The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 2217.sukanya, 2021-06-28 00:06:40

หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

หน่วยกำรเรียนรทู้ ี่ ๑ หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๓ ประวตั ศิ าสตร์
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒

กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๔ หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๕ หน่วยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๖

๑_หลกั สูตรวชิ าประวตั ิศาสตร์
๒_แผนการจดั การเรียนรู้
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย
๗_การวดั และประเมนิ ผล
๘_เสรมิ สาระ
๙_ส่ือเสรมิ การเรยี นรู้

บรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๒หนว่ ยการเรียนรู้ที่

พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. วเิ ครำะห์พฒั นำกำรของอำณำจกั รอยธุ ยำและธนบุรใี นด้ำนต่ำงๆ ได้
๒. วิเครำะหป์ ัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ ควำมม่นั คงและควำมเจรญิ รงุ่ เรืองของอำณำจักรอยธุ ยำได้
๓. ระบภุ มู ปิ ัญญำและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยำ และอทิ ธพิ ลของภูมปิ ัญญำดงั กลำ่ วตอ่ กำรพัฒนำชำตไิ ทยในยคุ ต่อมำได้

การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยา

ชุมชนไทยในล่มุ แม่น้าเจ้าพระยาตอนลา่ งกอ่ นการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา

แควน้ สพุ รรณภูมิ (สุพรรณบรุ ี)

• มอี ำณำบริเวณต้ังอยู่ทำงดำ้ นตะวนั ตกของลมุ่ แมน่ ำ้ เจำ้ พระยำ
ตอนลำ่ ง โดยมีลุ่มแมน่ ้ำท่ำจนี ไหลลงสอู่ ่ำวไทย

• มพี ฒั นำกำรสบื เนอ่ื งมำเป็นเวลำหลำยรอ้ ยปี และเคยเป็นที่ต้ังชมุ ชน
โบรำณหลำยแห่ง เชน่ เมืองอทู่ อง

• มหี ลกั ฐำนทแี่ สดงให้เหน็ ถงึ กำรนับถือพระพทุ ธศำสนำนิกำยเถรวำท
ลัทธลิ ังกำวงศ์ และพระพทุ ธศำสนำนิกำยมหำยำน เชน่ พระปรำงค์
ท่วี ัดมหำธำตุ

ชมุ ชนไทยในลุ่มแม่นา้ เจ้าพระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา (ตอ่ )

แควน้ ละโว้ (ลพบรุ ี)

• ไดร้ บั อิทธพิ ลของทวำรวดี มคี วำมเจริญรงุ่ เรอื งทำงวัฒนธรรม
โดยเฉพำะอย่ำงยง่ิ วัฒนธรรมกำรนบั ถอื พระพทุ ธศำสนำท่รี ุ่งเรือง
มำกทส่ี ุด

• มกี ำรรบั วฒั นธรรมขอม ซ่ึงในภำยหลงั มีกำรยอมรับนบั ถอื ศำสนำ
พรำหมณ-์ ฮินดู และนบั ถือพระพุทธศำสนำนกิ ำยมหำยำน

• เมอื่ อำณำจกั รขอมเสอ่ื มลง ไดต้ ้ังตัวเป็นอสิ ระ หลงั จำกขอมเสอื่ ม
อิทธิพลลง และตอ่ มำได้ถกู ลดควำมสำคญั ลง ทำใหอ้ โยธยำขึ้นมำ
มอี ำนำจแทน

การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา

• อำณำจกั รอยุธยำเกิดขึน้ จำกกำรร่วมมือกันของแคว้นสพุ รรณภูมิ (สุพรรณบรุ )ี และแคว้นละโว้
(ลพบรุ ี) ซง่ึ ทงั้ สองแควน้ เปน็ ศูนย์รวมอำนำจทำงกำรเมอื งในบริเวณภำคกลำงของประเทศไทย
ในปจั จบุ นั

• กำรสถำปนำกรงุ ศรีอยธุ ยำเป็นรำชธำนีใน พ.ศ. ๑๘๙๓ ของสมเดจ็ พระรำมำธบิ ดที ี่ ๑ (อทู่ อง)
ปรำกฏหลกั ฐำนว่ำกรุงศรอี ยธุ ยำตง้ั ขนึ้ ในเมอื งเกำ่ เดมิ ท่ีมีชอื่ ว่ำ อโยธยา ซ่ึงมีมำก่อน และเป็น
เมืองที่ตง้ั อยรู่ ะหวำ่ งเมืองสุพรรณบุรกี ับเมอื งลพบรุ ี

ประวัติความเป็นมาของพระเจา้ อู่ทอง

ขอ้ สนั นษิ ฐานจากการบอกท่มี าของพระเจา้ อ่ทู องแตกต่างกัน

สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ พระราชนิพนธ์ใน พงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ฉบบั ฟาน ฟลีต หรือวัน วลิต

• พระเจ้ำอทู่ องสบื เช้อื สำยมำจำกพระเจำ้ • พระเจำ้ อทู่ องเป็นรำชบตุ รเขยของพระ • พระเจ้ำอทู่ องเปน็ พระรำชโอรสของพระ
ชัยศริ ทิ ่ีเคยครองเมืองฝำง (ปจั จบุ นั อยู่ เจ้ำแผน่ ดนิ จนี แล้วถูกเนรเทศมำอยทู่ ่ี
เจำ้ ศริ ิชยั เชยี งแสน ปตั ตำนี และเดนิ ทำงผ่ำนมำทำงเมือง
ในเขต จ.เชยี งใหม)่ ละคร(นครศรธี รรมรำช) กยุ บุรี (ใน จ.
• ตอ่ มำไดร้ บั รำชสมบตั ิครองรำชยอ์ ยู่ ๖ ปี ประจวบฯ) และมำสรำ้ งเมอื งพรบิ พรี
• มีกำรเช้ือสำยสืบรำชสมบตั ติ ่อมำหลำย (เพชรบรุ )ี ภำยหลงั จงึ ไดม้ ำสรำ้ งเมอื ง
ได้เกิดโรคหำ่ (อหิวำตกโรค) จงึ ทรงย้ำย อยธุ ยำ
รนุ่ จึงได้เกิดพระเจำ้ อู่ทอง
รำชธำนีมำต้งั ที่เมืองศรอี ยธุ ยำ

ปจั จัยสาคัญในการสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานี

๑ ความสัมพันธ์ฉันเครือญาติระหว่างแควน้ สพุ รรณภูมิกบั แควน้ ละโว้
๒ ทาเลท่ีตงั้ ของกรงุ ศรีอยุธยาเป็นท่ีทีเ่ หมาะสม
๓ กรุงศรีอยุธยาอย่ใู กลป้ ากแม่นา้ ตดิ ทะเล มีความสะดวกในการคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ
๔ การเส่ือมอานาจลงของอาณาจักรเขมร จึงไดส้ ถาปนากรุงศรีอยธุ ยาเป็นศนู ย์กลางอาณาจกั รใหม่

ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ ความเจรญิ รุ่งเรืองของอาณาจักรอยธุ ยา

