The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jittiwa.260656, 2022-02-14 04:56:30

สมศ รอบ 3

สมศ รอบ 3

รายงานการประเมินคณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR
ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19

ศนู ย์พัฒนาเดก็

รหัสสถานศกึ ษา ๓๐๕๐๖๐๗๘๐๑ ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ สบแมข่ ่า
สงั กดั กองการศกึ ษาองค์การบริหารสว่ นตาบลสบแม่ขา่
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ระดบั ชนั้ ทีเ่ ปิดสอน อายุ ๒ ปี ถึง อายุ ๔ ปี

ต้งั อยหู่ มู่ที่ ๓ ตาบลสบแมข่ ่า อาเภอหางดง จังหวัดเชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๒๓๐
โทรศพั ท์ ๐๘-๒๗๕๘-๓๔๒๔

สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา
(องคก์ ารมหาชน)

ตอนที่ ๑
สรปุ ข้อมูลเกีย่ วกับสถานศึกษา

(ข้อมลู ณ วนั ที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๔)

๑. ข้อมูลทว่ั ไปของสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั

ประเภท จานวน หมายเหตุ
๓๘
๑.๑ ขอ้ มลู ผ้เู รียน ๑ ปฏิบตั ิหนา้ ที่
จานวนเดก็ บรหิ ารและดแู ล
๑.๒ ข้อมูลบคุ ลากร เด็ก
ผบู้ ริหาร
หมำยเหตุ
ครหู รอื ผูด้ ูแลเด็ก ๑
บุคลากรสนบั สนุน พนกั งานจ้างสอน ๑
อื่น ๆ โปรดระบ.ุ .....พเ่ี ลี้ยงเด็ก และภารโรง....... ๒
๑.๓ จานวนหอ้ ง
หอ้ งเรยี นปฐมวยั ๒
ห้องปฏบิ ัตกิ าร -
หอ้ งพยาบาล -
อน่ื ๆ โปรดระบุ............. -

๒. สรปุ ขอ้ มูลสาคญั ของสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั จำนวน

ประเภท ๑ : ๑๙
๒.๑ การศกึ ษาปฐมวัย ๑ : ๑๙
อัตราส่วน ครูหรือผูด้ ูแลเด็ก ต่อ เด็ก
อัตราส่วน หอ้ ง ตอ่ เด็ก  ครบชนั้
 ไมค่ รบชน้ั
จานวนครูหรือผู้ดแู ลเด็กครบชนั้
-
๒.๒ ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษา
อนุบาลปีที่ ๓ ๒๐๐

๒.๓ จานวนวันท่สี ถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนจรงิ
ในปกี ารศึกษาที่ประเมิน
การศึกษาปฐมวยั



ตอนท่ี ๒
ผลการประเมนิ SAR รายมาตรฐาน และข้อเสนอแนะ

มาตรฐานท่ี ๑ การบรหิ ารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

จุดเน้น ผูบ้ รหิ ารมีการบรหิ ารจัดการอย่างเป็นระบบ

ผลการพจิ ารณา ตวั ชว้ี ดั สรปุ ผลประเมนิ
 ๑. มกี ารวางแผนการดาเนนิ การในแตล่ ะปีการศึกษา
 ๒. มีการนาแผนการดาเนนิ การไปใชด้ าเนินการ o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ)
 o พอใช้ (๔ ข้อ)
 ๓. มีการประเมินผลสมั ฤทธิ์ของการดาเนินการตามแผน  ดี (๕ ข้อ)
๔. มีการนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ แก้ไขในปี

การศกึ ษาต่อไป
๕. มกี ารนาเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาใหผ้ มู้ ีส่วน

ได้สว่ นเสียได้รับทราบ

ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดบั สูงข้ึน
ศูนย์พัฒนาเด็กควรระบุข้อมูลลงใน SAR คร้ังต่อไปให้มีความชัดเจน โดยระบุเอกสารหลักฐานว่ามีการ

