ฉบบั ท่ี 1/2565
รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จังหวัดเชยี งราย ประจำเดือน มกราคม 2565
“เศรษฐกิจจังหวัดเชียงรายในเดือนมกราคม 2565 โดยรวมขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดือนเดียวกันของ
ปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเคร่ืองชี้ด้านอุปทานท่ีขยายตัว จากภาคเกษตรกรรม ภาคบริการ และ
ภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับด้านอุปสงค์ฟ้ืนตัวจากเดือนก่อน จากการใช้จ่ายภาครัฐ การบริโภคภาคเอกชน และ
การคา้ ชายแดน ด้านการเงิน ขยายตัวทัง้ ปริมาณเงนิ ฝากและสินเชื่อ สำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจ อตั ราเงนิ เฟ้ออยู่ที่
รอ้ ยละ 3.4 ดา้ นการจ้างงานขยายตวั ”
เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ขยายตัวจากเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเครื่องชี้
การผลิตภาคเกษตรกรรมที่ขยายตัว ร้อยละ 55.6 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มข้ึนจากเดือนก่อนท่ีหดตัว
ร้อยละ -8.8 ตามปริมาณผลผลิต ชา ยางพารา และมันสำปะหลังท่ีขยายตัว จากสภาพอากาศท่ีเอื้ออำนวยกว่าปีก่อน
โดยมีอากาศท่ีหนาวเยน็ นานกวา่ และมฝี นตกอย่างต่อเน่ือง ทำให้เกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในชว่ งระยะเวลาที่
ยาวกว่าปีก่อน ดา้ นปศุสัตว์ ปริมาณโคและสุกรหดตัว ในขณะที่ปริมาณปลานลิ ขยายตวั สำหรับราคาผลผลิตสินคา้ เกษตร
โดยรวมหดตัว ตามการปรับลดลงของราคายางพารา และปลานิล เป็นสำคัญ ภาคบริการขยายตัวร้อยละ 21.3
เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 1.4 ตามการขยายตัวของทุกเคร่ืองชี้
ท้ังจำนวนนักท่องเที่ยว จำนวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยาน ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร รายได้จาก
การขายส่ง ขายปลีก ฯ และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคบริการ ส่วนหน่ึงจากฐานต่ำในปีก่อน และจากการผ่อนคลาย
มาตรการควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ประกอบกับในปีน้ีมีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็น
จูงใจให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าสู่จังหวัดมากขึ้น โดยในเดือนนี้จังหวัดเชียงรายมีการจัดกิจกรรมงานพ่อขุนเม็งราย
มหาราชและงานกาชาด 2565 เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจและภาคการท่องเที่ยวของจังหวัด รวมท้ังขยายเวลาของงาน
เชียงรายดอกไม้งามออกไปถึงวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2565 เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี และ
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน กระตุ้นเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน สร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นท่ี ภาคอุตสาหกรรม
ขยายตัว ร้อยละ 7.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัวรอ้ ยละ 6.2 ตามการเพิ่มขึ้น
ของจำนวนโรงงานในจังหวัด ทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรม และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม เน่ืองจาก
ผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นในการลงทุนในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงราย และสามารถปรับตัวเข้ากับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน
ท่ีแม้จะมีการระบาดของโรค COVID-19 ก็ตาม สำหรับโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานในเดือนนี้
มีจำนวน 2 โรงงาน โดยเป็นการประกอบกจิ การประเภทผลติ คอนกรีตผสมเสรจ็ และผลิตภัณฑแ์ ปรรูปน้ำผงึ้
