ เปน็ ส่ิงใหม่ซ่งึ มีความหมายในหลายลักษณะ เชน่ สง่ิ ใหม่ ทง้ั หมดหรือใหม่เพยี งบางส่วน
สิ่งใหมท่ ย่ี งั ไมเ่ คยมกี ารนามาใชใ้ นที่นั้น ไดแ้ ก่ การนาสิ่งท่ีใชห้ รือปฏิบัตกิ ันใน สงั คมหน่ึงมาปรบั ใช้ในอกี สังคม

หน่ึงนบั เป็นนวตั กรรมในสงั คมน้นั เปน็ ส่ิงใหม่ในชว่ งเวลาหน่งึ แตอ่ าจเป็นของ เกา่ ในอกี ช่วงเวลาหนงึ่ เชน่ อาจ

เปน็ ส่ิงทีเ่ คยปฏิบัติมาแล้ว แตไ่ ม่ไดผ้ ลเนือ่ งจากขาดปัจจัยสนับสนนุ ตอ่ มา ปัจจัยและสถานการณ์อานวยจึง

นามาเผยแพร่ และทดลองใชใ้ หม่ ถอื ว่าเป็นนวตั กรรมได้ เป็นตน้ ซึ่งสงิ่ ใหมท่ ี่ กาลังอยู่ในกระบวนการพสิ จู น์

ทดสอบว่าจะใชไ้ ด้ผลมากน้อยเพยี งใดในบรบิ ทนน้ั เปน็ ส่งิ ใหม่ที่ไดร้ บั การ ยอมรับนาไปใชแ้ ต่ยงั ไมเ่ ป็นส่วนหนงึ่

ของระบบงานปกติ หากการยอมรบั นาไปใชน้ น้ั ได้กลายเปน็ การใช้อย่าง เป็นปกตใิ นระบบงานของท่ีน้นั แล้ว ก็

ไมถ่ ือว่าเป็นนวัตกรรมอีกตอ่ ไป และเป็นสิ่งใหม่ท่ไี ด้รับการยอมรับ นาไปใช้บา้ งแลว้ แต่ยังไม่แพร่หลายคือยังไม่

เป็นทีร่ จู้ ักกนั อย่างกวา้ งขวาง การพฒั นากิจกรรมการเรียนรู้ เป็น การชว่ ยพฒั นาผลการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นทเี่ ปน็

เป้าหมายสาคัญแลว้ ยังได้นวตั กรรมซง่ึ เปน็ ผลิตภัณฑ์ทางการ เรยี นการสอนที่เป็นเคร่อื งมือสาคัญในการ

พัฒนาผ้เู รยี น การใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา หมายถึง การ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศกบั งานดา้ น

การศกึ ษา อนั ได้แก่ การจดั เก็บข้อมูล และประมวลผลฐานขอ้ มลู การพฒั นาระบบสารสนเทศช่วยในการเรยี น

การสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผน หลกั สูตร การแนะแนวและบริการ (ทิศนา แขม

มณี ๒๕๕๕ : ๔๑๘-๔๑๙)

ปัจจบุ ันความเจริญกา้ วหน้าทางด้านเทคโนโลยีและการสอ่ื สาร สง่ ผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลง ในหลาย
ดา้ น การรบั รขู้ ้อมลู ขา่ วสาร การค้นคว้าหาความรู้ สามารถทาได้อย่างรวดเร็วผา่ นระบบการสอ่ื สาร ทาง
อนิ เทอร์เนต็ การใช้เทคโนโลยีสมารท์ โฟน เพื่อใชใ้ นการตดิ ต่อสือ่ สารและเขา้ ถงึ ข้อมูลถูกนามาใชอ้ ยา่ ง
แพร่หลายในกลุ่มประชากรของประเทศ โดยเฉพาะประชากรวยั ทางานและวัยเรียน แต่ในทางกลบั กนั การใช้
เทคโนโลยีก็มีผลกระทบในเชิงลบเช่นกัน โดยเฉพาะกล่มุ ประชากรวัยเรยี น เชน่ การขาดความรู้เทา่ ทนั สือ่
เทคโนโลยีปัญหาการติดเกม เปน็ ต้น ปญั หานักเรียนแอบใช้หรือเล่นเกมในโทรศพั ทม์ ือถือจนไมส่ นใจร่วม
กจิ กรรมการเรียนการสอน เป็นอีกปัญหาหน่ึงท่ีพบมากในปัจจุบัน สง่ ผลใหก้ ารเรียนรู้ของนกั เรียนขาด
ประสิทธิภาพ จากการแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ในชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ได้เกิดแนวคดิ การ
ทางาน เพอ่ื ปรบั ปรุงพฤติกรรมการใชห้ รอื เล่นโทรศัพท์มอื ถือในเวลาเรยี นใหล้ ดลง เกิดเป็นนวตั กรรมแผนการ
จัดการ เรียนรู้ท่ใี ช้แกป้ ัญหา “นักเรยี นเล่นโทรศัพท์มือถือในเวลาเรยี น” ข้นึ โดยใชแ้ นวทางคือ ใชก้ จิ กรรมการ
เรยี นรู้ ทห่ี ลากหลายและสนุกสนานเป็นตัวกระตุน้ ความสนใจของผเู้ รยี น นาเทคโนโลยีในมอื ผูเ้ รียนมาใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชน์ตอ่ การเรียนร้เู พ่ือให้การเรยี นรู้ของผู้เรียนเกดิ ประสิทธภิ าพและมปี ระสิทธิผลสูงสดุ ซง่ึ จากการสังเกต
พบว่า เม่ือนาโปรแกรมน้มี าใช้ประกอบการเรียนการสอน จะทาใหผ้ เู้ รยี นเกิดความ กระตอื รือรน้ ในการเรียน
และครูยงั สามารถสอดแทรกเน้ือหาสาระไปในรูปแบบของคาถามได้อกี ด้วย สอดคล้อง กับการจดั การเรยี นการ
สอนในยุค ไทยแลนด์ ๔.๐ ที่ตอ้ งการให้ท้ังครูและนักเรียนได้นานวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศึกษามาใช้
ในห้องเรยี นเพือ่ เพิ่มโอกาสการเรียนรูใ้ หม้ ากท่สี ุด