ดาเนินงานตามโครงการอะไร แล้วเขียนสรุปตามวงจรคุณภาพ PDCA ให้เห็นภาพของกระบวนการพัฒนาว่ามีการ
วางแผน การดาเนินการ การประเมินผล และนาผลสู่การพัฒนาอย่างไร พร้อมทั้งแสดงหลักฐานการปฏิบัติงาน
ให้เห็นภาพ เช่น สรุปโครงการในรูปแบบตารางหรือกราฟิก มีภาพถ่ายที่เก่ียวข้องประกอบ เป็นต้น ยกตัวอย่าง
เช่น การจัดประสบการณ์ และกิจกรรมให้เด็ก ทาให้เด็กมีความสุขสนุกกับการเล่น จัดได้เหมาะสมกับอายุหรือ
วัยของเด็ก และจัดตามศักยภาพ ตามความสนใจ และความต้องการของเด็ก จัดกิจกรรมสลับความหนักเบากัน
ไป ตามตารางการจัดกิจกรรมประจาวัน อาจมีการบูรณาการการจัดกิจกรรม และเวลาได้ เป็นต้น ซ่ึงสามารถท่ีจะ
ทาให้ครอบคลุมทุกประเดน็ พจิ ารณาตามมาตรฐาน โดยต้องช้ใี ห้ผ้อู า่ น SAR เหน็ ว่าไดด้ าเนนิ การจริง



มาตรฐานที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กใหก้ ารดแู ลและจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้และการเลน่ เพอ่ื พัฒนาเดก็ ปฐมวัย

จดุ เนน้ ครูจดั ประสบการณ์และกจิ กรรมเหมาะสมตามวยั

ผลการพจิ ารณา ตวั ช้วี ดั สรุปผลประเมิน

 ๑. ครหู รือผดู้ แู ลเด็ก มกี ารวางแผนการจดั ประสบการณ์ o ปรับปรุง (๐-๓ ขอ้ )
o พอใช้ (๔ ข้อ)
การเรียนรู้รายปคี รบทุกหนว่ ยการเรียนรู้ ทุกช้นั ปี  ดี (๕ ขอ้ )

 ๒. ครหู รอื ผดู้ ูแลเดก็ ทุกคนมีการนาแผนการจดั ประสบการณ์

การเรียนรู้ไปใชใ้ นการจัดประสบการณ์โดยใช้สือ่ เทคโนโลยี

สารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้

 ๓. มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์อย่าง

เป็นระบบ

 ๔. มกี ารนาผลการประเมนิ มาพฒั นาการจัดประสบการณ์ของครู

หรอื ผดู้ แู ลเดก็ อย่างเปน็ ระบบ

 ๕. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู ป้อนกลับเพ่อื พัฒนา

ปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์

ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงขึ้น
ศูนย์พัฒนาเด็กควรมีการระบุวิธีการในการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็ก ลงใน

SAR อย่างชัดเจน มีการระบุวิธีการพัฒนาครูหรือผู้ดูแลเด็กที่สอดคล้องกับเป้าหมาย กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
ประจาปี และจัดทาโครงการพัฒนาครูหรือผู้ดูแลเด็ก เช่น ให้ครูหรือผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมโครงการอบรมพัฒนา
ศักยภาพครูศูนย์พัฒนาเด็ก หรือจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครู ห รือผู้ดูแลเด็กใน
การจัดประสบการณ์ และกิจกรรมให้เหมาะสมตามวัย และให้ครูหรือผู้ดูแลเด็กเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรพัฒนาเด็ก
หรือหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย ๒๐ ช่ัวโมงต่อปี มีการนิเทศ กากับ ติดตามจากหน่วยงานต้นสังกัด และ
ครูดว้ ยกนั ในการจดั ประสบการณ์ และกจิ กรรมใหก้ ับเด็ก เปน็ ตน้ โดยให้ครูหรือผู้ดูแลเด็กใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่
เขา้ มาชว่ ยในการจดั ประสบการณ์ และพัฒนาแหล่งเรียน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตลอดจนการจัดสภาพแวดล้อมภายใน
และภายนอกใหส้ ะอาด สวยงาม และมคี วามปลอดภยั



