The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน เมษายน 2565+ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by klang.cri.cfo, 2022-07-12 00:56:23

รายงาน เมษายน 2565+ปก

รายงาน เมษายน 2565+ปก

กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวดั สานกั งานคลงั จังหวดั เชยี งราย
โทร./โทรสาร 0-5315-0176 – 7 e-mail : [email protected]

ฉบับที่ 4/2565

รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลงั จังหวดั เชียงราย ประจำเดอื น เมษายน 2565

“เศรษฐกจิ จังหวดั เชียงรายในเดอื นเมษายน 2565 โดยรวมขยายตัวเมื่อเทยี บกับชว่ งเดือนเดียวกันของปกี อ่ น
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเครื่องชี้ด้านอุปทานที่ขยายตัว จากภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับ
ด้านอุปสงค์ขยายตัว จากการค้าชายแดน การใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน และการบริโภคภาคเอกชน
ด้านการเงิน ขยายตัวท้ังปริมาณเงินฝากและสินเชื่อ สำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 3.4
ด้านการจ้างงานขยายตวั ”

เศรษฐกิจด้านอุปทาน (การผลิต) ขยายตัวจากเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากเครื่องชี้
การผลิตภาคบริการทข่ี ยายตวั ร้อยละ 15.9 เมอื่ เทียบกับเดอื นเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดอื นกอ่ นทขี่ ยายตัวรอ้ ยละ
6.3 ตามการขยายตัวของทุกเคร่ืองช้ีทั้งจำนวนนักท่องเท่ียว จำนวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยาน รายได้จากการขายส่ง
ขายปลีก ฯ ภาษมี ูลคา่ เพิ่มหมวดโรงแรมและภัตตาคาร และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคบริการ จากวันหยุดยาวช่วงเทศกาล
สงกรานต์ และการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวมถึง
มาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวของภาครัฐผ่านโครงการเราเที่ยวด้วยกัน ทัวร์เท่ียวไทย ทำให้การดำเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจเพ่ิมขึ้น นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาในจังหวัดเพิ่มขึ้น อีกทั้งจังหวัดเชียงรายยังได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายใน
จังหวัดเพ่ือเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ และส่งเสริมการท่องเท่ียว เช่น งานสัปดาห์ส่งเสริมผ้าไทยตามโครงการอัตลักษณ์
อาภรณ์นครเชียงราย ใต้ร่มพระบารมีประจำปี 2565 งานมหกรรมกีฬาชาติพันธุ์เชียงราย และโครงการตลาดประชารัฐ
ของดีนครเชียงราย เป็นต้น ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 8.1 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจาก
เดือนก่อนเล็กน้อยท่ีขยายตัวร้อยละ 8.8 ตามจำนวนโรงงานในจังหวัด ทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรม และปริมาณการใช้
ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น โดยในเดือนนี้มีโรงงานประเภทขุดและร่อนดินหรือทราย ผลิตน้ำด่ืมบรรจุขวด และ
ผสมแอสฟัลท์ติกคอนกรีต ท่ีได้รับอนุญาตใหป้ ระกอบกิจการ ในขณะที่ภาคเกษตรกรรมหดตัวร้อยละ -7.8 เมอื่ เทยี บกับ
เดือนเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 37.4 ตามปริมาณผลผลิตยางพารา และมันสำปะหลัง
ทล่ี ดลง โดยปริมาณมันสำปะหลังลดลงจากการเก็บเก่ียวผลผลติ ไปแล้วเป็นจำนวนมากในเดือนก่อนหน้า สำหรบั ปริมาณ
ยางพาราลดลงเน่ืองจากมีการเว้นระยะเวลากรีดยางในช่วงนี้ จากท่ีมีปริมาณฝนตกอย่างต่อเน่ืองเกษตรกรไม่สามารถ
กรีดยางได้ จึงหันไปปลูกพืชอย่างอื่นก่อน ด้านปศุสัตว์ ปริมาณสุกรหดตัว ในขณะที่ปริมาณโค และปลานิลขยายตัว
สำหรับราคาสินคา้ เกษตรโดยรวมหดตวั ตามการปรบั ลดลงของราคาข้าว สับปะรด ชา และมันสำปะหลัง เป็นสำคัญ

กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สำนักงานคลงั จงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 1

เครื่องชเี้ ศรษฐกิจด้านอปุ ทาน ปี 2564 ปี 2565 YTD
(Supply Side) (สัดสว่ นต่อ GPP) -3.3 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. 44.8
-0.0 66.8 147.4 37.4 -7.8 7.8
ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม (%yoy) -2.7 14.7
(โครงสร้างสัดส่วน 24.7%) 7.7 5.3 8.8 8.1