ปัจจยั สาคญั ทเ่ี อ้อื อานวยตอ่ พัฒนาการต่างๆ ของอาณาจกั รอยธุ ยา มดี ังนี้

แหล่งอารยธรรมดั้งเดมิ ได้รบั อำรยธรรมเดมิ ก่อนมีกำรตัง้ อำณำจักร มำปรับใช้เข้ำกับอำรยธรรมใหมท่ ่ีอยธุ ยำ
สภาพภมู ิประเทศ สรำ้ งข้นึ มำ
สภาพภูมิอากาศ
กรงุ ศรอี ยธุ ยำต้ังอย่บู รเิ วณทร่ี ำบล่มุ มีแม่น้ำไหลผ่ำน จงึ เหมำะแกก่ ำรเพำะปลกู และกำร
คำ้ ขำย

อำณำจักรอยุธยำตัง้ อยู่ในเขตร้อนชน้ื มีลมมรสุมพัดผำ่ น ทำให้มีฝนตกชกุ สง่ ผลใหม้ ีแหลง่
นำ้ อดุ มสมบูรณ์

การต้งั อยู่กึ่งกลางเส้นทางเดินเรอื อำณำจักรอยุธยำไดป้ ระโยชน์ จำกกำรคำ้ ขำยและรับอำรยธรรมจำกจนี และอินเดยี
ระหวา่ งอนิ เดียกับจีน

ทรพั ยากรธรรมชาติ อยุธยำมที รัพยำกรธรรมชำตอิ ดุ มสมบูรณ์ เช่น ผักผลไม้ ปลำนำ้ จดื และปลำทะเล แร่ธำตุ
ไม้หำยำก ซ่ึงเป็นที่ตอ้ งกำรของพอ่ ค้ำตำ่ งชำติ

พระปรชี าสามารถของพระมหากษัตริย์ เพรำะพระปรชี ำสำมำรถของพระมหำกษัตริยห์ ลำยพระองค์ ทท่ี ำให้อยุธยำรอดพ้นจำก
ภัยคกุ คำมจำกภำยนอกได้

พฒั นาการทางประวัติศาสตรข์ องอาณาจักรอยธุ ยา

พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครอง

พัฒนาการทางด้านการเมอื งการปกครองของไทยสมยั อยธุ ยา มพี ระมหากษตั ริยป์ กครองราชอาณาจกั รทั้งหมด ๓๓ พระองค์
ใน ๕ ราชวงศ์

รายพระนาม ราชวงศ์ ปที ่คี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี)

๑.สมเด็จพระรำมำธิบดที ่ี ๑ (อู่ทอง) อ่ทู อง พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒ ๑๙

๒.สมเด็จพระรำเมศวร อูท่ อง พ.ศ.๑๙๑๒ - ๑๙๑๓ ๑

๓.สมเดจ็ พระบรมรำชำธิรำชท่ี 1 (ขุนหลวงพงว่ั ) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๑๙๑๓ - ๑๙๓๑ ๑๘

๔.สมเด็จพระเจำ้ ทองลนั สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๑ ๗ วนั

สมเด็จพระรำเมศวร (ครง้ั ท่ี ๒) อู่ทอง พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๘ ๘

๕.สมเด็จพระรำมรำชำธริ ำช อทู่ อง พ.ศ.๑๙๓๘ - ๑๙๕๒ ๑๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปีที่ครองราชย์ รวมระยะเวลา (ป)ี
๖.สมเดจ็ พระอินทรำชำ (เจ้ำนครอินทร)์ สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๑๙๕๒ - ๑๙๖๗
๗.สมเดจ็ พระบรมรำชำธิรำชท่ี ๒ (เจำ้ สำมพระยำ) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๖๗ - ๑๙๙๑ ๑๖
๘.สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑ ๒๔
๙.สมเดจ็ พระบรมรำชำธริ ำชที่ ๓ สุพรรณภูมิ พ.ศ.๒๐๓๑ - ๒๐๓๔ ๔๐
๑๐.สมเด็จพระรำมำธบิ ดที ่ี ๒ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๓๔ - ๒๐๗๒ ๓
๑๑.สมเดจ็ พระบรมรำชำธิรำชท่ี ๔ (หน่อพุทธำงกูร) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๒ - ๒๐๗๖ ๓๘
๑๒.พระรษั ฎำธริ ำช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๖ - ๒๐๗๗ ๔
๑๓.สมเดจ็ พระชัยรำชำธิรำช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๗ - ๒๐๘๙ ๕ เดอื น
๑๔.พระยอดฟำ้ (พระแกว้ ฟ้ำ) สุพรรณภมู ิ พ.ศ. ๒๐๘๙ - ๒๐๙๑ ๑๒
ขนุ วรวงศำธริ ำช ๒
- - -

รายพระนาม ราชวงศ์ ปที ่คี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี)
๑๕.สมเดจ็ พระมหำจักรพรรดิ สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๑
๑๖.สมเด็จพระมหินทรำธิรำช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๒๑๑๑ - ๒๑๑๒ ๒๐
๑๗.สมเดจ็ พระมหำธรรมรำชำธริ ำช พ.ศ.๒๑๑๒ - ๒๑๓๓ ๑
๑๘.สมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช สุโขทัย พ.ศ.๒๑๓๓ - ๒๑๔๘ ๒๑
๑๙.สมเด็จพระเอกำทศรถ สุโขทัย พ.ศ.๒๑๔๘ - ๒๑๕๓ ๑๕
๒๐.พระศรีเสำวภำคย์ สุโขทัย พ.ศ.๒๑๕๓ - ๒๑๕๔ ๕
๒๑.สมเด็จพระเจำ้ ทรงธรรม สโุ ขทัย พ.ศ.๒๑๕๔ - ๒๑๗๑ ๑ ปเี ศษ
๒๒.สมเดจ็ พระเชษฐำธิรำช สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๑ - ๒๑๗๒ ๑๘
๒๓.พระอำทติ ยวงศ์ สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๗๒ ๘ เดือน
๒๔.สมเดจ็ พระเจำ้ ปรำสำททอง สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๙๙ ๓๘ วัน
ปรำสำททอง ๒๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปีที่ครองราชย์ รวมระยะเวลา (ป)ี
๒๕.สมเดจ็ เจ้ำฟำ้ ชัย ปรำสำททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙
๒๖.สมเด็จพระศรสี ธุ รรมรำชำ ปรำสำททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙ ๓-๕ วัน
๒๗.สมเด็จพระนำรำยณม์ หำรำช ปรำสำททอง พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ ๒ เดือน
๒๘.สมเดจ็ พระเพทรำชำ บ้ำนพลูหลวง พ.ศ.๒๒๓๑ - ๒๒๔๖
๒๙.สมเดจ็ พระสรรเพ็ชญท์ ี่ ๘ (พระเจำ้ เสอื ) บ้ำนพลูหลวง พ.ศ.๒๒๔๖ - ๒๒๕๑ ๓๒
๓๐.สมเด็จพระสรรเพช็ ญ์ท่ี ๙ (พระเจ้ำอยหู่ วั ทำ้ ยสระ) บ้ำนพลหู ลวง พ.ศ.๒๒๕๑ - ๒๒๗๕ ๑๔
บำ้ นพลหู ลวง พ.ศ.๒๒๗๕ - ๒๓๐๑ ๖
๓๑.สมเด็จพระบรมรำชำธิรำชที่ ๓ (พระเจำ้ อยหู่ ัวบรมโกศ) บ้ำนพลูหลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๐๑ ๒๓
บ้ำนพลหู ลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๑๐ ๒๖
๓๒.สมเดจ็ พระเจำ้ อทุ มุ พร (ขนุ หลวงหำวดั ) ๒ เดอื น

๓๓.สมเด็จพระท่นี ั่งสรุ ิยำมรนิ ทร์ (พระเจ้ำเอกทัศ)