มาตรฐานที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย

จดุ เน้น เดก็ มีสขุ นสิ ัยทดี่ ีในการดูแลสุขภาพตนเองตามวัย

ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ัด สรปุ ผลประเมนิ

 ๑. มีการระบุเป้าหมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั o ปรบั ปรุง (๐-๓ ข้อ)
o พอใช้ (๔ ข้อ)
 ๒. มีการระบุวธิ พี ัฒนาคุณภาพของเดก็ ปฐมวัยอย่างเปน็ ระบบ  ดี (๕ ข้อ)

ตามเป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวยั

 ๓. มพี ฒั นาการสมวยั ตามเป้าหมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

 ๔. มีการนาผลประเมนิ คุณภาพของเด็กปฐมวยั มาพฒั นาเด็ก

ปฐมวยั ให้มพี ัฒนาการสมวยั

 ๕. มีการนาเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัยตอ่ ผู้ท่ี

เกีย่ วขอ้ ง

ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดับสูงข้ึน
ศูนย์พัฒนาเด็กควรระบุข้อมูล หรือกิจกรรมท่ีดาเนินการลงใน SAR ให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านเห็นว่า

ศูนย์พัฒนาเด็กมีวางแผนการดาเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพของเด็ก โดยมีโครงการ กิจกรรมใดบ้างท่ีสนับสนุนการ
พัฒนาระบุกระบวนการ วิธีการให้ชัดเจน มีการนาผลการประเมินคุณภาพของเด็กในปีการศึกษาท่ีผ่านมา
ข้อเสนอแนะต่างๆ และจากบันทึกการเฝ้าระวัง และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มาเป็นข้อมูลในการกาหนด
เป้าหมาย และวางแนวทางในการพัฒนาเด็กอย่างไร เด็กได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม ประสบการณ์ใดบ้าง เช่น กิจกรรม
หลัก ๖ กิจกรรม เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง กิจวัตรประจาวัน เรียนรู้จากส่ือ และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น เปน็ ต้น

ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม

ศนู ย์พฒั นาเดก็ ควรระบุขอ้ มูลลงใน SAR ในครงั้ ต่อไปให้มีความสมบูรณเ์ พม่ิ มากขึน้ โดย ระบุข้อมูลแผนการ
ดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานที่ชัดเจนตามวงจรคุณภาพ PDCA มีข้อมูลการดาเนินงานตาม
โครงการ หรือกิจกรรมท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation) ในแต่ละมาตรฐาน
เพ่ิมเติมในส่วนบทสรุปผู้บริหารเพ่ือแสดงให้เห็นภาพรวมของผลการดาเนินงาน หลักฐานสนับสนุนผลการ
ดาเนินงาน และแผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ข้ึนของศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก หนา้ สารบัญ ควรใสเ่ ลขหน้าให้ตรงกับ
ข้อมูลในเล่ม มีเว็บไซต์ หรือเฟซบุ๊กของศูนย์พัฒนาเด็ก เครือข่ายไลน์กลุ่มเพื่อแลกเปล่ียนการเรียนรู้
การจัดประสบการณ์ และกิจกรรม ตลอดจนการเผยแพร่ผลการจัดการศึกษาให้ผู้เก่ียวข้องทราบ เช่น ผู้ปกครอง
ชมุ ชน คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็ก ต้นสังกัด ทางสื่อออนไลน์และเอกสาร ซ่ึงจะทาให้ SAR มีคุณค่า และ
เปน็ ฐานข้อมลู เบอ้ื งต้นของศนู ยพ์ ัฒนาเด็กอยา่ งแท้จริง



คารบั รอง

คณะผู้ประเมินขอรับรองว่าได้ทาการประเมิน SAR ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกของสานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซ่ึงตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกบน
ฐานความโปรง่ ใส และยุตธิ รรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผู้ประเมินดงั นี้

ตาแหน่ง ช่ือ - นามสกลุ ลายมือชอื่

ประธาน พตท.ชินวฒุ ิ อาภรณ์รัตน์

กรรมการและเลขานุการ นางธญั วรตั ส์ โยธา

วนั ที่ ๑๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔




Click to View FlipBook Version