ดชั นีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy) 14.3 19.0 6.3 15.9
(โครงสร้างสดั สว่ น 9.3%)

ดัชนีผลผลิตภาคบรกิ าร (%yoy)
(โครงสรา้ งสัดส่วน 66.0%)

เศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (การใช้จ่าย) ขยายตัวเม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จากการค้าชายแดนที่
ขยายตัวร้อยละ 68.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพ่ิมขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 15.4
ตามการขยายตัวของมูลค่าการนำเขา้ และการส่งออก ท้ังจากจีนตอนใต้ เมียนมา และ สปป.ลาว โดยสินคา้ ทีม่ ีการส่งออก
สำคัญ ได้แก่ ผลไม้สด ผักสด น้ำมันเชื้อเพลิง และเคร่ืองอุปโภคบริโภค สินค้านำเข้าท่ีสำคัญ ได้แก่ ผลไม้สด ผกั สด และ
ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ สำหรบั มูลค่าการส่งออกในเดือนนี้มีจำนวนทั้งส้ิน 8,463.1 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 49.7 ส่วนมูลค่า
การนำเข้ามีจำนวน 2,349.6 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 202.9 ดุลการค้าเกินดุล 6,113.5 ล้านบาท การใช้จ่ายภาครัฐ
ขยายตัวร้อยละ 60.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 79.3
ตามการขยายตัวของรายจ่ายลงทุน โดยเป็นการเบิกจ่ายของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1 และสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 17 (เชียงราย) เป็นสำคัญ การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว
รอ้ ยละ 3.0 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนท่ีขยายตวั ร้อยละ 5.2 ตามการเพิ่มขึ้นของพื้นที่
อนุญาตก่อสร้าง และสินเช่ือเพื่อการลงทุน (30% ของสินเช่ือรวม) โดยพ้ืนที่อนุญาตก่อสร้างเพ่ิมข้ึนจากการก่อสร้าง
ประเภทอาคารพาณิชย์ เป็นสำคัญ การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 0.2 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน
ฟื้นตัวจากเดือนก่อนท่ีหดตัวร้อยละ -11.9 จากการขยายตัวของภาษีมูลค่าเพิ่มหมวดขายส่ง ขายปลีก ฯ จำนวน
รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน เน่ืองจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุม
การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID - 19) และมาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศของภาครัฐ
ได้แก่ โครงการเพ่ิมกำลังซ้ือให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระยะที่ 4 โครงการเพ่ิมกําลังซ้ือให้แก่ผู้ที่ต้องการ
ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ระยะท่ี 2 และโครงการคนละครึ่งเฟส 4 ซ่ึงกำหนดส้ินสุดโครงการในวันท่ี 30 เมษายน 2565
ทำให้ประชาชนเร่งออกมาจับจ่ายใชส้ อย ส่งผลให้กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ปรบั ตัวดีขน้ึ

เครื่องช้ีเศรษฐกจิ ด้านการใชจ้ ่าย ปี ปี 2565

(Demand Side) 2564 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. YTD

ดัชนกี ารบริโภคภาคเอกชน (%yoy) 0.6 7.3 34.1 -11.9 0.2 5.6

ดัชนกี ารลงทุนภาคเอกชน (%yoy) 3.3 2.9 4.5 5.2 3.0 3.0

ดัชนีการใช้จา่ ยภาครฐั (%yoy) 9.8 71.9 98.9 79.3 60.3 68.5

ดัชนีการคา้ ชายแดน (%yoy) 33.0 0.5 -17.9 15.4 68.2 22.7

กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวดั สำนักงานคลังจังหวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 2

ดา้ นรายได้เกษตรกรในจังหวดั หดตวั รอ้ ยละ -12.2 เมอ่ื เทียบกับเดือนเดยี วกันของปีกอ่ น ลดลงจากเดือนกอ่ นที่
ขยายตัวร้อยละ 28.1 เป็นผลจากดัชนีราคาผลผลิตภาคเกษตรกรรมหดตัวจากราคาข้าว สับปะรด ชา และมันสำปะหลัง
เปน็ สำคญั

ด้านการเงิน ปริมาณเงินฝากรวมสูงกว่าปริมาณสินเช่ือรวม โดยปริมาณเงินฝากรวมขยายตัวร้อยละ 8.2
เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเท่ากับเดือนก่อน จากปริมาณเงินฝากของธนาคารพาณิชย์และสถาบัน
การเงินเฉพาะกิจที่เพ่ิมข้ึน ตามความต้องการรักษาสภาพคล่องของผู้ฝาก ด้านปริมาณสินเช่ือรวมขยายตัวร้อยละ 3.6
เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน เพ่ิมขึ้นจากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 ตามการขยายตัวของสินเชื่ออุปโภค
บริโภคของธนาคารพาณิชย์ และสินเช่ือเพ่อื ทอ่ี ยอู่ าศยั ของสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ เป็นสำคัญ