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจังหวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 1
เครอื่ งชเี้ ศรษฐกิจด้านอปุ ทาน ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565
(Supply Side) (สัดส่วนต่อ GPP)
Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม (%yoy) -8.5 -34.0 -45.1 81.1 -5.4 -15.8 -8.8 55.6
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 26.6%)
ดชั นีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม (%yoy) 0.6 1.5 0.7 -3.5 4.3 3.6 6.2 7.9
(โครงสร้างสดั สว่ น 8.3%)
ดชั นีผลผลิตภาคบรกิ าร (%yoy) -4.9 -8.4 19.3 -14.7 -9.1 -12.2 1.4 21.3
(โครงสร้างสัดส่วน 65.1%)
เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ขยายตัวเม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากการใช้จ่ายภาครัฐที่
ขยายตัว ร้อยละ 27.6 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มข้ึนจากเดือนก่อนท่ีหดตัวร้อยละ -29.9 ตามรายจ่าย
ลงทุนที่กลับมาขยายตัว จากการเบิกจ่ายของโครงการชลประทานเชียงราย และงบอุดหนุนของสำนักงานส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย เป็นสำคัญ การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 7.1 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน เพ่ิมข้ึนจากเดือนก่อนท่ีหดตัวร้อยละ -4.8 ตามภาษีมูลค่าเพ่ิมหมวดขายส่ง ขายปลีก ฯ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
ภาคครัวเรือน ปริมาณการจำหน่ายน้ำประปา และจำนวนรถยนต์น่ังจดทะเบียนใหม่ท่ีขยายตัว ตามการผ่อนคลาย
มาตรการควบคุมการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID - 19) ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวดีข้ึน
ประกอบกับแรงสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐช่วยพยุงกำลังซื้อของครัวเรือนอย่างต่อเน่ือง
การค้าชายแดนขยายตัว ร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพ่ิมข้ึนจากเดือนก่อนที่หดตัวร้อยละ -32.3
ตามการขยายตัวของมูลคา่ การนำเขา้ ทั้งจากจีนตอนใต้ เมยี นมา และ สปป.ลาว โดยส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าผัก และผลไม้สด
ผ่านทางด่านศุลกากรเชียงของ เป็นสำคัญ สำหรับมูลค่าการส่งออกในเดือนนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 3,581.4 ล้านบาท มูลค่า
การนำเข้ามีจำนวน 889.9 ล้านบาท ดุลการค้าเกินดุล 2,691.5 ล้านบาท ในขณะท่ีการลงทุนภาคเอกชนหดตัว ร้อยละ
-1.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 7.6 ตามการหดตัวของพ้ืนที่อนุญาต
ก่อสร้าง และจำนวนรถยนต์เพื่อการพาณิชย์จดทะเบียนใหม่ ประกอบกับสินเชื่อเพื่อการลงทุน (30% ของสินเช่ือรวม)
ชะลอตวั
เครื่องช้ีเศรษฐกิจด้านอุปสงค์ ปี ปี 2564 ปี
(การใช้จา่ ย) 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. 2565
0.6 0.6 11.1 -5.0 -3.5 9.4 ธ.ค. ม.ค.
(Demand Side) 3.3 2.4 2.6 3.4 4.7 4.5 -4.8 7.1
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (%yoy) 9.7 -16.3 33.5 27.6 1.7 -52.8 7.6 -1.1
ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน (%yoy) 33.0 17.0 101.4 65.6 -37.9 -49.9 -29.9 27.6
ดชั นีการใช้จา่ ยภาครัฐ (%yoy) -32.3 3.2
ดชั นกี ารค้าชายแดน (%yoy)
กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 2
ด้านรายได้เกษตรกรในจังหวัด ขยายตัวร้อยละ 53.5 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มข้ึนจาก
เดือนก่อนท่ีหดตัวร้อยละ -15.3 เป็นผลมาจากดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมปรับตัวเพ่ิมข้ึน ตามปริมาณผลผลิต ชา
ยางพารา และมันสำปะหลังทขี่ ยายตัว
ด้านการเงิน ปริมาณเงินฝากรวมสูงกว่าปริมาณสินเช่ือรวม โดยปริมาณเงินฝากรวมขยายตัวร้อยละ 8.8
เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 8.6 ตามการเพ่ิมข้ึนของปริมาณเงินฝาก
ของธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ จากความไม่แน่นอนของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค COVID-19
และผลกระทบทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประชาชนมีความระมัดระวังในการใช้จ่ายและให้ความสำคัญกับการออมมากขึ้น
ประกอบกับสถาบันการเงินมีการปรับการทำธุรกรรมออนไลน์ โดยให้บริการนำฝากเงิน และซ้ือสลากออมทรัพย์
ผ่าน Application ทำให้มีความสะดวกรวดเร็ว ลดการปฏิสัมพันธ์ของลูกค้า และมีความคล่องตัวสูงเทียบเท่าเงินสด
ด้านปริมาณสินเชื่อรวมขยายตัวร้อยละ 3.2 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัว
รอ้ ยละ 4.4 จากสนิ เชื่ออุปโภคบริโภคของธนาคารพาณชิ ย์ เป็นสำคัญ
เครือ่ งชีด้ า้ นรายได้เกษตรกร ปี ปี 2564 ปี 2565
และด้านการเงนิ
2564 Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร (%yoy)
ปริมาณเงนิ ฝากรวม (%yoy) -18.0 -39.7 -46.0 49.9 -18.9 -30.4 -15.3 53.5
ปริมาณสนิ เชื่อรวม (%yoy)
8.6 9.8 6.0 6.7 8.6 7.5 8.6 8.8
4.4 2.8 3.5 4.6 4.4 4.8 4.4 3.2
เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปในเดือนมกราคม 2565 อยู่ท่ีร้อยละ 3.4 ตามการเพิ่มขึ้นของดัชนี
หมวดอ่ืนๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม จากการสูงข้ึนของราคาน้ำมันเช้ือเพลิง เป็นสำคัญ สำหรับหมวดอาหารและ
เคร่ืองด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ สินค้าที่ปรับขึ้นราคา เช่น เนื้อสุกร น้ำมันพืช ไอศกรีม ไข่เป็ด ไข่ไก่ นมสด เป็นต้น สำหรับ
การจ้างงานในเดือนมกราคม 2565 ขยายตัวร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากสถาพเศรษฐกิจท่ีเร่ิม
ปรบั ตัวดขี ึ้น โดยมีแรงงานภาคเกษตรบางส่วนไปทำงานนอกภาคเกษตรเพิ่มข้ึน
เครื่องชีเ้ สถียรภาพเศษฐกจิ ปี ปี 2564 ปี 2565
2564 Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
อตั ราเงนิ เฟอ้ (Inflation Rate) (%yoy) 0.9 -1.1 -0.4 2.0 2.0 3.2 2.6 3.4
การจา้ งงาน (Employment) (%yoy) -0.7 5.0 -3.3 -2.5 1.7 1.7 1.7 1.4
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจงั หวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 3
ด้านการคลัง ในเดือนมกราคม 2565 พบว่า ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมมีจำนวน 810.4 ล้านบาท
เพ่ิมขึ้นร้อยละ 27.6 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ตามรายจ่ายลงทุนท่ีกลับมาขยายตัว จากการเบิกจ่ายของ
โครงการชลประทานเชียงราย และงบอุดหนุนของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย เป็นสำคัญ
สำหรับการจัดเก็บรายได้ในเดือนน้ีมีจำนวนทั้งสิ้น 278.6 ล้านบาท ลดลงร้อยละ -0.5 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
โดยหน่วยงานที่จัดเก็บรายได้ลดลง ได้แก่ ด่านศุลกากร จากการจัดเก็บอากรขาเข้า และรายได้อ่ืนของด่านศุลกากร
เชียงแสน และด่านศุลกากรแม่สาย สำนักงานธนารักษ์พื้นที่เชียงราย จากค่าเช่าที่ดินและค่าธรรมเนียมการโอนสิทธิ
เช่าอาคาร ส่วนราชการอื่น จากการจัดเก็บรายได้ค่าใบอนุญาตต่างด้าวของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นสำคัญ และ
สำนักงานสรรพสามิตพ้ืนท่ีเชียงราย ส่วนใหญ่จากภาษีเครื่องดื่ม (น้ำผลไม้) และรายได้อ่ืน สำหรับดุลเงินงบประมาณ
ในเดอื นมกราคม 2565 ขาดดุลจำนวน 704.5 ล้านบาท
เคร่อื งชภ้ี าคการคลงั หน่วย ปงี บประมาณ Q1/FY65 ปีงบประมาณ (FY) YTD (FY)
(FY) 783.9 พ.ศ. 2565 1,062.4
รายไดจ้ ัดเก็บ ล้านบาท
ความแตกตา่ งเทียบกับ %yoy พ.ศ. 2564 8.8 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 6.2
