The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฟิสิกส์ และหน่วย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tongpoo2521, 2020-04-16 20:47:37

ฟิสิกส์

ฟิสิกส์ และหน่วย

Keywords: ฟิสิกส์ และหน่วย

คาํ อธิบายรายวชิ าฟิ สิกส์ 1

คขกเขแสออนาวยี รางงวดเมววตคทัตัตครลาถถศลง่ือนดุุกึาคกนวดษฎวทยเาาคกกแ่ีคธมลาาบวรสรรื่อารบเัมเมนมคคฮพเใชลลารนันาร่อืือ่ง กตธมคนนาขิรองททระอตนวี่แ่ขีหงวั ิกัดบอววอแแชิงบา ยนลรงาโงาปพะฟิวแงกตรรสงลมิาันเกิา จะรายสกผทกณ ไลฎดปทตขลแราลอิมอรง งงงาๆแดกใณนรึงาทกงดรว่เี ทาเกชิูดคยี่มยี่ารลภฟะวีตือ่ าขหอสนพอวสกิ ทแงาภสกงีแ่ลามกบับะพวากหบกลรานวาบรงแรวอเกเยลคคกละลลกตมแอ่ื ือ่าํารนรแแนงวทลหทัด่ีะน่ี ง
ตสวทิื่อรวยสจาาสศรสอโาดสงิ่บยทตใเ่ีเรพชร ยีกจอ่ื นรรใหะยิรบูเธกกรวดิารนรคมกตวาคดัารุณสมทนิรธาูใรงคจรววมิทกาแยมาลารเขศนะาคาาํ ใสคาจนตวคาริยมวมกราทาูไม่ีเรปหคสใดิมชืบาใคมะนนีคสชขวมีวาอติ มมปสูลราะกมจาาํารรวสถนั าํในรมวกีจจาิตร

ผลการเรียนรู้

๑. อธบิ ายเกย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องวิชาฟสกิ ส ปริมาณกายภาพและหนว ยในระบบเอสไอ
๒. อธิบายความสําคัญของการทดลอง การวดั ปริมาณกายภาพตา งๆ และการบันทกึ ผลการวัด
๓. อธบิ ายเกย่ี วกบั การเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง และปริมาณทีเ่ กยี่ วขอ ง
๔. อธิบายความสัมพนั ธร ะหวา งการกระจดั ความเร็วและความเรง ของการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ
ในแนวตรงทมี่ คี วามเรงคงตวั
๕. อธิบายแรงและหาแรงลพั ธข องแรงหลายแรง
๖. อธบิ ายกฎการเคลอ่ื นท่ขี องนวิ ตนั และใชก ฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตนั อธิบายการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ
๗. อธิบายกฎแรงดงึ ดดู ระหวางมวล
๘. อธิบายแรงเสยี ดทานระหวางผิวสมั ผสั ของวตั ถุคหู น่ึง
๙. วิเคราะหและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล
๑๐. วิเคราะหแ ละอธบิ ายการเคล่ือนที่แบบวงกลม
๑๑. วิเคราะหแ ละอธบิ ายการเคลอ่ื นทีแ่ บบฮารม อนกิ อยางงาย

สิ่งเหล่าน้ีเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร......ใครทาํ ใหเ้ กิด...

สิ่งดีดี

เทพเจ้าซสู

สิ่งไมดี

ชวั่ โมงน้ีเราจะมาหาคาํ ตอบกนั

วชิ าฟิ สกิ ส์ ปริมาณและหน่วยทางฟิ สกิ ส์

ส่ิงท่ตี อ งเตรยี ม
1.เตรียมตัว และเตรียมใจทจี่ ะเรยี นรูและรบั รไู ปพรอ มๆกัน
2.อุปกรณก ารเรยี นใหพ รอม สมุด ดินสอ ปากกา อื่นๆ

ผลการเรียนรู้

1.สืบคนขอ มลู วเิ คราะห และอธบิ าย เกีย่ วกบั วชิ าฟสิกส และ
ปรมิ าณทางกายภาพ ในหนว ยระบบระหวางชาติ ( SI unit )

1. ความหมายของวิทยาศาสตร
วทิ ยาศาสตร ( Science ) หมายถึง การศึกษา
หาความจริงเกี่ยวกับปรากฏการณธ รรมชาติรอบๆ ตัวเรา
ทั้งท่ีมชี วี ิตและไมม ชี วี ติ อยา งมีขนั้ ตอน และมีระเบยี บ
แบบแผนทางวิทยาศาสตร แบงออกไดดังน้ี