การจัดการเรียนการสอนในยุคศตวรรษท่ี 21 เน้นการเรียนการสอนโดยผู้เรยี นเป็นสาคัญ ผู้เรยี นต้อง
มีการเรยี นรูจ้ ากการลงมือทา ฝกึ ฝนและแสวงหา ความรเู้ พิ่มเติมดว้ ยตนเองนอกเหนอื จากตาราเรียน และการ
เรียนในชนั้ เรยี น ครผู สู้ อนมีบทบาทอานวยความสะดวก ให้คาแนะนา ชช้ี ่องทางการแสวงหาความรู้ และหา
เครอื่ งมือที่จะมาสนบั สนนุ การเรียนรู้ และพฒั นาทักษะของผ้เู รียนใหเ้ หมาะสมกับทักษะที่ต้องการในศตวรรษที่
21 ซึ่งปัจจบุ ันเน้นการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษา ทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั และสามารถ พฒั นาการใช้
กระบวนการคิด กระบวนการทางกลุ่ม การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ การมีสว่ นรวม และเน้นใหผ้ ู้เรยี น สามารถนาความรู้
ไปประยุกต์ใช้ได้โดยเกิดการเรยี นรู้ดว้ ยการนาตนเอง (Self-directed Learning) ซึง่ เกดิ จากการเริ่มตน้ ของ
ผู้เรียนเปน็ สาคัญการเรียนรู้แบบนาตนเอง (Self-directed Learning) เกดิ จากการที่ผู้เรียน ตอ้ งมีแรงจูงใจท่ี

จะเรยี น เรียนด้วยความสมคั รใจ มีการกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ เรียนรูต้ ามแผนที่วางไว้ และประเมินผล
การเรยี นรขู้ องตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง ซง่ึ เปน็ การเรยี นรทู้ ีส่ ามารถนามาจดั การเรียนร้ไู ด้ทัง้ รายบคุ คล และการ
จดั การความรู้เปน็ กลุ่มโดยสามารถ เรยี นร้รู ว่ มกับเพ่ือน ผู้สอน หรอื ผรู้ ไู้ ด้ทาให้เกิดการ แลกเปลย่ี นเรียนรู้และ
มีปฏิสัมพนั ธ์กัน ซ่ึงทักษะการมี ปฏิสมั พนั ธ์ เป็นทกั ษะหน่ึงทจ่ี ะทาให้การเรยี นรดู้ ้วยการ นาตนเองสาเร็จ เปน็
การสรา้ งความสมั พันธร์ ะหว่าง บุคคลในกลุ่ม การสร้างความสมั พันธใ์ นห้องเรยี นด้วย การให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วม
ในการเรยี น กจิ กรรมประเภท ต่างๆ ทีจ่ ะใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน เช่น ให้ผเู้ รยี นอธิบาย หรือ
ออกมาแก้ปญั หาบนกระดาน ให้โอกาสถามตอบข้อสงสัย หรอื แสดงความคิดเหน็ ขณะ เรียน ถามปญั หาให้
ผู้เรยี นตอบ ให้ผเู้ รียนจบั กลุ่มทางาน ท่ีผ้เู รียนมอบหมายในขณะสอน เช่น ทาแบบฝึกหดั อภปิ รายเพ่ือหา
คาตอบ หรือ โดยผู้สอนอธิบายขณะ ผเู้ รยี นทางาน ใหผ้ เู้ รียนคน้ คว้าหาความรู้มารายงานต่อ เพ่ือน เปน็ ตน้ ซงึ่
กจิ กรรมต่างๆที่กล่าวมา มลี ักษณะ ของปฏิสมั พันธท์ ใี่ ช้มี 3 แบบ คือ ปฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรียน
ผเู้ รียนกบั ผ้เู รียน และผู้เรียนกับสื่อ ซึง่ งานวจิ ัยน้ผี วู้ ิจัยเลอื กใช้ บทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google Site

จากเหตุผลและความสาคญั ดังกลา่ ว ผูว้ จิ ยั จงึ พัฒนาบทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google Siteเพอ่ื ใช้เปน็ ส่ือ
การเรยี นรู้สรา้ งความเขา้ ใจในเนื้อหาบทเรียน โดยนักเรียนสามารถเข้าศึกษา และปฏิบัตกิ ิจกรรมในบทเรยี นได้
ตลอดทกุ ทที่ ุกเวลา ข้ึนอยู่กับความพร้อมของนักเรยี น และครูผู้สอนสามารถให้ผลยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรียนไดท้ ันที
อีกท้ังยงั สามารถเชอ่ื มโยงเนื้อหา ขอ้ มูล และแหล่งเรียนรู้เพิ่มเตมิ ในรูปแบบตา่ งๆ ทนี่ ักเรียนสนใจ ซงึ่ จะส่งผล
ดีตอ่ เจตคติท่ีดตี ่อรายวชิ า และส่งผลดีต่อการพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนให้สูงข้ึนได้

2. แนวคิดเชงิ ทฤษฎี
1. แนวคดิ เก่ียวกับ บทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google Site
การใช้เว็บเพ่ือการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มาออกแบบเพ่ือใช้ใน
การศกึ ษา การจดั การเรยี นการสอนผ่านเว็บ (Web Based Instruction) มีช่ือเรยี กหลายลักษณะ เช่น
การจัดการเรียนการสอนผา่ นเว็บ (Web Based Instruction) เวบ็ การเรยี น (Web Based Learning)
เวบ็ ฝกึ อบรม (Web Based Training) อินเทอร์เน็ตฝกึ อบรม (Internet Based Training) อนิ เทอร์เนต็
ช่วยสอน (Internet Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บ
ชว่ ยสอน (WWW Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. ๒๕๔๕) มีผู้นยิ ามและให้ความหมายของ
การเรยี นการสอนผา่ นเว็บ ดงั นี้
คาน (Khan, ๑๙๙๗) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web Based Instruction)
ไว้ว่าเป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วย ในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จาก
คุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและ
สนับสนนุ การเรียน รอู้ ย่างมากมายและสนบั สนุนการเรียนร้ใู นทุกทาง
ดริสคอล (Driscoll, ๑๙๙๗) ได้ใหค้ วามหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่า เปน็ การใช้ทกั ษะหรือ
ความร้ตู า่ งๆ ถา่ ยโยงไปสทู่ ่ีใดท่ีหน่ึงโดยการใช้เวิลด์ไวด์เวบ็ เปน็ ช่องทางในการเผยแพร่ ส่งิ เหล่าน้ัน
คารล์ สนั และคณะ (Carlson et al., ๑๙๐๐) กล่าววา่ การเรียนการสอนผ่านเวบ็ เปน็ ภาพทช่ี ดั เจนของ
การผสมผสานระหว่าง เทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional

Design) ซ่งึ ก่อใหเ้ กดิ โอกาสท่ีชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาส เป็นการจดั หาเคร่ืองมือใหมๆ่ สาหรับ
สง่ เสริมการเรยี นรู้และเพม่ิ เคร่ืองมือ อานวยความสะดวกท่ีช่วยขจัดปัญหา เรื่องสถานท่แี ละเวลา

สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่นักเรียนภายในประเทศไทย การเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็น
รูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนท่ีเริ่มนาเข้ามา ใช้ ท้ังนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการเรียน
การสอนผา่ นเว็บไวด้ ังนี้

กิดานันท์ มะลิทอง (๒๕๔๓) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการเรียน
การสอนโดยอาจใช้เวบ็ เพื่อนา เสนอบทเรียนในลกั ษณะส่ือหลายมติ ิของวิชาทงั้ หมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียง
การเสนอขอ้ มูลบางอยา่ งเพอื่ ประกอบการสอนก็ได้ รวมทงั้ ใช้ประโยชน์จากคุณลกั ษณะต่างๆของการส่ือสารที่
มอี ยู่ในระบบอินเทอรเ์ น็ต เช่น การเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความ
และ เสยี งมาใช้ประกอบดว้ ยเพื่อใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสดุ

ถนอมพร เลาจรัสแสง (๒๕๔๔) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web Based Instruction) เป็น
การผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยปี ัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการ สอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเร่ืองข้อจากัดทางด้าน สถานท่ีและเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้
คณุ สมบัตแิ ละทรพั ยากรของเวิลด์ ไวด์ เวบ็ ในการจัดสภาพแวดลอ้ มที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน
ซ่งึ การเรียนการสอนท่จี ัดขน้ึ ผา่ นเว็บน้อี าจเปน็ บางสว่ นหรอื ท้ังหมด ของกระบวนการเรยี นการสอนกไ็ ด้

ใจทิพย์ ณ สงขลา (๒๕๔๒) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก
คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพ่ือสร้างส่ิงแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติท่ี
ไม่มขี อบเขตจากัดดว้ ยระยะทางและ เวลาทแ่ี ตกต่างกันของนักเรียน (Learning without Boundary)

วิชุดา รัตนเพียร (๒๕๔๒) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียนบน
เว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการ
สอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถ และบริการท่ีหลากหลายของอินเทอร์เน็ต และนาคุณสมบัติต่างๆ
เหลา่ นน้ั มาใชเ้ พอื่ ประโยชน์ในการเรยี นการสอนใหม้ ากท่สี ดุ

จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา สามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอน
ผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบ อย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและ
ทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ
กระบวนการท้ังหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรค ของการเรยี นการสอนทางด้านสถานท่แี ละเวลาอกี ดว้ ย

๒. แนวคิดเกีย่ วกบั การจดั การเรยี นการสอนแบบ ด้วยแอปพลเิ คชนั Quizizz
https://quizizz.com เปน็ เว็บไซต์หนึ่ง ท่ชี ว่ ยสร้างแบบทดสอบออนไลน์ e-Testing ไดฟ้ รี ผู้เรียนทา
แบบทดสอบผา่ นอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ Notebook Tablet Smart Phone ท่เี ช่ือมต่อระบบ Internet ผู้เรยี น
ทราบผลการสอบทันที และผู้สอน ไดร้ ับรายงาน (Report) ผลการสอบและบนั ทกึ ลงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้
Quizizz เหมาะกับการนามาประยกุ ต์ใช้กบั การทาข้อสอบก่อนเรยี น หลงั เรยี นเพอื่ วดั ผลการเรียนรู้ ของผเู้ รียน
หรือจัดกิจกรรมการสอบแบบเกมเพอ่ื เพิม่ ความสนกุ สนานในการเรียนได้ อีกทั้งชว่ ยให้ สถาบันการศึกษา
ประหยัด คา่ ใชจ้ ่ายจากการเตรยี มสอบ และเปน็ การใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งเกิดประโยชนช์ ่วยใหผ้ สู้ อนลดเวลาใน

การทาข้อสอบและจัดชดุ ทดสอบอีกทั้งจะทราบจุดบกพรอ่ งการเรยี นของนกั เรยี นแตล่ ะคน ในแตล่ ะเน้ือหา ว่า
นักเรยี นไม่เขา้ ใจในเนื้อหาการเรียนเรอ่ื งใด เพ่อื นามาปรบั ปรงุ แกไ้ ข กระบวนการจัดการเรียนการสอนได้ดี
ยิง่ ขึ้น ในดา้ นของผเู้ รียนเอง ก็จะได้ทราบข้อมูลและประเมินตนเองได้วา่ ไมเ่ ขา้ ใจเน้ือหาตรง สว่ นใดเพอ่ื จะได้
กลับไปทบทวน และทาความเขา้ ใจในเนื้อหานั้นอีกครั้งหน่ึง เสมือนการสร้างแรงจูง ใจในการเรียน และให้
ผู้เรยี น ตอ้ งเตรียมพรอ้ มในการเรียนอยู่เสมอ

๓. แนวคดิ เกยี่ วกับ การจัดการเรยี นการสอนแบบ ด้วยแอปพลเิ คชนั Padlet

Padlet เป็นแอปพลเิ คชันหรือเวป็ ไซต์ที่อย่ใู น แพลตฟอร์มของบอรด์ สาหรบั การระดมความคิด

การแสดงความคดิ เห็นหรือแลกเปล่ยี นความรรู้ ่วมกนั ระหว่างสมาชกิ ในกลุ่ม โดยการแสดงความคดิ เห็นหรือ

การเปลยี่ นแปลงข้อมลู ทั้งหมดของผ้เู ขา้ ใชจ้ ะอยใู่ นรปู แบบของกระดาษโน๊ตที่ติดบนบอร์ด และระบบจะ

