บทที่ 5
ข้ันตอน เครอื่ งมือ และอปุ กรณ์ ในการใชส้ ารทาความเย็น
ไวไฟ
ผลของการเรยี นรู้
ท่านจะได้เรียนรู้เก่ียวกับข้อกาหนดในการจัดการและการทางานกับสารทาความเย็นติดไฟโดยเฉพาะ
ท่านจะได้เรียนรู้ว่าในเงื่อนไขใดบ้างท่ีอาจเกิดความเสี่ยงต่อการเกิดระเบิดและวิธีการหลีกเล่ียงภาวะดังกล่าว
นอกจากนี้ท่านจะไดข้ ้อมูลเก่ยี วกับเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ เมอื่ ทางานกบั สารทาความเย็นติดไฟ รวมทงั้
เรียนรู้เก่ยี วกบั ความสาคญั ของไนโตรเจนแหง้ ท่ีปราศจากออกซเิ จน
วัตถปุ ระสงค์
เม่อื รบั การเรียนรู้ในบทน้แี ล้วผู้ เรยี นจะตอ้ งสามารถ
1. ทราบถงึ แนวทางพ้ืนฐานในการทางานกับสารทาความเย็นติดไฟได้
2. เขา้ ใจสามเหลย่ี มการเผาไหม้ได้
3. เข้าใจสภาพแวดล้อมในการทางาน - โซนติดไฟชว่ั คราวได้
4. ทราบถึงเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ในการทางานบางอยา่ งเพือ่ ใช้กับสารทาความเย็นตดิ ไฟได้
การจัดการใชส้ ารทาความเย็นท่ตี ดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 151
บทที่ 5 ขน้ั ตอนการใช้เคร่อื งมือและอุปกรณ์สารทาความเย็นทต่ี ิดไฟ
สารทาความเย็นติดไฟสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยหากปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์บางด้านและให้การอบรม
แก่คนที่ทางานได้อย่างเหมาะสม บทนี้จะเน้นเกี่ยวกับเง่ือนไขที่ทาให้สารติดไฟและมาตรการด้านความ
ปลอดภัยท่ัวไป ท่ีต้องดาเนินการเมื่อทางานกับสารติดไฟ โดยจะเน้นที่สารทาความเย็นติดไฟ แต่กฎเหล่านี้
สามารถใชไ้ ดก้ บั สารติดไฟประเภทอ่นื ๆ ดว้ ย
ไฮโดรคาร์บอนเป็นสารติดไฟสูงและต้องได้รับการใส่ใจเป็นพิเศษ หากนามาใช้ต้องมีความรับผิดชอบ ใน
การใช้ไฮโดรคาร์บอนในงาน RACHP แบบต่าง ๆ ได้ เพื่อให้ม่ันใจถึงความปลอดภัย การใช้งานไฮโดรคาร์บอนต้อง
เป็นไปตามมาตรฐานระดับสากล และข้อบังคับระดับประเทศ ( ดูบทที่ 4) ไฮโดรคาร์บอนเสี่ยงต่อการเกิดระเบิดก็
ต่อเม่ือมีความเข้มข้นอยู่ในช่วงระหว่างระดับค่าความเข้มข้นขั้นสูงของสารเคมีในอากาศท่ีอาจติดไฟหรือระเบิดได้
(UFL) กบั ระดบั ค่าความเข้มข้นขั้นต่าของสารเคมีในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได้ (LFL) ในกรณที ีเ่ กิดการระเบิด
คนที่ทางานจะได้รับอันตรายจากท่ีไม่มีการควบคุมเปลวไฟและผลกระทบของในรูปของรังสีความร้อน คล่ืนความ
ดนั และวัตถุท่ลี อยไปมา เชน่ เดยี วกันกับอันตรายจากตัวผลิตภัณฑ์ทมี่ ีปฏกิ ริ ิยาอันตราย รวมทงั้ จากการใช้ออกซิเจน
ทใี่ ช้สาหรบั การหายใจจากอากาศโดยรอบ ( ดบู ทที่ 2)
การออกแบบที่สร้างสรรค์ตามมาตรฐานความปลอดภัย กาหนดวา่ ความเข้มข้นของสารทาความเย็นที่
ร่ัวไหลต้องไม่เกินระดับค่าความเข้มข้นขั้นต่าของสารเคมีในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได้ (LFL) แม้ใน
สถานการณ์ที่รุนแรง โดยท่ีแหล่งจุดติดไฟอาจทาให้เกิดการจุดติดไฟได้ โดยท่ัวไป ข้อควรระวังด้านความ
ปลอดภยั ท่ีกาหนดและการออกแบบระบบจะขน้ึ อยู่กับระดับการเตมิ สารทาความเย็น โดยทัว่ ไปแหล่งจดุ ติดไฟ
ภายในบรเิ วณระบบจะตอ้ งหลีกเลีย่ งกระทา
ไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ไม่เป็นพิษ เน่ืองจากไฮโดรคาร์บอนนั้นหนักกว่าอากาศ ซ่ึงถ้าสูดดมเข้าปอด
จะสาลกั จนหายใจไมอ่ อกได้ (ดบู ทท่ี 2 อนั ตรายดา้ นสขุ ภาพจากก๊าซอดั )
5.1 แนวทางพื้นฐานในการทางานกับสารทาความเยน็ ติดไฟ
มีข้อควรระวังทวั่ ไปในการจัดการสารทาความเย็นที่ตดิ ไฟและไมต่ ิดไฟ
ขอ้ ควรระวังทั่วไปสาหรบั การทางานกบั สารทาความเยน็
หลกี เลี่ยงการสัมผสั กับดวงตา ผิวหนัง และเสือ้ ผา้
หลกี เล่ียงการสดู ดมกา๊ ซ
ใชเ้ ฉพาะเมื่อมกี ารถ่ายเทอากาศเพยี งพอ
สวมหนา้ กากกรองอากาศที่เหมาะสม เมอ่ื อากาศถา่ ยเทไม่เพยี งพอ
ห้ามเขา้ ไปในบรเิ วณท่จี ดั เก็บและพน้ื ท่อี ับอากาศ เวน้ แตม่ ีอากาศถ่ายเทมากพอ
อย่าเจาะหรือเผาภาชนะ เช่นทากบั ระบบและถงั
ถงั เปล่ายงั คงมีสารทาความเยน็ หลงเหลอื และอาจเปน็ อันตราย
การจัดการใช้สารทาความเยน็ ท่ีติดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 152
ใช้อปุ กรณ์ท่ีมวี ัดความดนั ในถงั
ปดิ วาล์วหลังการใชง้ านแต่ละครง้ั และแมก้ ระท่งั ถังเปล่า
ปอ้ งกนั ถังจากความเสียหายทางกายภาพ ห้ามลาก ม้วน เล่ือน หรอื ทาหล่น
ควรใช้รถเข็นลากจูงด้วยมอื ทเี่ หมาะสมสาหรบั การเคลอ่ื นย้ายถงั (ถา้ มี)
นอกจากนี้ ยงั มขี ้อควรระวังบางประการทเี่ ก่ยี วข้องกบั สารทาความเยน็ ติดไฟโดยเฉพาะ (สารทาความ