ลักษณะการเมืองการปกครองสมยั อยธุ ยา

๑ พระมหากษตั ริย์ทรงมีพระราชอานาจสูงสดุ ในการปกครอง ทรงเปน็ พระประมขุ ของอาณาจักร

๒ ทรงเป็นสมมตเิ ทพตามความเช่ือในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และเป็นธรรมราชาตามคติความเชือ่ ใน
พระพทุ ธศาสนาดว้ ย

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนต้น น

การบรหิ ารราชการแผ่นดินสว่ นกลาง

• กรงุ ศรอี ยธุ ยำเปน็ รำชธำนี และเป็นศนู ยก์ ลำงของกำรกำรปกครอง
• มีเมอื งหน้ำดำ่ น ๔ ทศิ เพอื่ ปอ้ งกันภยั ยำมข้ำศกึ รกุ รำน

ลพบรุ ี

สพุ รรณบรุ ี อยุธยา นครนายก

พระประแดง

การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ส่วนกลาง

• ในเขตรำชธำนที ี่กรุงศรอี ยธุ ยำ มเี สนำบดี ๔ ตำแหน่ง เรยี กว่ำ จตุสดมภ์
• จตสุ ดมภ์รบั ผดิ ชอบดแู ลกำรบรหิ ำรรำชกำรแผ่นดนิ ตำมพระบรมรำชโองกำรของพระมหำกษตั รยิ ์
• จตุสดมภ์ แบ่งออกเป็น ๔ หน่วยงำน ดังนี้

จตุสดมภ์

กรมเวียง (เมอื ง) กรมวัง กรมคลงั กรมนา

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ สว่ นหัวเมือง

ราชธานี หัวเมอื งชั้นใน

หวั เมอื งประเทศรำช • อยไู่ มไ่ กลจำกรำชธำนี
• ทำงรำชธำนีจะแตง่ ตงั้ “ผูร้ ั้ง” ไปปกครอง
• เช่น เมอื งรำชบุรี สงิ ห์บรุ ี ชัยนำท

หัวเมอื งชั้นนอก (เมอื งพระยามหานคร)

• อยหู่ ำ่ งไกลจำกรำชธำนี
• มเี จ้ำเมืองที่สืบทอดทำงสำยเลือดเป็นผ้ปู กครอง

หัวเมืองประเทศราช

• มีกำรปกครองเป็นอิสระแก่ตนเอง
• ตอ้ งส่งเครือ่ งรำชบรรณำกำรไปถวำยพระมหำกษตั ริยอ์ ยธุ ยำ
• เมืองนครศรีธรรมรำช เมอื งสุโขทัย

รปู แบบการปกครอง สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ

การบริหารราชการแผน่ ดินส่วนกลาง
พระมหากษตั ริย์

สมหุ พระกลาโหม ดแู ลกจิ กำรฝ่ำยทหำรทั่วรำชอำณำจักร

สมุหนายก ดูแลฝำ่ ยพลเรอื นท่ัวรำชอำณำจกั ร รวมทัง้ ดแู ลจตุสดมภ์

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบรหิ ารราชการแผน่ ดินส่วนหัวเมอื ง

ราชธานี หวั เมืองชน้ั ใน

หวั เมอื งประเทศรำช • ยกเลกิ เมืองลกู หลวงทง้ั ๔ ทศิ
• ขยำยขอบเขตโดยให้เมืองลูกหลวงเขำ้ กับเมอื งในวงรำชธำนี เปน็ เมอื งชั้นจัตวำ
• มีผ้รู ั้งกับกรมกำรเมืองปกครอง

หวั เมอื งชนั้ นอก (เมืองพระยามหานคร)

• มกี ำรจดั เมืองเป็นช้ันเอก ชน้ั โท ชัน้ ตรี
• มขี ุนนำงชั้นสูงเปน็ ผู้สำเรจ็ รำชกำรเมอื ง

หัวเมอื งประเทศราช

• ลักษณะกำรปกครองยังคงเป็นแบบเดียวกบั สมัยอยธุ ยำตอนต้น
• เชน่ เมอื งทวำย ตะนำวศรี เชยี งกรำน เขมร

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนปลาย

พระมหากษตั รยิ ์

สมหุ นายก สมุหพระกลาโหม

หัวเมืองฝ่ำยเหนอื หวั เมืองฝา่ ยใต้
(ทหำร - พลเรอื น) (ทหาร - พลเรือน)
กรมสังกดั ฝ่ำยทหำร
กรมนครบำล
กรมวงั กำรคลัง
กรมคลงั หัวเมืองชำยทะเลตะวันออก (ทหำร - พลเรือน)
กรมนำ

พฒั นาการด้านเศรษฐกจิ
ปัจจยั ทสี่ ง่ เสริมความเจริญทางเศรษฐกิจในสมัยอยุธยา

๑ ทาเลและทีต่ ง้ั ของกรุงศรีอยุธยาและหวั เมืองตา่ งๆ ใกลเ้ คยี ง ซึ่งเหมำะแก่กำรเพำะปลกู โดยเฉพำะกำร
ปลกู ข้ำว

๒ การอยู่ใกล้อา่ วไทย ทำใหพ้ ่อค้ำต่ำงชำตติ ิดต่อค้ำขำยกบั อยธุ ยำไดส้ ะดวก

๓ พระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย์ ที่ชว่ ยดึงดดู ให้พอ่ คำ้ ชำวต่ำงชำติเขำ้ มำค้ำขำยกับอยธุ ยำ

ลักษณะทางเศรษฐกจิ ในสมยั อยุธยา

เกษตรกรรม • ผลิตผลทำงกำรเกษตรทส่ี ำคญั คอื ข้ำว นอกจำกนี้ยังมีผลติ ผลจำก
ป่ำ เช่น ไมฝ้ ำง นอแรด งำชำ้ ง ครง่ั หนงั สตั ว์ ยำงสน ไม้กฤษณำ
เปน็ ตน้

การค้าขาย • เป็นกำรค้ำขำยโดยกำรใช้เรอื สำเภำ ซ่ึงดำเนนิ กำรโดยพระมหำกษตั รยิ ์
กบั ตา่ งประเทศ พระรำชวงศ์ ขุนนำง และพอ่ ค้ำจนี นอกจำกนย้ี ังตดิ ต่อคำ้ ขำยกบั
ชำวตะวนั ตกอีกด้วย ได้แก่ โปรตเุ กส ฮอลันดำ อังกฤษ และฝรั่งเศส

การแสวงหารายได้ของแผน่ ดนิ ดว้ ยการเก็บภาษอี ากร

๑ จงั กอบ • รำยได้ทีเ่ ก็บตำมดำ่ นขนอนท้งั ทำงบกและทำงนำ้ โดยเกบ็ ชกั สว่ นสินคำ้

๒ อากร • รำยไดท้ ี่เกดิ จำกกำรเกบ็ สว่ นผลประโยชน์ในกำรประกอบอำชีพต่ำงๆ ของ
รำษฎร เชน่ กำรทำนำ ทำไร่ ทำสวน เปน็ ต้น

๓ สว่ ย • รำยไดจ้ ำกสงิ่ ของ ท่ีรำษฎรนำมำให้กับทำงรำชกำรแทนกำรถกู เกณฑ์
แรงงำน เชน่ สว่ ยดีบุก