แสดงผลทกุ อย่างเป็นแบบการตอบสนองการทางาน ทันทีทันใด

Padlet คอื เวบ็ ไซตท์ ีใ่ ห้บรกิ ารกระดานแสดงความคิดเหน็ ออนไลน์ รองรับผ้ใู ช้หลายคน ผใู้ ชส้ ามารถ

เข้ามาอภิปราย แลกเปล่ียนข้อมูลขา่ วสาร เขยี นคาถาม คาตอบ หรือ สรุปเนอ้ื หา เป็นช่องทางแสดงความ

คิดเห็นของนกั เรียน และครใู นชัน้ เรยี น สามารถโพสต์ขอ้ ความท้งั ในรูปแบบของตัวอกั ษรหรอื ข้อความ รูปภาพ

และลิงคข์ องเว็บไซต์ได้ ขอ้ ความทโ่ี พสต์สามารถถูกแก้ไขและจดั กลุ่มของขอ้ ความได้ นอกจากน้ี Padlet ยังมี

ความสะดวกในเร่อื งของการ Export ข้อมูลในบอร์ดออกมาในรูปของไฟล์รูปภาพ pdf csv เป็นต้น และ

สามารถแชร์ผา่ นไปยังช่องทางตา่ งๆ ได้อีกด้วย ฟีเจอร์เด่นของ Padlet คือ Collaboration แสดงความ

คิดเห็นร่วมกันได้ โดยไม่ต้อง Sign Up พร้อมแสดงผลทันที Embedded Content ได้หลายประเภท

อาทิ Website, YouTube, Vimeo, Twitter Secure สามารถต้ังค่าความปลอดภัย ใส่รหัสได้

การเข้าใช้งาน Padlet สามารถใช้งาน Padlet ได้ผ่านเว็บไซต์ https://padlet.com/

ข้อจากัด การใช้งาน Padlet แบบฟรี คือ สร้างได้สูงสุด 3 Padlets และอัปโหลดไฟล์ได้สูงสุด 25

MB

๓. แนวคดิ เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจ
ความพงึ พอใจหรือความพอใจ ตรงกบั คาในภาษาอังกฤษว่า “Satisfaction” โดยท่วั ไปนิยมทา
การศกึ ษาความพึงพอใจในดา้ นความพึงพอใจของผปู้ ฏบิ ตั ิงาน และความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ ซึ่งมี
นักวชิ าการหลายทา่ นได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ดงั นี้
สุรางค์ โคว้ ตระกลู (2541 : 9) ให้ความหมายของความพึงพอใจไวว้ า่ ความรสู้ ึก ทางบวก
ความรูส้ ึกทางลบ และความสุขท่มี ีความสัมพนั ธ์กนั อย่างสลับซบั ซ้อนโดยความพงึ พอใจจะ เกิดขึ้น เมอ่ื
ความรู้สึกทางบวกมากกวา่ ทางลบ
อารี พนั ธ์มณี (2546 : 12) กลา่ ววา่ ความพงึ พอใจ คือ ความรสู้ กึ ของบุคคลทีม่ ตี ่อสิ่ง ใดสิง่ หนึง่
ความรู้สกึ พึงพอใจจะเกดิ ขนึ้ ก็ต่อเมื่อบุคคลไดร้ บั ในสง่ิ ท่ตี นเองต้องการ หรือเปน็ ไปตามท่ี ตนเองต้องการ
ความรูส้ ึกพึงพอใจจะเกิดขนึ้ ก็ตอ่ เมื่อบคุ คลไดร้ ับในสงิ่ ทต่ี นเองต้องการ หรือเป็นไป ตามที่ตนเองต้องการ และ
ความรสู้ กึ ดงั กลา่ วนีจ้ ะลดลงหรอื ไมเ่ กดิ ขึน้ ถ้าหากความต้องการหรอื เปา้ หมายนั้นไม่รบั การตอบสนอง ซ่ึง
ระดบั ความพึงพอใจจะแตกต่างกนั ย่อมขน้ึ อยู่กบั องคป์ ระกอบ ของการบรกิ าร

แน่งน้อย พงษ์สามารถ (2549 : 259) ไดใ้ ห้ความหมายของความพงึ พอใจว่าหมายถงึ ทา่ ทตี ่อสิ่ง
ตา่ ง ๆ 3 อย่าง คือ ปัจจยั เกีย่ วกบั งานโดยตรง ลกั ษณะเฉพาะเจาะจงของแตล่ ะคน และความสมั พนั ธ์ระหว่าง
กลุม่ ในส่ิงที่อยู่นอกหน้าที่การงาน

พรรณี ชทู ยั เจนจิต (2550 : 14) กลา่ ววา่ ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกในทางบวก ความรู้สึกท่ีดีท่ี
ประทบั ใจต่อสงิ่ เรา้ ต่างๆไมว่ ่าจะเปน็ สินคา้ และบริการ ราคา การจัดจาหน่าย และ การสง่ เสรมิ การตลาด

ปาริชาติ สังข์ขาว (2551 : 8) ได้ให้ความหมายของความพงึ พอใจว่า หมายถึง ความรสู้ กึ ของบคุ คล
ในทางบวกความชอบความสบายใจความสขุ ต่อสภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หรอื เป็นความรู้สกึ ท่พี อใจต่อส่งิ ที่
ทาให้เกิดความชอบความสบายใจและเป็นความรูส้ ึกทบ่ี รรลุถึงความต้องการ

คลู เลน (Cullen. 2001 : 664) ได้ให้ความหมายของความพงึ พอใจว่า เปน็ ความรบั รู้ ของบุคคลท้งั
ท่เี กดิ ข้ึนในระยะสนั้ และระยะยาวท่มี ีตอ่ คุณภาพการบรกิ ารต่าง ๆ ท้งั ในระดบั แคบ ทเี่ กี่ยวกับลกั ษณะบรกิ าร
ทีม่ ตี ่อคุณภาพการบริการ เชน่ ความรบั ผดิ ชอบ ความนา่ เช่อื ถอื น่าไวว้ างใจ ของผู้ใหบ้ ริการ เป็นต้น และใน
ระดบั กว้างทีเ่ ป็นมุมมองของผู้รับบรกิ ารทีไ่ ดจ้ ากบริการทุกประเภทที่ นาไปเป็นข้อสรปุ รวมความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บรกิ ารทม่ี ีต่อองคก์ ร

