6
อุบตั ิเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไม่คาดคิด ซึ่งแต่ละครงั้ นามาซึ่งความสูญเสียต่อสุขภาพ
ร่างกาย จิตใจ และทรพั ยส์ ิน แต่อบุ ตั ิเหตุนัน้ เป็ นสิ่งที่ป้องกนั และหลีกเลย่ี งได้หากทกุ คน
ในชุมชนร่วมมือร่วมใจกนั ดาเนิ นการเพ่ือเสริมสร้างความปลอดภยั โดยการป้องกนั การเกิด
อบุ ตั ิเหตุ ตระหนักถึงสาเหตทุ ี่ก่อให้เกิดอบุ ตั ิเหตุ และค้นหาวิธีการแก้ไข พร้อมทงั้ ป้องกนั
โดยใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท
อบุ ัติเหตุ
อุบตั ิเหตุ หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่ทันคิด ถือกนั ว่าเป็ นความบงั เอิญท่ีเกิดขึ้น
โดยไม่ได้ตงั้ ใจละไมค่ าดฝันมาก่อน
อบุ ัตเิ หตเุ ป็ นเหตุการณ์เกดิ ขนึ้ โดยไม่คาดคดิ ทาให้เกิดการบาดเจ็บขึน้
อบุ ัตเิ หตุ
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
สาเหตทุ ี่เกิดจากคน
สาเหตทุ ่ีเกิดจากวตั ถุ
สาเหตทุ ่ีเกิดจากสภาพแวดล้อมอนั ตราย
การข้ามถนนทางม้าลายช่วยลดอุบัติเหตุ การเคารพกฎจราจรช่วยลดอบุ ัตเิ หตุ
สถานการณ์และแนวโน้มของอุบัตเิ หตุ
ปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงต่ออุบัตเิ หตุจากการจราจรทางบอก
ปัจจยั เสียงต่อการเกดิ อุบัติเหตุ
ปัจจยั เส่ียงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ ได้แก่ สภาพของรถ สภาพถนน และสภาพดินฟ้ าอากาศ
อุบัตเิ หตุจากยานพาหนะ
ปัจจยั เสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงต่ออบุ ัตเิ หตุจากการจราจรทางบอก
พฤติกรรมเส่ียงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอบุ ตั ิเหตุ ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงท่ีเกิดจากผ้ขู บั ขี่ พฤติกรรม
ท่ีส่งผลต่อการขบั ข่ี
พฤติกรรมเสียงท่ีเกิดจากการขบั ข่ี
๑.๑ การขบั รถเรว็ เกินอตั ราที่กฎหมายกาหนด
๑.๒การใช้โทรศพั ทม์ ือถือในขณะขบั รถ
๑.๓ การขบั ข่ีด้วยความคึกคะนอง
๑.๔ การขบั รถแขง่ บนถนนหลวง
ปัจจยั เส่ียง และพฤติกรรมเสี่ยงต่ออบุ ัติเหตุจากการจราจรทางบอก
พฤติกรรมเส่ียงต่อการเกดิ อุบัติเหตุ
พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการขบั ข่ี
๒.๑ การเมาแล้วขบั
๒.๒การงว่ งแล้วขบั
๒.๓สภาพร่างกายที่ไมพ่ รอ้ ม
๒.๔เสพสารเสพติดขณะขบั รถ
พฤติกรรมไมป่ ้องกนั ความปลอดภยั
๓.๑ การไมส่ วมหมวกนิรภยั
๓.๒การไม่คาดเขม็ ขดั นิรภยั
ปัจจัยเส่ียง และพฤตกิ รรมเสี่ยงต่ออุบัติเหตุจากการจราจรทางบอก
การสร้างวนิ ัยจราจร เป็ นส่ิงท่ีจะต้องทาอย่างต่อเน่ือง
การสร้างเสริมความปลอดภยั ในชุมชน
ความปลอดภยั ในชุมชน หมายถึง การท่ีคนในชมุ ชนมีพฤติกรรมความปลอดภยั หรือ
พฤติกรรมท่ีไม่เส่ียง ทงั้ พฤติกรรมส่วนบุคคล และพฤติกรรมส่วนรวม มีสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ที่ปลอดภยั ท่ีทาให้คนในชมุ ชนปลอดภยั และปราศจากส่ิงท่ีเป็นอนั ตรายต่อชีวิต ร่างกาย
จิตใจและทรพั ยส์ ิน
ชุมชนต้นแบบในการรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน
การสร้างเสริมความปลอดภยั ในชุมชน
แนวทางในการดาเนินการโดยการมีส่วนรว่ มของชมุ ชนในการสรา้ งความปลอดภยั มีดงั นี้
การเฝ้าระวงั พฤติกรรมความปลอดภยั เป็ นการดาเนินการทางด้านความปลอดภยั