ประมาณการ 294.6 264.4 278.6
ร้อยละความแตกตา่ ง 3,236.1
เทยี บกับประมาณการ 27.3 4.9 -0.5
รายไดน้ ำส่งคลัง 2.5
รายจา่ ยรวม ลา้ นบาท 385.4 164.5 95.3 35.3 48.2 212.7
ดลุ เงนิ งบประมาณ %yoy 15.0 29.2 53.3 16.9 23.4 27.6
ลา้ นบาท 1,301.6 347.8 128.0 116.7 105.9 453.8
%yoy -4.9 3.4 21.5 -6.0 -8.6 0.3
ล้านบาท
%yoy 13,132.2 3,448.1 816.5 727.1 810.4 4,258.5
ล้านบาท
15.6 2.0 -52.8 -29.9 27.6 4.5
-11,830.6 -3,100.3 -688.5 -610.5 -704.5 -3,804.7
ทมี่ า : ขอ้ มูลจาก MIS Report
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนักงานคลังจงั หวดั ชยี งราย โทรศัพท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 4
ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณถึงเดือนมกราคม 2565
รายการ งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ หนว่ ย : ล้านบาท
ที่ได้รบั จดั สรร
เป้าหมาย
การเบกิ จ่าย
ณ ไตรมาสที่ 2
(ร้อยละ)
1. รายจ่ายจริงปงี บประมาณปจั จุบัน 7,431.5 3,233.8 43.5 51.0
1.1 รายจ่ายประจำ 2,857.2 2,224.3 77.8 57.0
1.2 รายจา่ ยลงทุน 4,574.3 1,009.5 22.1 29.0
1,924.9 1,024.0 53.2
2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอื่ มปี
2.1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1,924.9 1,024.0 53.2
2.2 ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - --
3. รายการเบิกจ่าย (1+2) 9,356.4 4,257.9 45.5
ท่ีมา : รายงาน EIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนิกส(์ GFMIS)
กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกบั เป้าหมายการเบิกจา่ ย
สะสมตงั้ แตต่ น้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนมกราคม 2565
ร้อยละ
ท่มี า : รายงาน EIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์(GFMIS) 5
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยี งราย โทรศัพท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected]
กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณลงทนุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเปา้ หมายการเบิกจา่ ย
สะสมตั้งแตต่ ้นปงี บประมาณจนถึงเดือนมกราคม 2565
ร้อยละ
ทมี่ า : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส(์ GFMIS)
ผลการเบิกจา่ ยงบลงทุนของหนว่ ยงานท่ไี ด้รับงบประมาณจดั สรรมากกวา่ 100 ลา้ นบาทขึน้ ไป
สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณถงึ เดอื นมกราคม 2565
ลำดับท่ี หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ ร้อยละ หนว่ ย : ล้านบาท
ที่ได้รับ การก่อหนี้
จัดสรร ผลการ ร้อยละ
เบิกจ่าย การเบกิ จา่ ย
1 สำนกั งานสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น 811.8 - - 34.5 4.3
จงั หวัด
2 มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง 637.8 - - 637.8 100.0
3 โครงการชลประทานเชียงราย 609.7 107.6 17.6 99.3 16.3
4 สำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 17 324.9 268.2 82.5 28.6 8.8
(เชียงราย)
5 สำนักบรหิ ารพ้ืนท่ีอนุรกั ษ์ท่ี 15 247.4 104.9 42.4 25.7 10.4
6 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 247.1 213.3 86.3 19.9 8.0
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 6
ลำดับที่ หนว่ ยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ รอ้ ยละ ผลการ รอ้ ยละ
ทไี่ ด้รับ การก่อหน้ี เบิกจา่ ย การเบกิ จ่าย
จดั สรร
7 สำนกั งานจงั หวดั เชียงราย 225.5 46.8 20.8 - -
2.8 1.9 27.7 18.7
8 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1 148.3 13.5 9.1 2.9 1.9
6.5 5.5 27.1 22.9