๔ ฤชา • รำยได้ทีไ่ ดจ้ ำกค่ำธรรมเนยี มท่ีทำงรำชกำรเก็บจำกรำษฎร

พัฒนาการดา้ นสังคม

ความเป็นมาของสงั คมศักดินาสมยั อยุธยา

ความหมายของศกั ดินา

• ศักดินา หมำยถึง เครื่องกำหนดสทิ ธิและหนำ้ ทข่ี องบคุ คลในสังคม เพอ่ื จำแนกให้เห็นถงึ ควำมแตกตำ่ งในเรอื่ งสิทธิและหน้ำท่ี
ของบุคคลตำมศักดนิ ำ เช่น ผมู้ ศี ักดนิ ำ ๔๐๐ ขึ้นไปมีสทิ ธเิ ข้ำเฝ้ำได้ แตต่ ่ำกวำ่ ๔๐๐ ไมม่ ีสทิ ธิเขำ้ เฝำ้

ประโยชนข์ องศักดินา

• กฎหมำยศักดนิ ำ บังคบั ใชเ้ มอ่ื พ.ศ. ๑๙๙๗ โดยกำหนดให้บคุ คลทุกประเภทในสังคมไทย มีศักดนิ ำดว้ ยกันท้ังสิ้นแตกตำ่ งกนั
ไปตำมฐำนะอำนำจและหน้ำท่ีควำมรับผิดชอบ ยกเว้นพระมหำกษตั รยิ ซ์ ่ึงมิได้ระบศุ กั ดนิ ำเพรำะพระองค์ทรงเปน็ เจำ้ ของศกั ดิ
นำทั้งปวง

• ระบบศักดนิ ำมปี ระโยชนใ์ นกำรควบคมุ บงั คับบัญชำผ้คู นตำมลำดับชน้ั และมอบหมำยใหค้ นมีหน้ำท่ีรับผิดชอบตำมที่กำหนด
เอำไว้ และเม่ือบุคคลทำผดิ ตอ่ กนั กส็ ำมำรถใชเ้ ป็นหลักในกำรปรับไหมได้ เช่น ถำ้ ผมู้ ศี ักดินำสงู ทำควำมผิดต่อผมู้ ีศักดินำตำ่ กว่ำ
ก็จะปรับไหมตำมศักดินำของผู้มศี กั ดนิ ำสงู กว่ำถำ้ ผู้มศี ักดินำตำ่ กว่ำทำผิดตอ่ ผมู้ ีศักดินำสงู กว่ำก็ปรับไหมผู้ท่ที ำผดิ ตำมศกั ดินำ
ของผูท้ ีม่ ศี ักดินำสูงกว่ำ

ลกั ษณะโครงสรา้ งสงั คมไทยสมยั อยุธยา พระมหากษตั รยิ ์

พระภิกษุสงฆ์ พระประมขุ ของรำชอำณำจกั ร ทรงไดร้ ับกำรยกยอ่ งให้เป็นสมมตเิ ทพ
และทรงเป็นธรรมรำชำ
ทำหน้ำท่ใี นกำรสืบทอดพระพุทธศำสนำ ได้รับกำรยกยอ่ ง
และศรทั ธำจำกบคุ คลทุกชนช้ัน พระบรมวงศานุวงศ์

เครือญำตขิ องพระมหำกษตั ริย์ มีศักดนิ ำแตกต่ำงกันไปตำมฐำนะ

ขนุ นาง

บคุ คลทรี่ บั รำชกำรแผน่ ดิน
มีท้ังศกั ดินำ ยศ รำชทนิ นำม และตำแหนง่

ไพร่

รำษฎรทีถ่ กู เกณฑ์แรงงำนให้กับทำงรำชกำร
ต้องสังกัดมลู นำย

ทาส

บุคคลท่ีไม่มกี รรมสิทธใิ์ นแรงงำน
และชวี ิตของตนเอง ต้องตกเปน็ ของนำยจนกว่ำจะได้ไถ่ตัว

พัฒนาการด้านความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ ....กบั รัฐท่ีอยู่ใกล้เคียง

ความสมั พันธ์กบั สโุ ขทยั

• มีทัง้ กำรใชน้ โยบำยกำรสร้ำงไมตรี กำรเผชิญหนำ้ ทำงทหำร และนโยบำยกำรสรำ้ งควำมสมั พนั ธ์ทำงเครอื ญำติ
• อยุธยำใช้กำรเผชิญหนำ้ ทำงทหำรกับสุโขทัยมำต้ังแต่สมัยสมเด็จพระรำมำธิบดีท่ี ๑ (อูท่ อง) และสมัยสมเดจ็ พระบรม

รำชำธริ ำชท่ี ๑ (ขุนหลวงพงวั่ )
• สมัยสมเดจ็ พระอินทรำชำ (เจำ้ นครอินทร)์ ทรงแก้ไขปัญหำจลำจลทสี่ โุ ขทัย ทำใหส้ โุ ขทยั กลับมำอยใู่ ต้อำนำจของ

อยธุ ยำ และทรงสรำ้ งควำมสัมพนั ธท์ ำงเครอื ญำติโดยใหพ้ ระรำชโอรส คือ เจำ้ สำมพระยำอภเิ ษกกับเจำ้ หญิงเช้ือสำย
รำชวงศพ์ ระรว่ ง
• สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถทรงผนวกรวมสุโขทยั เข้ำเป็นส่วนหนึง่ ของอยธุ ยำ

ความสมั พันธ์กบั ล้านนา

• เป็นกำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร ในสมยั สมเดจ็ พระบรมรำชำธริ ำชท่ี ๑ (ขนุ หลวงพง่ัว) เปน็ ตน้ มำ อยธุ ยำไดร้ บกบั ล้ำนนำ
แตไ่ ม่ประสบควำมสำเรจ็

• สมยั สมเดจ็ พระชัยรำชำธริ ำช อยธุ ยำไดย้ ึดลำ้ นนำเปน็ เมอื งประเทศรำช แต่สุดท้ำยกต็ อ้ งเปน็ เมอื งประเทศรำชของพม่ำ
• สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช อยธุ ยำไดล้ ำ้ นนำกลับมำเป็นเมืองประเทศรำช
• หลงั จำกสมยั สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชเปน็ ต้นไป ล้ำนนำก็เรม่ิ แยกตัวเป็นอิสระบ้ำง เปน็ ประเทศรำชของพมำ่ บ้ำง

ของอยธุ ยำบำ้ ง

ความสมั พันธ์กับพม่า

• สว่ นใหญ่เปน็ กำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร โดยเร่มิ ต้นในสมัยสมเดจ็ พระชยั รำชำธริ ำช อยธุ ยำไดช้ ่วยเมอื งเชยี งกรำนของ
มอญท่ีข้นึ กบั อยุธยำรบกบั พมำ่

• สมัยสมเด็จพระมหำธรรมรำชำธริ ำช พระนเรศวรทรงประกำศอิสรภำพท่ีเมืองแครง
• สมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำชทรงทำสงครำมยุทธหตั ถีกับพระมหำอุปรำชำของพม่ำ หลงั สมัยนี้ไปอยธุ ยำวำ่ งเวน้

สงครำมกบั พม่ำจนกระทัง่ เสียกรงุ ศรอี ยธุ ยำใน พ.ศ. ๒๓๑๐

ความสมั พนั ธ์กับหวั เมอื งมอญ

• มที ั้งกำรค้ำ กำรผูกสมั พันธไมตรี และกำรเมอื ง
• เมือ่ อยธุ ยำมคี วำมเจรญิ รุ่งเรอื งทำงกำรค้ำ ผูน้ ำอยุธยำได้ขยำยอำนำจเข้ำครอบครองเมืองท่ำของมอญแถบชำยฝง่ั ทะเล