เครอื่ งชี้ด้านรายไดเ้ กษตรกร ปี ปี 2565
และด้านการเงิน 2564 Q1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. YTD
-8.1 62.5 141.3 28.1 -12.2 40.2
ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร (%yoy) 8.6 8.2 7.3 8.2 8.2 8.2
ปรมิ าณเงนิ ฝากรวม (%yoy) 4.4 3.3 3.3 3.3 3.6 3.6
ปริมาณสนิ เชอื่ รวม (%yoy)

เสถียรภาพเศรษฐกจิ อตั ราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนเมษายน 2565 อยู่ท่ีร้อยละ 3.4 ตามการเพมิ่ ขน้ึ ของดัชนีหมวด
อ่ืนๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่ม จากการสูงขึ้นของราคาน้ำมันเช้ือเพลิง เป็นสำคัญ ดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มี
แอลกอฮอล์ จากสินค้าท่ีปรับราคาสูงขึ้น เช่น ไอศกรีม ขนมหวาน น้ำมันพืช กับข้าวสำเร็จรูป เน้ือสุกร ไข่ไก่ และนมสด
เป็นต้น สำหรับการจ้างงานในเดือนเมษายน 2565 ขยายตัวร้อยละ 4.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกนั ของปีก่อน จากสภาพ
เศรษฐกจิ ทีเ่ รมิ่ ปรบั ตวั ดขี นึ้ สอดคลอ้ งกับจำนวนลูกจา้ งในระบบประกนั สังคมท่ีขยายตวั

เคร่อื งชเ้ี สถียรภาพเศษฐกจิ ปี ปี 2565
2564 Q1 ก.พ. มี.ค. เม.ย. YTD

อัตราเงนิ เฟอ้ (Inflation Rate) (%yoy) 0.9 4.1 4.6 4.4 3.4 3.9

การจา้ งงาน (Employment) (%yoy) -0.7 -5.8 -5.8 -5.8 4.3 4.3

ด้านการคลัง ในเดือนเมษายน 2565 พบว่า ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรวมมีจำนวน 1,078.4 ล้านบาท
เพ่ิมขึ้นร้อยละ 60.3 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ตามการเพ่ิมขึ้นของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน ของสำนักงาน
สง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ินจังหวัดเชียงราย แขวงทางหลวงเชียงรายท่ี 1 และสำนักงานทางหลวงชนบทที่ 17 (เชียงราย)
เป็นสำคัญ ด้านการจัดเก็บรายได้ในเดือนน้ีมีจำนวนท้ังส้ิน 287.6 ล้านบาท เพิ่มข้ึนร้อยละ 23.3 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน ตามการจัดเก็บรายได้ท่ีเพ่ิมขึ้นของทุกหน่วยจัดเก็บหลัก ได้แก่ สำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีเชียงราย จากการจัดเก็บ
รายได้ค่าขายที่ดินและอาคาร เป็นสำคัญ สำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงราย จากการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีมูลค่าเพ่ิม และภาษีธรุ กิจเฉพาะ สำนกั งานสรรพสามิตพ้ืนท่ีเชียงราย จากการจดั เกบ็ ภาษีเครอื่ งดื่ม
(น้ำผลไม้) ภาษีสุราและภาษียาสูบ และด่านศุลกากร จากการจัดเก็บรายได้อ่ืนของ ด่านศุลกากรแม่สาย และด่านศุลกากร
เชียงของ สำหรับดลุ เงนิ งบประมาณในเดอื นเมษายน 2565 ขาดดลุ จำนวน 957.1 ล้านบาท

กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 3

เคร่ืองชภ้ี าคการคลัง หนว่ ย ปี งปม. (FY) ปี งปม. (FY)
พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565
รายได้จดั เก็บ ล้านบาท ก.พ.-65 ม.ี ค.-65 เม.ย.-65 YTD (FY)
ความแตกตา่ งเทียบกบั %yoy Q1/FY65 Q2/FY65 276.5 316.9 287.6 1,943.3
ประมาณการ ลา้ นบาท 3,236.1 783.9 871.9 34.7 8.6 23.3 12.3
รอ้ ยละความแตกต่าง
เทยี บกบั ประมาณการ %yoy 2.5 8.8 12.2 74.7 34.6 65.6 387.5
รายได้นำสง่ คลัง ล้านบาท
%yoy 385.4 158.0 157.5
รายจา่ ยรวม ล้านบาท
ดลุ เงินงบประมาณ %yoy 15.0 27.7 24.8 42.5 13.6 30.9 27.4
ล้านบาท
1,301.6 347.8 353.2 118.9 128.4 121.3 822.3
-4.9 3.4 3.8
27.2 -1.8 27.3 6.5
13,132.2 3,448.1 3,152.1
15.6 2.0 17.7 916.5 1,425.3 1,078.4 7,678.6