9 มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย 147.7
10 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 118.0
11 สำนักจดั การทรัพยากรป่าไม้ ท่ี 2 115.9 19.8 17.1 5.3 4.5
(เชยี งราย)
12 กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน 2 114.9 19.5 17.0 - -
13 สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดเชยี งราย 111.5 98.3 88.2 - -
3,860.6 901.3 23.3 908.7 23.5
รวม
ที่มา : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์(GFMIS)
จังหวัดเชียงรายได้รับจัดสรรงบลงทุน จำนวน 4,574.3 ล้านบาท โดยหน่วยงานท่ีมีรายจ่ายงบลงทุน
วงเงินมากกว่า 100 ล้านบาทขึ้นไป จำนวน 13 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 3,860.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 84.4
ของรายจ่ายงบลงทนุ ที่ได้รับจดั สรรทงั้ หมด
ผลการเบกิ จ่ายงบลงทุนของหน่วยงานทไี่ ด้รับงบประมาณจดั สรรตงั้ แต่ 10 ถงึ 100 ล้านบาท
สะสมตั้งแต่ตน้ ปีงบประมาณถึงเดอื นมกราคม 2565
หนว่ ย : ลา้ นบาท
ลำดับท่ี หน่วยงาน งบประมาณ กอ่ หนี้ ร้อยละ ผลการ รอ้ ยละ
ทไ่ี ด้รับ การกอ่ หน้ี เบกิ จ่าย การเบิกจา่ ย
จัดสรร
1 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 62.8 50.3 80.1 12.5 19.9
2 สพป.เชยี งราย เขต 3 61.5 18.6 30.3 12.2 19.8
3 สพป.เชยี งราย เขต 2 45.8 9.8 21.4 13.2 28.9
4 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงราย 42.4 - -- -
5 สพป.เชียงราย เขต 4 40.8 28.6 70.1 4.3 10.5
6 องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดเชยี งราย 39.6 - -- -
7 ศูนยว์ ิจัยพชื สวนเชยี งราย 38.8 7.7 19.7 0.6 1.4
8 สพป.เชียงราย เขต 1 38.6 21.0 54.4 9.4 24.4
9 ทีท่ ำการปกครองจงั หวัด เชียงราย 35.7 27.3 76.3 7.9 22.2
10 สพม.เชยี งราย 34.9 6.9 19.7 11.6 33.4
11 สำนักงานโยธาธิการและผงั เมือง 34.6 21.1 61.1 4.6 13.3
จังหวัดเชียงราย
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนักงานคลังจงั หวดั ชยี งราย โทรศัพท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 7
ลำดบั ท่ี หน่วยงาน งบประมาณ ก่อหน้ี ร้อยละ ผลการ ร้อยละ
ทไ่ี ด้รบั การกอ่ หน้ี เบิกจ่าย การเบกิ จ่าย
จดั สรร
12 สำนกั งานจังหวัดเชยี งราย 34.4 17.1 49.7 - -
13 ศูนยป์ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 25.7 22.2 86.3 1.4 5.3
เขต 15 เชียงราย
14 สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัด 19.1 - - 2.2 11.5
เชยี งราย
18.6 9.6 51.7 8.0 43.2
15 สถานพี ัฒนาที่ดนิ เชยี งราย 18.1 - -- -
16 เทศบาลนครเชียงราย 14.4 - -- -
17 วทิ ยาลัยเทคนคิ กาญจนาภเิ ษก
เชียงราย
18 สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั 12.3 0.4 3.4 - -
เชยี งราย
11.6 - -- -
19 โรงเรยี นเชียงรายปัญญานุกูล 10.9 10.8 99.1 0.1 0.5
10.2 7.8 76.5 1.2 11.7
20 สนง.วัฒนธรรมจงั หวดั เชียงราย 650.6 259.1 39.8 89.1 13.7
21 ศูนย์วจิ ยั ขา้ วเชียงราย
รวม
ท่ีมา : รายงาน EIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์(GFMIS
หน่วยงานท่ีมีรายจ่ายงบลงทุน วงเงินต้ังแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 21 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน
650.6 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 14.2 ของรายจา่ ยงบลงทนุ ท่ีไดร้ บั จดั สรรทัง้ หมด
กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจังหวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 8
เครอื่ งช้ีภาวะเศรษฐกิจการคลงั จงั หวัด(Economic and Fiscal) รายเดือน
ตารางท่ี 1 เครือ่ งช้เี ศรษฐกิจ