อนั ดำมันเพือ่ ผลประโยชน์ทำงกำรค้ำ
• นอกจำกน้ี อยุธยำยังใหท้ ่ีพ่ึงพิงแก่ชำวมอญท่ีอพยพหนีภยั สงครำมจำกพม่ำดว้ ยเพอื่ อำศยั มอญเป็นด่ำนหนำ้ ปะทะกับ

พมำ่ ก่อนจะยกทพั มำถึงอยุธยำ

ความสัมพนั ธ์กับหัวเมอื งมลายู

• ลกั ษณะควำมสมั พันธ์มที ้ังกำรคำ้ กำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร และกำรผกู สมั พันธไมตรี
• สมยั อยธุ ยำตอนตน้ อยุธยำส่งกองทัพไปรบกบั มะละกำซึ่งเปน็ ศูนยก์ ลำงกำรค้ำสำคัญบรเิ วณคำบสมุทรมลำยู นอกจำกได้

มะละกำเปน็ เมอื งขึน้ แลว้ ยังไดห้ วั เมอื งรำยทำงด้วย เชน่ ปตั ตำนี ไทรบรุ ี ซึ่งอยธุ ยำควบคุมหัวเมืองมลำยูผ่ำนทำงเมือง
นครศรีธรรมรำช นอกจำกจะไดผ้ ลประโยชน์ทำงเครื่องรำชบรรณำกำรแล้วยังได้ผลประโยชนท์ ำงกำรค้ำขำยอีกดว้ ย

ความสัมพนั ธ์กับล้านช้าง

• สว่ นใหญเ่ ปน็ กำรผูกสมั พนั ธไมตรี
• สมยั สมเดจ็ พระรำมำธบิ ดที ่ี ๑ (อทู่ อง) ไทยมีควำมสัมพันธ์อันดีกับพระเจ้ำฟ้ำงุ้มแหง่ ลำ้ นช้ำง
• สมยั สมเด็จพระมหำจักรพรรดิ ไทยกับลำ้ นชำ้ งมีควำมสนิทแนบแนน่ มำกข้ึน เมอื่ พระเจ้ำไชยเชษฐำธริ ำชแหง่ ลำ้ นชำ้ ง

แต่งตั้งทตู มำกรำบทลู ขอพระเทพกษตั รีไปเปน็ พระอคั รมเหสี แต่ถกู พระเจำ้ บเุ รงนองส่งทหำรมำชิงตัวไปเสยี ก่อน
จนกระท่งั เสยี กรุงศรีอยุธยำครง้ั ที่ ๑ ทำใหค้ วำมสมั พนั ธ์ลดน้อยลงไป

ความสัมพนั ธ์กับญวน

• ควำมสมั พันธ์สว่ นใหญ่เกดิ ในสมยั อยุธยำตอนปลำยโดยลักษณะควำมสัมพนั ธจ์ ะเป็นกำรเผชญิ หนำ้ ทำงทหำร เพ่ือแยง่ ชงิ
ควำมเป็นใหญ่เหนือเขมร

• สมัยสมเดจ็ พระเจำ้ อย่หู ัวทำ้ ยสระ เกิดเหตุกำรณ์แตกแยกภำยในรำชวงศ์เขมรระหวำ่ งพระธรรมรำชำกบั นักแกว้ ฟ้ำจอก
จนถงึ ขัน้ ทำสงครำมกัน อยธุ ยำและญวนต่ำงสนบั สนนุ แตล่ ะฝ่ำย ควำมขดั แยง้ ภำยในทำใหไ้ ทยกับญวนต้องทำสงครำม
กัน ในที่สุดอยุธยำชนะและไดเ้ ขมรมำอยใู่ ตอ้ ำนำจ ไมน่ ำนญวนก็เขำ้ ไปมีอทิ ธิพลเหนอื เขมรอกี อยุธยำจึงต้องยกทัพไปตี
เขมรกลับมำ

ความสมั พันธก์ ับเขมร

• มที ั้งกำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร กำรเมอื ง และวัฒนธรรม
• สมัยสมเดจ็ พระรำมำธิบดีท่ี ๑ (อูท่ อง) โปรดให้พระรำเมศวรและขุนหลวงพงัว่ ยกทัพไปตีเขมร ทำให้อยุธยำได้รบั

อทิ ธพิ ลวัฒนธรรมเขมรดว้ ย
• สมยั สมเดจ็ พระบรมรำชำธริ ำชที่ ๑ (ขนุ หลวงพงัว่ ) ยกทัพไปตีเขมร
• สมัยสมเด็จพระบรมรำชำธริ ำชที่ ๒ (เจำ้ สำมพระยำ) ยดึ รำชธำนเี ขมรทน่ี ครธมและทรงแต่งตั้งพระนครอินทร์ พระรำช

โอรสไปปกครองเขมร ต่อมำถูกเขมรลอบปลงพระชนม์
• สมยั สมเดจ็ พระมหำจักรพรรดิ เขมรไดถ้ ือโอกำสท่ีไทยติดพนั สงครำมกบั พม่ำ ยกทัพมำตีไทย
• สมัยสมเดจ็ พระนเรศมหำรำชทรงยกทัพไปตเี มืองละแวก รำชธำนีเขมรขณะนัน้ ได้ และหลังจำกสมยั น้ี เขมรเร่ิมตั้งตัว

เป็นอิสระ และในตอนปลำยสมยั อยธุ ยำ เขมรไดอ้ ่อนน้อมตอ่ อยุธยำบ้ำง ญวนบ้ำง จนกระทงั่ เสยี กรงุ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐
เขมรจึงเปน็ อสิ ระ

พัฒนาการด้านความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ ....กบั ดินแดนอนื่ ๆ ในทวปี เอเชีย

ความสมั พนั ธ์กบั จีน

• เป็นแบบรฐั บรรณำกำร ซึ่งมคี วำมเกย่ี วขอ้ งกบั กำรเมืองและกำรคำ้
• ในสมยั อยุธยำ พระมหำกษตั ริย์ทที่ รงข้ึนครองรำชยม์ กั จะแต่งตัง้ คณะทตู นำเครือ่ งรำชบรรณำกำรไปยงั จีน เพือ่ ให้จนี

รบั รองเพ่อื ผลประโยชน์ทำงกำรคำ้ และเพื่อควำมชอบธรรมในกำรเสด็จข้นึ ครองรำชย์
• ในชว่ งทอ่ี ยธุ ยำมปี ัญหำกำรเมืองภำยในหรอื ทำสงครำมกับภำยนอก ควำมสมั พันธจ์ ะหยดุ ชะงักชว่ั ครำว เม่ือเหตกุ ำรณ์

สงบ กำรติดตอ่ กเ็ รม่ิ ต้นขึน้ อกี

ความสัมพันธ์กบั ญ่ีปนุ่

• ส่วนใหญเ่ ป็นกำรคำ้ และกำรเมอื ง
• สมยั สมเด็จพระเอกำทศรถ อยธุ ยำมีกำรติดตอ่ กับญ่ปี นุ่ อย่ำงเป็นทำงกำร
• สมยั สมเดจ็ พระเจำ้ ปรำสำททอง ได้มกี ำรปรำบปรำมชำวญี่ปนุ่ บำงคนทีค่ ิดกอ่ กำรร้ำย ทำให้ชำวญ่ีป่นุ จำนวนมำกพำ