จากความหมายของความพึงพอใจทกี่ ลา่ วมาข้างต้น สรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจ (Satisfaction)
หมายถึง ความรูส้ ึกชอบ หรอื พอใจท่ีมีต่อเรือ่ งใดเร่ืองหนง่ึ หรอื ต่อองคป์ ระกอบและสงิ่ จูงใจในด้าน ต่าง ๆ ซ่ึง
เปน็ ผลมาจากความสนใจ ส่งผลใหม้ ีทัศนคติท่ดี ีเมื่อได้รบั การตอบสนองตามความตอ้ งการของ ตนเอง

3.วตั ถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น รายวชิ าการส่อื สาร และ

การนาเสนอ นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ โดยใช้บทเรยี นออนไลน์ผ่าน Google Site และแอปพลิเคชนั
Padlet และ Quizizz

2. เพื่อศึกษาผลของการจดั การเรียนรู้ดว้ ยรปู แบบเชงิ รุก (Active learning) โดยใช้บทเรียนออนไลน์

ผา่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz ในการจดั การเรยี นการสอน การสอ่ื สารและการ
นาเสนอ นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒

๓. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ท่มี ตี ่อบทเรียนออนไลนผ์ ่าน Google

Site และแอปพลิเคชนั Padlet และ Quizizz รายวชิ าการสือ่ สารและการนาเสนอ

๔. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
1. การจัดการเรียนรู้ดว้ ยรูปแบบเชิงรกุ (Active learning) หมายถงึ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการ

สอนทส่ี ง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในชนั้ เรยี น สร้างปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างครผู ู้สอนกบั ผู้เรียน มงุ่ ให้ผูเ้ รยี นลงมอื
ปฏิบตั ิ โดยมคี รู เป็นผูอ้ านวยความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบนั ดาลใจ ใหค้ าปรกึ ษา ดูแล แนะนา
ทาหน้าทเ่ี ป็นโค้ช และพ่ีเลีย้ ง (Coach & Mentor) แสวงหาเทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ และแหลง่ เรียนรู้
ทีห่ ลากหลาย ใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful learning) ผเู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรู้ได้
มีความขา้ ใจในตนเอง ใชส้ ตปิ ญั ญา คดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์ผลงานนวตั กรรมที่บง่ บอกถึงการมีสมรรถนะสาคัญ
ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชีวติ และทักษะวิชาชพี บรรลเุ ป้าหมายการเรียนรู้ตามระดบั ช่วงวยั

2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หมายถงึ ผลทเ่ี กดิ จากกระบวนการเรียนการสอนทจ่ี ะทาให้นกั เรยี นเกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม และสามารถวัดไดโ้ ดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ดา้ น คือ ด้านพุทธพิ ิสยั ด้านจิตพสิ ยั
และดา้ น ทักษะพิสัย

3. ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรูส้ กึ ของนักเรยี นทมี่ ตี ่อการเรยี นการสอนรายวชิ าวิทยาศาสตร์ ๖
หนว่ ยท่ี ๕ ปฏกิ ิรยิ าเคมีในชีวติ ประจาวัน โดยใช้แอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz

๔. นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ หมายถงึ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒/๑ โรงเรยี นเชยี งกลาง
“ประชาพัฒนา" สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาน่าน จานวน ๓๘ คน

๕. แผนการสอน หมายถึง กาหนดการสอนที่มีการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผเู้ รียนได้ปฏิบัติจรงิ
เหมาะสมกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรยี นไว้ล่วงหนา้ โดยผ้สู อน กาหนดว่าจะสอน
อะไร สอนอย่างไร ใชส้ ือ่ ประกอบการสอนชนิดใด และพฤตกิ รรมการเรียนรู้ท่คี าดหวังเพ่ือให้ผู้เรียนไดค้ น้ พบ
คาตอบ หรือการกระทาด้วยตนเอง

๖. เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีต่าง ๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการข้ันตอน วิธีการสอน เพื่อช่วยให้
กระบวนการขั้นตอน ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5STEPs) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
โรงเรียนมาตรฐานสากล ซ่ึงรูปแบบการสอนดังกล่าวมีแนวทางเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะ และศักยภาพความ
เป็นสากล คือเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ มีทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ และมีความรู้พื้นฐานที่จาเป็น
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ สามารถส่ือสารอย่างมีประสิทธิผล มีทักษะชีวิต ร่วมมือในการ
ทางานกับผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะต้องมีกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีลาดับขั้นตอนท่ีเหมาะสม
และสอดคล้องกบั พฒั นาการของผเู้ รียนในแตล่ ะระดบั โดยมกี ระบวนการสาคญั ในการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้

1) การต้ังคาถาม/สมมติฐาน (Learning to Question: Q)
2) การสืบค้นความรู้ และสารสนเทศ (Learning to Search :S)
3) การสรา้ งองค์ความรู้ (Learning to Construct :C)
4) การสอ่ื สาร และนาเสนออยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (Learning to Communicate: C)
5) การบริการสงั คม และจติ สาธารณะ (Learning to Serve :S)
๗. บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google Site เป็นบทเรยี นออนไลนท์ คี่ รผู สู้ อนพฒั นาขนึ้ บนเวบ็ เพจโดย

นาเสนอผ่านบรกิ ารเวลิ ดไ์ วด์เวบ็ ในเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ รายวชิ าการส่อื สารและการนาเสนอ

๘. แอปพลิเคชนั https ://Quizizz.com เปน็ เว็บไซต์ทชี่ ว่ ยสรา้ งแบบทดสอบออนไลน์ e-Testing
ได้ ฟรี ผู้เรียนทาแบบทดสอบผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Notebook Tablet Smartphone ทเ่ี ชอ่ื มต่อระบบ
Internet ผ้เู รียนทรี่ าบผลการสอบทันที่และผสู้ อน ไดร้ ับรายงาน (Report) ผลการสอบและบนั ทกึ ลงเครื่อง
คอมพิวเตอร์ได้