1.วิทยาศาสตรบรสิ ุทธ์ิ ( pure science ) หรอื วิทยาศาสตรธ รรมชาติ
( natural science ) เปนการศกึ ษาหาความจรงิ ใหมๆ เก่ยี วกบั ปรากฏการณ
ธรรมชาติ เพ่ือนาํ ไปสกู ฎเกณฑแ ละทฤษฎีตา งๆทางวทิ ยาศาสตร เชน กฎการ
เคล่อื นทีข่ องนิวตนั กฎของโอหม ทฤษฎีสมั พทั ธภาพของของไอนสไตน
ทฤษฎีคลนื่ แมเ หล็กไฟฟาของแมกซเวลล เปน ตน วทิ ยาศาสตรบริสุทธแิ์ บง
ออกเปน 2 สาขาคอื
•ก. วิทยาศาสตรกายภาพ ( physical science ) ศึกษาคนควา เกีย่ วกบั
สง่ิ ไมมีชวี ิต เชน ฟสิกส เคมี ดาราศาสตร ธรณีวทิ ยา เปนตน
•ข. วิทยาศาสตรชีวภาพ ( biological science ) ศกึ ษาคนควาเกีย่ วกับ
สง่ิ มชี วี ิต เชน พฤกษศาสตร สัตวศาสตร เปน ตน

2. วิทยาศาสตรประยุกต ( applied science ) เปนการนําความรูจาก
กฎเกณฑห รือทฤษฎีของวิทยาศาสตรบ ริสทุ ธิ์ มาประยกุ ตเ ปน หลกั การทาง
เทคโนโลยี เพอ่ื นาํ ไปใชใหเ กดิ ประโยชนแกส ังคม เชน วศิ วกรรมศาสตร
แพทยศาสตร สถาปต ยกรรมศาสตร เปน ตน

วทิ ยาศาสตร ( Science )

2. การคน ควาหาความรูทางวิทยาศาสตร

ความรูทางวทิ ยาศาสตรเ ปน การคนควาหาความจรงิ จาก
ปรากฎการณธ รรมชาติ ซ่งึ สามารถทาํ ได 3 แนวทางคอื

1. จากการสงั เกตปรากฏการณธรรมชาติ
2. จากการทดลองในหองปฏิบตั กิ าร
3. จากการสรา งแบบจาํ ลอง ( model ) ทางความคดิ

3. ฟส กิ ส

ไทหหรมพดอนรื้ดรนแืืบออุษลฐกทกตอยา นฎํัาเวงกปนเใาแรคนนารลาวกยวเะาปิทสากกมริ่ลงยาาแรท่ียารรูเส่ีอศนคหเวกาานแลงจ็สบปคาหเตขนกลวารอ้ีาิดงคแสมหทขวขาูลาา้าึนมนมมงคใากงนารวรหูาวใาอถหิยเนมนคนมภ่ึงรารําเูาทคาพไพศตปะาิ่มึแงกหแใเฟชลษลตเพอะสะิมา่ือธปิคธกิแบสรวสรลรราาาทมุปมะยกําพชปรฏผไูนาัดลฒรกต้ีสาเโานปิดกขารานมฎอยณคาทงกกตุณสราฤาาถิ่งรภรษงไนสณาๆฎมําังพธีมไเทหชรปกีชี่รเีลวตใีวกมิตชักิติดชขเกกปขาอซาาึ้นนตร่ึรงงิ

ความสําคญั ของการศึกษาทางดา นฟส ิกส คอื ขอ มลู ท่ีมผี ลตอ การเปลี่ยนแปลง
กฎและทฤษฎีทม่ี ีอยูเดมิ ขอมลู ทไี่ ดน แี้ บง ออกเปน 2 ประเภท คือ

•ขอ มูลเชงิ คุณภาพ ( qualitative data ) เปน ขอมูลทีไ่ มเปน ตวั เลข
ไดจ ากการสงั เกตตามขอบเขตของการรบั รู เชน รปู ราง ลกั ษณะ กลนิ่
สี รส เปนตน
•ขอ มูลเชงิ ปริมาณ ( quantitative data ) เปน ขอ มลู ทเ่ี ปน ตัวเลข
ไดจากการวัดปรมิ าณตางๆโดยใชเครือ่ งมอื วดั และวิธีการวดั ที่ถกู ตอง
เชน มวล ความยาว เวลา อุณหภมู ิ เปน ตน

ขอ มลู เชงิ ..................