กันอพยพออกจำกอยุธยำ
• แมว้ ำ่ ตอ่ มำอยธุ ยำจะส่งทูตไปเจรจำสัมพันธไมตรกี ับญ่ปี ุ่นอกี แต่ญป่ี ุ่นไม่ยอมรับ อำจเปน็ เพรำะเหตุกำรณท์ ่ที รง

ปรำบปรำมญ่ปี ุ่น และญป่ี นุ่ ดำเนนิ นโยบำยปดิ ประเทศ

ความสมั พนั ธ์กบั เปอร์เซีย

• ควำมสมั พันธจ์ ะเป็นด้ำนกำรคำ้ โดยสันนิษฐำนว่ำอยุธยำเริ่มมคี วำมสัมพันธก์ บั เปอรเ์ ซยี (ปัจจุบันคืออิหร่ำน) ในสมัย
สมเด็จพระเอกำทศรถ

• สมยั สมเดจ็ พระเจ้ำทรงธรรม พอ่ คำ้ เปอร์เซยี ชอื่ เฉกอะหมัด ได้รบั รำชกำรจนมีควำมดีควำมชอบไดเ้ ป็นเจ้ำกรมท่ำขวำ
• สมัยสมเดจ็ พระนำรำยณ์มหำรำช เปอรเ์ ซียส่งทตู มำเข้ำเฝำ้ แตห่ ลงั จำกนไ้ี ปแลว้ ไมป่ รำกฏหลกั ฐำนถงึ กำรเดินทำง

เชื่อมสัมพนั ธไมตรรี ะหว่ำงอยธุ ยำและเปอร์เซยี อกี

พฒั นาการดา้ นความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ ....กับชาติตะวนั ตก

ความสัมพนั ธ์กบั โปรตุเกส

• มที ั้งกำรค้ำ กำรเมอื ง และวัฒนธรรม
• เริม่ ตน้ ในสมัยสมเด็จพระรำมำธิบดีท่ี ๒ เมือ่ โปรตุเกสยดึ มะละกำ แตม่ ะละกำเป็นประเทศรำชของอยธุ ยำ โปรตเุ กสจงึ

สง่ ทูตมำเจรจำและทำสนธสิ ัญญำระหวำ่ งกนั
• นอกจำกนี้ อยธุ ยำยงั ซื้อปืนจำกโปรตเุ กสและจำ้ งทหำรโปรตเุ กสมำเป็นทหำรอำสำ รวมถงึ รบั วฒั นธรรมกำรทำขนม

หวำนจำกโปรตเุ กส อนั เป็นท่ีมำของขนมหวำนไทยในปัจจบุ นั ด้วย เช่น ทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง เป็นตน้

ความสัมพันธ์กบั ฮอลันดา

• ทัง้ กำรค้ำและกำรเมือง
• สมัยสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช ฮอลันดำสง่ คณะทตู มำเจรจำและขอตัง้ สถำนกี ำรค้ำท่ีปตั ตำนี
• สมัยสมเด็จพระเจ้ำทรงธรรม อยุธยำกบั ฮอลันดำ ได้ทำสนธิสัญญำกำรคำ้ ระหวำ่ งกัน
• สมัยสมเดจ็ พระเจำ้ ปรำสำททอง ฮอลันดำส่งเรอื รบปิดท่ำเรือตะนำวศรี อยธุ ยำจงึ ตัดสทิ ธิพเิ ศษทำงกำรค้ำ
• สมยั สมเด็จพระนำรำยณม์ หำรำชได้เกดิ ควำมขดั แย้งกับฮอลันดำ จนต้องดงึ ฝรั่งเศสเข้ำมำถว่ งดลุ อำนำจ ทำใหฮ้ อลันดำ

คอ่ ยๆ ลดปรมิ ำณกำรคำ้ และถอนตวั ออกจำกอยุธยำในทีส่ ุด

ความสัมพนั ธ์กับองั กฤษ

• มีทัง้ กำรค้ำและกำรเมอื ง
• สมัยสมเด็จพระเจ้ำทรงธรรมทรงอนญุ ำตให้อังกฤษเข้ำมำตั้งสถำนีกำรคำ้ ท่ีกรุงศรีอยธุ ยำได้ แต่ถกู ฮอลันดำขดั ขวำงจน

ตอ้ งปิดกิจกำร
• สมัยสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชไดเ้ ร่มิ ฟน้ื ฟคู วำมสัมพนั ธอ์ กี คร้ังเพอ่ื ดึงอังกฤษมำถ่วงดลุ อำนำจกับฮอลันดำ แต่องั กฤษ

ไมป่ ระสบควำมสำเรจ็ ในกำรแขง่ ขนั กบั ฮอลนั ดำ จนเม่อื เรอื คำ้ ขำยของอังกฤษถกู ปล้นสะดมในน่ำนน้ำเมอื งมะริดจนต้อง
สรู้ บกบั อยธุ ยำทเี่ มืองมะรดิ ทำใหค้ วำมสมั พนั ธห์ ่ำงเหนิ กนั ไป

ความสัมพนั ธ์กบั ฝรงั่ เศส

• ควำมสัมพนั ธม์ ที งั้ เรอ่ื งของศำสนำ กำรคำ้ และกำรเมือง
• สมัยสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชทรงตอ้ งกำรให้ฝรงั่ เศสมำถ่วงดลุ อำนำจกับฮอลนั ดำ จนกระท่ังฝรง่ั เศสเข้ำมำตั้งสถำนี

กำรคำ้ และภำยหลงั ส่งคณะทตู เดนิ ทำงมำอยธุ ยำเปน็ คร้ังแรกเพือ่ เจรญิ สัมพันธไมตรี และอยุธยำกส็ ง่ คณะทูตไป
ฝรัง่ เศส ซึง่ ไดร้ ับกำรตอ้ นรับอย่ำงดี
• ภำยหลงั ฝรงั่ เศสเข้ำมำมีอิทธพิ ลทำงกำรเมืองและกำรทหำร จนต้องมกี ำรขบั ไล่ฝรั่งเศสออกไป

ความสมั พันธ์กบั สเปน

• คอ่ นขำ้ งมีน้อยส่วนใหญจ่ ะเป็นเรือ่ งกำรค้ำ
• สมยั สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช ข้ำหลวงใหญข่ องสเปนทีเ่ มอื งมะนลิ ำได้ส่งทตู มำเชอ่ื มสมั พันธไมตรีและเจรจำทำงกำรค้ำ

กบั อยุธยำ
• สมยั สมเดจ็ พระนำรำยณ์มหำรำช มีเรอื สนิ คำ้ สเปนเดินทำงจำกเมืองมะนลิ ำเข้ำมำค้ำขำยท่ีกรงุ ศรอี ยธุ ยำ แต่ปรมิ ำณ

กำรค้ำไม่มำกนกั
• สมัยพระเจ้ำอยูห่ วั ท้ำยสระ ผสู้ ำเรจ็ รำชกำรสเปนท่ีเมืองมะนลิ ำสง่ ทตู เข้ำมำเจรญิ สัมพันธไมตรีและขออนุญำตตง้ั สถำนี

กำรคำ้ ขึน้ ใหม่ แม้กำรเจรจำจะประสบควำมสำเร็จ แตป่ ริมำณกำรคำ้ ก็มิได้ขยำยตวั และได้ผลตอบแทนไม่คุ้มค่ำในท่สี ุด
ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งสองชำตกิ ็หำ่ งเหนิ กนั ไป