เย็น Class A3, A2 และ A2L)
เมอ่ื ใชส้ ารตดิ ไฟ ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่า
ทกุ คนที่เกย่ี วขอ้ งทราบวา่ มีการใช้สารตดิ ไฟและทราบคุณลกั ษณะของมัน
ดาเนินมาตรการเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ความเข้มข้นของสารติดไฟกับอากาศถึงระดับค่าความเข้มข้นข้ันต่า
ของสารเคมีในอากาศที่อาจติดไฟหรอื ระเบดิ ได้ (LFL) ตวั อยา่ งเชน่ โดยตอนทางาน ให้แน่ใจวา่ มอี ากาศถ่ายเท
ทุกคนจะตอ้ งตระหนกั ถงึ แนวทางปฏบิ ตั ิ เพอื่ จดั การและจดั เกบ็ สารตดิ ไฟอย่างปลอดภัย
นาขนั้ ตอนและการออกแบบเพ่ือป้องกนั อบุ ัติเหตทุ ี่เกดิ จากสารตดิ ไฟมาใช้
นาสารทาความเยน็ ที่มีความเข้มข้นสูงท่ีไม่ปลอดภัยออกให้เรว็ ท่สี ุดเท่าทจี่ ะเป็นไปได้ เพอ่ื ลดความ
เสย่ี งต่อการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
ดาเนินมาตรการป้องกนั การเกิดไฟฟ้าสถิต
เกบ็ และใชง้ านใหห้ ่างจากความรอ้ น ประกายไฟ การจุดเปลวไฟ หรือแหลง่ จุดติดไฟอนื่ ๆ
ใชเ้ ครอื่ งมือและอุปกรณไ์ ฟฟา้ และอ่ืน ๆ ทไ่ี ม่เป็นแหลง่ จุดติดไฟ
ดบู ทที่ 2 ความเส่ียงและข้อควรระวงั ด้านความปลอดภัยในการจดั การสารทาความเย็น บทท่ี 3 การ
จดั การถังบรรจุสารทาความเย็น และบทที่ 4 ข้อบังคบั มาตรฐานความปลอดภยั และแนวทางปฏิบัติ
ดูภาคผนวกของบทน้เี พ่อื ดภู าพรวมและลักษณะของสารทาความเยน็ ตดิ ไฟทั่วไป
การจัดการใช้สารทาความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟได้อย่างปลอดภัย 153
5.2 สามเหลย่ี มการเผาไหม้
สารติดไฟไม่ได้ระเบิดเป็นเปลวไฟได้ทันที ไม่อย่างน้ัน รถหรือเตาคงเกิดการระเบิดอยู่บ่อย ๆ การ
ระเบิดจะเกิดขึ้นได้น้ัน ต้องอาศัยเงื่อนไข 3 ประการที่เกิดข้ึนในเวลาและสถานท่ีเดียวกัน สามเหลี่ยมการเผา
ไหม้ ซึ่งเปน็ คาท่มี าจากทฤษฎกี ารเผาไหมท้ ่วั ไป หมายถงึ เง่ือนไขทั้ง 3 ประการนี้
สามเหลย่ี มการเผาไหม้
1. สารไวไฟ (เชื้อเพลงิ )
2. ออกซิเจน (หรอื สารออกซไิ ดซ์ เช่นสารฟอกขาว)
3. พลังงานในการจุดตดิ ไฟ (ความร้อน ประกายไฟทางกล และไฟฟา้ )
เพ่ือเร่ิมตน้ กระบวนการสันดาปทคี่ งอยูไ่ ดเ้ องอยา่ งต่อเนือ่ ง ซง่ึ เป็นปฏกิ ริ ยิ าทางเคมี อตั ราสว่ นผสมของท้งั สาม
เงอ่ื นไขจึงเปน็ สง่ิ จาเปน็ ดังนัน้ อตั ราส่วนผสมท่ีถกู ตอ้ งมักเรยี กกนั เป็นเงื่อนไขทส่ี ี่
การเกดิ ประกายไฟ ออกซิเจน
แหล่งไฟฟ้า อากาศ
พน้ื ผิวทร่ี ้อน สารฟอกขาว
ฯลฯ ฯลฯ
ก๊าซและของเหลวไวไฟ พลงั งานใน
พลาสติก การจดุ ติดไฟ
น้ามนั ไขมนั
ฯลฯ อตั ราสว่ นผสมเพ่ือปฏกิ ิริยา
ทางเคมที ่ีคงอยู่ไดเ้ องอย่าง
ต่อเนื่อง
เชื้อเพลงิ สารออกซิไดซ์
ภาพที่ 5.1 สามเหลยี่ มการเผาไหม้
เม่อื จดั การสารทาความเย็น หรือเมอ่ื สารทาความเย็นรวั่ ไหลเข้าไปในห้อง จะพบเงอ่ื นไขสองประการน้ี
เกือบตลอดเวลา: สารไวไฟและออกซิเจน ส่ิงที่สามารถและต้องควบคุมคือการมีแหล่งการจุดติดไฟและความ
เข้มข้นของสารไวไฟ หากความเขม้ ข้นต่าเกนิ ไปหรือสูงเกินไป จะไมเ่ กิดการจดุ ติดไฟขึ้น
ในการประเมินความเสีย่ งต่อการระเบิด ใหป้ ระเมนิ :
การเกดิ สภาพบรรยากาศที่อาจจดุ ตดิ ไฟไดท้ ่ีเป็นอันตราย
การมโี อกาสและประสทิ ธิผลของแหล่งจุดติดไฟ
การจัดการใช้สารทาความเยน็ ท่ีตดิ ไฟได้อย่างปลอดภยั 154
การพจิ ารณาถงึ ผลกระทบมีความสาคญั ไม่มากนักในกระบวนการ ดภู าคผนวก บทที่ 4 เพอ่ื ดู
ประเมินดังกล่าว เน่ืองจากในกรณีของการระเบิด คาดว่าต้องเกิดความ ขอ้ มูลเพิม่ เตมิ เกย่ี วกบั การ
เสียหายในระดับสูงอยู่แล้ว ซึ่งอาจมีตั้งแต่ความเสียหายอย่างรุนแรงที่ ประเมนิ ความเสย่ี งต่อการระเบดิ
เกดิ ขึ้นตอ่ ทรพั ยส์ ิน จนถึงการบาดเจบ็ หรอื เสียชีวิต
5.2.1 แหล่งการจดุ ติดไฟ
การก่อให้เกิดเปลวไฟเป็นแหล่งจุดติดไฟที่เห็นได้ชัดท่ีสุด แต่ยังมีแหล่งอื่นอีก จาเป็นต้องหลีกเล่ียง
การจุดเปลวไฟในทุกวิถีทางในจุดที่ใกล้กับพ้ืนท่ีทางาน RACHP ที่ใช้การอยู่ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีเม่ือมีการ
ให้บริการอุปกรณ์ RACHP ต้องไม่นาแหล่งท่ีจุดติดไฟเข้ามา ส่วนน้ีสาคัญมากในการปกป้องส่วนประกอบทาง
ไฟฟ้า ซ่ึงการอะลมุ้ อลว่ ยไม่ได้
ตอ่ ไปนีแ้ สดงรายการแหลง่ จดุ ตดิ ไฟทม่ี ผี ลมากทีส่ ดุ :
การ ฟ้าผา่ การเกิด
ปลดปล่อย ประกายไฟ
ไฟฟ้าสถิต แหลง่ จดุ
อณุ หภูมิ ติดไฟ ประกายไฟจาก
พ้ืนผิวท่ีสงู แรงปะทะท่ี
เกดิ ข้ึนทางกล
ประกาย ประกายไฟ
ไฟฟ้า จากการเสียด
ทานท่เี กิดขึน้
ทางกล
ภาพที่ 5.2 แหลง่ จุดตดิ ไฟท่มี ีผลมากท่ีสุด
5.2.1.1. ฟ้าผา่