เครื่องช้ีเศรษฐกิจ หน่วย ปี 2564 Q1 Q2 ปี 2564 พ.ย. ปี 2565
เศรษฐกิจดา้ นอุปทาน Q3 Q4 ธ.ค. ม.ค.
ดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy
(โครงสรา้ งสดั ส่วน 26.6%) -8.5 -34.0 -45.1 81.1 -5.4 -15.8 -8.8 55.6
ตัน
ปริมาณผลผลิต : ข้าวโพดเลย้ี ง %yoy 140,276.5 7,473.4 4,232.6 15,376.6 113,193.9 18,290.4 1,675.4 50.0
สตั ว์ ตนั -32.6 -36.6 -63.5 -53.1 -25.5 -4.7 536.6 -91.2
%yoy 5,330.2
ปรมิ าณผลผลิต : ยางพารา ตนั 59,867.3 3,856.0 12,817.4 31,816.9 11,377.1 6,400.5 3,511.5 204.0
%yoy 49.9 -9.4 37.6 302.0 -38.4 39.4 -59.9 1,421.0
ปริมาณผลผลติ : มนั สำปะหลงั ตัน 0.0 0.0 0.0 181.4
%yoy 24,771.9 11,797.1 8,921.9 4,052.9 -100.0 35.6
ปรมิ าณผลผลติ : สบั ปะรด ตัน -60.9 -68.9 -43.6 #DIV/0! -57.4 #DIV/0! 45.0 -97.9
%yoy 1,126.0 975.5 930.5 -98.2 3,811.0
ปรมิ าณผลผลิต : ชา ตนั 11,597.2 4,954.0 4,541.7 -89.3 -71.2 -0.4 368.6
%yoy -59.2 -43.8 -21.1 28,994.6 9,840.8 3,954.0
ปริมาณผลผลติ : กาแฟ ตวั 139.4 26,903.2 9,002.1 49.4
%yoy 68,855.9 1,245.6 11,712.4 0.0 7.6 -30.7 4.0
ปริมาณผลผลิต : โค ตวั -12.9 -68.0 -69.2 1,797.3 296
%yoy 0.0 #DIV/0! 8,136.6 5,073.3 -47.1 -10.8
ปรมิ าณผลผลิต : สกุ ร ตัน 23,946.0 15,809.3 896 19.4 57.8 363 23,721
%yoy -34.8 -47.1 #DIV/0! -13.7 927 282 -35.4 -4.3
ปรมิ าณผลผลติ : ปลานิล %yoy 3,777 1,031 923 -29.1 -26.8 1,293.1
ดัชนีราคาสินคา้ เกษตร บาท/ตัน -16.9 -1.6 -19.7 88,226 25,887 14.5
%yoy 29.6 84,836 28,596 15.1 -1.3
ราคา : ข้าวโพดเลยี้ งสัตว์ บาท/ตัน 331,195 75,453 82,680 20.7 35.5 7,275.0
%yoy 23.4 48.0 4.6 3,338.8 2,122.3 26.5
ราคา : ยางพารา บาท/ตนั -2.9 4,758.5 1,373.2 77.3 55,340.0
%yoy 14,857.1 3,338.7 3,421.1 -17.4 34.8 16.1 -7.2 -2.1
ราคา : มนั สำปะหลัง บาท/ตนั 14.8 12.7 13.8 -12.5 -17.3 2,600.0
%yoy -10.4 -8.6 -1.7 6,135.0 6,250.0 8.3
ราคา : สบั ปะรด บาท/ตัน -19.8 6,100.0 6,250.0 8.7 5,000.0
%yoy 6,358.8 6,425.0 6,775.0 -4.4 -6.7 25.0
ราคา : ชา บาท/ตัน -12.2 -11.8 -11.4 50,840.0 55,050.0 30,590.0
%yoy 8.7 53,946.7 54,690.0 -9.1 11.2
ราคา : กาแฟ บาท/กก. 56,099.2 58,826.7 60,783.3 -10.7 -9.6 22,930.0
%yoy 20.4 43.8 58.8 2,700.0 2,700.0 2.5
ราคา : สุกร บาท/ตนั 20.0 2,700.0 2,700.0 5.1 108.8
%yoy 2,666.7 2,566.7 2,700.0 14.6 20.0 32.4
ราคา : ปลานลิ %yoy 17.1 14.1 20.0 5,500.0 4,000.0 49,000.0
ดชั นีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม -46.8 5,333.3 4,500.0 0.0 -9.7
(โครงสร้างสดั ส่วน 8.3%) ลา้ น 6,652.8 6,333.3 9,444.3 -48.4 -66.7 7.9
กิโลวตั ต์ -36.9 -43.3 -8.6 34,616.7 30,075.0
ปริมาณการใช้ไฟฟ้า %yoy 7.4 29,738.3 26,580.0 2.3
ภาคอตุ สาหกรรม แห่ง/โรง 35,473.8 27,286.7 50,253.3 0.0 -0.3 -10.7
%yoy 18.8 -0.6 68.1 0.0 31,620.0
จำนวนโรงงานในจังหวัด ลา้ นบาท 0.0 80.0 29,980.0 21,100.0 32.1
ทุนจดทะเบียนของ %yoy 12,995.0 22,000.0 0.0 -0.8 0.0 -4.1 87.9
อตุ สาหกรรม -10.3 0.0 84.5 81.8 79.8 9.5
82.3 83.0 17.2 51,163.3 3.0 1.6
6.3 6.8 -12.5 51,670.0
50,700.0 -3.5 51,346.7 51,670.0 -12.7
51,711.7 53,636.7 -11.9 -13.2 -12.6 6.2
-11.1 -6.7 0.7 4.3 3.6
0.6 1.5
454.2 97.7 120.7 123.1 112.8 38.7 33.0 33.8
-4.3 -5.7 -3.4 -10.5 3.7 3.1 7.6 12.9
679 663 672 673 679 676 679 682
4.1 6.8 4.5 4.1 4.5 4.1 2.9
19,850.1 3.9 20,317.6 21,083.3 21,113.0
21,083.3 9.1 20,075.3 20,164.3 21,083.3 3.5 6.3 6.8
6.3 3.7 6.3
3.4
กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจังหวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 9