การเส่อื มอานาจของอาณาจกั รอยธุ ยา

การเสียกรุงศรอี ยธุ ยาคร้ังท่ี ๑ และการกู้เอกราช

สาเหตุของการเสยี กรงุ ศรีอยธุ ยา ครงั้ ท่ี ๑ การกู้เอกราชของกรงุ ศรีอยธุ ยา
พ.ศ. ๒๑๑๒ ใน พ.ศ. ๒๑๒๗

• เกดิ ขึน้ เพรำะควำมแตกสำมัคคีภำยในกรุงศรีอยธุ ยำ • เกดิ ขนึ้ ในสมยั สมเดจ็ พระมหำธรรมรำชำธิรำช เมอ่ื สมเดจ็ -
• พระยำจกั รเี ปน็ ไสศ้ ึก พระนเรศวรซง่ึ เป็นพระรำชโอรสทรงประกำศอสิ รภำพ
จำกพมำ่ ท่เี มืองแครง ใน พ.ศ. ๒๑๒๗

• สมเดจ็ พระนเรศวรทรงประกำศอิสรภำพจำกพมำ่ โดยทรง
หลั่งทกั ษิโณทกให้ตกเหนือแผน่ ดนิ (ภำพจติ รกรรมฝำ
ผนงั วัดสวุ รรณดำรำรำม จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยำ)

การเสยี กรงุ ศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ และการกเู้ อกราช

สาเหตุของการเสียกรงุ ศรีอยุธยา คร้ังท่ี ๒ การกู้เอกราชของกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. ๒๓๑๐ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐

• กำรขำดประสบกำรณใ์ นกำรทำสงครำมขนำดใหญข่ อง • พระยำตำก (สิน) ไดน้ ำไพร่พลฝำ่ วงลอ้ มพม่ำ ไปต้ังม่ันท่ี
ฝ่ำยอยธุ ยำ เมอื งจันทบุรี ไดน้ ำไพรพ่ ลตีหัวเมืองรำยทำงไล่มำจนถึง
เมอื งธนบุรีทพ่ี มำ่ คมุ อยู่ และตำมตไี ปถงึ ค่ำยโพธสิ์ ำมตน้
• กำรปรบั เปลย่ี นกลยุทธก์ ำรรบของพม่ำ ด้วยกำรยกมำตี ซ่งึ เปน็ ทพั พม่ำทีร่ ักษำอยุธยำอยู่จนแตก
อยุธยำทงั้ ทำงเหนอื และทำงใต้ โดยกวำดต้อนผู้คน เสบียง
อำหำร เขำ้ ล้อมเมืองทง้ั ฤดแู ล้งและฤดนู ้ำหลำก

ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยา

ความหมายของภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรม

ภมู ปิ ญั ญา

• ควำมรู้ ควำมสำมำรถที่ไดจ้ ำกประสบกำรณ์ทสี่ ั่งสมไว้ในกำรปรับตวั
และกำรดำรงชวี ิตในสภำพแวดล้อมทำงธรรมชำติและสิ่งแวดลอ้ มทำง
สงั คมและวัฒนธรรมทไ่ี ด้มีกำรพัฒนำสืบสำนกนั มำ

วัฒนธรรม

• ระบบควำมเช่ือ ระบบคุณคำ่ และวถิ ชี วี ติ ท้งั หมด ดังนน้ั ภูมิปญั ญำ
ทง้ั หลำยจงึ ได้รบั กำรสง่ั สมอยใู่ นวฒั นธรรมนน่ั เอง

ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา

ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์ ลกั ษณะทางสงั คม การรบั อทิ ธพิ ลจากภายนอก
และสงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรม

• มสี ภำพดินฟ้ำอำกำศที่ • เป็นสงั คมศกั ดินำมีกำรนับ • กำรติดตอ่ ค้ำขำยกับตำ่ งชำติ
เหมำะต่อกำรเพำะปลกู และ ถือพระพุทธศำสนำ และ ทำให้เกดิ กำรเรียนรู้จำกชำติ
คำ้ ขำยจึงสง่ เสริมใหม้ ีกำร ใช้กุศโลบำยทำงศำสนำ ตำ่ งๆ แลว้ นำมำปรบั ใชใ้ ห้
คิดค้นภูมิปัญญำสำหรบั กำร เปน็ เครื่องมอื ในกำรอบรม เขำ้ กับคนไทย
ประกอบอำชพี สงั่ สอนผู้คน

ตัวอย่างการสรา้ งสรรค์ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมัยอยธุ ยา

๑ ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยในการสรา้ งรปู แบบการปกครองให้เหมาะสมกับคนไทย

สังคมไทยในสมยั อยธุ ยำมคี วำมเช่ือว่ำกำรปกครองบ้ำนเมืองตอ้ งมีพระมหำกษตั ริยเ์ ป็นผูม้ ีอำนำจสูงสุดในกำรปกครอง
บ้ำนเมืองนบั ตง้ั แตก่ ำรสถำปนำกรงุ ศรีอยุธยำเป็นรำชธำนีเป็นตน้ มำ อนั เปน็ ผลมำจำกกำรรับเอำคตคิ วำมเช่ือว่ำ
พระมหำกษตั ริย์ทรงเปน็ สมมติเทพ

ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ เกย่ี วกบั ความสาคญั ของพระมหากษตั ริย์ มีหลายประการ

• จดั ให้พระมหำกษตั ริยท์ รงมีที่ประทับสงู กวำ่ คนอืน่ ๆ ใหส้ มกบั ทพ่ี ระองค์ทรงเป็นสมมติเทพ
• ทปี่ ระทบั ขององคพ์ ระมหำกษตั ริย์จะไมต่ ั้งอยูป่ ะปนกับบุคคลท่ัวไป
• มีกำรสรำ้ งพระรำชวังสำหรบั พระมหำกษัตริย์ และภำยในพระรำชวงั จะต้องมีกฎเกณฑ์และพธิ กี รรม

ต่ำงๆ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วำ่ พระองคท์ รงเป็นสมมตเิ ทพ โดยมพี รำหมณ์เปน็ ผ้ปู ระกอบพระรำชพธิ ีถวำย
• มกี ำรใช้รำชำศพั ท์สำหรบั พระมหำกษัตรยิ ์ให้แตกตำ่ งไปจำกบุคคลท่วั ไป
• กำรวำงระเบยี บแบบแผน สำหรับบคุ คลทว่ั ไปในกำรปฏิบัตติ นต่อองคพ์ ระมหำกษตั ริย์เปน็ กำรเฉพำะ

หรอื ที่เรียกว่ำ กฎมณเทยี รบำล ถ้ำผูใ้ ดละเมดิ ก็จะมีโทษทำงอำญำ เป็นตน้

๒ ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยในการวางระบบการควบคมุ กาลังคน

• ระบบกำรควบคมุ กำลงั คนสมยั อยธุ ยำกำหนดใหไ้ พรต่ อ้ งสังกดั มลู นำย โดยมูลนำยจะตอ้ งดแู ลและให้ควำมคุ้มครอง
ไพรใ่ นแตล่ ะกรมกอง สว่ นไพรก่ ต็ อ้ งให้ควำมเคำรพยำเกรงมูลนำยของตน