ฟ้าผ่าเป็นประกายไฟตามธรรมชาติหรือแสงวาบท่ีเกิดในระยะเวลาส้ัน ๆ ระหว่างเมฆ หรือ
ระหว่างเมฆกบั พืน้ ดนิ
5.2.1.2. การก่อให้เกิดเปลวไฟ
การก่อให้เกิดเปลวไฟเกดิ ขึ้นในหลากหลายกรณี ต้ังแตบ่ ุหรท่ี ี่จุดข้นึ จนถึงการเช่ือมประสานและ
การเชอื่ มต่างๆ (เตาเผา เทียน ไมข้ ีดไฟ การก่อใหเ้ กิดความร้อนด้วยเปลวไฟ ฯลฯ)
การจดั การใช้สารทาความเย็นทต่ี ิดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 155
โดยทั่วไป อุปกรณ์ RACHP ทเ่ี ตมิ ดว้ ยสารทาความเย็นติดไฟ ไม่ควรติดต้งั หรือวางอยู่ในบริเวณ
ท่ีมีก่อให้เกิดเปลวไฟ โดยอาจรวมถึงพื้นท่ีเตาก๊าซทาอาหาร เคร่ืองทาน้าอุ่นที่ใช้ก๊าซและห้องที่ใช้เตาฟืนหรือ
ก๊าซ หรือเคร่อื งทาความร้อนในทีว่ ่าง
ตะเกียงตรวจร่ัว (ฮาไลดท์ อรช์ ) ท่ีใชเ้ ปน็ เครือ่ งตรวจวัดกา๊ ซร่วั มไี ว้สาหรับสารทาความเยน็ ที่มกี ารเตมิ คลอรีน
เท่านัน้ และไม่ควรใชอ้ กี ต่อไป ไมว่ า่ จะเป็นสารทาความเยน็ ประเภทใดกต็ าม
5.2.1.3. ประกายไฟจากแรงปะทะท่เี กิดขึ้นทางกล
ตัวอย่างเช่น การใช้ค้อนทุบบนพื้นผิวเหล็กที่เปน็ สนิมจะทาใหเ้ กิดประกายไฟท่ีไม่แรงมาก เมื่อ
เทียบกับการใช้ค้อนทุบบนหินเหล็กไฟที่ทาให้เกิดประกายท่ีแรง ความเร็วและมุมการปะทะระหว่างพื้นผิวกับ
คอ้ นเป็นสงิ่ สาคัญ การทบุ บนพ้ืนผวิ ท่ี 90 องศาไม่อันตรายเท่าใดนัก แตก่ ารทุบท่มี ุมตรงอาจทาใหเ้ กิดประกาย
ไฟไดง้ า่ ย
5.2.1.4. ประกายไฟจากการเสยี ดทานที่เกิดขึน้ ทางกล
การรวมกันของวัสดุและความเร็ว (จากการหมุน) เป็นตัวกาหนดผลของแหล่งจุดติดไฟ
ยกตัวอย่างเช่น แรงเสียดทานระหว่างเหล็กกับเหล็กท่ี 4.5 เมตร/วินาที ด้วยแรงที่มากกว่า 2 กิโลนิวตัน เป็น
แหล่งจุดติดไฟท่ีมีผล นอกจากนี้ยังรับทราบกันดีวา่ อลูมิเนียมและสนิมรวมกันก็อันตราย ในการมีแหล่งจุดตดิ
ไฟที่มีผล มักจะมีประกายไฟสีแดงท่ีมีความร้อนมากกว่าหน่ึงครั้ง ควรพิจารณาถึงไฟฟ้าสถิตจากการใช้
สายพานดว้ ย
5.2.1.5. ประกายไฟฟ้า/แหลง่ จดุ ตดิ ไฟจากไฟฟา้
ประกายไฟฟ้าอาจเกิดขึ้นได้จาก อาทิเช่น การเช่ือมต่อทางไฟฟ้าท่ีไม่ดี หรือเครื่องส่งสัญญาณ
ความดนั ผดิ พลาด; การเปดิ และปิดแผงวงจรไฟฟ้าหรือมอเตอร์ไฟฟ้าด้วยการสัมผสั ปริมาณพลงั งานไฟฟ้าของ
ประกายไฟเป็นตวั กาหนดประสิทธผิ ลของแหล่งจุดติดไฟ
ส่วนประกอบทางไฟฟ้าอาจเป็นแหล่งจุดติดไฟ ดังน้ันจึงจาเป็นต้องออกแบบหรือสร้างอุปกรณ์
RACHP ในลกั ษณะท่ปี ้องกนั ไม่ใหส้ ารทาความเย็นติดไฟทีร่ ั่วออกมาไหลหรือหยดุ นิ่งใกลก้ ับสว่ นประกอบทางไฟฟา้
ส่วนประกอบทางไฟฟ้าปกติ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบทาความเย็น และอาจเป็นแหล่งจุดติด
ไฟประกอบดว้ ย:
สวิตช์เพอ่ื เปิด-ปิด หรือสวติ ช์ช่วยในการเปดิ -ปดิ หนา้ สมั ผัส
รเี ลย์ชว่ ยสตาร์ต และรีเลย์ชว่ ยสตาร์ตชนดิ ทางานดว้ ยคา่ ความต่างศักย์ไฟฟ้า
สวิตช์เพ่ือใช้ในการปฏิบัติงานท่ีมีแรงดัน การละลายน้าแข็ง การไหล ความแตกต่างของ
นา้ มนั ระดบั ของเหลว รีเลย์ของพดั ลม หรือเวลาของพัดลม
โอเวอรโ์ หลดเมื่อความรอ้ นเกินพกิ ัด
มอเตอรพ์ ัดลม
การจัดการใชส้ ารทาความเย็นท่ตี ดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 156
เทอรโ์ มสตัต
ปัม๊ คอนเดนเสท
เบรกเกอร์วงจรขนาดเลก็
ฮีตเตอรด์ ฟี อร์ตละลายนา้ แขง็ ทางานท่อี ณุ หภมู ิเกนิ 350 องศาเซลเซียส
ตวั ควบคุมความเร็วพดั ลม
ตัวควบคมุ ที่ใชโ้ ปรแกรมควบคมุ ได้
โทรศัพท์มอื ถือยังเปน็ แหล่งจดุ ติดไฟจากไฟฟ้าได้ ไมค่ วรใชใ้ นสภาพแวดล้อมการทางานโดยตรง
รายการน้ียังไม่ครบถ้วนทั้งหมด แต่แสดงถึงแหล่งจุดติดไฟที่พบบ่อยท่ีสุดท่ีคนทางานในระบบ
RACHP อาจตอ้ งเจอ
นอกจากนี้ ควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ อย่างเช่น พัดลม เครื่องทาความร้อน เต้ารับ
ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ มอเตอร์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอ่ืนใดท่ีติดตั้งหรือจะนามาใชใ้ กล้กับระบบท่ีมีสารทาความเยน็ ติดไฟ
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง อปุ กรณ์ที่ติดตง้ั ใตร้ ะบบทาความเยน็ และทีห่ รือใกล้กบั ในระดบั บรเิ วณพ้ืน
เพื่อติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ต้องปฏิบัติตามระเบียบในประเทศ อาจเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีอาจ
เป็นแหล่งจุดติดไฟและติดตั้งตามวัตถุประสงค์ของ IEC 60079-14:2013 สภาพบรรยากาศท่ีจุดติดไฟได้ –
ส่วน 14: การออกแบบ การเลือก และการ ตั้งเก่ียวกับการติดต้ังไฟฟ้า มาตรฐานดังกล่าวประกอบด้วย
