พลเมืองดิจิทัล
Digital Citizens
ก
คำนำ
หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อการนำเสนอพลเมืองโลกดิจิทัล
อยากให้ได้รู้เกี่ยวกับ พลเมืองโลกในยุคปัจจุบัน ที่ใช้ช่อง
ทางอินเทอร์เน็ตเป็นชีวิตประจำวัน ในทุกเรื่อง ไม่ว่าจะ
เป็นการเรียนหรือการสื่อสารเป็นต้น
ผู้จัดทำได้ศึกษาจากเว็บไซต์และหนังสือต่างๆ ผู้เขียน
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังเล่มนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ที่สนใจ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่นี้
ผู้จัดทำ
นางสาวแวยุสมีนา ลือบาน๊ะ
ข
สารบัญ
คำนำ หน้า
สารบัญ ก
พลเมืองดิจิทัล ข-ค
ความหมายและคุณลักษณะเบื้อง 1-2
ต้นของพลเมืองดิจิทัล
คุณลักษณะที่ดีของพลเมืองดิจิทัล 3-4
การเป็นพลเมืองที่ดี
ความเป็นพลเมืองดิจิทัล 5-8
การรู้ดิจิทัล 9-10
ทักษะด้านดิจิทัลพื้อนฐาน
11
12-13
14
ค
สารบัญ
การพัฒนาการรู้ดิจิทัล หน้า
การรู้เท่าทันดิจิทัล 15
การรู้เทคโนโลยี 16
การรู้การสื่อสาร 17
การรู้สารสนเทศ 18
8ทักษะสำคัญในการเป็นพลเมือง 19
ดิจิทัล
เอกสารอ้างอิง 20-22
23
พลเมืองดิจิทัล 1
2
พลเมืองดิจิทัล หรือ Digital Citizens เป็นกระแสที่แพร่หลายไปทั่วโลกนับตั้งแต่
อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทในการดำเนินกิจกรรมด้าน
ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ประเทศไทยให้ความสำคัญกับเรื่องดังกล่าวอย่างจริงจังหลัง
จากที่รัฐบาลผลักดันนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เพื่อเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน
อนาคตอันใกล้นี้ในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิต
ประจำวัน
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนควร เสริมสร้างศักยภาพการใช้
เทคโนโลยีดังกล่าวอย่างชาญฉลาดและก้าวเข้าสู่ความเป็นพลเมืองในยุคดิจิตอลได้
อย่างภาคภูมิ
3
ความหมายและ
คุณลักษณะเบื้องต้น
ของพลเมื
องดิจิทัล
4
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพเป็น
คุณลักษณะเบื้องต้นของการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลนอกจากนี้
บุคคลผู้นั้นจะต้องมีทักษะและความรู้ที่หลากหลายในการใช้
อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่างๆ เช่น
โซเชียลเนตเวิร์ก(Facebook, Twitter, Instagram, Line) และ
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบใหม่ (แท็บเล็ต และมือถือสมาร์ทโฟน)
เป็นต้น อย่างไรก็ตามมีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าทักษะการใช้อินเทอร์เนต
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตประจำวันไม่
เพียงพอต่อคุณลักษณะของการเป็นพลเมืองดิจิตอลที่สมบูรณ์ หาก
แต่บุคคลผู้นั้นจะต้องใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ในทางที่จะก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อบุคคลอื่นและสังคม เช่น การเคารพสิทธิและหน้าที่ของ
ผู้อื่ นตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่ อสื่ อสารกับภาครัฐและภาคเอกชน
เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีและถูกต้อง
5
คุณลักษณะที่ดีของ
พลเมือง
ดิจิทัล
6
พลเมืองดิจิตอลที่มีคุณลักษณะที่ดี (Good
Digital Citizens) มีองค์ประกอบหลาย
ประการ สรุปได้โดยย่อดังนี้
1. การตระหนักถึงความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยี
สารสนเทศของผู้อื่น
ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนควรตระหนักว่าบุคคลมี
โอกาสในการเข้าถึงและมีศักยภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่แตก
ต่างกัน พลเมืองดิจิตอลที่ดีจึงไม่ควรเลือก
ปฏิบัติและดูหมิ่นบุคคลผู้ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีฯ หากแต่จะ
ต้องช่วยกันแสวงหามาตรการต่างๆเพื่อเสริมสร้างความเสมอ
ภาคในการเข้าถึงเทคโนโลยีฯ อันจะทำให้สังคมและประเทศนั้นๆ
ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิตอลได้อย่างภาคภูมิ
2. การเป็นผู้ประกอบการและผู้บริโภคที่มีจริยธรรม
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้
เปลี่ยนแปลงระบบตลาดแบบดั้งเดิม (Traditional
Marketplace) ไปสู่ตลาดในระบบอิเลคทรอนิกส์
(ElectronicMarketplace) และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ดังจะเห็นได้จากความหลายหลายของประเภทสินค้าที่สามารถซื้อ
หาได้ในระบบออนไลน์ ตลอดจนบริการประเภทต่างๆ ที่ผู้บริโภค
สามารถทำธุรกรรมได้อย่างสะดวก พลเมืองยุคดิจิตอลจะต้องมี
ความซื่อสัตย์และมีศีลธรรมในการทำนิติกรรมและธุรกรรมทุก
ประเภทบนโลกออนไลน์ เช่น ไม่ซื้อขายและทำธุรกรรมที่ผิด
กฎหมาย เช่น การดาวน์โหลดสิ่งที่ขัดต่อกฎหมาย
7
3. การเป็นผู้ส่งสารและรับสารที่มีมรายาท
รูปแบบการสื่อสารได้มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
อิในนเชต่วองรศ์เนต็ตวรที่รสษะดที่ว2ก1รวดัดงเจร็ะวเแห็ลนะไมดี้ใคจบวากาแมรูสเปชืแ่ดอบมงบโยกผงาลรทัส่ืกว่อโลาสกรารเเผรช่ี่านยนนอี
เมลล์และโซเชียลมีเดียหลากหลายประเภท ปัจจุบันมีผู้ใช้ข้อได้
เปรียบของช่องทางการสื่อสารดังกล่าวอย่างไม่เหมาะสม เช่น
การส่งสารที่ มีเจตนา หมิ่นประมาทผู้อื่นและการส่งสารที่มี
เจตนาให้สังคมเกิดความแตกแยก ทั้งที่กระทำไปโดยเจตนาหรือ
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้น พลเมืองดิจิตอลที่ดีจะต้องมีมรรยาท
และความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนในโลกออนไลน์
4.การเคารพต่อกฎหมายและกฎระเบียบ
ปัจจุบันการทำธุรกรรมและนิติกรรมทางอิเลคทรอนิกส์
อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายและกฎระเบียบว่าด้วยการทำ
ธุรกรรมทางอิเลคทรอนิกส์ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการป้องกัน
และปราบปรามการละเมิด ในรูปแบบต่างๆ ที่มีลักษณะเป็น
อาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส์ เช่น การลักขโมยและการจาร
กรรมข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ข้อมูลทางธุรกิจและข้อมูลส่วน
บุคคล ตลอดจนมาตรการคุ้มครองเกี่ยวกับทรัพย์สินทาง
ปัญญาในรูปแบบต่างๆ ดังนั้น พลเมืองยุคติจิตอลที่ดีจะต้อง
ตระหนักและรับทราบถึงกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว
8
5. การใช้เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมและไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ
โดยรวม เช่น ความเครียดต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตตลอดจนการก่อให้เกิด
การสูญเสียสัมพันธ์ภาพในสังคมได้พลเมืองยุคดิจิตอลจะต้องควบคุมการใช้อุ
ปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ให้มีความเหมาะสมเพื่อป้องกันมิให้เกิดอาการเสพติดต่อสิ่ง