-11,830.6 -3,100.3 -2,798.9 98.9 79.3 60.3 7.4

-797.6 -1,296.8 -957.1 -6,856.2

ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
สะสมต้ังแตต่ ้นปงี บประมาณถึงเดอื นเมษายน 2565

รายการ งบประมาณ เบกิ จา่ ย รอ้ ยละ หนว่ ย : ล้านบาท
ท่ไี ดร้ ับจัดสรร
เปา้ หมาย
การเบิกจา่ ย
ณ ไตรมาสท่ี 3
(ร้อยละ)

1. รายจ่ายจริงปงี บประมาณปจั จุบนั 9,784.4 6,204.1 63.4 72.0

1.1 รายจ่ายประจำ 4,562.1 3,931.5 86.2 79.0
1.2 รายจ่ายลงทนุ 5,222.3 2,272.6 43.5 46.0
1,948.4 1,474.5 75.7
2. รายจา่ ยงบประมาณเหลอ่ื มปี

2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1,948.4 1,474.5 75.7

2.2 ก่อนปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - --

3. รายการเบิกจ่าย (1+2) 11,732.8 7,678.6 65.4

ท่ีมา : รายงาน EIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai)

กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจังหวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 4

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกบั เป้าหมายการเบิกจา่ ย
สะสมต้งั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนเมษายน 2565

รอ้ ยละ

ที่มา : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai)

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจา่ ย
สะสมต้ังแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นเมษายน 2565

ร้อยละ

ทม่ี า : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ สใ์ หม่ (New GFMIS Thai) 5
กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลงั จงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected]

ผลการเบิกจ่ายงบลงทนุ ของหน่วยงานทไี่ ด้รับงบประมาณจัดสรรมากกวา่ 100 ล้านบาทข้ึนไป

สะสมต้ังแต่ต้นปงี บประมาณถึงเดอื นเมษายน 2565

หนว่ ย : ล้านบาท

งบประมาณ ก่อหน้ี ผลการเบกิ จา่ ย

ลำดับท่ี หนว่ ยงาน ที่ไดร้ ับ จำนวนเงนิ ร้อยละ จำนวนเงิน ร้อยละ
จดั สรร

1 สำนกั งานส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน 759.5 - - 232.7 30.6
จังหวัดเชยี งราย

2 มหาวิทยาลยั แม่ฟ้าหลวง 637.8 - - 637.8 100.0

3 โครงการชลประทานเชยี งราย 624.6 127.7 20.4 350.0 56.0

4 แขวงทางหลวงเชยี งรายที่ 1 482.2 309.2 64.1 140.0 29.0

5 แขวงทางหลวงเชียงรายท่ี 2 326.3 185.4 56.8 110.5 33.9

6 สำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 17 325.4 161.9 49.7 153.3 47.1
(เชยี งราย)

7 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 262.3 98.8 37.7 143.0 54.5

8 สำนักบรหิ ารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 15 249.7 115.4 46.2 111.4 44.6
(เชยี งราย)

9 งปม.จว.-สำนกั งานจังหวดั เชยี งราย 225.5 114.7 50.9 28.8 12.8

10 กลมุ่ จังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 205.0 100.3 48.9 2.9 1.4

11 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย 147.7 65.1 44.1 14.7 10.0

12 สำนักจัดการทรัพยากรปา่ ไม้ ท่ี 2 117.5 37.7 32.1 44.3 37.7
(เชียงราย)

13 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชยี งราย 114.5 72.8 63.6 29.5 25.8

รวม 4,477.9 1,389.0 31.0 1,998.8 44.6

ท่ีมา : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai)

จังหวัดเชียงรายได้รับจัดสรรงบลงทุน จำนวน 5,222.3 ล้านบาท โดยหน่วยงานท่ีมีรายจ่ายงบลงทุน
วงเงินมากกว่า 100 ล้านบาทขึ้นไป จำนวน 13 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน 4,477.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 85.7
ของรายจา่ ยงบลงทนุ ทไ่ี ด้รบั จดั สรรท้ังหมด

กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 6

ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของหน่วยงานที่ไดร้ ับงบประมาณจัดสรรต้งั แต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท

สะสมต้ังแตต่ น้ ปีงบประมาณถึงเดอื นเมษายน 2565

หนว่ ย : ลา้ นบาท

งบประมาณ กอ่ หน้ี ผลการเบกิ จา่ ย

ลำดับท่ี หน่วยงาน ทไี่ ดร้ ับ จำนวนเงิน รอ้ ยละ จำนวนเงิน ร้อยละ
จดั สรร

1 โรงพยาบาลเชยี งราย 62.8 39.4 62.7 23.4 37.3
ประชานเุ คราะห์

2 สพป.เชยี งราย เขต 3 60.7 19.9 32.8 27.5 45.3

3 สพป.เชยี งราย เขต 2 46.7 11.8 25.3 31.1 66.5

4 สถานพี ัฒนาท่ีดินเชียงราย 46.3 19.8 42.8 22.6 48.9

5 สพป.เชยี งราย เขต 4 44.3 24.5 55.3 14.3 32.2

6 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งราย 42.4 1.5 3.5

7 อบจ.เชยี งราย 39.6 39.5 99.9

8 ศนู ย์วิจยั พชื สวนเชียงราย 38.8 6.0 15.5 9.2 23.8

9 สพป.เชยี งราย เขต 1 37.1 17.2 46.3 16.8 45.2

10 ทที่ ำการปกครองจังหวัดเชียงราย 35.4 19.2 54.3 16.2 45.7

11 สำนกั งานโยธาธิการและผงั เมือง 35.1 23.1 65.9 6.2 17.6
จังหวดั เชียงราย

12 สพม.เชยี งราย 34.4 2.9 8.5 22.6 65.8

13 สำนกั งานจงั หวัดเชยี งราย 34.4 17.1 49.7 --

14 ศูนย์ ปภ.เขต 15 เชยี งราย 25.7 5.8 22.6 19.6 76.2

15 สำนกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัด 19.0 - 15.0 78.7
เชียงราย

16 เทศบาลนครเชยี งราย 18.1 -

17 วิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษก 14.4 -
เชยี งราย

18 สนง.พฒั นาชุมชนจงั หวดั เชียงราย 11.9 5.8 48.6 6.1 51.3

19 โรงเรียนเชียงรายปัญญานุกูล 11.6 - 0.1 0.8

20 สนง.วฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 10.9 7.1 65.1 3.8 34.8

21 ศูนยว์ จิ ัยขา้ วเชยี งราย 10.2 5.2 50.8 4.3 41.6

รวม 679.7 265.8 39.1 238.7 35.1

ท่ีมา : รายงาน EIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ หม่ (New GFMIS Thai)

หน่วยงานท่ีมีรายจ่ายงบลงทุน วงเงินต้ังแต่ 10 ถึง 100 ล้านบาท จำนวน 21 หน่วยงาน รวมรายจ่ายลงทุน
679.7 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 13.0 ของรายจา่ ยงบลงทนุ ที่ได้รับจัดสรรทง้ั หมด

กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจังหวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 7

เครอ่ื งชี้ภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จงั หวัด(Economic and Fiscal) รายเดอื น
ตารางที่ 1 เครือ่ งช้เี ศรษฐกจิ