ขอ มลู เชงิ ..............

4. เทคโนโลยี

เทคโนโลยี (technology) หมายถงึ วิทยาการทเี่ ก่ียวกบั ศิลปะในการสราง ผลติ
หรือใชอ ุปกรณต างๆ เพอ่ื อาํ นวยประโยชนต อ มนษุ ยโ ดยตรง หรือส่ิงตางๆ ท่ีมนษุ ยใช
สอยได

5. ปริมาณกายภาพ

ปรมิ าณกายภาพ ( physical quantity ) เปนปรมิ าณทาง
ฟสิกสท ่ีไดจากขอ มูลเชงิ ปรมิ าณ เชน มวล แรง ความยาว เวลา
อณุ หภูมิ เปนตน ปริมาณกายภาพแบงออกเปน 2 ชนดิ คือ

1. ปริมาณฐาน ( base unit ) เปนปรมิ าณหลกั ของระบบ
หนวยระหวา งชาติ มี 7 ปริมาณ

2. ปริมาณอนพุ ัทธ ( derived unit ) เปนปริมาณที่ไดจาก
ปริมาณฐานตงั้ แต 2 ปรมิ าณขน้ึ ไปมาสัมพนั ธก ัน

6. ระบบหนว ยระหวา งชาติ

ในสมัยกอ นหนวยทใ่ี ชส าํ หรับวัดปรมิ าณตางๆ มหี ลายระบบ
เชน ระบบอังกฤษ ระบบเมตรกิ และระบบของไทย ทําใหไมเปน
มาตรฐานเดยี วกนั ดังนั้นปจ จุบันหลายๆประเทศ รวมท้งั ประเทศไทย
ดว ยไดใชหนวยสากลที่เรยี กวา ระบบหนว ยระหวา งชาติ ( The
Internation System of Unit ) เรยี กยอ วา ระบบเอสไอ ( SI
Units ) ซ่งึ ประกอบดวยหนวยฐาน และหนวยอนพุ ทั ธ ดงั น้ี

1. หนวยฐาน ( base unit ) เปน ปริมาณหลักของระบบหนวยระหวางชาติ
มี 7 ปริมาณ ดงั นี้

ปริมาณฐาน ชอื่ หนวย สัญลักษณ

ความยาว เมตร m

มวล กิโลกรมั kg

เวลา วนิ าที s

กระแสไฟฟา แอมแปร A
อณุ หภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K

ปรมิ าณสาร โมล mol

ความเขมของการสองสวา ง แคนเดลา cd

2. หนว ยอนุพทั ธ ( derived unit ) เปนปริมาณทไ่ี ดจ ากปรมิ าณฐานตั้งแต
2 ปริมาณขนึ้ ไปมาสัมพันธก ัน ดังตัวอยา งตอไปนี้

ปริมาณอนพุ ทั ธ ช่อื หนวย สญั ลักษณ เทียบเปนหนวยฐาน
ความเรว็ เมตรตอวินาที m/s และอนุพัทธอ่นื
ความเรง เมตรตอ วินาที2 m /s2 1m/s
แรง N 1 m / s2
นวิ ตนั J
งาน พลังงาน จูล W 1 N = 1 kg. m /s2
กาํ ลงั วัตต Pa 1 J = 1 N.m
ความดนั พาสคาล Hz 1 W = 1 J /s
ความถี่ เฮิรตซ
1 Pa = 1 N / m2
1 Hz = 1 s – 1

7. การบันทึกปริมาณท่มี ีคามากหรอื นอย

ผลที่ไดจ ากการวัดปรมิ าณทางวทิ ยาศาสตร บางครงั้ มคี า มากกวา หรอื นอยกวา 1 มากๆ
ทําใหเกิดความยงุ ยากในการนาํ ไปใชง าน ดังน้นั การบนั ทกึ ปริมาณดงั กลาว เพอื่ ใหเ กดิ ความ
สะดวกในการนําไปใชส ามารถทาํ ได 2 วธิ ี คอื

1. เขียนใหอยูในรูปของจํานวนเตม็ หนึ่งตาํ แหนง ตามดวยเลขทศนยิ ม แลวคูณดว ย
เลขสิบยกกาํ ลงั บวกหรือลบ