ข้อกาหนดเฉพาะบางด้านสาหรับการออกแบบ การเลือก การตั้ง และการตรวจสอบเบ้ืองต้นเก่ียวกับการ
ตดิ ตง้ั ไฟฟา้ ในหรือท่ีเช่ือมตอ่ กบั สภาพบรรยากาศที่จุดติดไฟได้
บทที่ 4 หัวข้อ 4.5 ประกอบด้วยข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชุดมาตรฐาน 60079 สาหรับการ
ใช้ในสภาพบรรยากาศทจี่ ดุ ตดิ ไฟได้
5.2.1.6. อณุ หภมู ิพ้ืนผิวทีส่ งู
พื้นผิวที่ร้อนเกิดจาก อาทิเช่น องค์ประกอบในการทาความร้อน (เครื่องนาความร้อน เตา
ทาอาหาร หม้อทาความร้อน ช้ินส่วนเครื่องจักรท่ีถูกทาให้ร้อน) นอกจากน้ี อุณหภูมิของพ้ืนผิวท่ีร้อนอาจเกิด
จากการกดั หรือสี การขัด การถู การเสยี ดทานทางกลในชุดกนั รัว่ หรือแบริ่ง หรือของเหลวรอ้ นทส่ี บู เข้าไปในท่อ
สารติดไฟมีอุณหภูมิท่ีทาให้เกิดการจุดติดไฟอัตโนมัติท่ีสามารถสันดาปได้เองหากมีออกซิเจน
สาหรับสารทาความเย็นไฮโดรคาร์บอนส่วนใหญ่ อุณหภูมินี้อยู่ท่ีประมาณ 450 องศาเซลเซียส ด้วยเหตุผล
ด้านความปลอดภัย อุณหภูมิของพื้นผิวชิ้นส่วนอุปกรณ์ท้ังหมดต้องไม่เกินอุณหภูมิที่ทาให้เกิดการจุดติดไฟ
อัตโนมตั ิ 100 เคลวนิ ดงั น้ันการทางานจงึ ไม่ควรเกนิ 350 องศาเซลเซยี ส
ในช่วงการทางานปกติ พื้นผวิ ของระบบจะต้องไมถ่ งึ อณุ หภูมิทีท่ าให้เกดิ การจดุ ตดิ ไฟอัตโนมัติ
ควรตรวจสอบช้ินส่วนของอุปกรณ์ใด ๆ ท่ีอาจสัมผัสกับสารทาความเย็นท่ีร่ัวออกมา ซ่ึงอาจมี
อุณหภูมิสูงภายใต้การปฏิบัติงานตามปกติเพื่อให้แน่ใจว่าอุณหภูมิของพ้ืนผิวไม่เกินอุณหภูมิที่ทาให้เกิดการจุด
ตดิ ไฟอัตโนมตั ิลบ 100 เคลวนิ
การจดั การใชส้ ารทาความเย็นท่ตี ดิ ไฟได้อย่างปลอดภยั 157
สารทาความเย็นและสารหล่อลื่นบางชนิดจะสลายตัวเม่ือได้รับความร้อนและจะปล่อยสารประกอบที่
เป็นพิษ หมายความว่าอาจเกิดอันตรายจากความเป็นผิดได้ (แม้ว่าจะไม่เกิดการจุดติดไฟ) อันเกิดจากการเล็ด
รอดของสารทาความเย็นเนื่องจากการรว่ั ไหลหรือข้นั ตอนการให้บริการ
การสลายตัวดว้ ยความร้อนมักเกิดข้ึนในอุณหภมู ทิ ี่ใกล้กับอุณหภูมทิ ที่ าใหเ้ กิดการจุดติดไฟอัตโนมตั ิ
ให้ศึกษาเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี เพื่อหาลักษณะการสลายตัวด้วยความร้อนและ
ระดับความเสี่ยงในบริบทของพื้นผิวใกล้เคียงท่ีอาจมีอุณหภูมิสูงถึงจุดน้ี หากมีสารทาความเย็นท่ีเติม
ฟลูออไรด์ ใหต้ ระหนักว่าอาจเกดิ ไฮโดรเจนฟลูออไรด์และคาร์บอนลิ ลมิ เฮไลด์
5.2.1.7. การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต
ประกายไฟจากการปลดปลอ่ ยไฟฟ้าสถิตเกิดจากความตา่ งศักย์ เมื่อสมั ผสั กบั ชนิ้ ส่วนทใ่ี สเ่ ข้าไป
ไฟฟ้าสถิตอาจเกิดขนึ้ จากอากาศสไลดบ์ นปีกด้านใดดา้ นหน่ึง การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้นเม่ือวัตถุท่ีประจุ
ต่างกันถูกนามาอยู่ใกล้ ๆ กัน หรือเม่ือไดอิเล็กตริก ระหว่างวัตถุหยุดทางาน ซึ่งมักจะก่อให้เกิดประกายไฟที่
มองเห็นได้ การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิตส่วนใหญ่เกิดจากการเกิดประจุไฟฟ้าสถิตจากการสัมผัสของวัสดุ เป็น
กระบวนการส่งไฟฟ้าด้วยการสัมผัสท่ีทาให้เกิดไฟฟ้าสถิต เน่ืองจากการสัมผัสหรือการขัดถูตรงพื้นผิวระหว่าง
วสั ดบุ างอยา่ ง 2 ประเภททีไ่ ม่เหมือนกัน (เช่น ผมกบั หวี กระจกกับขนสัตว์ ฯลฯ)
เพ่ือหลีกเลี่ยงการปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต ต้องปฏิบัติตามข้ันตอนต่าง ๆ เพ่ือลดหรือกาจัด
กระแสไฟฟา้
สายดินมีความจาเป็นอยา่ งยิ่งในการขัดขวางการปลดปล่อยไฟฟ้าสถติ ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่าทุก
อยา่ งในสภาพแวดลอ้ มการทางานมกี ารเชอ่ื มต่อกับระบบสายดินที่เชื่อถือได้
จะต้องใช้สายดินของปลก๊ั ไฟทีท่ าจากทองเหลืองของเครื่องใช้ไฟฟ้า/ระบบทที่ างานอยู่กับถัง
บรรจุสาหรับเติมก๊าซติดไฟ/ถังบรรจุสาหรับนาสารทาความเย็นกลับมาใช้ใหม่ และเคร่ืองดูดสารทาความเย็น
กลับมาใชใ้ หม่ (ถา้ มี)
สายดินจะต้องสัมผัสกับพื้นผิวโลหะที่ไม่มีอะไรหุ้มเพื่อให้เกิดความต่อเน่ืองและการคลาย
การปลดปลอ่ ยไฟฟ้าสถิต
กาไลสายดินหรอื สายคลอ้ งข้อมือป้องกันไฟฟ้าสถิต ท่ีสวมตรงข้อมือและตอ่ กับสายดนิ เช่น
เส่อื หรอื เต้ารับที่ต่อลงดนิ จะนาไฟฟ้าสถติ ลงสดู่ ินอย่างปลอดภยั
เส่ือที่ต่อลงดินหรือเส่ือป้องกันไฟฟ้าสถิต ท่ีเสียบเข้ากับปล๊ักไฟ จะเป็นพื้นผิวท่ีลงดิน ซึ่งใช้
เพ่ือดูดซบั ไฟฟา้ สถิต
การจัดการใชส้ ารทาความเยน็ ท่ีตดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 158
ปลั๊กต่อลงกาวนด์
เคร่อื งดดู สารทาความเยน็ กลบั ควบคุมไฟฟา้ สถติ
ชนดิ A2L/A3
