The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Course materials Additional Courses Computer Grade 4-6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auikung.k, 2021-04-22 04:32:29

Additional courses in computer grade 4-6

Course materials Additional Courses Computer Grade 4-6

Keywords: Courses Computer

แผนการจัดการเอเกรสาียรปนระรกอู้ บ
กลหมุ่ สลารักะกสารูตเรยีรนสรู้กถารางานนอศาชึกพี ษา
โรงเรียนบา้ นนาดอย

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔]
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า คอมพวิ เตอร์ [เพมิ่ เตมิ ]
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4-6

โรงเรียนบ้านนาดอย

สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแม่ฮอ่ งสอน เขต ๒
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ประกาศโรงเรยี นบ้านนาดอย
เรอื่ ง ให้ใช้หลักสูตรรายวชิ าเพ่มิ เติม คอมพวิ เตอร์ โรงเรยี นบา้ นนาดอย
พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
---------------------------------------

โรงเรียนบ้านนาดอย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต ๒
ได้ดาเนินการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนาดอย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พร้อมท้ังจัดทาเอกสารประกอบหลักสูตรในส่วน
ของรายวิชาเพ่ิมเติม คอมพิวเตอร์ ที่สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ข้ึน เพ่ือกาหนดใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนใน
รายวิชา คอมพวิ เตอร์ ของโรงเรยี นบา้ นนาดอย ปีการศึกษา 2564

โดยได้จัดทาและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กาหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี
จิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านนาดอย ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน เมอื่ วนั ท่ี 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรรายวชิ าเพิ่มเตมิ คอมพวิ เตอร์
โรงเรียนบ้านนาดอย พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตง้ั แตบ่ ัดนเ้ี ป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายสุวิทย์ นบุ ญุ ไชย) (นายพรี ะยุทธ์ สุขสมบูรณ์)
ประธานกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นนาดอย

โรงเรยี นบ้านนาดอย



คำนำ

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบานนาดอย (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2564)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) รายวิชาเพิ่มเติม คอมพิวเตอร กลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัดทำขึ้นเพื่อใชเปน กรอบและทิศทางการจัดการเรียนการสอน เพื่อ
พฒั นาผเู รียนใหมคี ณุ ภาพดา นความรู คูคณุ ธรรม และมีทักษะทจ่ี ำเปนสำหรับการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21
นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องมือในการดำรงชีวิตในทองถิ่น หรือสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหา
ความรูเพื่อพฒั นาตนเองอยา งตอ เนื่องอยูตลอดชวี ิต อีกทงั้ ใชในการบรหิ ารจัดการศึกษา และพฒั นาผูเรียน
ใหเกิดการเรียนรูตามธรรมชาติ และเต็มศกั ยภาพตามเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พทุ ธศกั ราช 2553

ในการจัดทำเอกสารประกอบหลักสูตรของสถานศึกษา กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ครั้งนี้ คณะผูจัดทำไดศ ึกษาสภาพปญหา บริบทของการจัดการจัดการเรียนการสอนที่ผานมา
และดำเนินการแตงตั้งคณะทำงาน วางแผน การพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเพิม่ เติม
ตั้งแตระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) จนสำเร็จลุลว งดวยดี

ในการนี้คณะผูจัดทำขอขอบพระคุณผูที่มีสวนรวมและสวยเกี่ยวของ ในการจัดทำเอกสาร
ดังกลาวขา งตน ใหมีความสมบูรณและเหมาะสมสำหรับการจดั การเรยี นการสอนในแตร ะดับชั้น สามารถ
พัฒนาผเู รียนใหม ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ัดทกี่ ำหนด

กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยศาสตรและเทคโนโลยี
โรงเรยี นบา นนาดอย
เมษายน 2564

รายวชิ าเพ่ิมเติม | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี



สารบญั

ประกาศโรงเรยี นบานนาดอย เรอ่ื ง ใหใชหลกั สูตรายวชิ าเพิ่มเตมิ คอมพวิ เตอร หนา
โรงเรยี นบา นนาดอย พทุ ธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ก
คำนำ ข
สารบัญ
1
ความนำ 3
3
สว นนำ 3
4
 วิสัยทัศน 4
5
 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค 5
 สมรรถนะของผเู รยี น 6
7
 ทำไมตองเรยี นคอมพิวเตอร 8
9
 เรียนรูอะไรในวิชาคอมพิวเตอร 11
12
 คุณภาพผเู รยี น 14
15
 โครงสรา งหลกั สตู ร 18
19
หลกั สตู รคอมพิวเตอรเพิม่ เติมชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 4 21
 โครงสรา งการจดั การเรยี นรู 22
 คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ 24
 โครงสรา งรายวิชาเพม่ิ เตมิ 25
26
หลกั สูตรคอมพิวเตอรเพิ่มเตมิ ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 27
 โครงสรา งการจดั การเรยี นรู
 คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ 32
 โครงสรา งรายวิชาเพิ่มเตมิ 39

หลกั สูตรคอมพิวเตอรเพ่ิมเติมชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6
 โครงสรา งการจัดการเรยี นรู
 คำอธิบายรายวชิ าเพิม่ เติม
 โครงสรา งรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

แนวทางการจดั การเรยี นรู
สื่อการเรียนรู และแหลงการเรียนรู
การวัดและการประเมนิ ผล
ภาคผนวก

 อภธิ านศพั ท

 บรรณานกุ รม
 คำสั่งแตง ต้ังอนุกรรมการจัดทำหลกั สตู รรายวิชาเพ่มิ เตมิ

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4-6
กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี



ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตรว ิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำส่ัง
กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 3239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคำสั่งสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ 30/2561 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน
การเรยี นรูและตวั ช้วี ัด กลมุ สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) โดย
มีคำสั่งใหโ รงเรียนดำเนินการใชห ลักสูตรในปก ารศึกษา 2561 โดยใหใชในชั้นประถมศกึ ษาปที่ 3 และ 4
ตั้งแตปการศึกษา 2561 เปนตนมา ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และ
มาตรฐานการเรียนรูเปน เปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตาม
ศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในสตวรรษที่ 21 เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมาย
ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาชนั้ พนื้ ฐาน

โรงเรียนบานนาดอย จึงไดพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานนาดอย (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2564) ขึ้น เพื่อใหมีความสอดคลองหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ซงึ่ ประกอบดว ยสวนสำคัญ ดงั นี้

1. หลักสูตรแกนกลาง กำหนดโดยหนวยงานสวนกลาง (สพฐ.) เปนหลักสูตรที่ทุก
โรงเรียนในระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาผเู รยี นทุกคน องคประกอบ
สำคัญของหลักสูตรแกนกลาง ไดแก วิสยั ทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงคมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง โครงสรางเวลาเรียนพื้นฐาน
และเกณฑก ารวัดประเมินผลกลาง

2. สวนที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อใหสอดคลองเหมาะสมกับจุดเนนของ
สถานศึกษา ความสนใจ ความตองการ และความถนัดของผเู รียน หรือเพื่อพัฒนาสมรรถนะหรอื ศักยภาพ
ของผูเรียนในระดับสงู

และในฐานะท่ีเปน หนวยงานที่มีภารกิจหลักในการจดั การศกึ ษาใหผ เู รยี นไดมีการพัฒนาการอยาง
เต็มตามศกั ยภาพ จึงมบี ทบาทสำคญั ในการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษา ดำเนนิ การนำหลักสตู รสูการปฏิบัติ
ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอยางมีประสิทธิภาพ สรา งความมั่นใจตอ พอ แม ผูป กครอง และ
ชุมชนวา "ผูเรียนจะมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดและเกิดคุณลกั ษณะอันพึงประสงคตามที่
กำหนดไวใ นหลกั สตู ร"

ทัง้ น้ี เพอ่ื ใหบ รรลเุ จตนารมณด งั กลาว โรงเรียนบา นนาดอย จงึ ไดออกแบบหลกั สตู ร ใหค รอบคลุม
สวนที่เปนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนาผูเรียนใหบรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา มีความพรอมดานทกั ษะที่จำเปนในการดำเนินชวี ิตทามกลางการเปล่ียนแปลงทางสังคม จึงจัด
กระบวนการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญดานความสามารถในการสื่อสาร การคิด การ
แกปญ หา การใชทักษะชีวติ และการใชเทคโนโลยี มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค มุงเนนความมีวนิ ัย ความ
ขยัน ความซื่อสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ ความสามารถในการทำงานเปนทีม และจิตสาธารณะ รวมท้ัง
คานิยม 12 ประการ โดยคำนงึ ถงึ หลักพฒั นาการทางสมองและพหุปญญาครอบคลุม ท้งั 8 กลุมสาระการ
เรียนรู ที่สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น เพื่อเตรียมผูเรียนใหพรอมเขาสูการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี


รวมถึงการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพื่อนำไปใชประโยชน และเปนกรอบในการวางแผนและพัฒนา
หลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมี
กระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบตั ิ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตวั ชีว้ ดั โครงสรา งเวลาเรยี น กิจกรรม

การจัดหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝายท่ี
เก่ยี วของทัง้ ชุมชน ครอบครวั และบคุ ลากรทางการศึกษา ตอ งรว มรับผดิ ชอบ โดยรว มกนั ทำงานอยางเปน
ระบบและตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนนิ การ สงเสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแกไ ข เพ่ือ
พฒั นาเยาวชนไปสคู ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู ก่ี ำหนดไว

รายวชิ าเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี



สว นนำ

วสิ ัยทัศน (Vision)
หลักสูตรสถานศึกษาที่สงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศดานคอมพิวเตอร มุงพัฒนาขีด

ความสามารถของผูเ รียน ใหม คี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการประยุกตใ ชค อมพวิ เตอรในชีวติ ประจำวัน มี
ทักษะขั้นสูงในการใชและประยกุ ตใชคอมพิวเตอรอยางสรางสรรค เพื่อการศึกษาตอและการประกอบ
อาชีพ อยางมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

จดุ หมาย
หลักสูตรสงเสริมศักยภาพสูความเปนเลิศดานคอมพิวเตอร มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนที่มี

ความสามารถทางดานคอมพิวเตอร มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ
เก่ียวกับคอมพิวเตอร จงึ กำหนดเปน จดุ หมายเพอื่ ใหเ กิดกบั ผูเรียน เม่ือจบหลักสตู ร ดงั นี้

1. ผเู รียนมีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร
2. ผูเรียนมีความสามารถและทักษะขั้นสูงในการประยุกตใชคอมพิวเตอรอยางสรางสรรค
เพือ่ การศึกษาตอ และการประกอบอาชพี
3. ผูเรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมในการประยุกตใชคอมพิวเตอร เพื่อการศึกษาตอและการ
ประกอบอาชพี

สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานนาดอย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุงเนนใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะชวยใหผูเ รียนเกิด
สมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังน้ี