เคร่อื งช้เี ศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2564 Q1 ก.พ. ปี 2565 เม.ย. YTD
เศรษฐกิจด้านอุปทาน ม.ี ค.
ดชั นผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -3.3 66.8 147.4 -7.8 44.8
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 24.7%) 37.4
ตัน 753,310.9 115.2 0.0 48,092.8 48,208.0
ปรมิ าณผลผลิต : ขา้ ว %yoy -21.0 -97.4 * 115.2 30.2 16.4
ตนั 5,757.8 2,638.0 -96.8
ปรมิ าณผลผลิต : ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ %yoy 140,276.5 -23.0 -45.0 3,069.8 6,651.2 12,408.9
ตนั -32.6 18,551.8 5,676.4 45.4 89.2 12.9
ปรมิ าณผลผลติ : ยางพารา %yoy 381.1 436.0 7,545.3
ตัน 59,867.3 96,975.0 13,058.8 622.8 3,701.3 22,253.1
ปริมาณผลผลติ : มันสำปะหลงั %yoy 49.9 722.0 219.6 82,495.2 -37.6 127.4
ตนั 2,526.9 521.3 1,044.8
ปรมิ าณผลผลติ : สบั ปะรด %yoy 24,771.9 -49.0 -79.9 1,970.0 3,665.9 100,640.9
ตนั -60.9 8,563.3 3,877.3 212.7 -58.8 386.5
ปริมาณผลผลติ : ชา %yoy 587.5 1,856.2 875.0
ตนั 11,597.2 273.6 5,972.9 8,499.8
ปรมิ าณผลผลติ : ล้นิ จ่ี %yoy -59.2 0.0 0.0 941.1 53.8
ตวั * * 0.0
ปรมิ าณผลผลิต : โค %yoy 68,855.9 895.0 * 2,519.0 11,082.3
ตวั -12.9 -13.2 292 20.6 232.3
ปริมาณผลผลติ : สุกร %yoy 58,406.0 -16.1 307 717.1 717.1
ตนั 7,408.7 -22.6 15,317 -12.5 *
ปริมาณผลผลติ : ปลานลิ %yoy 26.5 3,679.9 -40.0 19,368 *
ดชั นีราคาสินค้าเกษตร %yoy 3,777 1,150.8 -22.9 347 1,242.0
บาท/ตัน -16.9 10.2 1,236.0 6.4 -8.5
ราคา : ขา้ ว %yoy -2.6 3.5 12.6
บาท/ตนั 331,195 8,733.3 -2.5 -6.7 20,776 79,182.0
ราคา : ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ %yoy 23.4 -25.2 9,200.0 7,800.0 -21.4 -22.3
บาท/ตัน 7,883.3 -21.2 -33.2 1,384.3
ราคา : ยางพารา %yoy 14,857.1 22.7 8,025.0 8,350.0 5,064.3
บาท/ตัน 14.8 59,980.0 18.9 23.2 5.7 8.9
ราคา : มันสำปะหลัง %yoy -5.0 2.0 60,860.0 63,740.0 -4.8 -3.1
บาท/ตัน 2,600.0 5.0 7,580.0
ราคา : สับปะรด %yoy 9,339.3 1.3 2,600.0 2.8 -10.3 8,445.0
บาท/ตนั -23.3 5,750.0 0.0 2,600.0 8,750.0 -22.3
ราคา : ชา %yoy -9.2 6,500.0 29.2
ดชั นผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรม %yoy 6,358.8 30,000.0 -23.5 -3.7 65,720.0 8,100.0
(โครงสรา้ งสัดส่วน 9.3%) -12.2 9.9 29,050.0 5,750.0 11.3 24.4
ลา้ นกิโลวัตต์ 7.7 6.9 2,600.0
ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้า 56,099.2 5.3 -11.5 -3.7 61,415.0
ภาคอตุ สาหกรรม %yoy 20.4 107.5 30,360.0 6,000.0 4.3
แห่ง/โรง 10.1 30.7 -36.8
จำนวนโรงงานในจังหวดั %yoy 2,666.7 683 4.9 11.7 28,970.0 2,600.0
ลา้ นบาท 17.1 3.0 682 8.8 -42.0 0.0
ทุนจดทะเบียนของอตุ สาหกรรม %yoy 21,297.6 2.7 8.1
6,652.8 7.3 21,147.1 43.0 5,812.5
-36.9 6.5 11.8 41.4 -18.4
683 10.8
35,473.8 3.0 683 29,742.5
18.8 21,297.6 2.2 -9.8
-0.0 7.3 21,328.5 7.8
6.9
454.2 148.9
-4.3 10.3
679 683
4.1 2.2
21,083.3 21,328.5
6.3 6.9

กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 8

เครอื่ งช้ีเศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2564 Q1 ปี 2565 YTD
ดัชนผี ลผลติ ภาคบรกิ าร1 ก.พ. ม.ี ค. เม.ย.
(โครงสรา้ งสดั สว่ น 66.0%)
%yoy -2.7 14.3 19.0 6.3 15.9 14.7
จำนวนนกั ท่องเท่ยี วE
คน 1,910,786 1,042,792 358,793 335,974 444,036 1,486,828
จำนวนผ้โู ดยสารผ่านท่าอากาศยาน %yoy -35.7 22.7 19.7 8.5 193.8 48.6
ภาษีมลู คา่ เพิม่ หมวดโรงแรมและ คน
ภัตตาคาร %yoy 710,408 374,989 120,617 119,756 134,145 509,134
ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคบริการ ล้านบาท -53.1 60.8 81.6 6.5 46.1 56.7
%yoy 22.9 14.7 4.6 4.0 3.3 18.0
รายได้จากการขายสง่ ขายปลกี ฯ -26.1 118.7 323.0 73.7 52.6 102.6
เงินเดือน และเงินค่าจา้ งอ่ืน ๆ ลา้ นกโิ ลวตั ต์ 313.7 75.5 22.4 28.5 27.7 103.2
กระทรวงสาธารณสุข 1.9 7.8 4.7 9.3 2.6 6.4
เศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ %yoy
ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน ล้านบาท 89,847.7 24,318.9 7,903.3 8,644.2 8,106.3 32,425.2
ภาษีมูลค่าเพม่ิ หมวดขายส่ง ขาย %yoy 7.2 7.8 11.8 3.2 7.4 7.7
ปลกี ฯ ล้านบาท 185.9
รถยนตน์ ่งั จดทะเบยี นใหม่ %yoy 2,039.9 526.3 12.1 171.5 163.4 689.7
9.0 8.5 10.7 3.6 7.3
รถจกั รยานยนตจ์ ดทะเบียนใหม่
%yoy 0.6 7.3 34.1 -11.9 0.2 5.6
ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคครวั เรอื น ลา้ นบาท 520.9 155.7 53.3 44.6 49.3 205.0
%yoy 14.9 58.0 -15.9 18.5 15.7
ปริมาณการจำหนา่ ยสุรา 0.7 2,338 722 757 595 2,933
คัน 6,975 4.8 -5.8 1.5
ปริมาณการจำหนา่ ยนำ้ ประปา %yoy 0.4 2,499 2,492 2,122 0.7
ดชั นีการลงทนุ ภาคเอกชน คนั 3.1 7,476 5.4 -8.4 -8.6 9,598
พ้ืนทอี่ นญุ าตกอ่ สรา้ งรวม %yoy 28,047 -1.5 38.2 51.8 53.9 -3.2
รถยนตเ์ พือ่ การพาณชิ ยจ์ ดทะเบียน 133.2 4.7 15.2 0.8 187.1
ใหม่ ลา้ นกิโลวัตต์ 2.9 3,957,309.3 3,260,363.1 2,264,816.1
สนิ เช่อื เพื่อการลงทุน2 613.8 9.7 44.7 -17.8 -35.8 7.0
ดัชนกี ารใช้จ่ายภาครฐั %yoy 9,608,600.8 620,705 580,394 614,321 11,873,416.8
รายจ่ายประจำ ลิตร 6.5 3.5 1.3 -9.0
%yoy 33,202,359.5 0.6 4.5 5.2 3.0 -9.2
รายจา่ ยลงทนุ ลบ.ม. 1,842,964 31,506.0 40,442.6 30,346.8 2,457,285
ดชั นกี ารค้าชายแดน %yoy -5.2 23.1 13.8 15.8
มลู คา่ การส่งออกผ่านด่านศลุ กากร %yoy 7,421,490 3.2 450 541 376 -0.2
2.9 16.6 49.9 -23.7 3.0
มลู ค่าการนำเขา้ ผ่านดา่ นศลุ กากร ตารางเมตร 7.4 84,784.0 41,166.5 41,314.7 41,480.5 115,130.8
ด้านรายได้ (Income) %yoy 3.3 -11.2 3.3 3.3 3.6 -5.4
ดัชนีรายได้เกษตรกร คัน 305,864.1 1,434 98.9 79.3 60.3 1,810
%yoy -2.4 13.4 394.1 750.1 562.3 3.0
ล้านบาท 4,592 41,314.7 22.9 11.2 -2.2 41,480.5
%yoy 2.2 3.3 916.5 1,425.3 1,078.4 3.6
%yoy 40,900.2 71.9 144.6 131.9 109.5 68.5
ลา้ นบาท 4.4 1,443.1 -17.9 15.4 68.2 2,005.4
%yoy 9.8 0.3 2,595.1 3,877.8 8,463.1 -0.4
ล้านบาท 7,182.7 2,853.3 -24.1 14.1 49.7 3,931.7
%yoy 9.5 130.3 947.0 1,350.5 2,349.6 124.2
%yoy 6,016.4 0.5 5.6 19.4 202.9 22.7
ลา้ นบาท 10.0 10,054.3 18,517.4
%yoy 33.0 -4.4 14.5
ล้านบาท 52,166.9 3,187.4 5,537.0
%yoy 37.3 20.1 61.5
11,677.3
16.5

%yoy -8.1 62.5 141.3 28.1 -12.2 40.2

กล่มุ งานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลงั จังหวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 9