ถังเก็บสารทา เครอ่ื งชั่งน้าหนัก(ปรบั ตงั้ แล้ว)
ความเยน็ ดดู กลบั
ภาพที่ 5.3 สายดินในระหวา่ งการทางานเพ่ือปอ้ งกนั การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต
5.2.1.8. รงั สีแม่เหลก็ ไฟฟา้
รูปแบบต่าง ๆ ของรงั สีแม่เหล็กไฟฟา้ ในคลน่ื ความถี่บางค่า อาจเปน็ แหลง่ จุดติดไฟเมื่อมีความ
หนาแนน่ ของพลงั งานเพียงพอ ยกตวั อย่างเช่น
คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าของคลน่ื วิทยุ (104 Hz ถึง 3 x 1011 Hz)
คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เชน่ คล่นื แสง (3 x 1011 Hz ถึง 3. x 1015 Hz)
เปลย่ี นรงั สที เ่ี กิดขึ้นเปน็ อิออน เชน่ ทเ่ี กดิ จากหลอดเอกซเรยแ์ ละสารกัมมันตรังสี
คล่ืนเสยี งอัลตราโซนกิ (104 Hz ถึง 3 x 1011 Hz)
โดยท่ัวไปพื้นผิวท่ีรับจะนาไฟฟ้า ทาให้เกิดความร้อนและอุณหภูมิจะสูงหากมีสนามพลังงานสงู
มากพอ ไม่ควรนาสารตดิ ไฟมาใชใ้ นพน้ื ทเ่ี หล่านี้
5.2.1.9. กระบวนการอัดตวั แบบอะเดยี บาตกิ adiabatic
กระบวนการอดั ตวั ของก๊าซทาให้อุณหภูมิก๊าซสูงขนึ้ และทาใหพ้ ื้นผิวรอบ ๆ เกิดความรอ้ น (เชน่
ถงั บรรจุ ทอ่ ฯลฯ) อาจเกดิ อุบัติเหตขุ ้ึนในช่วงการดูดเกบ็ น้ายาทาความเย็นไว้ในระบบในสภาวการณ์บางอย่าง
ในขณะท่ีให้บริการ ระบบทาความเย็นและเคร่ืองปรับอากาศแบบแยกส่วน และอาจเกิดขึ้นคล้าย “ผลการ
สนั ดาปของน้ามันดเี ซล” จากการรวมตัวกนั ของอากาศ สารทาความเยน็ และน้ามันหล่อลื่น
ผลกระทบนี้อาจเกดิ ขน้ึ สารทาความเยน็ ใด ๆ ท่มี ไี ฮโดรเจนเปน็ สว่ นผสม
การจดั การใชส้ ารทาความเย็นท่ีติดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 159
5.2.2 ความเขม้ ขน้ สารติดไฟ
จากตาราง 5.1 แสดงพิกัดการติดไฟของสารติดไฟต่าง ๆ ความเข้มข้นของสารติดไฟจะต้องอยู่
ระหว่างระดับค่าความเข้มข้นข้ันต่า (LFL) กับระดับค่าความเข้มข้นขั้นสูง (UFL) ของสารเคมีในอากาศท่ีอาจ
ตดิ ไฟหรือระเบดิ ได้ เพอ่ื ใหส้ ารผสมมีความติดไฟ
ดูภาคผนวกของบทนี้เพ่ือดูภาพรวมของคุณสมบัตขิ องสารความเยน็ ไวไฟที่ใชก้ ันทว่ั ไป
ในพ้ืนที่เปิดโล่งแจ้ง ไม่ควรให้สารติดไฟอยู่เกินระดับค่าความเข้มข้นขั้นสูงของสารเคมีในอากาศที่
อาจติดไฟหรือระเบิดได้ (UFL) ซ่ึงเป็นวิธีหนึ่งในการบรรเทาปัญหาการระเบิด ยิ่งความความเข้มข้นสูงก็จะทา
ให้สารผสมเจอื จาง
การจัดกัดปริมาณการเติมสารในมาตรฐานความปลอดภัยทาให้ม่ันใจว่าความเข้มข้นในห้องไม่เกิน
ระดบั ค่าความเขม้ ขน้ ขัน้ ต่าของสารเคมีในอากาศทีอ่ าจตดิ ไฟหรอื ระเบิดได้ (LFL)
ตารางที่ 5.1 ระดับคา่ การจดุ ติดไฟของไอกา๊ ซในอากาศ
พื้นทที่ เี่ กดิ การจุดติดไฟไดส้ งู
(อตั ราสว่ นผสมในปริมาณสมั พนั ธ)์
เจอื จาง พกิ ดั การตดิ ไฟ เข้มข้น
เกนิ ไป เกินไป
ไฮโดรเจน 4% ระดับค่าการระเบิดขน้ึ อย่กู บั ปริมาณสาร 76%
อะซิทลี ีน 1.5% 80%
มีเทน 5% 15%
โพรเพน 1.8% 8.4%
ไอโซบิวเทน 4% 9.5%
การจดั การใช้สารทาความเยน็ ท่ีติดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 160
5.3 สภาพแวดล้อมในการทางาน - โซนติดไฟชว่ั คราว
เม่ือทางานกับระบบที่ใช้สารทาความเย็นติดไฟ คนงานท่ีมีทักษะต้องพิจารณาด้วยว่าสถานท่ีบางแห่ง
เป็น “โซนติดไฟชั่วคราว” โดยปกติ สถานท่ีเหล่าน้ีเป็นเขตพ้ืนที่ท่ีคาดว่าจะเกิดการปล่อยสารทาความเย็น
ออกมาในขนั้ ตอนการทางานปกติ
ดูบทท่ี 4 หัวข้อ 4.5 บริเวณที่เป็นอันตรายแบ่งเป็นโซนต่าง ๆ ตามความถ่ีและระยะเวลาของสภาพ
บรรยากาศท่ีจุดติดไฟได้ เขตไวไฟชั่วคราวคือพื้นที่แทบไม่มีท่ีมีความเข้มข้นที่ติดไฟ หรือมีเพียงช่วงส้ัน ๆ
เทา่ นน้ั
การนากลับมาใช้ใหม่ การเติม
โซนติดไฟชวั่ คราว
การตดิ ตัง้ การบารุงรกั ษา
ภาพที่ 5.4 โซนตดิ ไฟชัว่ คราว
โดยปกติ โซนติดไฟช่ัวคราวน้ีจะเกิดขึ้นเมื่อตอนต่อท่อหรือถอดท่อ ตรงท่ีคาดว่าสารทาความเย็นอาจ
ถูกปล่อยออกมาระหว่างขั้นตอนการทางานในปริมาณที่มากสุด (เช่น การถอดท่อ ขณะที่เต็มไปด้วยสารทา
ความเยน็ ภายใต้แรงดัน) ระยะห่างข้ันตา่ จากจดุ น้ี ซ่งึ ควรพจิ ารณาเป็นโซนติดไฟชั่วคราว อยปู่ ระมาณครึ่งเมตร
ในทุกทิศทาง
พ้ืนท่ีทางานควรถูกทาเครื่องหมายเป็น “พื้นที่ที่มีการแบ่งเขต” ซึ่งอยู่มีขอบเขตขั้นต่าประมาณ
3 เมตร รอบอุปกรณ์ทาความเยน็ ที่กาลงั ให้บริการอยู่และควรมปี า้ ยสัญลักษณ์แสดงอันตราย (โดยปกติ เป็นรปู
เตือนสามเหล่ียมสีเหลืองท่ีมีรูป “ไฟ”) ก่อนท่ีจะเร่ิมทางาน ควรแจ้งหัวหน้างานในพ้ืนท่ีว่ามีโซนน้ี (หากมี)
ต้องประเมนิ ความเสีย่ งกอ่ นเร่มิ ทางาน ( ดภู าคผนวก บทที่ 2 และภาคผนวก บทท่ี 4)
