The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by neenpoo01, 2021-12-26 23:17:50

บูรณาการ

บูรณาการ

อทิ ธิพลของอาณาจกั รโบราณกบั สิ่งทเี่ หลือไว้
ให้กบั ปัจจุบนั

อทิ ธพิ ลของอาณาจักรโบราณทม่ี ตี อ่ สงั คมไทย

อาณาจกั รโบราณในไทยมีกระจายตวั อยู่ทุกภาค
• ภาคกลาง อาณาจกั รทวารวดี อาณาจกั รละโว้
• ภาคเหนือ อาณาจกั รโยนกเชียงแสน อาณาจกั รหริกญุ ชยั อาณาจกั ร

ลา้ นนา
• ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ อาณาจกั รโครตบูรณ์ อาณาจกั รอิศานปุระ
• ภาคใต้ อาณาจกั รลงั กาสุกะ อาณาจกั รตามพรลิง อาณาจกั รศรีวิชยั

อทิ ธิผลของอาณาจกั รโบราณทม่ี ีตอ่ ปัจจุบนั

ศาสนา การเมอื งการ ภาษาและ ศลิ ปกรรม
และความเชอื่ ปกครอง กฎหมาย

ลงั กาสกุ ะ (พุทธศตวรรษที่ 6-18)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ อ่ี าเภอยะรงั จงั หวดั ปัตตานี
• ชว่ งปลายกลายเป็ น รฐั บรรณาการของศรวี ชิ ยั
• หลงั จากน้ันก็ถกู เปลยี่ นใหก้ ลายเป็ นรฐั ปัตตานี

ในพทุ ธศตวรรษท2่ี 1
• หลกั ฐานทพี่ บ ซากเมอื งยะรงั และสะธปู ดนิ เผา

อาณาจกั รตามพรลงิ ค ์ (พทุ ธศตวรรษท่ี 13-18)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ นี่ ครศรธี รรมราช
• เอกสารจนี สมยั ราชวงศถ์ งั เรยี กวา่ “ถา่ มเหรง่ ”
• เคยนับถอื ฮนิ ดกู อ่ นทจ่ี ะเปลยี่ นเป็ น พุทธเถรวาทตามลงั กา

สกุ ะ
• ตอ่ มาตกอยตู่ า้ ยอทิ ธพิ ลของสโุ ขทยั และอธุ ทยาตามลาดบั
• หลกั ฐาน พระบรมธาตเุ จดยี ว์ ดั พระมหาธาตุ

อาณาจกั รอศิ านปุระ(พทุ ธศตวรรษท่ี 12-18)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ พ่ี ระนครกมั พูชา
• พุทธศตวรรษท1่ี 3 แยกเป็ นเจนละนา้ และเจนละบก
• ปกครองแบบสมบูนณาญาสทิ ธริ าชย(์ รบั มาจากอนิ เดยี )
• นับถอื ศาสนา พราหมณ-์ ฮนิ ดู และพทุ ธมหายาน
• พระเจา้ ชยั วรมนั ท2่ี รวบรวมเขมรและนครวดั
• พระเจา้ ชยั วรมนั ท7ี่ รงุ่ เรอ่ื งทสี่ ดุ สรา้ งนครธม
• หลกั ฐาน ปราสาทหนิ พนมรงุ ้ ปราสาทเมอื งตา่ ปราสาท

เมอื งสงิ ห ์ ปราสาทหนิ พมิ าย

อาณาจกั รโคตรบรู ณ(์ พทุ ธศตวรรษท่ี 12-16)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ น่ี ครพนม
• มคี วามเชอ่ื เรอื่ งพยานาค
• นับถอื พุทธนิกายเธวราชรบั มาจากทวารวดี
• รบั แบบแผนการปกครองมาจากอนิ เดยี
• รบั ศลิ ปะวฒั ณธรรมจากเขมร
• ถกู อศิ านปรุ ะยดึ ครอง
• หลกั ฐาน เจดยี พ์ ระธาตพุ นม