เคร่ืองช้ีเศรษฐกจิ หนว่ ย ปี 2564 Q1 ก.พ. ปี 2565 เม.ย. YTD
66.8 147.4 มี.ค. -7.8 44.8
ดัชนผี ลผลิตภาคเกษตรกรรม %yoy -3.3 -2.6 -2.5 -4.8 -3.1
-5.0 37.4
ดชั นรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม %yoy -6.7 150,651.0 150,651.0
148,936.3 8.2 8.2
ดา้ นการเงนิ (Financal) 8.6
138,268.2 138,268.2
ปริมาณเงนิ ฝากรวม ล้านบาท 136,334.1 149,632.1 148,302.0 149,632.1 3.6 3.6
%yoy 4.4 8.2 7.3 8.2
104.2 104.0
ปริมาณสินเช่อื รวม ลา้ นบาท 101.0 137,715.8 137,221.6 137,715.8 3.4 3.9
%yoy 0.9 3.3 3.3 3.3 2.7 3.8
-0.7 4.0 4.1
ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Stability) 2.5
102.5 102.0
ดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภคทวั่ ไป 2562=100 100.6 103.9 104.1 104.2 1.8 1.4
0.3 4.1 4.6 4.4
(อตั ราเงินเฟ้อท่วั ไป) %yoy 4.1 5.1 4.0 114.0 110.5
102.3 4.1 4.1 4.8 12.8 10.6
- อาหารและเครอ่ื งดืม่ %yoy 4.7 584,344.0 584,344
101.8 102.2 102.4 4.3 4.3
- ไม่ใช่อาหารและเครื่องดม่ื %yoy 580,033 1.3 1.7 1.8
-0.7
ดัชนรี าคาผู้บรโิ ภคพ้นื ฐาน 2562=100 109.3 108.6 112.0
9.8 9.4 11.4
(อัตราเงินเฟ้อพ้ืนฐาน) %yoy 584,344
584,344 584,344 -5.8
ดชั นรี าคาผู้ผลิต 2558=100 -5.8 -5.8

(อตั ราการเปล่ยี นแปลง) %yoy

การจ้างงาน (Employment) คน
%yoy

หมายเหตุ : E/= ขอ้ มูลประมาณการ
1/ดัชนีผลผลติ ภาคบริการรายเดอื น ไม่รวมสาขาการศึกษา * = ไม่มีปรมิ าณผลผลติ
2/ สินเชอื่ เพอ่ื การลงทนุ คำนวณจาก (สนิ เชอื่ รวม * 30/100)

ตารางที่ 2 เคร่ืองชดี้ ้านการคลัง

เครือ่ งชี้ดา้ นการคลัง หน่วย ปี งปม. (FY) Q1/FY65 Q2/FY65 ปี งปม. (FY) เม.ย.65 YTD (FY)
พ.ศ. 2564 783.9 871.9 พ.ศ. 2565 287.6 1,943.3
รายไดจ้ ดั เก็บ ลา้ นบาท 8.8 12.2 ก.พ.65 ม.ี ค.65 23.3 12.3
สรรพากรพื้นท่เี ชียงราย %yoy 3,236.1 694.1 746.7 276.5 316.9 263.6 1,704.4
ลา้ นบาท 2.5 15.6 17.0 34.7 8.6 33.2 18.6
สรรพสามิตพ้ืนทเ่ี ชยี งราย %yoy 20.1 18.3 226.9 278.0 6.7 45.1
ลา้ นบาท 2,764.1 -18.7 -3.6 32.8 11.4 2.9 -10.2
ดา่ นศุลกากร %yoy 6.4 14.5 28.0 5.8 6.4 7.5 50.0
ลา้ นบาท 78.0 -53.9 -13.9 2.4 -0.2 0.2 -30.0
ธนารักษพ์ ืน้ ที่เชยี งราย %yoy 14.6 14.1 17.6 3.8 1.6 30.2
ล้านบาท -15.5 73.2 4.1 230.1 -60.1 73.5 32.3
หนว่ ยงานอืน่ %yoy 116.1 40.6 64.8 10.6 0.9 8.1 113.6
ลา้ นบาท -35.4 -26.7 -12.4 67.6 -36.2 -60.0 -24.1
รายไดน้ ำสง่ คลงั %yoy 37.6 347.8 353.2 15.4 27.8 121.3 822.3
รายจ่ายเงินงบประมาณ ลา้ นบาท 40.7 3.4 3.8 -9.1 11.6 27.3 6.5
รวม %yoy 240.3 118.9 128.4 7,678.6
ดุลเงนิ งบประมาณ ลา้ นบาท -7.5 3,448.1 3,152.1 27.2 -1.8 1,078.4 7.4
%yoy 1,301.6 2.0 17.7 916.5 1,425.3 60.3
ลา้ นบาท -4.9 98.9 79.3 -6,856.2
13,132.2 -3,100.3 -2,798.9 -957.1
15.6 -797.6 -1,296.8

-11,830.6

หมายเหตุ : ดลุ เงินงบประมาณ คำนวณจากรายได้นำสง่ คลัง หักรายจา่ ยเงนิ งบประมาณรวม

กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลังจังหวดั เชยี งราย โทรศพั ท์ 053-150176-7 E-mail : [email protected] 10


Click to View FlipBook Version