เครอ่ื งช้ีเศรษฐกิจ หนว่ ย ปี 2564 Q1 Q2 ปี 2564 พ.ย. ธ.ค. ปี 2565
-8.4 19.3 Q3 Q4 -12.2 1.4 ม.ค.
ดชั นีผลผลิตภาคบริการ1 %yoy -4.9 21.3
(โครงสร้างสดั ส่วน 65.1%) 849,577 268,786 -14.7 -9.1 182,418
คน 1,910,786 -16.8 42.8 -47.5
จำนวนนักทอ่ งเท่ยี วE %yoy -35.7 209,368 583,055 301,197 348,025
คน 233,152 136,412 -74.3 -38.5 98,318 0.5 44.8
จำนวนผ้โู ดยสารผา่ นท่าอากาศ %yoy 710,408 -61.7 83.6 -50.3
ยาน ลา้ นบาท -53.1 6.7 3.5 29,475 311,369 3.3 152,940 134,616
ภาษีมลู ค่าเพม่ิ หมวดโรงแรมและ %yoy 22.9 -55.1 72.9 -91.3 -36.4 -1.2 5.5 148.0
ภตั ตาคาร ล้านกโิ ลวัตต์ -26.1 70.0 82.2 4.5 8.2 26.2 3.7 6.1
%yoy 313.7 -3.1 8.0 58.0 -26.1 5.9 83.9
ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคบรกิ าร ลา้ นบาท 1.9 82.6 78.8 -23.4 24.6
%yoy 22,551.8 22,633.5 -1.2 3.8 7,632.1 24.8 8.9
รายได้จากการขายสง่ ขายปลีกฯ ลา้ นบาท 89,847.7 13.4 19.5 -0.5 4.6
%yoy 7.2 484.9 497.3 21,591.4 23,071.0 8,287.7 7,690.3
เงินเดือน และเงนิ คา่ จ้างอ่ืน ๆ 13.2 7.0 -1.3 -0.1 173.6 0.6 8.3
กระทรวงสาธารณสขุ %yoy 8.2 179.9
เศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ ลา้ นบาท 547.1 510.7 5.9 168.9
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน %yoy 14.7 1.9 3.0
ภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขาย
ปลกี ฯ คนั 0.6 0.6 11.1 -5.0 -3.5 9.4 -4.8 7.1
%yoy 520.9 135.5 118.3 117.7 149.5 60.4 45.1 57.9
รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ คนั 30.7 -4.7 18.5
%yoy 0.7 -5.8 -2.9 1.8 9.8 499 281 859
รถจักรยานยนต์จดทะเบยี นใหม่ ล้านกิโลวัตต์ 6,975 2,328 1,930 1,550 1,167 -17.4 -20.4 2.9
%yoy 10.3 27.5 -26.6 2,476 2,494 2,485
ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาค ลติ ร 3.1 7,593 7,790 -0.1 6,890 9.2 -2.2 -0.6
ครัวเรอื น %yoy 28,047 52.2 5,774 48.8 43.1 43.2
ลบ.ม. -2.5 173.1 -21.7 -1.4 15.8 6.7 7.9
ปริมาณการจำหน่ายสรุ า %yoy 2.9 121.5 172.4 146.8 3,034,095.4 4,138,764.1 2,390,928.4
%yoy 613.8 3.0 10.6 -9.7 0.8 -16.0
ปรมิ าณการจำหน่ายนำ้ ประปา ตารางเมตร 4.3 8,101,323.3 8.4 9,611,870.7 621,577 600,330 641,865
%yoy 6.5 9,548,980.3 5,940,185.3 -13.2 -2.2 -2.1 4.6
ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชน 33,202,359.5 29.9 1,824,929.0 4.5 7.6 -1.1
คัน 2.6 1,934,938 -29.2 25,951.6 36,795.0 12,835.4
พนื้ ทอ่ี นุญาตกอ่ สร้างรวม %yoy -5.2 1,785,852 1,875,771.0 -1.2 13.3 100.1 -62.6
ล้านบาท 7,421,490 12.2 4.7 369 278 443
รถยนต์เพ่ือการพาณิชยจ์ ด %yoy 4.4 2.6 8.8 76,373.2 -12.4 23.0 -14.3
ทะเบยี นใหม่ %yoy 7.4 2.4 84,237.6 3.4 13.8 41,224.8 40,900.2 40,993.5
ล้านบาท 3.3 95,484.7 -18.1 49,768.7 996 4.8 4.4 3.2
สินเช่ือเพ่ือการลงทนุ 2 %yoy 305,864.1 3.0 1,290 -1.9 -0.7 -52.8 -29.9 27.6
ล้านบาท -2.4 1,264 23.4 1,042 40,900.2 478.2 385.2 298.8
ดชั นกี ารใช้จ่ายภาครัฐ %yoy 4,592 -0.9 40,479.9 -10.9 4.4 -38.6 -36.4 -32.6
%yoy 2.2 40,012.9 3.5 40,805.4 1.7 338.3 342.0 511.6
รายจ่ายประจำ ล้านบาท 40,900.2 2.8 33.5 4.6 1,926.1 -61.9 -23.5 104.9
%yoy 4.4 -16.3 1,361.9 27.6 3.6 -49.9 -32.3 3.2
รายจา่ ยลงทนุ ลา้ นบาท 9.7 1,438.7 12.7 2,456.0 1,522.0 1,999.4 2,699.8 3,581.4
%yoy 7,182.7 -36.0 1,612.3 97.1 0.1 -46.7 -36.0 -3.3
ดัชนกี ารค้าชายแดน 9.5 1,238.8 50.5 1,643.4 -37.9 319.9 704.0 889.9
มลู ค่าการส่งออกผ่านด่าน %yoy 6,016.4 12.6 101.4 -7.6 6,737.3 -63.3 -12.7 42.2