อาณาจกั รทวารวดี (พทุ ธศตวรรษท่ี 11-16)
• มศี นู ยก์ ลางทไี่ ม่แน่ชดั เพราะพบหลกั ฐานหลายท่ี
• จนี เรยี ก โตโลโปตี้
• คาดวา่ เป็ นชาวมอญ เพราะพบจารกึ มอญอยมู่ าก
• นับถอื พทุ ธนิกายเรวาท
• ระบบการปกครองแบบอนิ เดยี (รปู แบบกษตั รยิ )์
• เสอ่ื มเพราะลงการแผ่อานาจเขมร
• หลกั ฐาน ธรรมจกั รบั กวางหมอบ จารกึ พระคาถา เย

ธมุมา

อาณาจกั รละโว ้ (พุทธศตวรรษที่ 12-18)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ เี่ มอื งละโวห้ รอื ลพบรุ ใี นปัจจบุ นั
• จนี เรยี กวา่ หลอหู
• ตานานจามเทววี งศ ์ เรยี กชาวละโวว้ า่ ชาวรามญั
• รบั วฒั นธรรมจากเขมร เชน่ สระนา้ บารายในเมอื ง

สรา้ งศาสนสถานไวศ้ นู ย ์ กลางเมอื งมพี ระปรางค ์
• นับถอื พุทธนิกายเถรวาท
• หลกั ฐานปรางสามยอด เทวรปู ศลฺ า

อาณาจกั รโยนกเชยี งแสน(พทุ ธศตวรรษที่ 12-19)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ เี่ มอื งเชยี งแสน (อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั

เชยี งราย)
• เป็ นเมอื งทเ่ี กดิ นา้ ทว้ มใหญใ่ นพุทธศตวรรษท1ี่ 6ทาใหผ้ ูค้ น
• ตอ้ งยา้ ยไปกาแพงเพรช

อาณาจกั รศรวี ชิ ยั พทุ ธศตวรรษท1่ี 3-18
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ เ่ี มอื งปาเล็มบงั -อาเภอไชยา
• จนี เรยี กวา่ ชานโฟชิ
• เจรญิ รงุ่ เรอื งในดา้ นการคา้ เป็ นเมอื งทา่ คา้ ขาย
• เสอ่ื มลงจากการโจมตขี องอนิ เดยี ใต ้
• หลกั ฐาน รปู หลอ่ สารดิ พระโพธสิ ์ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวล
• เจดยี พ์ ระบรมธาตไุ ชยา

อาณาจกั รหรกิ ญุ ชยั (พทุ ธศตวรรษท่ี 13-19)
• ศนู ยก์ ลางอยทู่ ลี่ าพูน
• จนี เรยี กวา่ หมหี่ วงั กก๊
• มตี านานพระนางจาเทววี งศ ์ มูลศาสนา ทถี่ กู เชญิ จะ

ละโวโ้ ดนฤาษวี าสเุ ทพ ใหม้ าปกครองเมอื ง
• ตอ่ มาโดนพระยามงั รายจากลา้ นนาเขา้ ตยี ดึ เมอื ง
• หลกั ฐาน พระเจดยี ก์ กู่ ดุ พระธาตหุ รภิ ญุ ชยั

อาณาจกั รลา้ นนา(พุทธศตวรรษท่ี 19-25)
• มศี นู ยก์ ลางอยทู่ เ่ี มอื งนพบุรศี รนี ครพงิ คเ์ ชยี งใหม่
• มกี ฎหมายทใี่ ชป้ กครองเรยี กวา่ “มงั รายศาสตร”์
• เจรญิ ศงู สดุ ในยคุ ของพระเจา้ ตโิ ลกราช
• ตามถกู รวมกลายเป็ นสว่ นหนึ่งของอยธุ ยาในสมยั ร.5

อทิ ธิผลของอาณาจกั รโบราณทมี่ ีต่อปัจจุบนั

ศาสนา การเมอื งการ ภาษาและ ศลิ ปกรรม
และความเชอื่ ปกครอง กฎหมาย

พราหมณ-์ ฮนิ ดู กษตั รยิ ป์ กครองแบบอนิ เดยี บาลี สนั สฤต อกั ษรขอม ปราสาทหนิ
พุทธนิกายมหายาน สมบูรณาญาสทิ ธริ าช ไทย มอญ ลา้ นนา และ รปู ป้ันตา่ งๆ
พุทธนิกายเถรวาท กฎหมายมงั รายทตี่ อ่ มามี เจยด์ ตี า่ งๆ
พยานาค การดดั แปลงเป็ น เทวรปู
กฎหมายตราสามดาง


Click to View FlipBook Version