การจัดการใช้สารทาความเย็นที่ติดไฟได้อย่างปลอดภัย 161
การเตรียมการสาหรับการทางานในโซนตดิ ไฟ
ทาความค้นุ เคยกบั อปุ กรณ์ รวมทง้ั วัตถปุ ระสงค์และการทางาน
ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่ามเี ครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ทีเ่ หมาะสมและจาเปน็ ท้ังหมด
ตรวจสอบให้แนใ่ จว่ามีอปุ กรณป์ ้องกันส่วนบคุ คลทีจ่ าเปน็ ทงั้ หมดและใชอ้ ย่างถูกตอ้ ง
วางถงั ดับเพลิงชนิดผงแห้งหรือคาร์บอนไดออกไซด์อยา่ งน้อยหนึง่ ถังในจุดที่ทางาน
ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ มกี ารระบายอากาศอย่างเพียงพอในพนื้ ที่ทางาน (ตามธรรมชาติ/ตามเชิงกล เช่น
การใช้พัดลมระบายอากาศ)
ใช้อุปกรณ์ไฟฟา้ ท่ีต่อสายดนิ เทา่ น้ัน
การทางานในโซนตดิ ไฟ
เป็นไปได้ให้แยกอุปกรณ์ออกจากแหล่งจ่ายไฟ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเลิกต่อไฟในอุปกรณ์ทาความเย็น (ตาม
"กฎความปลอดภัย 5 ขอ้ ท่อี ธบิ ายไวใ้ นบทท่ี 11)
ปิดการใช้งานแหลง่ ท่ีอาจเป็นแหลง่ จดุ ตดิ ไฟภายในโซนติดไฟช่วั คราว
เม่ือเช่อื มต่ออปุ กรณใ์ นการให้บริการ (เชน่ ป๊ัมสุญญากาศ หน่วยสาหรับนาทาความเยน็ กลบั มาใช้ใหม่ เคร่ือง
เป่าลม ฯลฯ) กับแหล่งไฟฟ้า ตอ้ งทาการเช่อื มต่อนอกโซนติดไฟช่ัวคราว
ใช้เครื่องวัดก๊าซติดไฟเพื่อตรวจสอบอากาศในโซนติดไฟช่ัวคราว อุปกรณ์วัดก๊าซท่ีใช้จะต้องมีการซีลอย่างดี
พอหรือมีลักษณะที่ปลอดภยั
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าการระบายอากาศในพ้ืนที่เพียงพอสาหรับการไลส่ ารทาความเย็นใด ๆ ที่ปล่อยออกมา
ได้อย่างปลอดภัยในขณะท่ีจัดการสารทาความเย็นติดไฟ ส่วนน้ีจะทาได้เมื่อมีการเปล่ียนแปลงอากาศอย่าง
น้อย 5 ครง้ั ต่อหนง่ึ ชวั่ โมงในพนื้ ที่ทางานทีใ่ ช้อยู่ ถ้าจะให้ดี ให้นาสารทาความเย็นออกจากดา้ นในของอาคาร
โดยการระบายอากาศ
ใช้สายดินระหว่างอุปกรณ์สาหรับนาทาความเย็นกลับมาใช้ใหม่/เติมสารทาความเย็น กับช่างเทคนิคที่
ให้บริการเพือ่ หลีกเล่ียงการปลดปลอ่ ยไฟฟา้ สถิต
หากเป็นไปได้ ให้ใช้เทคโนโลยีการเช่ือมต่อแบบไม่ก่อให้เกิดความร้อน แทนการเชื่อมประสาน เม่ือทาการ
ซอ่ มแซมระบบในจุดท่ีมีความเป็นไปไดท้ จี่ ะมสี ารทาความเยน็ ติดไฟตกค้างอยู่
ก่อน "การปฏิบัติงานเก่ียวกับความร้อน“ หรือทางานทีก่ ่อให้เกดิ ประกายไฟ หรือก่อนท่ีจะมีกระบวนการทา
สุญญากาศในคร้ังสุดท้าย ภายในวงจรของสารทาความเย็น จะต้องถูกทาให้เป็นก๊าซเฉ่ือย และอัดล้างด้วย
ไนโตรเจนทปี่ ราศจากออกซเิ จน
อย่าผสมสารทาความเย็นติดไฟกับอากาศ โดยเฉพาะในกระบวนการนาสารทาความเย็นกลับมาใช้ใหม่ ต้อง
ดาเนนิ การปอ้ งกันทุกดา้ นเพ่ือขจัดอากาศที่ผสมกบั สารทาความเยน็ ตดิ ไฟ รวมถึงตรวจสอบถังสาหรบั นาสาร
ทาความเย็นกลับมาใช้ใหม่เพ่ือดปู รมิ าณอากาศ ( ดบู ทที่ 9 การนาสารทาความเยน็ กลบั มาใช้ใหม่)
การจัดการใช้สารทาความเย็นทีต่ ิดไฟได้อย่างปลอดภัย 162
รูปต่อไปนี้แสดงโซนติดไฟชั่วคราวท่ีพบได้ท่ัวไปท่ีอาจจัดขึ้นในช่วงการให้บริการ โซนน้ีอยู่ใน
เคร่ืองหมายวงกลมเส้นประสแี ดง ในภาพที่ 5.4
ปลอ่ ยไอ โซนติดไฟ
เครอ่ื งแว๊คออก ช่ัวคราว
ท่อระบายอากาศ เครอ่ื งดูดสารทาความเย็นกลบั ป้ายสญั ลักษณ์
ชนดิ A2L/A3 ความปลอดภยั
เคเรค่อืรงือ่ ปงดรับดู อสาารกทาศาคแวบาบมแเยยกน็ สกว่ลนบั
ชนิด A2L/A3 เกจวัดความดนั
ถงั เก็บสารทา
ความเยน็ ดดู กลับ
เครื่อง เครื่องชงั่ นา้ หนัก
แวค๊ คมั่ (ปรบั ตง้ั แลว้ )
ภาพที่ 5.4 ตวั อยา่ ง “โซนตดิ ไฟชั่วคราว”
โซนตดิ ไฟ พนื้ ทีป่ ลอดภัย
ช่วั คราว (โซน2)
เครือ่ งปรบั อากาศแบบแยกสว่ น เกจวัดความดัน
ป้ายสญั ลักษณ์
ความปลอดภยั
เคร่อื งชงั่ นา้ หนัก 163
ภาพที่ 5.5 การกาหนด “พื้นทป่ี ลอดภัย
การจดั การใช้สารทาความเย็นทตี่ ิดไฟได้อย่างปลอดภัย
พื้นท่ีที่กาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีปลอดภัยขนาด 3 เมตร สาหรับการทางานใกล้ ๆ กับโซนติดไฟช่ัวคราว
ควรประกอบด้วยชน้ิ ส่วนทงั้ หมดท่อี าจมีโซนเหลา่ นี้ พนื้ ที่ปลอดภยั แสดงในภาพท่ี 5.5
การนาสารทาความเยน็ ไวไฟกลบั มาใชใ้ หม่เปน็ วิธีการท่เี ก่ียวข้องกับเรื่องความปลอดภัยอยา่ งมาก
ดบู ทที่ 9 การกาจัดและการจัดการสารทาความเยน็
5.4 เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ในการทางานบางอย่างเพื่อใชก้ บั สารทาความเย็นตดิ ไฟ
คนงานที่มีทักษะในระบบ RACHP ทาหน้าที่หลายอย่างด้วยความคล่องแคล่ว นับต้ังแต่วางแผน
โครงการจนถึงการปฏิบัติงาน การจัดการกับสารทาความเย็นติดไฟต้องอาศัยเคร่ืองมือและเคร่ืองจักรตาม