ดังกล่าวจนเกิดผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมได้นอกจากนี้ การลดปริมาณการ
สื่อสารแบบออนไลน์มาเป็นรูปแบบการสื่อสารแบบดั้งเดิมในบางโอกาสจะก่อให้
เกิดผลดีต่อสัมพันธภาพของบุคคลใกล้ชิดอีกด้วย
6. เรียนรู้วิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี
พลเมืองดิจิตอลนอกจากจะต้องเป็นผู้ที่มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมี
ประสิทธิภาพแล้วจะต้องใฝ่รู้และให้ความสำคัญกับมาตรการเพื่อความปลอดภัย
และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วย(Digital Security)เนื่องจากในยุค
ดิจิตอลนั้นผู้มีเจตนากระทำผิดและหลอกลวงสามารถใช้เทคโนโลยีที่มีความทัน
สมัยเพื่ อหลอกลวงผู้อื่ นได้ง่ายกว่ากระบวนการสื่ อสารแบบดั้งเดิมวิธีการเสริม
สร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่สามารถกระทำได้โดยง่ายมี
หลากหลายวิธี เช่นการติดตั้งระบบป้องกันการจารกรรมและการทำลายข้อมูลให้
กับอุปกรณ์การสื่อสารทุกประเภท
9
การเป็นพลเมืองที่ดี
10
01-12-2022
การจะเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดีนั้นเราจะต้องมีชุด
ทักษะและความรู้ทั้งในเชิงเทคโนโลยีและการคิดขั้น
สูง หรือที่เรียกว่า “การรู้ดิจิทัล” (Digital Literacy)
เพื่อใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารในโลกไซเบอร์รู้จัก
ป้องกันตนเองจากความเสี่ยงต่างๆในโลกออนไลน์
เข้าใจถึงสิทธิ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมที่สำคัญ
ในยุคดิจิทัล และใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตในการ
มีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
วัฒนธรรมทั้งเพื่อตนเอง ชุมชน ประเทศ และโลก
11
ความเป็นพลเมืองดิจิทัลออกเป็น 3 มิติ
มิติด้านความรู้เกี่ยวกับสื่อและสารสนเทศ พลเมืองดิจิทัลต้องมี
ความรู้ความสามารถในการเข้าถึง ใช้สร้างสรรค์ ประเมิน
สังเคราะห์ และสื่อสารข้อมูลข่าวสารผ่านเครื่องมือดิจิทัล ดังนั้น
พลเมืองยุคใหม่จึงต้องมีความรู้ด้านเทคนิคในการเข้าถึงและใช้
เครื่องมือดิจิทัล เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ได้อย่าง
เชี่ยวชาญ รวมถึงทักษะในการรู้คิดขั้นสูง เช่น ทักษะการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งจำเป็นต่อการเลือก จัดประเภท
วิเคราะห์ ตีความ และเข้าใจข้อมูลข่าวสาร
มิติด้านจริยธรรม พลเมืองดิจิทัลจะใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่าง
ปลอดภัย มีความรับผิดชอบ และมีจริยธรรมได้อย่างไร
พลเมืองที่ดีจะต้องรู้จักคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้
เทคโนโลยี ต้องตระหนักถึงผลพวงทางสังคมการเมือง
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต รวม
ถึงรู้จักสิทธิและความรับผิดชอบออนไลน์อาทิ เสรีภาพในการ
พูด การเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น และการปกป้อง
ตนเองและชุมชนจากความเสี่ยงออนไลน์ เช่น การกลั่นแกล้ง
ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เป็นต้น
มิติด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองและสังคม พลเมือง
ดิจิทัลต้องรู้จักใช้ศักยภาพของอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อินเทอร์เน็ตเป็นได้ทั้ง
เครื่องมือเพิ่มการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบ เช่น