 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหมี

คุณลักษณะอนั พึงประสงค เพ่อื ใหส ามารถอยูรวมกบั ผูอ่นื ในสงั คมไดอยา งมีความสขุ ในฐานะเปนพลเมือง
ไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย
2. ซอ่ื สตั ย สุจริต ใชคอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยีอยา งมีจริยธรรม
3. มีวนิ ัย การทำงานและการฝก ฝนดา นคอมพวิ เตอร
4. ใฝเ รยี นรกู ารใชคอมพวเตอร และพัฒนาตนเองอยา งตอ เนื่อง
5. อยอู ยางพอเพียง
6. มุงม่ันในการทำงาน สรางสรางสรรค ชน้ิ งานอยา งมีคณุ ภาพ
7. รกั ความเปน ไทย มีการเคารพสิทธทิ างปญ ญาดา นคอมพวิ เตอร
8. มจี ิตสาธารณะ และมีความสามารถในการแสวงหาความรูและสบื คน ขอมูล

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี



 สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา นนาดอย รายวชิ าเพิม่ เติม คอมพวิ เตอร ตามหลกั สตู รแกนกลาง

การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ เนนใหผ ูเ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสือ่ สาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมใน

การใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารและประสบการณอ นั จะเปน ประโยชนต อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอ รองเพื่อ
ขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความ
ถูกตองตลอดจนการเลอื กใชว ิธีการสือ่ สาร ท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ีตอตนเองและสังคม

2.ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห
การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองค
ความรูหรือสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรค
ตาง ๆ ท่ีเผชิญไดอ ยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ มูลสารสนเทศ เขา ใจ
ความสัมพันธและการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณต าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรู มาใชใ น
การปองกนั และแกไ ขปญ หา และมกี ารตดั สินใจทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอตนเอง
สงั คมและสงิ่ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปน ความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ
ไปใชในการดำเนินชีวติ ประจำวนั การเรยี นรูดวยตนเอง การเรยี นรูอยางตอเน่อื ง การทำงาน และการอยู
รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง
ตาง ๆ อยา งเหมาะสม การปรับตัวใหทันกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจัก
หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ งึ ประสงคที่สง ผลกระทบตอตนเองและผูอ่นื

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเ ทคโนโลยี
ดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา นการเรียนรู
การส่ือสาร การทำงาน การแกป ญหาอยางสรา งสรรค ถกู ตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

ทำไมตอ งเรยี นคอมพิวเตอร
ปจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารไดเจรญิ กาวหนาอยางรวดเร็ว ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

ของมนุษยอุปกรณสื่อสารและคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทสำคัญตอการดำเนินกิจกรรมตาง ๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาคนควา และการทำธุรกิจ ดวยความกา วหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ทำ
ใหอ งคกรตางๆ นำเทคโนโลยเี หลา นเ้ี ขา มาชวยในการดำเนินงานขององคก รใหมปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขน้ึ ไม
วาจะเปนการรบั -สงขอ มลู ขา วสารอิเล็กทรอนิกส การทำธรุ กิจและใหบริการบนอินเตอรเน็ต ตลอดจนการ
ใชเ ปน เคร่ืองมอื ชวยในการทำงาน

ไมเพียงแตในองคกรตางๆ เทาน้ันท่ีนำคอมพิวเตอรเ ขา มาใชงาน ผูใชตามบานโดยทั่วไป ก็ได
จัดหาคอมพิวเตอรเขามาใชสวนตัวกันมากขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอรในปจจุบันมีราคาถูก แตมี
ประสิทธิภาพสูง รวมทั้งสามารถใชงานไดง ายกวาในอดีตมาก จนมีการประมาณการกันวา ในอนาคต
คอมพวิ เตอรจ ะเปนอปุ กรณพ ืน้ ฐานในทกุ ๆ ครัวเรือนเหมือนกบั เครื่องรับโทรทศั น

รายวิชาเพ่มิ เตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี



ดว ยสถานการณด ังกลา ว การเรยี นรกู ารใชง านคอมพวิ เตอรในระดบั เบอ้ื งตน จงึ เปนส่ิงท่ีมีความ
จำเปนอยางย่ิงในการดำเนินกิจกรรมตางๆ ไมวาจะเปนในการศึกษา การทำงาน หรือเพื่อความบันเทิง ให
มปี ระสิทธภิ าพและความสะดวกเพิ่มมากขน้ึ

เรียนรูอ ะไรเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร
เปนการเรียนรูเพื่อใหเขาใจระบบการทำงานของคอมพิวเตอร รวมทั้งเขาใจอุปกรณที่เปน

สวนประกอบ ทั้งท่อี ยูภายในตัวเครื่อง และภายนอก โดยการศึกษาความรเู บ้ืองตน และฝกปฏิบัตเิ ก่ยี วกับ
คอมพิวเตอร เรียนรูสว นประกอบและหลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร การใชโปรแกรมสำเร็จรปู
ฝกใชแปนพิมพตัวอักษรและคำ ระบบปฏิบัติการ และใชอินเทอรเน็ต ทักษะคนควาศึกษาหาความรูใหม
เพื่อประโยชนใ นชวี ติ ประจำวนั

คุณภาพผเู รียน
จบชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 4
ผูเ รียนมคี วามสามารถในการใชค อมพวิ เตอรพ้นื ฐานไดเปนอยา งดี ใชซอฟตแวรประยุกต

ในการสรางสรรคงาน สามารถออกแบบช้ินงานดวยโปรแกรม paint ไดอยางหลากหลาย มพี ื้นฐานดาน
วิทยาการคอมพิวเตอรเรียนรูการเขียนโปรแกรมอยางงาย เพื่อตอยอดความรูในการทำงาน และการ
ประกอบอาชพี อยางมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

จบชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5
1. ผเู รียนมีความสามารถในการใชงานโปรแกรม Paint ในการวาดภาพรปู ทรงเลขาคณิต

และออกแบบกราฟกบนคอมพิวเตอร และสามารถประยุกตใชโปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Office
ในการสรา งสรรคง านไดอยางหลากหลาย

2. ผูเรียนสามารถสืบคนขอมูลที่ตองการบนเครือขา ยอินเทอรเน็ต และมีพื้นฐานดาน
วิทยาการคอมพิวเตอรเรียนรูการเขียนโปรแกรมอยางงาย เพื่อตอยอดความรูในการทำงาน และการ
ประกอบอาชีพอยา งมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

จบชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6
1. ผูเรียนมีความสามารถในการใชคอมพิวเตอรไดอยางคลองแคลว และสามารถ

แกป ญหาและดูแลรกั ษาคอมพวิ เตอร รวมถงึ มีจิตสำนึกและมีสวนรบั ผิดชอบตอการใชง านคอมพวิ เตอร
2. ผูเรียนมีความสามารถใชงานโปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Office และโปรแกรม

Paint Brush ที่ติดตั้งมากับโปรแกรมไมโครซอฟตว ินโดวส ซึ่งเปนโปรแกรมสำหรับการออกแบบงานทาง
ศิลปะและความคิดสรางสรรค ในการสรางสรรคชิ้นงานตามจินตนาการ นำเสนอ เผยแพร เพื่อพัฒนา
ผลงานตนเองไดอ ยา งเหมาะสม

3. ผูเรียนสามารถสืบคนขอมูลที่ตองการบนเครือขายอินเทอรเน็ต และมีพื้นฐานดาน
วิทยาการคอมพวิ เตอรเ รียนรูการเขยี นโปรแกรมอยางงานผา นแพลตฟอรมออนไลน เพือ่ ตอ ยอดความรูใน
การทำงาน และการประกอบอาชพี อยา งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม

รายวิชาเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี



โครงสรา งหลักสตู ร
กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวิชาคอมพิวเตอร

ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา

รายวิชาเพม่ิ เติม รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า เวลาเรียน/สปั ดาห
ระดับชั้น ว ๑๔๒๐๑ คอมพิวเตอร ๑ ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห (๔๐/ป)
ชั้น ป.๔ ว ๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร ๒ ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห (๔๐/ป)
ชนั้ ป.๕ ว ๑๖๒๐๑ คอมพิวเตอร ๓ ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห (๔๐/ป)
ชน้ั ป.๖

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี



หลักสูตรคอมพวิ เตอรเ พม่ิ เตมิ
ช้นั ประถมศึกษาปที่ 4

รายวชิ าเพ่มิ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๐

โครงสรา งการจัดการเรียนรู

กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวิชาเพ่มิ เติม คอมพวิ เตอร 1 รหัสวิชา ว 14201

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4

เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง/ป

แผนการเรยี นรู เวลาเรยี น
(ชว่ั โมง)

ภาคเรียนที่ 1

แนะนำการใชง านคอมพวิ เตอร และอปุ กรณ 1

หนวยที่ 1 ซอฟตแ วรส ำเร็จรปู : โปรแกรม Paint 15

บทท่ี 1 การใชโ ปรแกรม Paint 3

- การเปด-ปด โปรแกรม paint

- กลอ งเครอ่ื งมอื

- หนาทข่ี องเคร่ืองมอื

- เครอ่ื งมอื รปู รา ง

บทท่ี 2 การสรา งสรรคช ้นิ งาน (การวาดรปู ดว ยโปรแกรม Paint) 12

- กำหนดหนากระดาษในการวาดภาพในโปรแกรม Paint

- วาดภาพโดยใชเ ครอื่ งมอื วาดภาพตา ง ๆ

- วาดภาพตามหวั ขอท่กี ำหนด

- การบันทกึ ไฟลภ าพในโฟลเดอรทกี่ ำหนด

ทดสอบ ประมวลผลงาน 2

หนว ยที่ 2 Search Engine 2

- โปรแกรม Google Chome

- การคนหาขอมลู

หนว ยที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 10
บทที่ 1 2
ซอฟตแ วรส ำเร็จรปู : โปรแกรม Microsoft Office เบือ้ งตน
บทท่ี 2 6
รจู ักโปรแกรมและการเปด -ปด โปรแกรม Microsoft Office
ทดสอบ - โปรแกรม Microsoft Word 2
หนว ยที่ 4 - โปรแกรม Microsoft PowerPoint 7
ทดสอบ - โปรแกรม Microsoft Excel 7
1
ประโยชนข องโปรแกรม Microsoft Office 2
- โปรแกรมประมวลผลคำ 40
- โปรแกรมนำเสนอขอมูล
- โปรแกรมตารางคำนวณ

ประมวลผลงาน

Computational Thinking : การเขยี นโปรแกรมอยา งงา ย
- เขยี นโคดอยางงาย ในรปู แบบ Offline