กาหนดที่มมี าตรฐานสูงในด้านความปลอดภยั การใช้งาน ความทนทานและคณุ ภาพ
โดยท่ัวไป เมื่อต้องจัดการกับสารทาความเย็นระดับ A3 เครื่องมือและอุปกรณ์จะต้องมีความทันสมัย
ส่วนน้ีอาจต้องรวมถึงระเบียบ CE และ ATEX (หรือมาตรฐานที่บังคับใช้ และการรับรอง U ในการจัดการกับ
สารทาความเยน็ ระดับ A2L จะมีอุปกรณ์ที่ไดร้ ับการรบั รองทีค่ ล้าย ๆ กัน ซ่งึ คลา้ ยคลึงหรอื เทียบเทา่ กบั ทีใ่ ช้กับ
อปุ กรณท์ ใี่ ช้กับสารทาความเย็นระดับ A3 โดยสามารถใช้อุปกรณ์ระดบั A3 รว่ มกับสารทาความเย็นระดับ A2L
ได้ (แตไ่ มส่ ามารถทาแบบกลับกันได้)
การเลือกเคร่ืองมือทาได้โดยพิจารณาระบบท่ีจะดาเนินการ (ปริมาณบรรจุ สถานที่ติดตั้ง ฯลฯ) และ
กิจกรรมท่ีวางแผนไว้ รวมทั้งพิจารณาถึงการประเมินความเส่ียง การใช้เครื่องมือน้ันแตกต่างกันไปเน่ืองจากมี
กจิ กรรมและสถานการณท์ แ่ี ตกตา่ งหลากหลาย
การจดั การใช้สารทาความเย็นที่ตดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 164
ตอ้ งปฏิบัติตามคาแนะนาด้านความปลอดภัยทเี่ ก่ียวข้องอย่างระมัดระวงั ที่สุดอยูเ่ สมอในการตดิ ต้ัง
รวมท้งั การบารุงรักษาและซ่อมแซมบางอยา่ ง การทางานทั้งหมดต้องเปน็ ไปตามมาตรฐาน ข้อบังคบั และ
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง ( ดบู ทท่ี 4)
ผู้ใช้สารติดไฟต้องอ่านและทาความเข้าใจกับเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีก่อนจะเริ่ม
จัดการหรือใช้สารติดไฟ ผู้ใชค้ วรปฏบิ ตั ิตามข้อมูลด้านความปลอดภัยท่ีเก่ียวข้องทง้ั หมดทจ่ี ัดทาข้ึนโดยผู้ผลิต
การไมป่ ฏิบัติตามเอกสารข้อมูลความปลอดภยั และคาแนะนาจากผูผ้ ลิตอาจทาให้เกิดการบาดเจ็บ
หรือเสียชีวิตได้ สามารถเข้าถึงเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีได้ทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่มี
ข้อจากดั ( ดบู ทท่ี 2 หัวขอ้ 3.3 เอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั ของสารเคมี)
5.4.1 เครือ่ งมือท่ัวไป
ต่อไปน้ีจะแสดงรายการเคร่ืองมือและอุปกรณ์บางสว่ นสาหรบั ทางานกบั ระบบ RACHP ท่ใี ช้สารทา
ความเยน็ ติดไฟ การประเมนิ ความเสย่ี ง ควรกาหนดวา่ เคร่ืองมือใดเกย่ี วข้องกับงานทตี่ ้องทา
คาอธบิ ายโดยย่อ จุดประสงคใ์ นการใช้
เคร่ืองวดั ก๊าซทม่ี ีความไวต่อสารทาความ
เย็นไฮโดรคารบ์ อนและแอมโมเนยี ทใ่ี ช้กัน
แพร่หลายทสี่ ุด ใชเ้ พ่ือหาจุดร่ัวในวงจร
สารทาความเยน็
ตัววัดก๊าซท่ีติดไฟได้แบบ TCD (เครื่องมือตรวจหารอยรั่ว
เรยี กอีกชอ่ื หนึง่ วา่ “sniffer(ดมกล่ิน)”)
การรว่ั ไหลอ้างอิงสาหรบั เคร่อื งวดั ก๊าซ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (เครอ่ื งมือตรวจหารอยร่วั )
เคร่อื งตรวจวัดความไวของเครื่องวัดกา๊ ซ
การนาสารทาความเยน็ ตดิ ไฟกลบั มาใช้
ใหมแ่ ละการส่งถา่ ยสารทาความเย็นอย่าง
ปลอดภยั สูถ่ ังสารทาความเย็นทส่ี ามารถ
เคร่อื งดูดเก็บสารทาความเยน็ กลบั มาใช้ใหม่ ใชก้ ับสารทา นากลบั มาใช้ใหม่ได้
ความเย็นตดิ ไฟ A3 และ A2L ไดร้ บั การรบั รองจาก CE และ/
หรอื UL ต่อกับสายไฟท่ียึดติดกับที่ ยาวไมน่ ้อยกว่า 5 เมตร
การจดั การใช้สารทาความเยน็ ที่ตดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 165
คาอธิบายโดยย่อ จุดประสงค์ในการใช้
ทอ่ พลาสตกิ ท่ใี ชร้ ว่ มกบั ปัม๊ สุญญากาศ
หรือเคร่อื งมือเจาะท่อปล่อยไอระบาย
เพื่อกาจดั ไอของสารทาความเย็นทีอ่ อกสู่
พน้ื ที่ปลอดภัยดา้ นนอก
ทอ่ ระบายไอของสารทาความเย็น
หัวพน่ ไฟสาหรบั สารทาความเยน็
ไฮโดรคารบ์ อน (A3) เพื่อการกาจัดท่ี
ปลอดภัยและดีต่อส่ิงแวดล้อม (หากทาได)้
ท้ังกา๊ ซและของเหลวทต่ี กค้าง
จุดตงั้ หวั เตา สมรรถนะของก๊าซปโิ ตรเลยี มเหลว ถงึ 250
กโิ ลวัตต์/ชวั่ โมง (25 ลติ ร/ชวั่ โมง)
เครอื่ งเปา่ ลมเพ่ือระบายอากาศสาหรับพ้ืนที่ทางานท่ีมกี าลัง ควรใชพ้ ัดลมระบายอากาศในสถานที่
ต้ังแต่ 700 ถึง 4.250 ลกู บาศก์เมตร/ชัว่ โมง ทางาน (โซน 2) เพื่อให้สารทาความเยน็
ตอ่ กับสายไฟแบบตรึงอยู่กบั ที่ ยาวขั้นต่า 5 เมตร ตดิ ไฟกระจายตัว หากเกดิ กรณีมีการ
ร่ัวไหลของสารทาความเย็น
เครือ่ งตรวจสอบก๊าซส่วนตวั เครือ่ งเดี่ยว
ฐานะอปุ กรณป์ ้องกนั ส่วนบุคคลสาหรับ
กา๊ ซโพรเพน (C3H8)ระดบั LFL: 0-100%
เครอ่ื งวดั ก๊าซไฮโดรคาร์บอนแบบพกพา (PGD): เครอ่ื งวัดก๊าซ
เดีย่ วพกพาได้เพ่ือใชเ้ ป็นอปุ กรณ์ป้องกนั ส่วนบคุ คล (PPE)
เครือ่ งชัง่ ที่มีความไวเพ่ือเติมสารทาความ
เย็นไฮโดรคาร์บอนอยา่ งแม่นยา โดยมีค่า
ความละเอยี ด 2 กรัม และความแมน่ ยาใน