รัฐบาลใช้อินเทอร์เน็ตในการรับฟังความเห็นของประชาชน
ก่อนออกกฎหมาย การลงคะแนนเสียงอิเล็กทรอนิกส์ (e-
Voting) หรือการยื่นคำร้องออนไลน์ (online petition)
นอกจากนั้น อินเทอร์เน็ตยังใช้ส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง
ผ่านวิธีการใหม่ๆ ซึ่งท้าทายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเมือง
ในระดับโครงสร้าง
12
การรู้ดิจิทัล
13
การรู้ดิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะในการนำเครื่องมือ
อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปั จจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทำงานร่วมกัน หรือใช้เพื่อ
พัฒนากระบวนการทำงาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมี
ประสิทธิภาพอีกทั้งยังเป็นทักษะด้านดิจิทัลพื้นฐานที่จะเป็นตัวช่วยสำคัญ
สำหรับข้าราชการในการปฏิบัติงาน การสื่อสารและการทำงานร่วมกันกับผู้
อื่นในลักษณะ “ทำน้อย ได้มาก” หรือ “Work less but get more
impact” และช่วยส่วนราชการสร้างคุณค่า (Value Co-creation) และ
ความคุ้มค่าในการดำเนินงา (Economy of Scale) เพื่อการก้าวไปสู่การ
เป็นประเทศไทย 4.0 อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือช่วยให้ข้าราชการ สามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้รับโอกาสการทำงานที่ดีและเติบโต
ก้าวหน้าในอาชีพราชการ (Learn and Growth) ด้วย
14
ทักษะด้านดิจิทัลพื้อนฐานมี4มิติ
การใช้
ความคล่องแคล่วทางเทคนิคที่จำเป็นในการใช้คอมพิวเตอร์และ
อินเทอร์เน็ต ทักษะและความสามารถที่เกี่ยวข้องกับคำว่า “ใช้”
ครอบคลุมตั้งแต่เทคนิคขั้นพื้นฐาน คือ การใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคำ (Word processor)
เว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) อีเมล และเครื่องมือสื่อสารอื่นๆ
สู่เทคนิคขั้นสูงขึ้นสำหรับการเข้าถึงและการใช้ความรู้ เช่น
โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นข้อมูล หรือ เสิร์ชเอนจิน (Search
engine) และฐานข้อมูลออนไลน์ รวมถึงเทคโนโลยีอุบัติใหม่ เช่น
Cloud computing
การเข้าใจ
ชุดของทักษะที่จะช่วยผู้เรียนเข้าใจบริบทและประเมินสื่อดิจิทัล เพื่อให้
สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับอะไรที่ทำและพบบนโลกออนไลน์ จัดว่าเป็นทักษะที่
สำคัญและที่จำเป็นที่จะต้องเริ่มสอนเด็กให้เร็วที่สุดเท่าที่พวกเค้าเข้าสู่โลก
ออนไลน์ เข้าใจยังรวมถึงการตระหนักว่าเทคโนโลยีเครือข่ายมีผลกระทบต่อ
พฤติกรรมและมุมมองของผู้เรียนอย่างไร มีผลกระทบต่อความเชื่อและความ
รู้สึกเกี่ยวกับโลกรอบตัวผู้เรียนอย่างไร เข้าใจยังช่วยเตรียมผู้เรียนสำหรับ
เศรษฐกิจฐานความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนาทักษะการจัดการสารสนเทศเพื่อค้นหา
ประเมิน และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อติดต่อสื่อสาร ประสาน
งานร่วมมือ และแก้ไขปั ญหา
การสร้าง
การเข้าถึง ความสามารถในการผลิตเนื้อหาและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพผ่าน
เครื่องมือสื่อดิจิทัลที่หลากหลาย การสร้างด้วยสื่อดิจิทัลเป็นมากกว่าแค่
การรู้วิธีการใช้โปรแกรมประมวลผลคำหรือการเขียนอีเมล แต่มันยังรวม
ความสามารถในการดัดแปลงสิ่งที่ผู้เรียนสร้างสำหรับบริบทและผู้ชมที่