๙. แอปพลเิ คชัน Padlet เปน็ แอปพลิเคชันหรอื เว็บไซตท์ ่ีอย่ใู นแพลตฟอร์มของบอรด์ สาหรับ
การระดมความคิด การแสดงความคดิ เหน็ หรือแลกเปล่ียนความ รู้รว่ มกนั ระหว่างสมาชิกในกลมุ่ โดยการแสดง
ความคดิ เหน็ หรือการเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลท้ังหมด ของผเู้ ข้าใชจ้ ะอยู่ในรูปแบบของกระดาษโน๊ตที่ติดบนบอรด์
รวมถงึ กจิ กรรมการเรียนการสอน และระบบจะแสดงผลทกุ อย่างเปน็ แบบการตอบสนองการทางานทันทีทนั ใด

5.วธิ ดี าเนินการวิจยั

5.1 ประชากร นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๑ และ ๒/๔ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
โรงเรียนเชยี งกลาง “ประชาพัฒนา” อาเภอเชยี งกลาง จงั หวดั น่าน จานวน ๗๘ คน

5.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๑ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียน

เชยี งกลาง “ประชาพฒั นา” อาเภอเชยี งกลาง จงั หวดั น่าน จานวน ๓๘ คน โดยวธิ ีการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง

(Purposive Sampling)

5.3 ตัวแปรทศ่ี กึ ษา
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจดั การเรียนรู้ดว้ ยรูปแบบเชงิ รุก (Active learning) โดยใช้บทเรียนออนไลน์

ผา่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz รายวชิ าการสื่อสารและการนาเสนอ ของนักเรียน

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒
ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่

๑. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นก่อนเรยี นและหลังเรียน รายวิชาการสอ่ื สารและการนาเสนอ

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒

๒. ความพงึ พอใจของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ทมี่ ตี ่อบทเรยี นออนไลนผ์ ่าน Google Site และ

แอปพลิเคชัน Padlet และ Quizizz รายวิชาการส่ือสารและการนาเสนอ

5.4 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย
๑. แผนการสอน รายวิชาการส่ือสารและการนาเสนอ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒

๒. แบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรยี น รายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ โดยการใช้บทเรียน

ออนไลน์ผา่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz จานวน ๒๐ ข้อ

๓. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ท่ีมีตอ่ บทเรียนออนไลนผ์ ่าน

Google Site และแอปพลิเคชนั Padlet และ Quizizz รายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ

๔. บทเรยี นออนไลนผ์ า่ น Google Site ทคี่ รผู สู้ อนสร้างขนึ้ รายวิชาการส่ือสารและการนาเสนอ

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
๕. แอปพลเิ คชัน Padlet ท่ีครผู สู้ อนสรา้ งข้นึ เป็นเว็บไซต์ที่อยู่ในแพลตฟอร์มของบอร์ดสาหรับ

การระดมความคิด และการแสดงความคดิ เห็น
๖. แอปพลิเคชัน Quizizz เป็นเวบ็ ไซตท์ เี่ ปน็ การทาแบบทดสอบแบออนไลน์ เป็นเว็บไซต์ท่ีช่วยสรา้ ง

แบบทดสอบออนไลน์ e-Testing แบบทดสอบที่ครูผสู้ อนสรา้ งข้นึ ผู้เรียนทาแบบทดสอบผ่านอปุ กรณ์
คอมพิวเตอร์ Notebook ,Tablet หรือ Smartphone ท่เี ช่อื มต่อระบบ Internet ผู้เรียนทราบผลการสอบได้
ทันท่ี และผูส้ อนได้รบั รายงาน )Report) ผลการสอบ และบันทึกลงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้

๗. กระบวนการเรียนรูแ้ บบบันได ๕ ขั้น (5STEPs) โดยมีกระบวนการสาคัญในการจดั การเรยี นรู้ ดงั น้ี
1) การต้ังคาถาม/สมมติฐาน (Learning to Question : Q)
2) การสบื คน้ ความรู้ และสารสนเทศ (Learning to Search : S)
3) การสร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct : C)
4) การส่อื สาร และนาเสนออยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (Learning to Communicate : C)
5) การบริการสังคม และจิตสาธารณะ (Learning to Serve : S)

5.5 แผนการดาเนนิ การวิจยั

ในการวิจยั ผ้วู จิ ัยได้ดาเนนิ การตามแผนการขัน้ ตอน ดังนี้

วัน เดือน ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

พฤศจิกายน 2564 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกบั การจัดการเรยี นการสอน

ธันวาคม 2564 2. สร้างเคร่อื งมอื ในการวจิ ัย

มกราคม 2565 3. เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากนักเรยี น

มกราคม 2565 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณทางสถิติ

กุมภาพนั ธ์ 2565 5. สรุปผลการวิจัยจากข้อมลู ทีร่ วบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูล

5.6 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. ทาการประเมนิ ผลก่อนเรยี น (Pretest) ดว้ ยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนการ
ทดลอง จานวน ๒๐ ขอ้ และบันทกึ ผลคะแนนก่อนเรยี น
2. สรา้ งบทเรยี นออนไลน์ผา่ น Google Site ทค่ี รผู สู้ อนสร้างข้นึ รายวชิ าการสื่อสารและการนาเสนอ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
๓. จัดทาแผนการจัดกจิ กรรมกาเรียนรูด้ ว้ ยรปู แบบเชงิ รุก (Active Learning)
๔. ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแผนการสอน
๕. ทาการประเมนิ ผลหลังเรียน (Posttest) โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นจานวน ๒๐

ขอ้
๖. นาคะแนนสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียนมาวิเคราะหท์ างสถติ ิเพื่อใหท้ ราบถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างการ

เรยี น ที่เพมิ่ ข้ึนและสรุปผลการวจิ ยั
๗. ทาการประเมินแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนตอ่ การจดั การเรยี นรู้ดว้ ยรูปแบบเชงิ รกุ

(Active learning) รายวิชาการสอื่ สารและการนาเสนอ

5.7 สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพอื่ ทดสอบสมมตฐิ านในการวจิ ัยคร้งั นีม้ ดี ังน้ี
1. ค่าเฉล่ียเลขคณติ ของกล่มุ ตัวอย่าง (Sample Arithmetic Mean)
2. ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของกลมุ่ ตวั อยา่ ง (Sample Standard Deviation)
3. ทาการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียนโดยใช้

การทดสอบสถิติที (t – test)

๔. เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนโดยการใช้แอปพลิเคชัน Quizizz ของนักเรียน โดยใช้

แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น จานวน ๒๐ ขอ้ หาค่าทางสถติ โิ ดยกาหนดดังนี้
ระดบั คะแนนเพิม่ ข้นึ 1- ๑๐ มีผลในระดบั น้อย
ระดบั คะแนนเพิ่มขึ้น ๑๑- ๑๔ มผี ลในระดบั ปานกลาง
ระดับคะแนนเพิม่ ขึ้น ๑๕- ๑๗ มผี ลในระดับ มาก
ระดบั คะแนนเพม่ิ ข้นึ ๑๘- ๒๐ มีผลในระดบั มาก

๕. การวเิ คราะห์ระดบั ความพึงพอใจของนกั เรยี นทม่ี ีต่อการเรยี นการสอนวเิ คราะห์โดยใช้ คา่ เฉลย่ี
เลขคณติ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน โดยเกณฑก์ ารแปรผลเกยี่ วกับระดับความพึงพอใจในรปู แบบการจัด

การเรยี นการสอนใช้หลกั เกณฑด์ ังนี้
4.51 - 5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด
3.51 - 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก
2.51 - 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยู่ในระดับ ปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจอย่ใู นระดับน้อย
1.00 - 1.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยทสี่ ุด

6. ผลการวิจยั
จากการวิจัยเร่อื ง ผลการใช้บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google Site และแอปพลเิ คชนั Padlet และ

Quizizz ท่มี ตี ่อการจัดการเรียนรู้ด้วยรปู แบบเชิงรกุ (Active learning) รายวิชาการส่อื สารและการนาเสนอ

นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ได้ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดังน้ี การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นรู้ รายวิชา

การส่ือสารและการนาเสนอ นกั เรยี นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ขอ้ มลู ทัว่ ไปของนักเรียนตอบแบบสอบถาม

กลมุ่ ประชากร จานวน ๓๘ คน มีข้อมูลทัว่ ไปด้านเพศ เป็นเพศชาย จานวน ๑๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๑.๕๘
และเพศหญงิ จานวน 2๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๔๒

ตารางที่ 1 การทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียนรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ ของนักเรยี น
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา 256๔

เลขที่ ชอ่ื กอ่ นเรียน หลงั เรยี น ความกา้ วหน้า D2
1 กฤตกร สวนหมอก 9 16 7 49
2 ณรจุ เกษรสรุ ิวงษ์ 6 16 10 100
3 นพคณุ เอย่ี มจารสั 10 18 8 64
4 พรี ะวัฒน์ พรมรักษ์ 11 15 4 16
5 ยศธร รัตนวงศ์ 10 15 5 25
6 วนั ชยั เพตะกร 9 17 8 64
7 วทิ ยา สทุ ธาจารเกษม 8 20 12 144
8 ศทุ ธวีร์ คายันต์ 7 19 12 144
9 สิทธิพล ยะปัญญา 9 17 8 64
10 อภริ ักษ์ อนั ชนั 8 16 8 64
11 อาณตั ิ สดุ สงวน 9 15 6 36
12 ชนิ วทิ ย์ หน่อทา้ ว 7 17 10 100
13 นราวชิ ญ์ ปัญญาพฒั นาภรณ์ 8 13 5 25
14 รัตนชยั นนั ทศลี 9 15 6 36
15 สัณหณฐั กา๋ นนท์ 8 13 5 25
16 กนกวรรณ นิลคง 9 15 6 36
17 กนกวรรณ ปนั คา 8 15 7 49
18 จิตรทิวา วงศา 8 15 7 49

เลขท่ี ชอ่ื กอ่ นเรียน หลังเรยี น ความกา้ วหนา้ D2

19 ชณดิ า ฝีปากเพราะ 7 17 10 100

20 ชาลสิ า เอิบอาบ 7 18 11 121

21 ณัชชา ป้อมสวุ รรณ 8 14 6 36

22 นทั ธ์ชนนั ใจหา 9 16 7 49

23 เบญญาภา คายนั ต์ 4 17 13 169

24 ปานิตา พมิ เสน 6 15 9 81

25 พรภมิ ล แสงสุข 7 16 9 81

26 พระคุณ ตระกลเดชะ 8 20 12 144

27 พมิ พน์ ภิ า ทวิ านนั ท์ 6 15 9 81

28 ภวภิ า กอกนั 5 16 11 121

29 ภัทรภัทสสร พากเพยี ร 8 18 10 100

30 มรกต สลีออ่ น 6 17 11 121

31 ลลติ า ไชยปงิ 5 16 11 121

32 สุพชิ ญา อุทุมพร 10 16 6 36

33 ณัฐธิชา ไชยะสุโข 8 18 10 100

34 บษุ บากานต์ จิตตรง 11 17 6 36

35 ภคพร แซท่ ้าว 10 16 6 36

36 รตั ติมา กอกนั 9 15 6 36

37 พิชญรัตม์ กลุ วรรณ์ 10 20 10 100

38 ธนั ยพร เปยี งใจ 7 17 10 100

ผลรวม 304 621 317

คา่ เฉล่ยี 8.00 16.34 8.34

รอ้ ยละ 40.00 81.71 41.71

S.D 4.52

t-test 1.77

จากตารางท่ี 1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี น จากการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียนรายวิชา

การส่ือสารและการนาเสนอ ของนกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา 256๔ พบวา่

คะแนนเฉลย่ี ก่อนเรียนของนักเรยี นเท่ากับ ๘.๐0 คะแนนเฉลี่ยหลงั เรยี นเทา่ กับ เท่ากบั ๑๖.๓๔ ดังนน้ั

นักเรยี นมีคะแนนเฉล่ยี เพมิ่ ข้ึนโดยเฉลย่ี ร้อยละ ๔๑.๗๑ ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียน เทา่ กับ ๔.๕2
และการทดสอบสถิติ (t-test) เทา่ กบั ๑.๗๗

ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ที่มีตอ่ บทเรียนออนไลน์ผา่ น Google Site
และแอปพลิเคชนั Padlet และ Quizizz รายวชิ าการสอื่ สารและการนาเสนอ