ที่แสวงหาข้อมูลเพื่อประเมินพฤติกรรมเสี่ยงของปัญหาการเกิดอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้น
ในชมุ ชน
โรงเรียนสรา้ งเสริมความปลอดภยั เป็นกระบวนการพฒั นางานด้านความปลอดภยั
ทางด้านการป้องกนั อบุ ตั ิเหตขุ องโรงเรียน
การประชาสมั พนั ธอ์ บรมให้ความรู้ เป็นกิจกรรมการสร้างเสริมความปลอดภยั เพื่อ
การป้องกนั อบุ ตั ิเหตใุ นชมุ ชน
การสนับสนุนการใช้อุปกรณ์ป้องกนั ความปลอดภยั เช่น หมวกนิ รภยั เพื่อให้ประชาชน
มีอปุ กรณ์ในการป้องกนั ความปลอดภยั
การเตรียมพร้อมรบั มือกบั ภาวะฉุกเฉิ นในชุมชน การรบั มือกบั อุบตั ิเหตุท่ีเกิดขึ้นใน
ชมุ ชน
การสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
การคาดเขม็ ขัดนิรภัยช่วยลดอันตรายจากเกดิ อบุ ัตเิ หตุ
กจิ กรรมในการสร้างเสริมความปลอดภยั ในชุมชน
การจดั กิจกรรมในการเสริมสร้างความปลอดภยั ในชมุ ชน ต้องอาศยั หลกั ๓ E คือ
Education (การศึกษา) คือ กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความปลอดภยั
พฤติกรรมเส่ียง วิธีการป้องกนั และการแก้ไขปัญหาการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นชมุ ชน
Engineering (การออกแบบและพฒั นา) คือ ต้องมีความปลอดภยั ในโครงสรา้ งของชมุ ชน
Enforcement (การใช้กฎหมาย) คือ การใช้กฎหมายและระเบียบข้อบงั คับต่างๆ
ในการสร้างความปลอดภยั เพอื่ การป้องกนั อบุ ตั ิเหตทุ ่ีจะเกิดในชมุ ชน
แนวทางการมีส่ วนร่ วมในการสร้ างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
๑. จดั ตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานด้านการเสริมสร้างความปลอดภยั
๒. จดั ทาแผนป้องกนั อบุ ตั ิเหตทุ ี่มีโอกาสเกิดขึน้ ได้ในชมุ ชน
๓. จดั ตงั้ ชมรมต่างๆ เพือ่ การเสริมสร้างความปลอดภยั เพอื่ การป้องกนั อบุ ตั ิเหตใุ นชมุ ชน
๔. สารวจปัญหา และความต้องการของคนในชมุ ชนในการป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ
๕. จดั ให้มีการดาเนินการตามความต้องการของคนในชมุ ชน
๖. ประเมินผลการดาเนินงานท่ีผา่ นมา เพอื่ ให้ทกุ คนในชมุ ชนได้ทราบถึงผลท่ีเกิดขนึ้
สรุป
อบุ ตั ิเหตเุ กิดขึน้ จากสาเหตสุ าคญั ๓ ประการ คือ สาเหตทุ ี่เกิดจากคน สาเหตุท่ีเกิดจาก
วตั ถุและสาเหตุที่เกิดจากสภาพแวดล้อมท่ีเป็ นอนั ตราย ซ่ึงพฤติกรรมเส่ียงต่อการ
เกิดอบุ ตั ิเหตุ คือ พฤติกรรมเสี่ยงท่ีเกิดจากการขบั ขี่ พฤติกรรมเสี่ยงท่ีส่งผลต่อการขบั ขี่
และพฤติกรรมการไม่ป้องกนั ความปลอดภยั โดยแนวทางการป้องกนั การเกิดอุบตั ิเหตุ
ในชุมชน มุ่งเน้นการใช้หลกั ๓ E คือ Education คือการมุ่งเน้นการให้ความรู้เพ่ือการ
ป้องกนั การเกิดอุบตั ิเหตุ Engineering คือ การมีอุปกรณ์เคร่ืองมือท่ีเอื้อต่อการป้องกนั
การเกิดอุบตั ิเหตุในชุมชน เช่น เคร่ืองหมายจราจรท่ีสามารถใช้ได้ และ Enforcement
คือการมุ่งใช้ข้อบงั คบั กฎระเบียบของชุมชนในการป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุ ซึ่งนักเรียน
เป็ นส่วนหน่ึ งของชุมชนก็มีบทบาทสาคัญในการป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุในชุมชน
โดยเขา้ มามีส่วนร่วมในการสรา้ งเสริมความปลอดภยั ในชมุ ชน เพื่อลดอบุ ตั ิเหตลุ งไป
หน่วยก่อน สารบญั หน่วยต่อไป