• กำรควบคุมแรงงำนไพรใ่ นแต่ละกรมจะมีกำรควบคุมเปน็ ลำดับชัน้ แตล่ ะกรมจะจดั ทำบัญชรี ำยชื่อและที่อยขู่ องไพรท่ ่ี
สงั กัดกรมของตนนอกจำกนี้ยงั มพี ระสุรัสวดี ทำหนำ้ ที่เปน็ ผ้ถู ือบญั ชไี พร่ของทุกกรมและขน้ึ ตรงต่อพระมหำกษัตริย์

• ระบบกำรควบคมุ กำลังคนในสมัยอยธุ ยำทำให้กลุ่มคนไทยสำมำรถอยู่รวมกันไดเ้ ปน็ กลุม่ กอ้ น ไม่กระจดั กระจำย
กันออกไป และสะดวกตอ่ กำรเกณฑ์ไพรพ่ ลไปทำสงครำม

๓ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการสร้างทอี่ ยอู่ าศัย

เรอื นสามารถแบง่ ออกตามลกั ษณะของผอู้ ย่อู าศยั ได้ ๒ ลกั ษณะ

เรอื นขุนนาง (เรือนเคร่อื งสบั )

• เปน็ เรอื นชั้นเดยี ว ใต้ถุนสูง สรำ้ งดว้ ยวัสดุท่ีแขง็ แรงทนทำน เช่น ไมส้ ัก ไม้เนื้อแขง็
ตวั เรือนสำมำรถรอื้ ถอนแลว้ นำไปประกอบใหม่ไดเ้ หมอื นเดิม

เรอื นไพร่ (เรือนเคร่อื งผูก)
• เป็นเรอื นชั้นเดยี ว ใต้ถุนเต้ยี สรำ้ งดว้ ยวสั ดุไมค่ งทนถำวร เชน่ ไมไ้ ผ่ มักปลูกเปน็

กำรชัว่ ครำว ถำ้ ไพร่มฐี ำนะสงู กส็ ำมำรถใช้เรือนแบบขนุ นำงได้
เรอื นขุนนาง (เรือนเครื่องสับ)

๔ ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยในการบาบัดรกั ษาคนไข้

• กำรแพทยแ์ ผนไทยสมยั อยุธยำมพี นื้ ฐำนมำจำกควำมเชอื่ ควำมรู้ ควำมคดิ และกำรยอมรบั รว่ มกันของคนในสังคม
จนสำมำรถแกไ้ ขปัญหำสุขภำพตงั้ แต่สมัยอยธุ ยำจนถงึ ปจั จุบัน

• ระบบกำรแพทยส์ มัยอยธุ ยำมีกำรจดั ตง้ั หนว่ ยงำนรบั ผิดชอบเป็นสัดส่วน มีเจ้ำหน้ำทท่ี รี่ ับผิดชอบเกี่ยวกับกำรบำบดั
รกั ษำคนไข้แตกตำ่ งกัน เช่น โรงพระโอสถ เปน็ หนว่ ยงำนดูแลยำสมนุ ไพร จำแนกหมวดหม่ยู ำ ควบคุมมำตรฐำนและ
ผลติ ยำ ตำรำแพทยห์ ลวง

๕ ภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยในการปลูกฝังศีลธรรมให้กบั สังคม

• มกี ำรใช้วรรณกรรมของพระพุทธศำสนำมำสอนคนให้รู้จกั บำปบญุ คุณโทษ เชน่ หนังสือพระมำลยั คำหลวง ซ่ึงนพิ นธ์
โดยเจ้ำฟำ้ ธรรมธิเบศ (เจำ้ ฟำ้ กุง้ )

• ปจั จุบันยงั มีประเพณีสวดพระมำลยั หน้ำศพที่ต้งั บำเพ็ญกศุ ลทว่ี ัดหรือท่ีบ้ำน หรือพระภกิ ษสุ งฆ์อำจนำสำระดๆี ใน
หนงั สอื พระมำลัยคำหลวงไปเทศนส์ ัง่ สอนผคู้ น

๖ ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยด้านศิลปกรรม

ด้านศิลปกรรม

• ส่วนใหญ่เปน็ สิ่งก่อสร้ำงในพระพทุ ธศำสนำ เชน่ เจดีย์ พระปรำงค์ โบสถ์ วหิ ำร มณฑป รวมถึงส่งิ ก่อสร้ำงที่เกี่ยวข้องกบั
พระมหำกษตั รยิ ์ เชน่ พระรำชวัง พระทน่ี ่งั ต่ำงๆ

• ศิลปกรรมอยุธยำเกดิ จำกกำรผสมผสำนระหว่ำงศลิ ปวฒั นธรรมดง้ั เดมิ ของคนไทย และศลิ ปวัฒนธรรมที่รับมำจำก
ภำยนอก โดยเฉพำะอนิ เดยี และจีน รวมทง้ั ทำงตะวนั ตก

• วดั พระศรีสรรเพชญ์ เปน็ วัดสำคญั ในเขตพระรำชวังหลวงเทียบได้กบั วดั พระศรีรัตนศำสดำรำม กรงุ เทพมหำนคร โดย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถโปรดให้สร้ำงขน้ึ เพอ่ื เปน็ ท่สี ำหรบั ประกอบพิธสี ำคญั ตำ่ งๆ จงึ เปน็ วัดท่ไี ม่มีพระสงฆ์จำพรรษำ

ดา้ นประติมากรรม

• สว่ นใหญน่ ิยมสร้ำงพระพทุ ธรปู พระพุทธรปู ยคุ แรกๆ เป็นแบบอทู่ อง เช่น
พระพทุ ธรปู องคใ์ หญท่ ีว่ ดั พนัญเชิง จนถึงสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนำถ ศลิ ปะแบบ
สโุ ขทัยได้แพรห่ ลำยเขำ้ มำ คร้นั ถงึ สมัยสมเด็จพระเจ้ำปรำสำททองเป็นตน้ มำ
พระพุทธรูปมกั ทำเป็นแบบทรงเคร่อื ง มีเคร่อื งประดบั สวยงำม เช่น พระประธำนวัด
หนำ้ พระเมรุ ท่พี ระนครศรีอยธุ ยำ

พระพุทธรปู ทรงเคร่อื ง ประดษิ ฐานภายในอโุ บสถวัดหน้าพระเมรุ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
สันนิษฐานวา่ สร้างขึน้ ในสมัยสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง

ด้านจติ รกรรม

• ส่วนใหญ่จะเก่ยี วเนือ่ งกบั พระพทุ ธศำสนำ เปน็ ภำพเขียนสี นิยมเขยี นเป็นพทุ ธบูชำตำมผนงั โบสถ์ วหิ ำร ศำลำกำรเปรยี ญ
ในคหู ำภำยในองคพ์ ระปรำงค์ สถปู เจดีย์ และในสมดุ ไทย เชน่ ภำพเขยี นบนผนงั ในกรพุ ระปรำงค์วัดรำชบูรณะ เป็นตน้

ภาพพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าทรงตรสั รู้ จากวกิ พิ เี ดีย

ดา้ นประณตี ศิลป์

• มที ัง้ ประเภทเคร่อื งใช้ เคร่อื งประดบั ตกแต่ง เครอ่ื งเงิน เครอ่ื งทอง เครือ่ งไม้จำหลัก ซ่งึ ล้วนมฝี ีมอื สวยงำมและประณตี
เช่น เครือ่ งทองในพระปรำงค์วดั รำชบรู ณะ เปน็ ตน้

ภาพจากสารานุกรมไทย


Click to View FlipBook Version