รายการ ระดับความพึงพอใจ N X ร้อยละ S.D. ความห
มาย
5 4 3 21 มาก
มาก
1. นกั เรยี นมีความพึงพอใจในการจดั การเรยี นการสอน 11 15 9 4 1 40 3.78 70.00 1.04 มาก
มาก
2. นักเรียนมบี ทบาทในการเรยี นการสอนมากย่ิงข้นึ 12 10 14 2 2 40 3.70 68.00 1.10 มาก
มาก
3. ครเู ตรียมการสอนอย่างมขี ัน้ ตอนเข้าใจได้ง่าย 8 12 8 1 1 30 3.83 71.33 0.97 มาก
มาก
4. เนือ้ หาสามารถนาไปประยุกต์ใช้ไดจ้ ริงในชวี ิตประจาวัน 11 16 12 1 0 40 3.93 73.00 0.82
ปานกลาง
5. ครสู อนใชเ้ วลาในการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 8 13 14 5 0 40 3.60 68.00 0.94
มาก
6. ครูยกตัวอยา่ งประกอบการทากจิ กรรมไดช้ ดั เจน 14 10 14 2 0 40 3.90 71.00 0.94 มาก

7. กจิ กรรมการสอนสอดคล้องกับเน้ือหา 11 18 10 1 0 40 3.98 74.00 0.79 ปานกลาง

8. กจิ กรรมการสอนสรา้ งบรรยากาศทีด่ ใี นการเรียน 10 15 11 4 0 40 3.78 70.50 0.94 มาก
มาก
9. ครูมอบหมายภารงานใหท้ าใหป้ รมิ าณทเ่ี หมาะสม 8 11 14 7 0 40 3.50 66.00 1.00 มาก
มาก
10. ครูสรุปผล อธิบาย และยกตัวอยา่ งได้อย่างชดั เจน 15 14 10 1 0 40 4.08 74.00 0.85

11. กจิ กรรมการสอนเนน้ การทางานเปน็ กลุ่ม 12 20 7 1 0 40 4.08 75.50 0.75

12. กจิ กรรมการสอนสร้างทศั นคติทด่ี ีต่อเนือ้ หาท่ีเรยี น 10 11 10 5 4 40 3.45 64.00 1.26

13. เน้นการเรียนรดู้ ้วยรูปแบบเชงิ รกุ Active Learning 14 16 7 3 0 40 4.03 73.50 0.91

14. เอกสารประกอบการเรยี นมเี นือ้ หา รปู ภาพ ชัดเจน 10 13 11 6 0 40 3.68 68.50 1.01

15. หอ้ งเรยี นมบี รรยากาศใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ นา่ เรยี นรู้ 11 13 14 2 0 40 3.83 71.00 0.89

รวม 165 207 165 45 8 590 3.81 70.56 0.95

จากตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ที่มตี อ่ บทเรยี นออนไลน์ผา่ น

Google Site และแอปพลเิ คชัน Padlet และ Quizizz รายวชิ าการสื่อสารและการนาเสนอ พบว่า

ความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ท่ีมีตอ่ บทเรียนออนไลนผ์ า่ น Google Site และแอปพลเิ คชัน

Padlet และ Quizizz รายวชิ าการส่ือสารและการนาเสนอ ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก (X= ๓.๘๑) และ

ค่า S.D. เทา่ กับ 0.๙๕ เมอ่ื พิจารณารายข้อพบวา่ ผลการประเมนิ สว่ นใหญอ่ ยู่ในระดับมาก และมีข้อที่มี
ผลการประเมินในระดับปานกลาง ไดแ้ ก่ ขอ้ ที่ 9 ครูมอบหมายภารงานใหท้ าให้ปรมิ าณทเ่ี หมาะสม และข้อท่ี

๑๒ กจิ กรรมการสอนสร้างทศั นคติทด่ี ตี ่อเน้อื หาทเี่ รยี น

ข้อเสนอแนะ
1. การใช้งานแอปพลเิ คชัน Quizizz ต้องมอี ุปกรณ์การสื่อสารทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ระบบอินเตอร์เนต็
ตอ้ ง เสถยี ร เพ่อื ให้การดาเนนิ กิจกรรมเปน็ ไปได้อยา่ งราบร่ืน
2. การเรยี นการสอนในรายวิชาการสอ่ื สารและการนาเสนอ ต้องทางานผา่ นระบบเครือขา่ ย

อนิ เทอร์เน็ต ซงึ่ ทางโรงเรียนยงั มีปญั หาในเร่ืองความเสถยี รของระบบเครือข่ายสญั ญาณอินเทอรเ์ นต็ ทาให้
การทางานของนกั เรยี นบางกล่มุ ประสบปัญหา ในการทางานอยู่

3. จานวนเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ยงั ไม่เพียงพอต่อการใชง้ านของนักเรยี น ควรจดั หาเคร่อื งคอมพิวเตอรใ์ ห้
เพยี งพอต่อการใชง้ าน

4. ครูผ้สู อนควรมีการเลือกใช้แอปพลเิ คชัน อืน่ ๆ ให้มีความหลากหลาย เพอื่ ให้นักเรยี นมีความสนใจ
ในการเรยี น นักเรยี นจะไดร้ สู้ ึกว่ามสี ว่ นรว่ มในดา้ นการเรียนการสอนมากขน้ึ

ภาคผนวก

แบบทดสอบออนไลน์ แอปพลเิ คชัน Quizizz

แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ท่ีมตี อ่ บทเรียนออนไลน์ผ่าน
Google Site และแอปพลเิ คชนั Padlet และ Quizizz รายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ

การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยการสรา้ งเว็บไซต์บทเรยี นออนไลน์แอปพลิเคชนั Google Site
เว็บบทเรยี นออนไลน์ IS ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ หลกั ฐานอา้ งองิ
https://sites.google.com/view/kongkwan-ckp/home

รปู ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยรูปแบบเชงิ รุก (Active learning)
รายวชิ า การสื่อสารและการนาเสนอ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒

รปู ภาพตวั อยา่ งชนิ้ งานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยรูปแบบเชงิ รุก (Active learning)
รายวิชา การสื่อสารและการนาเสนอ นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒

การวัดและประเมินผลใช้แอปพลเิ คชนั Quizizz

การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
Mind mapping จาก แอปพลิเคชนั Padlet ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
Mind mapping จาก แอปพลิเคชนั Padlet ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
Mind mapping จาก แอปพลิเคชนั Padlet ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2


Click to View FlipBook Version