ประมวลผลงาน

สอบปลายป

รวมเวลาเรยี นท้งั ป

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๑๑

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เตมิ
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
รายวชิ าเพิม่ เติม คอมพวิ เตอร 1 รหัสวิชา ว 14201 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4
ศึกษาเรยี นรู ฝกทักษะการออกแบบดวยโปรแกรม Paint สามารถเปด - ปด โปรแกรม บอก
ชื่อและหนาทข่ี องเครื่องมือ รปู รา งเครือ่ งมอื ของโปรแกรม Paint สรา งสรรคชน้ิ งานอยางหลากหลาย และ
รูจักการใชงานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint เบื้องตน
เรียนรูก ารเขียนโปรแกรมอยางในรูปแบบ Online และ Offline และมีความรูเรื่องการสืบคันขอมูลทาง
อนิ เทอรเ นต็ เบ้อื งตน
โดยเนน ผูเรียนเปนสำคัญ ไดลงมือปฏบิ ตั ิจริง มีการสาธิต การนำเสนอ การสอนโดยใชเกม
การยกตัวอยาง การจัดเก็บผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝกทักษะการคิดแบบสรางสรรคและ
พัฒนาทกั ษะการแกปญ หาใหผูเรียนไดมีความอดทนสามารถคิดและแกปญหาไดม ีพื้นฐานดานวิทยาการ
คอมพวิ เตอรเ รียนรกู ารเขยี นโปรแกรมอยา งงา ยและใชเทคโนโลยี ใหเ หมาะสมกับงานได เพือ่ ประโยชนใน
ชวี ติ ประจำวัน
ผลการเรียนรู
ขอ 1 รจู กั การใชงานโปรแกรม Paint
ขอ 2 สืบคน ขอมลู โดยใชอนิ เทอรเ นต็ โดยใชเ ว็บไซตสำหรบั สบื คน ได
ขอ 3 สามารถเปด-ปด โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint , Microsoft
Excel ได
ขอ 4 รูจกั เคร่ืองมือการใชง านโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint
Microsoft Excel เบ้อื งตน
ขอ 5 มพี ้ืนฐานดา นวิทยาการคอมพิวเตอรเรยี นรกู ารเขยี นโปรแกรมอยางงา ย
รวม 5 ผลการเรยี นรู

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๑๒

โครงสรา งรายวชิ าเพมิ่ เติม

กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวชิ าเพ่ิมเติม คอมพิวเตอร 1 รหสั วชิ า ว 14201

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4

เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ป

ท่ี ชือ่ หนวยการเรยี นรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
เรยี นรู (ชวั่ โมง) คะแนน

แนะนำการใชง านคอมพิวเตอร และอปุ กรณ 1-

1 ซอฟแวรสำเร็จรปู : ขอ 1 โปรแกรมเพน ทเ ปนโปรแกรม 17 30

โปรแกรม Paint ท่ใี ชใ นการวาดภาพ และ

ระบายสที ่ตี ดิ ตั้งมาพรอ มกบั

โปรแกรม Microsoft

Windows มชี อ่ื เตม็ วา Paint

Brush เปน โปรแกรมที่

เหมาะสำหรับการฝก ออก

แบบงานทางศลิ ปะและ

ความคิดสรางสรรค

2 Search Engine ขอ 2 การคน หาขอมูลหมายถงึ การ 2 10
สบื คน ขอมูล ทีต่ อ งการ ทราบ
3 ซอฟแวรสำเรจ็ รปู : บนเครอื ขายอินเทอรเนต็ ที่
โปรแกรม Microsoft สามารถเขา ถึงไดส ะดวกและ
Office เบื้องตน รวดเรว็
โดยวธิ ีการคน หาสามารถทำ
ทำไดงา ย และใหผ ลลพั ธท ี่
แมน ยำ เรียกการคนหาขอ มูล
น้วี า Search Engine

ขอ 3 โปรแกรม Microsoft Word 10
ขอ 4 เปน โปรแกรมท่นี ยิ มใชในการ

พมิ พง านเอกสารตา ง ๆ เปน
โปรแกรมที่ใชงานงาย และ
สามารถตกแตงเอกสารให
นา สนใจ และสามารถตกแตง
เอกสารใหน า สนใจ
- Microsoft Word :

โปรแกรมระมวลผลคาํ
เหมาะกับงานดานกา
รพมิ พเอกสารทกุ ชนิด

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๓

ที่ ช่อื หนวยการเรยี นรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู (ชวั่ โมง) คะแนน
4 Computational
Thinking : การเขียน - Microsoft PowerPoint
โปรแกรมอยางงา ย
: ใชน าํ เสนอขอมูล
คะแนนตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู
คะแนนสอบภาคเรยี นที่ 1-2 - Microsoft Excel :
รวมตลอดปการศึกษา
โปรแกรมทางดานตาราง

คาํ นวณ

ขอ 5 แพลตฟอรม ออนไลน 8

code.org และโปรแกรมแบบ

Offline เปน การฝก เขียน

โปรแกรมอยา งงาย การเรียน

รจู ะมีลักษณะเปนการฝก

ทักษะการเขียนโปรแกรมตาม

สถานการณที่กำหนด

โดยเริม่ จากสถานการณงาย ๆ

ไปจนถงึ สถานการณทม่ี ีความ

ซบั ซอน

38 70

2 30

40 100

หมายเหตุ : สดั สวนคะแนนระหวา งเรียน : สอบปลายป 70 : 30

รายวิชาเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๑๔

หลกั สูตรคอมพวิ เตอรเ พม่ิ เตมิ
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๕

โครงสรา งการจัดการเรยี นรู

กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

รายวิชาเพมิ่ เติม คอมพิวเตอร 2 รหัสวิชา ว 15201

ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5

เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ป

แผนการเรยี นรู เวลาเรยี น
(ชว่ั โมง)

ภาคเรียนที่ 1

หนว ยท่ี 1 ซอฟตแวรสำเรจ็ รปู : โปรแกรม Paint 15
บทท่ี 1
การใชโปรแกรม Paint 3
บทท่ี 2
- การเปด-ปด โปรแกรม Paint
ทดสอบ
หนวยท่ี 2 - การใชแ ถบเครื่องมือดังนี้
หนวยที่ 3
บทที่ 1 o เครือ่ งมือใน Clipboard
o เครื่องมือใน Image
o เครื่องมือใน Tools
o เคร่อื งมือใน Shapes
o เครอ่ื งมอื ใน Colors
- เมนคู ำส่ังตา ง ๆ

- การวาดภาพอยางงาย

- การใสสใี นภาพ

- การใสขอ ความในภาพ

- การพมิ พผ ลงานออกทางเคร่อื งพมิ พ

การสรางสรรคการต ูนดว ยโปรแกรม Paint 10

- การวาดภาพออกแบบตัวการตนู (Cartoon Character Design)

o การกำหนดขนาดกระดาษในการวาดภาพ
o วาดภาพโดยใชเครือ่ งมือวาดภาพตาง ๆ
o การวาดภาพออกแบบตัวการต ูน
o การวาดภาพ องคป ระกอบตา ง ๆ
o การบนั ทกึ ไฟลภ าพในโฟลเดอรทก่ี ำหนดให
o การพมิ พผ ลงานออกทางเครอ่ื งพมิ พ

ประมวลผลงาน 2

Search Engine 4

- การสืบคน ขอ มลู 4

- เวบ็ ไซต Search Engine Site

- วิธกี ารคน หาขอ มูลจากคำทต่ี องการ Keyword (คียเ วริ ด )

ภาคเรียนท่ี 2

ซอฟตแ วรสำเร็จรูป : โปรแกรม Microsoft Office 10

รูจักแกรมและการเปด-ปดโปรแกรม Microsoft Office 2

- โปรแกรม Microsoft Word

- โปรแกรม Microsoft PowerPoint

- โปรแกรม Microsoft Excel

รายวิชาเพ่มิ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๖

บทที่ 2 แผนการเรียนรู เวลาเรียน
(ชว่ั โมง)
ทดสอบ ประโยชนของโปรแกรม Microsoft Office
หนว ยที่ 4 - Microsoft Word – โปรแกรมประมวลผลคำ 8
- Microsoft PowerPoint – โปรแกรมนำเสนอขอมูล
ทดสอบ - Microsoft Excel – โปรแกรมตารางการคำนวณ 2
7
ประมวลผลงาน 7
Computational Thinking : การเขียนโปรแกรมอยางงา ย
1
- แนะนำการเขียนแพลตฟอรม ออนไลน 2
- เขยี นโคด อยา งงา ย ในรปู แบบ Offline 40
ประมวลผลงาน

สอบปลายป
รวมเวลาเรยี นทง้ั ป

รายวชิ าเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๑๗

คำอธิบายรายวชิ า
กลุม สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
รายวชิ าเพิ่มเติม คอมพิวเตอร 2 รหัสวชิ า ว 15201 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5

ศึกษาการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟกเบื้องตน โปรแกรม Paint มีทักษะในการใช
โปรแกรม Paint ในการสรางสรรคงานการออกแบบตัวการตูนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรกราฟก
(Cartoon Character Design) และรูจักการใชงานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft Excel ,
Microsoft PowerPoint เบื้องตน สามารถสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ตเบื้องตน เรียนรูการเขียน
โปรแกรมอยา งงา ยผานแพลตฟอรม ออนไลน code.org

โดยเนน ผูเ รียนเปนสาํ คัญ ไดล งมือปฏิบัตจิ ริง มีการสาธิต การนําเสนอ การสอนโดยใช
เกม การยกตวั อยาง การจัดเก็บผลงาน การใชกระบวนการกลุม การฝก ทกั ษะการคิดแบบสรางสรรคและ
พฒั นา ทกั ษะการแกป ญหา

ใหผูเรียนไดมีความอดทนสามารถคิดและแกปญหาไดมีพื้นฐานดานวิทยาการคอมพิวเตอร
เรียนรู การเขียนโปรแกรมอยางงายและใชเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับงานได เพื่อประโยชนใน
ชวี ิตประจาํ วัน

โปรแกรมอยา งงา ยและใชเ ทคโนโลยีใหเ หมาะสมกับงานได เพื่อประโยชนในชวี ิตประจาํ วนั
ผลการเรยี นรู

ขอ 1 รจู กั และมที ักษะในการใชง านเคร่ืองมือโปรแกรม Paint
ขอ 2 ออกแบบตวั การตูน (Cartoon Character Design) ดว ยโปรแกรม Paint
ขอ 3 สบื คนขอมลู ผานเครอื ขา ยอินเทอรเ นต็
ขอ 4 เปด -ปด โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint , Microsoft Excel
ขอ 5 ระบุการใชง านโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint
Microsoft Excel เบอ้ื งตน
ขอ 6 เขยี นโปรแกรมอยา งงา ยผานแพลตฟอรม ออนไลน code.org
รวม 6 ผลการเรยี นรู

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๘

โครงสรางรายวชิ า

กลุม สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวิชาเพมิ่ เติม คอมพิวเตอร 2 รหสั วชิ า ว 18201

ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5

เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ป

ที่ ช่ือหนวยการเรียนรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ซอฟแวรสำเรจ็ รปู : ขอ 1 โปรแกรม Paint เปน 15 30