ศลุ กากร %yoy 10.0 17.0 18,183.5 65.6 -37.0
มูลค่าการนำเข้าผา่ นด่าน 33.0 10,521.1 110.4 16,725.0 1,602.5
ศลุ กากร %yoy 52,166.9 12.8 2,609.6 79.0 -41.5
ดา้ นรายได้ (Income) 37.3 2,653.1 54.9 4,812.2
ดัชนรี ายไดเ้ กษตรกร 11,677.3 37.3 31.3
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม 16.5
ดชั นีราคาผลผลติ ภาค
เกษตรกรรม -18.0 -39.7 -46.0 49.9 -18.9 -30.4 -15.3 53.5
-8.5 -34.0 -45.1 81.1 -5.4 -15.8 -8.8 55.6
-10.4 -8.6 -1.7 -17.4 -12.5 -17.3 -7.2 -1.3
กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 10
เครอ่ื งชี้เศรษฐกจิ หน่วย ปี 2564 ปี 2564 ปี 2565
ดา้ นการเงนิ (Financal) ล้านบาท Q1 Q2 Q3 Q4 พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
%yoy
ปริมาณเงนิ ฝากรวม ล้านบาท 148,936.3 138,290.7 140,563.2 141,992.0 148,936.3 146,762.8 148,936.3 149,525.4
%yoy 8.6 9.8 6.0 6.7 8.6 7.5 8.6 8.8
ปริมาณสนิ เชอ่ื รวม
2562=100 136,334.1 133,376.4 134,933.0 136,018.0 136,334.1 137,415.9 136,334.1 136,645.1
ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ %yoy 4.4 2.8 3.5 4.6 4.4 4.8 4.4 3.2
(Stability) %yoy
%yoy 101.0 99.8 100.5 101.2 102.6 102.6 102.6 103.5
ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคท่วั ไป 0.9 -1.1 -0.4 2.0 2.0 3.2 2.6 3.4
(อตั ราเงินเฟ้อท่ัวไป) 2562=100 -0.7 -1.1 -0.6 -1.0 -0.3 2.1 2.2 3.3
%yoy 2.5 -1.0 -0.1 4.8 4.1 4.2 3.0 3.5
- อาหารและเครื่องดม่ื 100.5
- ไม่ใชอ่ าหารและเครอ่ื งด่มื 2558=100 100.6 0.3 100.6 100.6 100.8 100.8 100.9 100.9
ดชั นรี าคาผู้บรโิ ภคพ้ืนฐาน %yoy 0.3 99.5 -0.1 4.8 4.1 0.3 0.4 0.4
(อัตราเงนิ เฟ้อพื้นฐาน) คน 0.7
ดัชนรี าคาผผู้ ลิต %yoy 102.3 620,195.0 101.6 102.6 105.5 106.1 105.7 107.4
(อัตราการเปลยี่ นแปลง) 4.7 5.0 2.8 6.5 8.1 8.5 7.7 8.7
การจา้ งงาน (Employment) 580,032.8 560,054.0 564,320.0 588,789.0 588,789.0 588,789.0 588,789.0
-0.7 -3.3 -2.5 1.7 1.7 1.7 1.4
หมายเหตุ :
1/ดชั นีผลผลติ ภาคบรกิ ารรายเดือน ไม่รวมสาขาการศึกษา E/= ขอ้ มูลประมาณการ
2/ สินเชอื่ เพื่อการลงทนุ คำนวณจาก (สนิ เชอื่ รวม * 30/100) * = ไม่มีปริมาณผลผลติ
ตารางที่ 2 เคร่ืองช้ดี ้านการคลงั หน่วย ปงี บประมาณ Q1/FY65 ปงี บประมาณ (FY) YTD (FY)
(FY) 783.9 พ.ศ. 2565 1,062.4
เครอื่ งชดี้ า้ นการคลงั ลา้ นบาท 8.8 6.2
%yoy พ.ศ. 2564 694.1 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 935.9
รายไดจ้ ัดเกบ็ ลา้ นบาท 15.6 294.6 264.4 278.6 14.4
สรรพากรพื้นทเ่ี ชยี งราย %yoy 3,236.1 20.1 27.3 4.9 -0.5 26.1
สรรพสามติ พ้นื ท่เี ชียงราย ลา้ นบาท 2.5 -18.7 261.8 231.8 241.8 -17.2
ดา่ นศุลกากร %yoy 14.5 34.7 10.8 11.1 21.0
ธนารกั ษพ์ น้ื ทเี่ ชียงราย ล้านบาท 2,764.1 -53.9 -57.1
หนว่ ยงานอนื่ %yoy 6.4 14.6 6.9 7.8 6.0 17.1
ลา้ นบาท 78.0 73.2 -7.6 -24.5 -11.9 21.1
รายได้นำสง่ คลัง %yoy 40.6 5.5 4.3 6.6 62.3
รายจ่ายเงนิ งบประมาณรวม ล้านบาท -15.5 -26.7 -42.8 -45.7 -62.8 -28.8
ดุลเงินงบประมาณ %yoy 116.1 347.8 8.9 2.6 2.5 453.8
ลา้ นบาท -35.4 3.4 589.7 -57.7 -55.7 0.3
%yoy 37.6 11.4 17.9 21.6 4,258.5
ลา้ นบาท 40.7 3,448.1 -38.9 -3.5 -32.6 4.5
%yoy 240.3 2.0 128.0 116.7 105.9
21.5 -6.0 -8.6 -3,804.7
ลา้ นบาท -7.5 -3,100.3 816.5 727.1 810.4
1,301.6 -52.8 -29.9 27.6
-4.9 -688.5 -610.5 -704.5
13,132.2
15.6
-11,830.6
กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยี งราย โทรศัพท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 11