2. เขียนโดยใชคํา “อุปสรรค ( prefix)”

คําอุปสรรค คอื คาํ ทีใ่ ชเ ติมหนา หนวย SI เพื่อทําใหห นว ย SI ใหญข้นึ หรือเลก็ ลง
ดงั แสดงในตาราง

คําอุปสรรค สัญลกั ษณ ตวั พหคุ ณู คําอุปสรรค สญั ลักษณ ตวั พหคุ ูณ
เทอรา T 10 12 พิโค P 10 -12
จิกะ G 10 9 นาโน n 10 - 9
เมกะ M 10 6 ไมโคร µ 10 – 6
กโิ ล k 10 3 มิลลิ m 10 – 3
เฮกโต h 10 2 เซนติ c 10 – 2
เดคา da 10 เดซิ d 10 - 1

ตัวอยา ง การเปลยี่ นปรมิ าณทม่ี ีคา มากหรอื นอยใหอ ยใู นรูป
สญั ญากรณว ทิ ยาศาสตร (เลขยกกาํ ลงั )

1. 360,000,000 เมตร = 360,000,000 เมตร
= 3.6x108 เมตร

2. 0.00038 กิโลกรัม = 0.00038 กโิ ลกรมั
= 3.8x10 – 4 กโิ ลกรัม

ตัวอยาง การเขียนปริมาณตอไปนี้ โดยใชคาํ อุปสรรค

1. ความยาว 12 กิโลเมตร ใหมหี นว ยเปน เมตร
12 กโิ ลเมตร = 12 x 10 3 เมตร
= 1.2 x 10 x 10 3 เมตร
= 1.2 x 10 4 เมตร

สูตรในการคาํ นวณ(การเปล่ียนคาํ อุปสรรค)

ตวั เลข x คาอุปสรรคเดมิ
คา อปุ สรรคใหม

เพ่มิ เติมความรู

- ทฤษฎี คือสมมตฐิ านทีไ่ ดพสิ จู นไ วแ ลว วา เปน จริงและมีความถูกตอ ง
ภายใตเงื่อนไขนน้ั
- กฎ คือทฤษฎีที่ใชไ ดแ ละเปนจริงเสมอ เชน กฎการสะทอ นแสง
กฎการเคล่อื นทีข่ องนิวตัน กฎของโอหม

กฎ (Law) เปน หลกั การอยา งหนึ่งซึง่ เปนขอความท่รี ะบุความสัมพันธ
กันระหวา ง เหตกุ บั ผล และอาจเขยี นในรปู สมการแทนได ผา นการทดสอบจน
เปนท่ีนา เชือ่ ถอื ไดม าแลว (กฎ มีความจรงิ ในตวั ของมนั เอง ไมม ีขอ โตแ ยง
สมารถทดสอบไดเหมอื นเดมิ ทุกประการ)

กฎอาจเกิดมาได 2 ทาง ดวยกัน
- จากการอุปมานขอ เทจ็ จรงิ โดยการรวบรวมจากขอ เท็จจริงหลายๆ
ขอเท็จจรงิ มาสรุปเปน มโนมติ หลกั การ
- จากการอนุมานทฤษฎี โดยการดงึ สวนยอยของทฤษฎมี าเปนกฎ เชน
กฎสัดสว นพหคู ณู แยกยอ ยมาจากทฤษฎอี ะตอม

ทฤษฎี (Theory) เปน ขอความท่นี กั วทิ ยาศาสตรส รา งข้ึน เปน
คําอธิบายหรอื ความคดิ ทไ่ี ดจ ากสมมติฐานที่ผานการตรวจสอบหลายๆ คร้ัง
และใชอา งอิงได หรือ ทํานายปรากฏการณทีค่ อนขางกวา ง สามารถใชอ ธิบาย
กฎ หลกั การและการคาดคะเนขอ เท็จจริงในเร่ืองทาํ นองเดยี วกนั ได

(ทฤษฎี เปนความคิดของนักวิทยาศาสตร อาจจะถกู หรือผดิ กไ็ ด ซึ่ง
มกี ารเปลีย่ นแปลงได เมอื่ ไดรบั ขอ เทจ็ จริงเพิม่ ข้ึนและนาเช่อื ถอื มากข้ึน)

ช่องทางการศึกษาเพิ่มเติม

https://anyflip.com/osoqd/bvtk/


Click to View FlipBook Version