โปรแกรม Paint ขอ 2 โปรแกรมพน้ื ฐาน สำหรบั วาดภาพ

การสรางการตูนดวย รูปทรงเลขาคณติ หรอื การออกแบบ

โปรแกรม Paint กราฟกบนคอมพิวเตอร ที่มี

(ภาคเรยี นท่ี 1) รายละเอยี ดไมซบั ซอนมาก มี

ความสามารถในการสรา งภาพอยาง

งา ย ๆ เหมาะสำหรบั ผูเรม่ิ ตน ฝก

ออกแบบ หรอื เรียนท่ยี งั ไมม ที ักษะ

การใชค อมพิวเตอร เปน การไดโอกาส

ในการฝก ใชค อมพวิ เตอรพนื้ ฐาน และ

ฝก ใชเ ครอ่ื งมอื ตา ง ๆ เพื่อแกไข และ

สรา งภาพวาดข้ึนเอง หรอื นำรูปภาพ

มาจากแหลง อื่น ๆ เพื่อตกแตงดว ย

การใชเครือ่ งมือทีม่ ีอยูใ นโปรแกรม

เปนตัวชวย

การวาดภาพออกแบบตวั

การต ูน (Cartoon Character

Design) คือ การออกแบบลักษณะตวั

การตนู หรือการออกแบบเอกลกั ษณ

ใหก บั ตวั การต ูน อาทิ เปน ตวั อะไร

อยา งไร ทำหนา ท่ีอะไร มีอารมณื

อยางไร เปนตน

2 Search Engine ขอ 3 การคน หาขอมูล หมายถงึ การสืบคน 4 5

การสืบคน ขอมลู ขอ มลู ที่ตองการ ทราบบนเครือขา ย

(ภาคเรียนที่ 1) อนิ เทอรเ นต็ ทีส่ ามารถเขาถงึ ได

สะดวกและรวดเร็ว โดยวธิ กี ารคนหา

ทําไดง า ยและให

ผลลพั ธท ่ีแมนยํา ผานเว็บไซต

สาํ หรบั คน หา

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๑๙

ที่ ชือ่ หนวยการเรยี นรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
เรยี นรู (ชั่วโมง) คะแนน

ขอ มลู หรือเรยี กวา Search Engine

Site เว็บไซต www.google.com เป

นตน

3 ซอฟแวรสำเรจ็ รปู : ขอ 5 โปรแกร ม Microsoft office 10 10

การใชโ ปรแกรม เปนชุดโปรแกรมสํานกั งาน พัฒนา

Microsoft Word โดยบรษิ ัทไมโครซอฟทซ ง่ึ สามารถใช

Microsoft งานไดใ นระบบปฏิบตั กิ าร

PowerPoint วนิ โดวส ประกอบดว ยหลายโปรแกรม

Microsoft Excel เชน

(ภาคเรยี นที่ 2) - Microsoft Word : โปรแกรม

ประมวลผลคําท่ีออกแบบมาเพื่อช

วยใหส รางเอกสารแบบ ตาง ๆ

ได

- Microsoft PowerPoint :

โปรแกรมนาํ เสนอผลงาน สามารถ

นําเสนอผลงานในแบบ ตาง ๆ

- Microsoft Excel : โปรแกรม

ประเภทสเปรดชตี

(Spreadsheets) หรอื โปรแกรม

ตารางงานซง่ึ จะเก็บขอ มลู ตาง ๆ ลง

บนแผน ตารางงาน สะดวกตอ การ

คํานวณและการนําขอมลู ไปประ

ยุกตใช

4 Computational ขอ 5 แพลตฟอรม ออนไลน code.org และ 9 25

Thinking : การเขียน Offline ใช ฝก การเขียนโปรแกรม

แพลตฟอรม ออนไลน อยา งงา ย การเรยี นรูจ ะมี

(ภาคเรียนที่ 2) ลกั ษณะเปน การฝกทักษะ มภี ารกิจให

ฝก เขยี นโปรแกรมตามสถานการณท ่ี

กาํ หนด

โดยเริม่ จากภารกิจงา ย ๆ ไปจนถงึ

ภารกจิ ท่มี ีความซบั ซอ น

คะแนนตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู 38 70

คะแนนสอบภาคเรยี นท่ี 1-2 2 30

รวมตลอดปก ารศกึ ษา 40 100

หมายเหตุ : สัดสวนคะแนนระหวา งเรยี น : สอบปลายป 70 : 30

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๐

หลกั สูตรคอมพวิ เตอรเ พม่ิ เตมิ
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 6

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๒๑

โครงสรางการจัดการเรียนรู

กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

รายวิชาเพม่ิ เติม คอมพิวเตอร 3 รหสั วชิ า ว 16201

ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6

เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง/ป

แผนการเรียนรู เวลาเรยี น
(ชัว่ โมง)

ภาคเรยี นที่ 1

หนวยที่ 1 ซอฟตแวรสำเร็จรปู : โปรแกรม Paint 15
บทที่ 1
แนะนำ และทบทวรการใชเ คร่ืองมอื ในโปรแกรม Paint 3

- การบนั ทกึ

- การเปด

- การคัดลอก

- รปู แบบอกั ษร

- การใชเคร่ืองมือรปู รางตา ง ๆ

บทท่ี 2 การสรา งสรรคผลงาน ดวยโปรแกรม Paint 10
- วาดรปู รปู แบบสหี นาทาทาง
- กำหนดหัวขอ ตามสถานการณปจจุบนั

ทดสอบ ประมวลผลงาน 2
หนวยที่ 2 4
Search Engine 4

- คน หาขอ มลู ผานเวบ็ เบราทเ ซอร Google Chome
- การบนั ทึกขอ มลู

หนว ยที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 10
บทท่ี 1 2
ซอฟตแ วรสำเร็จรปู : โปรแกรม Microsoft Word เบ้ืองตน

แนะนำการใชงานโปรแกรม Microsoft Word เบือ้ งตน
- การจัดรูปแบบตวั อักษร
- การตัง้ คายอหนา
- การแทรกรูปรา ง
- การแทรกรูปภาพ
- การออกแบบเสน ขอบของหนากระดาษ

บทที่ 2 สรา งสรรคผ ลงานดวยโปรแกรม Microsoft Word 8
ทดสอบ - สรา งสรรคผลงานอยา งงา ย เชน การทำปกแฟมสะสม 2
ผลงาน การพมิ พป ระวตั สิ ว นตวั การพมิ พการดอวยพร

ประมวลผลงาน

รายวิชาเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๒

หนว ยที่ 4 แผนการเรียนรู เวลาเรยี น
ทดสอบ (ชวั่ โมง)
Computational Thinking : การเขยี นโปรแกรมอยา งงาย
- แนะนำการเขยี นแพลตฟอรม ออนไลน 7
- เขยี นโคด อยา งงาย ในรูปแบบ Offline 7

ประมวลผลงาน 1
สอบปลายป 2
40
รวมเวลาเรียนทง้ั ป

รายวิชาเพ่มิ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๒๓

คำอธิบายรายวชิ า
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
รายวิชาเพ่มิ เติม คอมพวิ เตอร 3 รหัสวชิ า ว 16201 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6
ฝก ทักษะการใชคอมพวิ เตอร โดยการใชง านโปรแกรมการสรา งภาพสวยดวยโปรแกรม Paint
เพื่อสรางสรรคชิ้นงาน การใชงานโปรแกรม Microsoft Word เบื้องตนสําหรับการพิมพงานเอกสาร มี
พืน้ ฐานดา นวิทยาการคอมพวิ เตอร เรยี นรกู ารเขยี นโปรแกรมอยางงายผา นทางเว็บไซต และมคี วามรูเ ร่ือง
การสืบคน ขอมูลทางอินเทอรเ นต็ เบือ้ งตน
โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการทักษะการคิดเชิงคํานวณ การคิดวิเคราะห
แกปญหา เปน ขน้ั ตอนและเปนระบบ กระบวนการสรางสรรคงาน สรา งความรู กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลงมอื
ทําจริง สรา งงานไดอ ยางสวยงาม และใชจ ินตนาการอยางสรางสรรค
มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดีตอการใชเทคโนโลยี และสามารถประยุกตใชความรูดา
นวิทยาการคอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ในการแกป ญหาท่ีพบในชีวิตจริงไดอ ยางมี
ประสทิ ธิภาพ
ผลการเรยี นรู
ขอ 1 ขอ 1 วาดภาพตามหัวขอ ทกี่ าํ หนดดว ยโปรแกรม Paint
ขอ 2 รจู ักเครอ่ื งมอื พ้นื ฐานโปรแกรม Microsoft Word สําหรบั พมิ พง านเอกสาร
ขอ 3 ออกแบบและจดั พิมพผลงานดว ยโปรแกรม Microsoft Word
ขอ 4 สืบคนขอมลู ผานเครอื ขา ยอินเทอรเ นต็
ขอ 5 บันทึกขอ มลู จากการสืบคนในหนวยบนั ทกึ ขอ มูล
ขอ 6 เขียนโปรแกรมอยา งงา ยผานแพลตฟอรม ออนไลน Code.org
รวม 6 ผลการเรียนรู

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๔

โครงสรางรายวชิ า

กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวชิ าเพม่ิ เติม คอมพิวเตอร 3 รหัสวชิ า ว 16201

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6

เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง/ป

ท่ี ชื่อหนวยการเรยี นรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
เรยี นรู (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ซอฟแวรสำเรจ็ รูป : ขอ 1 โปรแกรม Paintเปนโปรแก 15 30

โปรแกรม Paint รมทใี่ ชใ น การวาดภาพ และ

(ภาคเรยี นที่ 1) ระบายสที ีต่ ดิ ต้ังมาพรอ มกบั

โปรแกรมไมโครซอฟตว นิ

โดวสม ชี ่อื เต็มวา Paint

Brush เปนโปรแกรมท่ี

เหมาะสําหรบั ฝก ออกแบบ

งานทางศลิ ปะและความคิด

สรา งสรรคส รา ง

ภาพประกอบคาํ บรรยายให

โปรแกรมอ่ืน ๆ การสรา ง

สรรคผ ลงานดว ยโปรแกรม

Paintตามหวั ขอท่ีสนใจ เชน

การด วันครู การด สื่อรัก

วันแม วนั พอ วนั ปใ หม

2 Search Engine ขอ 4 การคน หาขอมลู หมายถงึ 4 5

(ภาคเรยี นที่ 1) ขอ 5 การสืบคน ขอมูลท่ีตองการ

ทราบบนเครือขา ยอินเทอร

เนต็ ท่ีสามารถเขาถึงได

สะดวกและรวดเร็ว โดย

วิธีการคนหาสามารถทาํ ได

งา ยและใหผลลพั ธท่ีแมน ยาํ

ผา นเวบ็ ไซตสาํ หรบั

คนหาขอ มูลหรือเรยี กวา

Search Engine Site

3 ซอฟแวรสำเร็จรูป : การ ขอ 2 โปรแกรม Microsoft Word 12 25

พิมพงานโดยใชเ คร่ือง เปนโปรแกรมทน่ี ิยมใชในการ

คอมพวิ เตอร พมิ พง านเอกสารตา ง ๆ เปน

(ภาคเรยี นท่ี 2) โปรแกรมทีใ่ ชงานงาย และ

รายวิชาเพ่มิ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๕

ท่ี ชอ่ื หนวยการเรยี นรู ผลการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
เรยี นรู (ชั่วโมง) คะแนน
4 Computational
Thinking : การเขียน สามารถตกแตง เอกสารใหน า
โปรแกรมอยางงายผา น
แพลตหอรม สนใจการพมิ พงานโดยใช

คะแนนตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู รปู แบบอกั ษร การใช
คะแนนสอบภาคเรยี นท่ี 1-2
รวมตลอดปการศึกษา อกั ษรศิลป การใชก รอบ

หนา กระดาษ การแทรก

รปู ราง รปู ภาพจาก

คอมพวิ เตอร และจาก

อนิ เทอรเนต็ เปนการจดั

เอกสารชน้ิ งาน ใหดูนา สนใจ

ยิง่ ข้นึ

ขอ 5 แพลตฟอรม ออนไลน 7 10

code.org และ Offline ใช

ฝก การเขยี นโปรแกรมอยา ง

งาย การเรยี นรจู ะมี

ลกั ษณะเปน การฝกทกั ษะ มี

ภารกิจใหฝก เขยี นโปรแกรม

ตามสถานการณท ่ีกาํ หนด

โดยเร่มิ จากภารกจิ งา ย ๆ ไป

จนถึงภารกจิ ท่มี ีความ

ซบั ซอน

38 70

2 30

40 100

หมายเหตุ : สดั สวนคะแนนระหวางเรยี น : สอบปลายป 70 : 30

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศึกษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๒๖

แนวทางการจดั การเรยี นรู

ผูสอนตองศึกษาหลักสตู รสถานศึกษาใหเ ขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ัด สมรรถนะสำคัญ
ของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณา
ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงเรียนรู การวัดและ
ประเมนิ ผล เพื่อใหผ ูเรยี นไดพ ัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเปาหมายที่กำหนด

ปจจุบันการศึกษาของประเทศไทยและประเทศตาง ๆ ไดเปลี่ยนแปลงกันไปตามยุคสมัย
โดยเฉพาะอยางยงิ่ เทคโนโลยีท่ี เขา มาเกี่ยวของกับชีวติ ประจำวนั ที่กอ ใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงดานตา ง ๆ
ท้ังเศรษฐกิจ วิถชี ีวิต สังคม ความเปนอยู รวมทง้ั สง การกระทบตอชวี ิตความเปน อยูของครอบครัว การ
จดั การศึกษาตองจัดเตรียมผูเรียนใหพรอมกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นดังกลา ว จาการที่ครูเคยเปนแต
เพยี งผูสอนผูถายทอดความรู (Teaching) เพยี งอยางเดียวคงไมเพียงพอที่จะทำใหผ ูเรียนเกิดการเรียนรูท่ี
จะสามารถนำมาไปใชและแกปญหาชีวิตประจำวนั ได ครูตองเปลี่ยนบทบาทของตนเองมาเปนผูใหความ
ชวยเหลือสนับสนุนผูเรียน (Coaching) ใหเ กดิ การเรยี นรูท ้ังในและนอกหองเรียน ชว ยเหลือชแ้ี นะแนวทาง
ใหผูเรียนรูจักศกึ ษา คนควาหาความรู แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเอง หากลยุทธวิธีการ คัดสรร
ความรู เทคโนโลยี และสิ่งที่มีอยูรอบกาย แยกแยะสิ่งดีและสิง่ ที่ไมดีไดดวยตนเอง มีใจเปนธรรม รูและ
เขา ใจในสถานการณต า งๆ พจิ ารณาเลอื กใชส ิ่งตา ง ๆ เหลา น้นั ใหเ กดิ ประโยชนกบั ตนเองและการดำรงชีวิต
ประจำวัน

ในการจัดการเรยี นรรู ายวชิ าคอมพิวเตอรใ หกบั ผูเ รียน ไมส ามารถท่จี ะนำทฤษฎกี ารจดั การเรียนรู
วิธใี ดวิธีหนึ่งมาใชใ นการจัดการเรียนรูใหประสบผลสำเร็จได ในการเลือกใชทฤษฎีการเรียนรูใดนั้นครจู ะ
พิจารณาถึงมาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงคการสอน และเนื้อหาการสอนแตละครั้ง ในบางครั้งตองใช
ทฤษฎีการสอนอยางหลากหลายมาผสมผสานกัน แลวนำมาประยุกตใชกับการสอน โดยครูตองคำนึงถึง
ธรรมชาติของวิชาแตละรายวิชา โดยเฉพาะการจัดการเรียนรูรายวิชาคอมพิวเตอรนั้น ครูควรจัด
ประสบการณการเรียนรูใหแกผูเรียนที่เปนประสบการณตรง โดยใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกปฏิบัติมากกวา
การสอนทฤษฎี เน่ืองจากธรรมชาตกิ ารเรียนรูรายวชิ าคอมพิวเตอร ผูเรียนน่ังอยูหนา จอคอมพิวเตอรยอ ม
ตองการปฏิบัติการการเรียนรูกบั เครื่องมากกวา จะฟงคำอธิบายจากครู ดังนั้น ในการสอนทฤษฎีหรือการ
แนะนำวธิ ีการใชโ ปรแกรมไมควรใชเวลามาก อธิบายเฉพาะทฤษฎีหรือหลักการ วิธีการทีจ่ ำเปนตองใชใ น
แตล ะครั้ง แลวใหผ ูเรยี นลงมือปฏิบัติ ระหวางการปฏบิ ัติถา ผูเ รยี นเกิดพบปญหาและมีขอซักถาม ครูควร
เขาไปอธิบายใหกับผูเรยี นใหเ ขาใจในทันที เพื่อลดปฏิกิรยิ าความคับของใจอันเกิดจากการไมรูไมสามารถ
ปฏิบัติไดของผูเรียน รวมทั้งตองเปดโอกาสใหผูเรียนไดซักถามเพื่อนท่ีอยใู กลเ คยี ง หรือนักเรียนที่สามารถ
จะใหคำแนะนำแทนครูได เพื่อใหเกิดการเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งการที่ครูเปดโอกาสให
นกั เรียนทเ่ี รียนรูและเขาใจไดเ ร็วไดอธิบายใหกับเพื่อนรวมเรียนไดรูไดเ ขาใจจะเปนการชวยใหนักเรียนคน
นั้นไดเกิดการเรยี นรู และจนจำสิ่งที่ครูสอนไดคงทนมากขึน้ สามารถรูและเขาใจอธิบายบอกตอ ไดอันจะ
สง ผลใหส ามารถนำส่งิ ทเี่ รยี นรู

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๗

การจดั กระบวนการเรยี นรู
1. การสาธิต ฝก ปฏบิ ตั ิ
2. การรว มอภปิ ราย แสดงความคิดเหน็
3. การศึกษาเอกสารจากใบความรู
4. การใชแ หลง เรียนรูจากการสืบคน ผานอนิ เทอรเนต็
5. นวตั กรรมการสอนของครผู สู อน

การบูรณาการ
1. การบรู ณาการรว มกบั กลมุ สาระการเรียนรูท ั้ง 8 กลมุ สาระการเรยี นรู
2. การบูรณาการกับแหลง เรยี นรตู า ง ๆ
3. บรู ณาการหลกั สูตรกลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร
4. บูรณาการหลกั สตู รทองถ่นิ

รูปแบบการเรียนการสอน
1. การสาธิต
2. การฝกปฏบิ ตั ิ
3. การนำเสนอผลงาน
4. การจดั นทิ รรศการ

สอ่ื การเรยี นรู และแหลงเรยี นรู

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชาคอมพิวเตอร เพิ่มเติม มีการจัดทำส่ือ
สำหรับการจัดการเรียนรู เพือ่ ใหน ักเรียนสามารถแสวงหาความรูไดดวยตนเองจากสื่อและแหลงเรียนรูที่
หลากหลาย โดยผสู อนมกี ารจัดทำสื่อท่หี ลากหลาย เชน สอื่ บัตรคำ สื่อบตั รภาพ เกมบงิ โก และส่อื จากการ
จดั กจิ กรรม วธิ ีการ เทคนิคการสอน เปน ตน

นอกจากสื่อที่ทำใหผูเรียนเขาใจบทเรียนงายขึ้นแลว ยังมีแหลงเรียนรูที่สามารถใชในการจัด
กิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน เพื่อใชในการศึกษาคนควาดวยตนเอง ไดแ ก หอ งสมุด หองคอมพิวเตอร
รวมถงึ หอ งปฏิบตั กิ ารตา ง ๆ ในโรงเรียน และแหลง เรยี นรูในหอ งเรยี น เชน มุม Computer Museum มุม
หนงั สอื วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

รายวิชาเพม่ิ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๘

การวดั และการประเมินผล

การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การ
ประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ให
ประสบผลสำเรจ็ นั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตวั ชี้วัดเพื่อใหบรรลุตามมาตรฐาน
การเรยี นรู สะทอ นสมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข องผเู รยี นซึ่งเปนเปา หมายหลักในการ
วัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษา และระดับชาติ การวดั และประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผเู รียนโดยใช
ผลการประเมินเปน ขอมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสำเร็จทางการเรยี น
ของผูเรียน ตลอดจนขอมูลที่เปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรูอยางเตม็
ตามศักยภาพ

การวัดและประเมินผลของการจัดการเรียนรูตองใหครอบคลุมทั้ง 3 ดาน คือ ความรู ทักษะ
ความสามารถและคณุ ลักษณะ

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู แบง ออกเปน 4 ระดบั ไดแ ก ระดบั ช้นั เรียน ระดับสถานศึกษา
ระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้

1. การประเมินระดบั ชัน้ เรยี น
เปนการวัดและประเมินผลที่อยใู นกระบวนการจดั การเรียนรู ผูสอนดำเนินการเปน ปกติ

และสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนคิ การประเมินอยางหลากหลาย เชน การซักถาม การ
สังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใช
แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาส ใหผูเ รียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมิน
เพ่อื น ผูปกครองรว มประเมิน ในกรณที ีไ่ มผา นตวั ชีว้ ัดใหม กี ารสอนซอมเสริม

การประเมินระดับชั้นเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการเรียนรู
อันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะตองไดรับการ
พัฒนาปรับปรุงและสง เสริมในดานใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชป รับปรุงการเรียนการสอนของ
ตนดว ย ทั้งน้โี ดยสอดคลองกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวชี้วดั

2. การประเมินระดบั สถานศกึ ษา
เปนการประเมนิ ที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผล การเรียนของผูเรียนเปน รายป/

รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพฒั นา
ผูเรียน นอกจากนี้เพื่อใหไ ดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาวาสงผลตอการเรียนรูของ
ผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผูเรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและ
สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อ
การจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและ
การรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา สำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ผูปกครองและชมุ ชน

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๒๙

3. การประเมนิ ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษา
เปนการประเมินคณุ ภาพผเู รียนในระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของเขต
พื้นทีก่ ารศกึ ษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน
ดวยขอสอบมาตรฐานท่ีจัดทำและดำเนินการโดยเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา หรือดว ยความรวมมอื กับหนวยงาน
ตนสังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา

4. การประเมินระดับชาติ
เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ชั้น
ประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เขารับการประเมิน ผลจากการ
ประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตางๆ เพื่อนำไปใชในการวางแผน
ยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนนุ การตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ขอมลู การประเมนิ ในระดับตาง ๆ ขา งตน เปน ประโยชนต อ สถานศกึ ษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแล
ชวยเหลือ ปรับปรุงแกไ ข สงเสริมสนับสนุนเพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความ
แตกตา งระหวางบุคคลทจี่ ำแนกตามสภาพปญหาและความตอ งการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผเู รียนท่ี
มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและ
พฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรยี น กลุมผูเรยี นที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทาง
รางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการ
ชว ยเหลือผเู รียนไดท นั ทวงที ปด โอกาสใหผ เู รียนไดรบั การพัฒนาและประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทำระเบียบวา ดวยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปน
ขอกำหนดของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เพอ่ื ใหบุคลากรท่เี กย่ี วของทกุ ฝา ยถือปฏบิ ัตริ วมกัน

5. การตดั สินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรูการอาน คิดวิเคราะหและเขียน

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคและกิจกรรมพัฒนาผเู รยี นน้นั ผสู อนตอ งคำนึงถงึ การพัฒนาผเู รียนแตล ะคนเปน
หลัก และตองเก็บขอ มูลของผูเรียนทุกดานอยางสมำ่ เสมอและตอ เน่ืองในแตละภาคเรยี น รวมท้ังสอนซอม
เสริมผเู รียนใหพ ฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดบั ประถมศกึ ษา
(1) ผูเรียนตอ งมีเวลาเรียนไมนอ ยกวารอ ยละ 80 ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(2) ผเู รยี นตอ งไดร ับการประเมินทุกตัวช้วี ัด และผา นตามเกณฑทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
(3) ผเู รยี นตอ งไดร บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(4) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษา
กำหนด ในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๓๐

ระดบั มธั ยมศกึ ษา
(1) ตัดสินผลการเรียนเปน รายวิชา ผูเรียนตอ งมเี วลาเรียนตลอดภาคเรียนไมนอย
กวารอยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวิชานัน้ ๆ
(2) ผเู รียนตอ งไดรับการประเมินทุกตวั ชี้วดั และผา นตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด
(3) ผเู รยี นตอ งไดร บั การตัดสนิ ผลการเรียนทกุ รายวชิ า
(4) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษา
กำหนด ในการอานคิดวิเคราะหแ ละเขยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
การพิจารณาเลื่อนชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถาผูเรียนมีขอบกพรอง
เพยี งเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวาสามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพนิ ิจของ
สถานศึกษาที่จะผอนผันใหเลือ่ นชั้นได แตหากผูเรียนไมผานรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปน
ปญ หาตอ การเรยี นในระดับช้นั ที่สงู ขนึ้ สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาใหเ รียนซำ้ ชน้ั ได ทั้งน้ีให
คำนงึ ถึงวฒุ ิภาวะและความรูความสามารถของผเู รียนเปน สำคัญ

6. การใหระดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษา

สามารถใหระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตัวอกั ษร
ระบบรอยละ และระบบท่ใี ชคำสำคญั สะทอ นมาตรฐาน

การประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขียน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคนน้ั ใหระดับ
ผลการประเมินเปน ดีเยีย่ ม ดี และผา น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑทส่ี ถานศึกษากำหนด และใหผ ลการเขารวมกิจกรรมเปน
ผาน และไมผา น

ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา ใหใชตัวเลขแสดง
ระดับผลการเรยี นเปน 8 ระดับ

การประเมนิ การอาน คิดวิเคราะหแ ละเขียน และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคนัน้ ใหระดับ
ผลการประเมนิ เปน ดเี ย่ียม ดี และผา น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนด และใหผ ลการเขา รวมกิจกรรม
เปน ผาน และไมผา น

7. การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรยี นเปนการส่ือสารใหผ ูปกครองและผูเรยี นทราบความกา วหนา

ในการเรียนรขู องผูเรียน ซึ่งสถานศึกษาตองสรปุ ผลการประเมนิ และจัดทำเอกสารรายงานใหผ ูป กครอง
ทราบเปน ระยะ ๆ หรอื อยา งนอ ยภาคเรยี นละ 1 คร้งั

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปนระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิของผูเ รียนท่ี
สะทอ นมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรยี นรู

รายวิชาเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๑

วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล
1. ดานความรู (K) ประเมนิ จากแบบทดสอบกอนเรียน หลังเรียน ระหวางเรียน ชิ้นงานหรือใบ

งานทไ่ี ดรับมอบหมาย
2. ดานทักษะ (P) ประเมินจากการแสดงบทบาทสมมุติ การลงมือปฏิบัตจิ ริง และสถานการณ

จำลองเพ่อื วดั ทกั ษะดานการสือ่ สาร
3. ดา นคณุ ลกั ษณะ (A) ประเมนิ โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทำกจิ กรรมในชั้นเรยี น

เกณฑการประเมิน หมายถงึ ดมี าก
รอ ยละ 80-100 หมายถงึ ดี
รอยละ 60-70 หมายถงึ พอใช
รอยละ 40-50 หมายถึง ปรับปรุง
รอ ยละ 0-30

รายวิชาเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๓๒

ภาคผนวก

รายวิชาเพิม่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๓

อภิธานศัพท

Browser (เบราเซอร)
เปนระบบงานที่ใชเพื่อคน หาทรัพยากรตาง ๆ และไดนําเสนอขอมูลท่ีเปนขอความภาพ กราฟก

เสียง ภาพเคล่อื นไหวในเอกสารบนจอภาพนั้น ๆ

Built-in (บวิ ทอนิ )
สิ่งที่ติดมาพรอมกันเปนชิ้นเดียวกัน สวนใหญมักใชกับเมนบอรดที่มีการดจอ การดเสียง หรือ

การด อน่ื ๆ ติดมาดว ยทเ่ี ราไดยินกนั บอ ย ๆ

Desknote (เดสกโ นต )
เปนคอมพิวเตอรขนาดเทาโนตบกุ แตใชอ ปุ กรณฮารดแวร แบบเดียวกับเครือ่ งเดสกท็อป

File (ไฟล)
ชอ่ื ชุดขอ มลู ทไี่ วบ นดิสกโ ดยท่ผี ใู ชนน้ั จะเห็นเปนช้ินเดียว หรอื เรยี กวาถงั เกบ็ ขอมูลตา ง ๆ บนแมเ หลก็

Folder (โฟลเดอร)
เปนที่จัดเก็บโปรแกรมหรือแฟมบนดิสก มีสัญลักษณเปนไอคอนกราฟกทีแ่ ทนตัวโฟลเดอรของ

แฟม และยงั เก็บโฟลเดอรอน่ื ๆ ไวภายในได

Freeware (ฟรีแวร)
ซอฟตแวรท่ไี ดร บั การจดลิขสิทธ์ิไวอนญุ าตใหคดั สําเนาไดและนําไปใชท่ไี หนก็ไดแบบอิสระ โดยท่ี

ไมต องเสยี คา ใชจา ยใด ๆ ทงั้ ส้นิ

Hang (แฮงก)
ลกั ษณะการใชง านทไี่ มปกติ การที่คอมพวิ เตอรไ ดห ยดุ การทํางานไมส ามารถปฏบิ ัติการตอไปได

Hardware (ฮารด แวร)
เปน สว นประกอบอิเลก็ ทรอนกิ สทางลกั ษณะตัวเคร่ืองของคอมพิวเตอร

Hi-End (ไฮเอ็น)
ระดบั สงู อยา งดมี ีระดบั

Keyword (คียเ วิรด )
คาํ ทีม่ คี วามหมายพเิ ศษในภาษาโปรแกรม คาํ สําคญั อาจเปน คําทไ่ี ดส งวนไว

Login (ลอ็ คอนิ )
เปน กระบวนการตอเขาไปยังเคร่อื งคอมพิวเตอร หรือวาเครือขายคอมพิวเตอรอนื่ ๆ เพื่อวา จะไดเขา

ไปใชขอ มลู นน้ั ๆ และในระบบสว นมากน้ันจะตองใสหมายเลขประจําตวั หรือรหสั ผานกอนทจ่ี ะเขาไปใช
Logoff (ล็อคออฟ)

การยกเลกิ การใชเ ชือ่ มตอกับระบบเครือขา ย

Notebook (โนต บคุ )
เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กที่สามารถทําการเคลื่อนยายไดมีจอภาพแบนและแปนพิมพที่สามารถ

พับเขาหากันไดลักษณะของเคร่ืองมขี นาดเล็ก และนำ้ หนักเบากวาแบบต้ังโตะ มีแบตเตอร่ที ่ีทํางานไดนาน
ถงึ 9 ชวั่ โมง กอ นท่ีจะนาํ ไปอัดกระแสไฟฟา อีก

รายวชิ าเพิ่มเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๔

Restart (รีสตารท)
การเรม่ิ ทํางานตอ เริ่มดาํ เนนิ การใหมอกี คร้งั

Server (เซิรฟ เวอร)
เปนลักษณะเครื่องพวิ เตอรทใ่ี หบรกิ ารตาง ๆ ซง่ึ หนา ทโ่ี ดยตรงแลว ไดใหบริการในดานการส่ือสาร

ดานการพิมพดานงานบริการอื่น ๆ เครือขายทุกเคร่ืองจะตอ งทําการตอเขามาขอใชดิสกก บั เครื่องพิมพที่
เครอ่ื งเซิรฟเวอร

Shareware (แชรแ วร)
โปรแกรมที่อนุญาตใหผูใชไดทําการทดลองใชกอน แตใชไดไมเต็มความสามารถ ลกั ษณะนี้เปน

การจดลิขสิทธแิ์ ละคัดสาํ เนาไดอ ยางอสิ ระ

Shut down (ชทั ดาวน)
การทําการปด ระบบการใชงานของคอมพวิ เตอรห รอื การปดเคร่ือง

Software (ซอฟตแ วร)
โปรแกรมคอมพิวเตอรต าง ๆ

Update (อัพเดต)
การใหข อมลู ท่ีทนั สมยั สง่ิ ที่เปลย่ี นแปลง ขอมูลใหมลาสดุ คําศพั ท คาํ อธบิ าย

Upgrade (อัพเกรด)
ขอมลู ท่ีไดทําการปรับปรุงใหมและยกระดับใหดีมากย่งิ ข้ึนเพิ่มความสามารถทําใหข อมูลนัน้ ทันสมัย

Upload (อพั โหลด)
การท่ีไดท าํ การสง แฟมของขอมลู หน่งึ ไปยังเครอ่ื งคอมพวิ เตอรอีกเคร่ืองหน่ึง การนาํ โอนยา ยไฟล

จากเครอ่ื งคอมพิวเตอรของผูใชไ ปยังเครื่องอน่ื ๆ

Website (เว็บไซต)
เปน การแสดงขอมลู บน เวลิ ดไวดเ ว็บ (WWW) โดยปกตขิ อมูลจะอยูทางดา นเซริ ฟ เวอร