แตกต่างและหลากหลาย ความสามารถในการสร้างและสื่อสารด้วยการใช้
Rich media เช่น ภาพ วิดีโอ และเสียง ตลอดจนความสามารถในการมี
ส่วนร่วมกับ Web 2.0 อย่างมีประสิทธิภาพและรับผิดชอบ เช่น Blog การ
แชร์ภาพและวิดีโอ และ Social media รูปแบบอื่นๆ
ผู้ศึกษาจำเป็นต้องเข้าใจอินเทอร์เน็ตและการเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตด้วยช่องทางต่าง ๆรวมถึง ข้อดีข้อเสียของแต่ละ
ช่องทางได้ เพื่อให้สามารถใช้ Search Engine ค้นหาข้อมูลที่
ต้องการจากอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยัง
จำเป็นต้องเข้าใจสื่อทางดิจิทัลชนิดต่าง ๆ รวมถึง การนำไปประ
ยุกตัไข้งานในป้จจุบัน
15
การพัฒนาการรู้ดิจิทัล
การพัฒนาการรู้ดิจิทัลคือกระบวนการการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะ
เฉพาะที่มีความจำเป็นสำหรับการรู้ดิจิทัลจะแตกต่างจากคนหนึ่งถึง
อีกคนหนึ่งโดยขึ้นอยู่กับความต้องการและสถานการณ์ของผู้เรียน
ซึ่งอาจครอบคลุมตั้งแต่การรับรู้ขั้นพื้นฐานและการฝึกอบรมสู่การ
ประยุกต์ใช้งานที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนยิ่งขึ้น นอกจากนี้การรู้
ดิจิทัลกินความมากกว่าแค่การรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี แต่มันยัง
ครอบคลุมถึงประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับจริยธรรม สังคม และการ
สะท้อน (Reflection) ซึ่งฝั่งอยู่ในการทำงาน การเรียนรู้ การพัก
ผ่อน และชีวิตประจำวัน
“Multi-literacies” คือคำที่มักใช้เพื่ออธิบายถึงความถนัดและความ
สามารถที่แตกต่างและหลากหลายซึ่งจำเป็นต่อการใช้ เข้าใจ และ
สร้างสื่อดิจิทัลที่กล่าวถึงข้างต้น จากตรงนี้ช่วยให้เราได้คิดว่า “การ
รู้ดิจิทัลไม่ใช่ชุดทักษะที่ตายตัวแต่คือกรอบแนวคิด (Framework) ซึ่ง
ดึงและขยายมาจากการรู้และความสามารถมากมายหลายหลาย
ด้าน”
ภายใต้ "การรู้ดิจิทัล" คือความหลากหลายของทักษะต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันซึ่งทักษะเหล่านั้นอยู่ภายใต้การรู้สื่อ (Media
literacy) การรู้เทคโนโลยี (Technology literacy) การรู้สารสนเทศ
(Information literacy) การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual literacy)
การรู้การสื่อสาร (Communication literacy) และการรู้สังคม
(Social literacy)
16
การรู้เท่าทันดิจิทัล
การรู้เท่าทันสื่อ หรือ Media Literac
การรู้สื่อสะท้อนความสามารถของผู้เรียนเกี่ยวกับการ
เข้าถึงการวิเคราะห์ และการผลิตสื่อผ่านความเข้าใจ
และการตระหนักเกี่ยวกับ
1).ศิลปะความหมายและการส่งข้อความในรูปแบบ
ต่างๆ
2).ผลกระทบและอิทธิพลของสื่อมวลชนและวัฒนธรรม
ที่เป็นที่นิยม
3).สื่อข้อความถูกสร้างขึ้นอย่างไรและทำไมถึงถูกผลิต
ขึ้น
4).สื่อสามารถใช้ในการสื่อสารความคิดของเราเองได้
อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร
17
การรู้เทคโนโลยี
คฐคกหารววาืนรอาารสมมูกู้่เทรชาูทั้ำดกรคินเจษขโิาีนทะยญัทีโลน่ลซซใัรึนยบ่งีหเซัคทห้สอรครคนือโออนมบมโาTคลพกEลยิขุีวึมCส้น่เจตวHเชานอ่Nกนใรห์ทกOัญกาL่รษมOแัะกกคG้จไอขYะมภเกพีLา่ิยพวIวTเยตขEน้ออตRรง์รAขก์ัด้ันิCบจพิืYท้นัล
18
การรู้การสื่อสาร
การรู้การสื่ อสาร หรือ Communication Literacy
การรู้การสื่ อสารเป็ นรากฐานสำหรับการคิด การ
จัดการ และการเชื่อมต่อกับคนอื่นๆ ในสั งคมเครือ
ข่าย ทุกวันนี้เด็กและเยาวชนไม่เพียงจำเป็ นต้อง