Workstation (เวริ ก สเตช่ัน)
เปนลักษณะคําที่บงบอกวา ตัวคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพที่เหมาะสําหรับการใชงานทางดาน

วทิ ยาศาสตรแ ละทางดานวิศวกรรม
Bit ตัวยอ b อา นวา บทิ

เปนหนวยพื้นฐานของขอมูลในระบบเลขฐานสองที่แทนคาดวย 0 หรือ 1 บิต มักใชเพื่อวัด
ความสามารถของไมโครโปรเซสเซอรที่จะประมวลขอ มลู
Byte ตวั ยอ B อานวา ไบทยอมาจากคําวา BinarY digit Eight

เปนจํานวนหนวยความจําขนาด 8 บิต ที่ใชสําหรับแทนคาตัวอักขระ 1 ตัว จะเปนตัวอักษร
ตัวเลข และสัญลักษณตาง ๆเนื่องจากหนว ยไบทแทนคาหนวยความจาํ ไดนอยมาก จึงมักจะจัดกลุมเปน
กโิ ลไบท (KB), เมกกะไบท (MB) และกิกะไบท (GB)เพ่อื ความ สะดวกในการบอกความจขุ องหนวยความจํา
ตวั อยางเชน อารด ดสิ กม็ คี วามจุ 500 GB

Hertz (เฮิรตซ)
เปน หนวยวดั ความถข่ี องกระแสไฟฟา ใชบอกความเร็วของอุปกรณค อมพิวเตอร

รายวิชาเพม่ิ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๓๕

dpi อา นวา ดีพีไอ ยอ มาจากคาํ วา dots per inch
คือ หนวยวดั คา ความละเอียดของภาพ คิดเปนจํานวนจุดตอ นิว้

Abort (อบอรท)
การไมทำงานของเคร่ืองโดยมสี ่งิ ผดิ ปกติเกดิ ข้ึน

Access (แอคเซส)
เขา ถงึ , บอกตำแหนง , การอา นหนวยความจำ, และทำใหพรอ มทจ่ี ะนำมาใชงาน คำวา access

ใชก บั การเขาสูแผนดสิ ก, แฟมขอมูล, ระเบยี นและเครือขา ยตางๆ

Address (แอดเดรส)
สงั กดั , ตำแหนง ท่ีอยูข องคลงั ขอ มูลในคอมพวิ เตอรท ่วั ๆ ไป คลังขอ มูลแตล ะแหงจะมตี ำแหนงท่ี

อยขู องระบบ หนวยความจำอาจเปน 0, 1, 2, 3 ฯลฯ

Analog (อนาลอค)
การเปลีย่ นแปลงรปู แบบทางกายภาพท่ตี อเนื่องกนั ไป

Append (แอพเพน็ ด)
ผนวกหรอื เพ่มิ เตมิ เขา กับ ใชในการบนั ทกึ ขอ มลู เพิ่มเติมเขาไปในแฟมขอมลู ในตอนสุดทา ย หรือ

หมายถึงการเพิ่มเติมตวั อักษรเขา ไปทา ยแถวของตัวอกั ษร
Backup (แบค็ อัพ)

สำเนาของโปรแกรม แผน ดิสก หรือขอมลู ซึง่ จัดทำขนึ้ เพอ่ื ประกนั วาโปรแกรม แผน ดิสก หรือ
ขอ มูลเหลา นจ้ี ะไมถ กู ลบเลือนไปเม่ือโปรแกรม แผนดสิ กห รือขอมลู ที่กำลังใชอ ยนู ้ันถกู ทำลายไป
Bandwidth (แบนวทิ )

ในการส่อื สาร ความกวา งของชว งคลืน่ วดั จากชวงของความถี่สูงที่สุดมาหาความถีต่ ่ำทสี่ ดุ ในชว ง
ความถขี่ องคล่นื ขนาดใดขนาดหน่งึ
Bar code (บารโ คด)

รหัสพิเศษชนิดหนึ่ง ท่ีพมิ พต ดิ เอาไวไวบนสินคา (หรอื สิง่ อืน่ ใด) ในลักษณะเปนชดุ ของเสนตรงต้ัง
เรยี งกนั เสน ตรงเหลานนั้ มคี วามกวางแตกตางกัน ใชใ นการตรวจสอบทถ่ี กู ตองอยางไมม ีผิดพลาดไดอยาง
รวดเร็ว มกั ใชตามหา งสรรพสนิ คา ซูเปอรมาเก็ต หองสมดุ และอน่ื ๆ
Batch (แบช)

กลมุ ของเอกสารหรอื กลุมของระเบยี นขอมูล (data record) ซ่ึงถูกนำมาประมวลผลในฐานะเปน
หนวยเดียวกัน

Cable (เคเบิล้ )
สายเคเบลิ เปน สายส่อื ทีใ่ ชตอเช่อื มโยงระหวา งอุปกรณชนดิ ตา งๆ ของคอมพวิ เตอร มวี ัสดุหอ หุม

สายเพือ่ ปองกนั ความเสยี หายและการร่วั ไหล อุปกรณต า ง ๆ ทต่ี อ เชื่อมดว ยสายเคเบลิ เชน แปน พิมพ
(keyboard) เมาส (mouse) เครอ่ื งพมิ พ (printer) เปน ตน

Call (คอล)
การถา ยทอดโปรแกรม การควบคุมงานไปยังสว นหนึง่ สว นใดของรหัสในขณะท่ีกลังเก็บรกั ษา

(save) สารสนเทศท่จี ำเปน เพือ่ ใหก ารควบคมุ การทำงานกลับมายงั จดุ ทีเ่ รยี ก

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพิวเตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 4-6
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๖

Card (การด)
การด หมายถงึ แผนวงจรซ่งึ พิมพส ำเรจ็ หรือหมายถงึ adapter ซง่ึ สามารถนำมาเสียบตอเชื่อม

โยงเขากบั คอมพวิ เตอร เพือ่ ใหสามารถทำหนาทอ่ี ยา งใดอยางหนงึ่ เพม่ิ ข้ึนได

CD (ซดี ี)
คำยอ ของ Carrier Detect เปนสญั ญานทส่ี ง มาจากโมเด็ม ซ่งึ เสยี บตอ เชอ่ื มโยงอยูกับ

คอมพวิ เตอร เพือ่ แสดงใหเห็นวา โมเดม็ นัน้ กำลงั อยใู นสาย

Data (ดาตา )
ขอมูล

Database (ดาตา เบส)
ฐานขอมูล แหลงที่รวบรวมขอมลู ไวเ พ่ือใชสำหรับการคนควา หรอื นำมาใช; แฟมขอมลู อยางหน่งึ

ซง่ึ ประกอบดวยระเบียน (record) หรอื ตาราง (table) ระเบียนแตละระเบียน ตา งกป็ ระกอบไปดว ย field
(หรอื column) ตา งๆ

Debug (ดีบ๊ัค)
การคน หา การแกไขขอผดิ พลาดทางตรรกะในโปรแกรมคอมพวิ เตอร หรือการคน หาและแกไ ข

ขอผดิ พลาดทางดานฮารดแวร

Delete (ดีลีท)
การลบขอความ ลบแฟม ขอมูล หรือสว นหนึ่งสวนใดของเอกสาร

Desktop (เดสท็อป)
เน้อื ท่บี นจอภาพ ซงึ่ จดั ไวใหผ ูใชไดใชประโยชน เหมอื นกบั การใชโ ตะ ทำงาน

Edit (อดี ิท)
การปรับปรงุ แกไข เปลี่ยนแปลงเนือ้ เรื่อง เอกสาร หรือแฟมขอมลู เพ่ือใหถ ูกตองและดีขึน้

Encode (เอนโคด)
ทำเปน รหัส เชน การปอ งกันการเขาถึงขอมลู คุณสามารถแปลงขอ มูลใหเปน รหัสอยางใดอยางหนึง่

Environment (เอนไวรอนเมน )
ชดุ ของอุปกรณหรือ เคร่ืองใชตางๆ ทำใหผ ใู ชสามารถใชเ ครื่องมอื เครือ่ งใชร ะบบใดระบบ

Error (เอเรอ ร)
ผิดพลาด ทางดานคอมพิวเตอร ความผิดพลาด (error) เปนผลลัพธของเหตุการณ ซึง่ ไมเ ปนไป

ตามทีค่ าดคิด ความผิดพลาดในดา นตา งๆ ทางคอมพวิ เตอร

File (ไฟล)
แฟม , แฟม ขอมลู เปน แหลง รวบรวมขอ มลู หรือสารสนเทศ รวมทงั้ โปรแกรมตางๆ ดวย

Floppy disk (ฟล็อบปด สิ ก)
แผนดิสกชนิดออน ทำดวยสาร Mylar เคลอื บดว ยสารแมเ หลก็ หรอื เหลก็ ออกไซต (ferric oxide)

สำหรบั ใชเ กบ็ ขอมลู

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศึกษาปที่ 4-6
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๗

Font (ฟอนต)
รูปแบบและลักษณะของตวั อักษรชนดิ หนง่ึ ๆ

Format (ฟอรแมต)
รปู แบบ โครงสรางหรือลกั ษณะของหนว ยหน่ึงๆ ของขอ มูล

Freeware (ฟรแี วร)
โปรแกรมคอมพวิ เตอรท ีใ่ หเ ปลาไมต องเสียเงินซือ้

Giga (จก๊ิ กะ)
อา นวา จ๊กิ กะ มีคาเทา กับ 10 ยกกำลงั 9 หรือ 1,000,000,000

Global (โกลบอลล)
สากล, ทั่วโลก, ทั้งหมด เมื่อนำมาใชกับคอมพิวเตอรหมายถึง ทั้งหมด เชน ทั้งหมดโปรแกรม

เอกสารตลอดเร่อื งหรือท้งั เรอ่ื ง เปนตน

Grid (กริด)
ตารางซงึ่ เกดิ จากเสน ตรง 2 ชุดตัดกนั คือเสนตรงชุดตงั้ และเสนตรงชุดนอน

Hardware (ฮารด แวร)
ฮารดแวร ตัวเคร่ืองของคอมพิวเตอรและตัวเครื่องของอุปกรณประกอบภายนอก (peripheral)

อนื่ ๆ

Header (เฮดเดอร)
หัวกระดาษ หนาเอกสารใน word processing ขอความแถวบนสุดที่มีไวเพื่อบอกชื่อหนังสือ

หรือเอกสารน้ัน หรอื บท หรอื ตอนนัน้ ๆ

Help (เฮลป)
กิจลักษณอยาง หนึ่งมีไวสำหรับชวยเหลือการใชคอมพิวเตอร ในโปรแกรมปฏิบัติการตางๆ

ประกอบไปดว ยคำแนะนำ และการแกปญหาตางๆ ในการทำงานในโปรแกรมนนั้ ๆ

Host (โฮสต)
หลกั ในระบบคอมพวิ เตอร ซ่ึงมีคอมพวิ เตอรหรอื อุปกรณอนื่ ๆ ตอเชอ่ื มโยงอยู