เข้าใจการบูรณาการความรู้จากแหล่งต่างๆ เช่น
เพลง วิดีโอ ฐานข้อมูลออนไลน์ และสื่ ออื่นๆ พวกเค้า
ยังจำเป็ นต้องรู้วิธีการใช้แหล่งสารสนเทศเหล่านั้น
เพื่ อเผยแพร่ และแลกเปลี่ ยนความรู้
19
การรู้สารสนเทศ
การรู้สารสนเทศ หรือ Information Literacy
การรู้สารสนเทศเป็นอีกสิ่งที่สำคัญของการรู้ดิจิทัล
ซึ่งครอบคลุมความสามารถในการประเมินว่า
สารสนเทศใดที่ผู้เรียนต้องการ การรู้วิธีการที่จะ
ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการออนไลน์ และการรู้การ
ประเมินและการใช้สารสนเทศที่สืบค้นได้ การรู้
สารสนเทศถูกพัฒนาเพื่อการใช้ห้องสมุด มันยัง
สามารถเข้าได้ดีกับยุคดิจิทัลซึ่งเป็นยุคที่มีข้อมูล
สารสนเทศออนไลน์มหาศาลซึ่งไม่ได้มีการกรอง ดัง
นั้นการรู้วิธีการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับแหล่งที่มาและ
เนื้อหานับเป็นสิ่งจำเป็น
20
8 ทักษะสำคัญในการเป็นพลเมืองดิจิทัล
ซึ่งจะทำให้อยู่ในสังคมได้อย่างเข้าใจและปลอดภัย
21
ทักษะที่ 1
ทั กษะการรักษาอั ตลั กษณ์ที่ ดีของตั วเอง (DIGITAL CITIZEN
IDENTITY) ความสามารถในการสร้างและจัดการภาพลั กษณ์ของ
ตนเองในสื่ อโซเชียลในเชิงบวกภายใต้ พื้ นฐานความเป็นจริง รับผิด
ชอบในการกระทำ ไม่กระทำการผิดกฎหมายละเมิดจริยธรรม
ทักษะที่ 2
ทั กษะในการบริหารจัดการเวลาในโลกดิจิทั ล (SCREEN TIME
MANAGEMENT) สามารถบริหารเวลาและควบคุมตนเองในโลก
ออนไลน์กั บในชีวิตจริงได้อย่างสมดุล
ทักษะที่ 3
ทั กษะการรับมือการกลั่นแกล้ งบนโลกไซเบอร์
(CYBERBULLYING MANAGEMENT) มีความสามารถในการ
รับมือป้องกั น และมีภูมิคุ้ มกั นกั บการข่มขู่บนโลกไซเบอร์อย่างเหมาะ
สม ไม่ใช้อารมณ์
ทักษะที่ 4
ทั กษะการรักษาความปลอดภั ยของตนเองบนโลกไซเบอร์
(CYBERSECURITY MANAGEMENT) ความสามารถในการ
ป้องกั นการถูกโจรกรรมข้อมู ลหรือถูกโจมตี ในโลกออนไลน์ได้ เช่น
การกำหนดรหัสผ่านต่ างๆ ให้ปลอดภั ย
22
ทักษะที่ 5
ทั กษะในการจัดการความเป็นส่วนตั ว (PRIVACY
MANAGEMENT) รักษาความเป็นส่วนตั วในโลกออนไลน์ของ
ตนเองและผู้อื่ นได้ เพื่ อความปลอดภั ยทางข้อมู ล
ทักษะที่ 6
ทั กษะการคิ ดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ (CRITICAL
THINKING) สามารถคิ ดวิเคราะห์แยกแยะข้อมู ลที่ ถูกต้ องหรือไม่
ถูกต้ อง วิเคราห์ข้อมู ลที่ เป็นประโยชน์ โดยใช้วิจารณญาณและการ
ตรวจสอบที่ ถูกต้ อง เช่น ภาพตั ดต่ อต่ างๆ
ทักษะที่ 7
ทั กษะในการบริหารจัดการข้อมู ล ร่องรอยทางดิจิทั ล (DIGITAL
FOOTPRINT) สามารถในการคิ ด เข้าใจความเป็นไปในโลกดิจิทั ล
ว่าจะทิ้ งร่องรอยและประวัติ ไว้เสมอ ซึ่ งอาจส่งผลต่ อในอนาคตและ
ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต
ทักษะที่ 8
ทั กษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความเห็นอกเห็นใจและสร้าง
สัมพันธภาพที่ ดีกั บผู้อื่ น (DIGITAL EMPATHY) มีความ
เห็นอกเห็นใจ มีปฏิ สัมพันธ์ที่ ดีต่ อกั นในโลกออนไลน์ มีการ
ช่วยเหลื อซึ่ งกั นและกั น
23
เอกสารอ้างอิง
https://www.okmd.or.th/okmd-
kratooktomkit/4673/
https://www.stou.ac.th/study/sumrit
/1-59(500)/page2-1-59(500).html
https://sites.google.com/site/digitalci
tizens03718/showcase
จัดทำโดย
นางสาวแวยุสมีนา ลือบาน๊ะ
6506510086
ชั้นปีที่ 1 สาขาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่