Icon (ไอคอ น)
ไอคอน ภาพเล็กๆ ที่ปรากฏบนจอภาพเพื่อแทนโปรแกรมกิจลักษณ (feature) หรือแฟมขอมูล

ใดๆ เมื่อตองการใชสิ่งเหลานี้ ผูใ ชเพียงแคคลิกท่ี icon เหลานี้ โปรแกรม กิจลกั ษณ หรือแฟมขอมูลน้ัน ก็
จะเปด ออกมาใหใชไดท ันที

Image (อมิ เมจ)
ภาพ หมายรวมถึง รูปภาพที่ปรากฏบนกระดาษ บนจอภาพ หรือรูปภาพที่เก็บไวในคอมพิวเตอร

หรอื รปู ภาพท่สี รางข้นึ มาจาก pixel (bitmap) ดว ย

Import (อมิ พอรต )
นำเอาเอกสารสารสนเทศจากท่อี ื่น ระบบอ่ืน หรือโปรแกรมอน่ื มาสคู อมพิวเตอรของผใู ช

รายวิชาเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๓๘

Information (อนิ ฟอรเมชัน่ )
สารสนเทศ ไดแกขอมูลที่นำมาแปลความหมายแลว เปน ขอเท็จจริงท่ีไดจากขอมูล หลังจากทีไ่ ด

ประมวลผลขอ มูลนั้นๆ แลว

Input (อนิ พุท)
การนำขอมลู หรือ สารสนเทศเขาสูคอมพิวเตอร เชน ใชแปนพิมพ (keyboard) หรือการนำเขา

จากแฟม ขอมูลบนแผน ดสิ ก ผานทางชอ งดสิ ก เปน ตน

Kernel (เคอรเนล)
ศูนยก ลางของระบบ ควบคุมการปฏิบัติงาน สวนหนึ่งของระบบที่จัดการเกี่ยวกับหนวยความจำ

แฟม ขอมูลและอุปกรณตอ เชือ่ มโยงตางๆ เปนสว นทร่ี ักษาเวลาและวันเดือนป สว นน้ีทำหนา ท่ีนำโปรแกรม
ปฏบิ ตั ิการออกมาทำงาน และเปนสวนทก่ี ำหนดระบบแหลง ขอมลู

Key (คยี )
แปน คยี บ นแปน พมิ พ ในภาษาไทยมกั เรยี กวา แปนอักษร

Keyboard (คียบอรด)
แปนพิมพ หรือ คียบอรด เปนอุปกรณประกอบภายนอกอยางหนึ่งของคอมพิวเตอร มีลักษณะ

คลา ยแปน พมิ พด ดี เปนเครือ่ งมือนำขอมลู เขา (input device) อยา งหนงึ่ ของคอมพิวเตอร

(คยี เ วริ ด )
คำไข ขอความ วลี หรือ รหัสใดๆ ที่เก็บไวใน key field และนำมาใชเรียงลำดับ หรือใชในการ

คนหาในระเบยี น; คำซ่งึ ไดส งวนไวเ พื่อใชใ นภาษาโปรแกรม หรอื ใชใ นระบบการปฏิบตั งิ านโดยเฉพาะ

Kilo (กโิ ล)
เทากับ 1,000 ตามระบบเมตริก ในทางคอมพิวเตอร kilo จะเทากับ 1024 หรือ 2 ยกกำลัง

10 เพราะวาใชเลขฐาน 2 เนื่องจากมีความแตกตางกันเชน นี้ ในทางปฏิบัติจึงมักใช k แทน 1.000 และ
K แทน 1024 เชน 1 kHz = 1,000 hertz และ KB = 1024 byte เปนตน

Speed (สปด )
ความเร็ว

Storage (สโตเรท)
การจัดเกบ็

Power (พาวเวอร)
พลัง

Slot (สลอท)
ชอ ง

Socket (ชอคเกท็ )
เตารับ

Mailbox (เมล-บล็อก)
ตูจดหมาย

รายวิชาเพ่ิมเตมิ | คอมพวิ เตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

๓๙

Control (คอน-โทล)
การควบคมุ

Test (เทส)
ทดสอบ

Unit (ยนู ติ )
หนว ย

Store (สะโตล)
เกบ็

Program (โปรแกรม)
โครงการ

Concept (คอนเซป)
แนวคดิ

Memory Stick (เมมเมรี สะต๊ิก)
หนว ยความจำขนาดเล็ก

Memory (เมมเมรี)
หนว ยความจำ

Static (สะเตกดิส)
คงท่ี

Fast (ฟาส)
รวดเร็ว

Random (แรนดอม)
สมุ

Functtion (ฟง กช่นั )
สูตรคำนวณที่ใสเขาไปในคอมพิวเตอร เพ่ือการคำนวณตามขอมูลที่ปอนเขาไป เครื่องจะทำการ

คำนวณตามสตู รที่ปอนเขาไปแลว สง ผลออกมา
FAT (แฟต ) (File Allocation Table)

พื้นที่เกบ็ ขอมูลที่เก่ียวกับตำแหนงของชื่อไฟลต าง ๆ โดยการระบุชื่อไฟลทำใหสามารถอานไฟล
ตา ง ๆ บนเครอื่ งคอมพวิ เตอรไ ด

รายวิชาเพิ่มเตมิ | คอมพิวเตอร| ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

๔๐

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐาน
การเรียนรแู ละตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560). [ออนไลน]. 2561.
แหลง ท่มี า : http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=75 [2 เมษายน 2564]

สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธกิ าร. คลงั ความรู
SciMath : บทเรยี น : เทคโนโลย.ี [ออนไลน] . 2560. แหลงทมี่ า :
https://www.scimath.org/lesson-technology/item/7120-2017-06-04-07-03-36
[2 เมษายน 2564]

Microsoft ThaiLand. Micrisoft ดานการศึกษา. [เวบ็ ไซต]. 2564. แหลงทม่ี า :
https://www.microsoft.com/th-th/ [2 เมษายน 2564]

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ | คอมพวิ เตอร| ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คำส่งั โรงเรียนบำ้ นนำดอย
ที่ 18 / 2564

เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมกำรดำเนินกำรพัฒนำและจดั ทำเอกสำรประกอบหลักสูตรสถำนศกึ ษำ
โรงเรยี นบำ้ นนำดอย พุทธศักรำช 2564 รำยวชิ ำเพมิ่ เตมิ
-------------------------------------

ตามอนุสนธิคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 1239/2560 ส่ง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง
กาหนดให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราชการ 2551 และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันฐาน ที่ 30/2561
ส่ัง ณ วันที่ 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปลี่ยนมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
เพ่อื ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาผเู้ รยี นให้มีศกั ยภาพในการแข่งขันและดารงชวี ิตอย่างสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลกตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และคาสั่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ที่ 921/2561 ส่งั ณ วันที่
3 พฤษภาคม 2561 เร่ือง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และ
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ียนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้งน้ี เพ่ือเป็นการลดความซ้าซ้อน
ของเนอื้ หาสาระเกี่ยวกบั เทคโนโลยี

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไข
เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.
2546 และมาตรา 27 แหง่ พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 เพอ่ื ให้
การพัฒนาและจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีความชัดเจน ถูกต้อง และมี
ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและจัดทาเอกสารประกอบหลักสูตร
สถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านนาดอย พทุ ธศกั ราช 2564 รายวชิ าเพม่ิ เติม ดงั น้ี

1. คณะกรรมกำรอำนวยกำร มีหน้าท่ี ควบคุม กากับ ติดตาม ดูแลให้คาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือ

แกผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือให้งานดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดทาหลักสูตร

สถานศกึ ษา ประกอบด้วย

1.1 นายพีระยทุ ธ์ สุขสมบูรณ์ ประธานกรรมการ

1.2 นายภูวนาถ ปัญญา รองประธานกรรมการ

1.3 นายพงษ์พฒั น์ ต้งั ตระกลู กรรมการ

1.4 นายณรงคศ์ ักด์ิ ดเี พยี ร กรรมการ

/1.5 นายนริ ันดร.์ ..

2

1.5 นายนริ ันดร์ ประเสรฐิ รตั นา กรรมการ
1.6 นางพัชราภรณ์ สมวสิ ัตย์ กรรมการและเลขานุการ

2. คณะกรรมกำรดำเนินงำน มีหน้าท่ีพัฒนาและจัดทาเอกสารประหลักสูตรสถานศึกษา ในรายวิชา
เพ่ิมเติม ตามโครงการหลักสูตรของสถานศึกษา โดยรวบรวมข้อมูลการจัดทาสูตรรายวิชาเพ่ิมเติม คาอธิบาย
รายวชิ า มาตรฐานการเรียนรู้ กาหนดผลการเรียนรู้ และจดั ทาเล่มเอกสารประกอบหลักสตู รนาเสนอคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานเพือ่ พจิ ารณาอนุมัติ และประกาศใช้ในปกี ารศึกษา 2564 ประกอบด้วย

1.1. หลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ รำยวชิ ำเพิม่ เติม ดนตรี
1) นายพงษพ์ ฒั น์ ตั้งตระกูล ครชู านาญการ

3.2.หลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม รำยวิชำเพ่ิมเติม ต้ำนทุจริต

ศึกษำ

1) นางสาวอุษา คงเดมิ ครู

3.3. หลกั สตู รกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี รำยวิชำเพิม่ เตมิ คอมพิวเตอร์
1) นางสาวพิมพ์สมัย ไพโรจน์ ครูผชู้ ว่ ย

3.4. หลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย รำยวิชำเพม่ิ เตมิ ภำษำไทย

1) นายณรงคศ์ กั ดิ์ ดเี พยี ร ครู

2) นางสาวสาวิตรี พิทกั ษ์ ครู

3) นางสาวชลลดา วสุทวีพูน ครผู ้ชู ว่ ย

3.5.หลกั สูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์ รำยวิชำเพิ่มเตมิ คณติ ศำสตร์

1) นางสาวอษุ า คงเดิม ครู

2) นางสาวมุฑิตา ทวบี ุญภิรมย์ ครผู สู้ อน

3.6.หลักสตู รกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ รำยวชิ ำเพ่มิ เติม ภำษำองั กฤษ
1) นางสาวศศินา เจริญพรกุล ครผู ูช้ ่วย
2) นางสาวขนิษฐา ชลใสเย็น ครผู ู้ช่วย

ให้ผู้ทีไ่ ดร้ ับแตง่ ตัง้ ตามคาสั่งน้ี ปฏิบัติหน้าทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมายดว้ ยความเอาใจใส่ เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ งาน
บรรลวุ ัตถุประสงค์ตามทไี่ ดก้ าหนดไว้ทกุ ประการ

ท้งั นี้ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป

สงั่ ณ วนั ที่ 1 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564

(นายพีระยทุ ธ์ สขุ สมบรู ณ)์
ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นนาดอย



โรงเรยี นบ้านนาดอย

311 หม่ 9 ตาบลแมส่ วด อาเภอสบเมย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

สานกั งานเขตพืน้ ทกี ่ ารศึกษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน เขต 2


Click to View FlipBook Version