การอ่านคา่ 0.5% ชัง่ นา้ หนักไดส้ งู สดุ ถงึ
เครื่องช่งั อเิ ลก็ ทรอนิกส์ใช้ในขั้นตอนเติมสารทาความเย็น 100 กโิ ลกรัม
พร้อม อะแดปเตอร์ถงั บรรจุ
ความแมน่ ยา่ ในการเตมิ เคร่ืองช่ังท่ีมคี วามแมน่ ยา่ สงู มีความจ่าเป็นเมอ่ื ตอ้ งเติมสารในระบบเลก็ ๆ ท่ีต้องมกี ารเตมิ สารท่าความเย็นติดไฟ
บางอย่างในปรมิ าณที่แมน่ ย่า เชน่ สารทา่ ความเย็นไฮโดรคารบ์ อน ความแม่นยา่ ของเครือ่ งชงั่ ที่เหมาะกบั สารทา่ ความเย็นของระบบประเภทนี้
และขนาดการเติมเปน็ เรอ่ื งจา่ เป็น เคร่ืองวดั หลายตวั ท่แี ตเ่ ดมิ ใช้ในการให้บรกิ ารสารท่าความเย็นไฮโดรฟลูโอคาร์บอนอาจไมม่ คี วามแม่นยา่
พอท่ีจะใช้กบั สารทา่ ความเย็นไฮโดรคารบ์ อน
การเติมสารท่าความเย็นเป็นปจั จัยเสยี่ งทสี่ า่ คัญ และเครือ่ งวัดใด ๆ ควรมคี วามแม่นยา่ ที่เหมาะสมเพอื่ ใหแ้ นใ่ จว่ามกี ารเติมสารอย่างถูกตอ้ ง
การจัดการใช้สารทาความเยน็ ทต่ี ิดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 166
คาอธบิ ายโดยย่อ จุดประสงค์ในการใช้
วาล์วศรสาหรบั การใชง้ าน RACHP
เหลก็ ตอกทาลายถัง ทไ่ี ม่ทาให้เกดิ ประกายไฟ ตอ่ เข้ากับระบบ/หน่วยไฮโดรคารบ์ อน
วาล์วหยดุ ทางาน และท่อสารทาความเยน็
เครอ่ื งมือชา่ งหุ้มฉนวน ท่ไี ม่ทาใหเ้ กดิ ประกายไฟ ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย มีความแนน่ พอ และไม่
เกิดการรว่ั ไหลของสารทาความเยน็ ในช่วง
ที่มีการต่อสายและวาล์ว
สาหรับการเจาะเข้าไปในถังบรรจุ DOT39
แบบใช้แล้วทงิ้ ก่อนการกาจดั สารทาความ
เยน็ ติดไฟ (A2L & A3)
เครอ่ื งมอื RACHP ทีใ่ ชแ้ พรห่ ลายท่สี ุด
หล่อมาจากทองแดงเบริลเลียม หรือ
อลมู ิเนียมทองแดงอลั ลอยและเป็นไปตาม
มาตรฐานท่ีกาหนด
ทองแดงเบรลิ เลียม ไม่ก่อให้เกดิ ประกาย
ไฟ แต่ในทางกายภาพ มีความแขง็ แรง
และไมเ่ ป็นแมเ่ หล็ก ใช้ในการทา
เครอ่ื งมอื ท่สี ามารถนามาใชอ้ ย่างปลอดภัย
ในสภาพแวดลอ้ มท่ีมีไอระเบิดและกา๊ ซ
ระเบิด เชน่ A2L และสารทาความเย็น A3
เครอ่ื งมอื ที่ทาจากทองแดงเบรลิ เลียม
เป็นไปข้อกาหนดของคาสัง่ ATEX เพอื่
การใชใ้ นกลุม่ ของ I, IIA, IIB และ IIC
ชุดสายดนิ เพ่ือทาให้การถ่ายเทประจขุ อง
ไฟฟ้าสถิตไม่เขา้ หารา่ งกายเพื่อจะได้
ทางานกับสารทาความเย็นติดไฟในโซน 2
ชดุ สายดินกนั ไฟฟา้ สถิต สายรัดข้อมือปรบั ได้และมีสายเกลียว
เพือ่ เช่ือมต่อกับปลั๊กต่อกับดินเพ่อื ทาให้
การถ่ายเทประจุของไฟฟ้าสถิตไม่เข้าหา
รา่ งกายเพ่อื จะได้ทางานกับสารทาความ
เยน็ ติดไฟในโซน 2
สายเกลียว
การจัดการใช้สารทาความเยน็ ทต่ี ดิ ไฟได้อยา่ งปลอดภยั 167
คาอธบิ ายโดยย่อ จดุ ประสงค์ในการใช้
ปล๊ักและกล่องต่อกับดิน
ปลก๊ั และกล่องสาหรับไฟฟ้าสถิต-สายดิน
ทใ่ี ช้งานงา่ ยและราคาไมแ่ พง ซง่ึ ใชส้ ายดิน
ที่ตอ่ กับสายเมนเพื่อทาให้การถ่ายเทประจุ
ของไฟฟ้าสถติ ไมเ่ ข้าหารา่ งกายเพ่ือจะได้
ทางานกบั สารทาความเย็นติดไฟในโซน 2
ปลก๊ั ตอ้ งเปน็ ไปตามมาตรฐานของประเทศ
เกยี่ วกบั ปลั๊กสาหรับสายเมน
สกรูต่อกบั เครือ่ งมือต่างๆ สาหรับตอ่ สายดนิ จดุ สัมผสั เพื่อใช้ที่ถงั บรรจุสาหรบั นาสาร
ทาความเย็นกลับมาใช้ใหม่
ใหต้ รวจสอบว่าสว่ นเชื่อมต่อของสายสาร
ทาความเย็นท่ีถังบรรจุและเคร่อื งดูดสาร
ทาความเย็นกลับมาใชใ้ หม่ (SAE ¼”) มี
การต่อสายดนิ หรือไม่
ตัวอยา่ งบรษิ ทั ทข่ี ายอปุ กรณเ์ หล่านี้
www.cpsproducts.com
www.crowcon.com
www.ekotez.cz
www.emarei.info
www.inficon.com
www.refco.ch
www.refrigerant-recovery.com/
5.4.2 เครือ่ งวดั ก๊าซ
5.4.2.1 เคร่ืองวดั ก๊าซไฮโดรคารบ์ อนพกพาได้ (PGD)
เครื่องวัดก๊าซไฮโดรคาร์บอนพกพาได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
(PPE) และควรใช้ในพ้ืนท่ีการทางานเพ่ือตรวจจับสารทาความเย็นไฮโดรคาร์บอน ความไวของเคร่ืองวัดก๊าซ
ควรมีความเหมาะสมในการวัดความเข้มข้นท่ี 20% ของระดับ LFL (น้อยกว่า 0.4% ต่อปริมาตร) และมี
สัญญาณแจ้งเตือนท่ีได้ยินและมองเห็นได้ (ไฟกะพริบ) เพ่ือเป็นสัญญาณแสดงให้เห็นว่ามีสารทาความเย็นหรอื
ก๊าซผสมติดไฟ ก่อนการใช้งานต้องตรวจสอบเครื่องมือด้วยสารผสมที่ทราบค่าความเข้มข้นเพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามข้อกาหนดด้านคุณลกั ษณะ แนะนาให้ใช้ “แหล่งร่ัวไหลอ้างอิงที่ได้รับการปรับเทยี บ”
ในการตรวจสอบการใช้งาน อุปกรณ์น้ีควรได้รับการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งจากตัวแทนผู้ผลิตท่ีได้รับ
อนญุ าตเพือ่ ใหม้ ่นั ใจวา่ เชอ่ื ถอื ไดแ้ ละมคี วามแม่นยา
การจัดการใชส้ ารทาความเยน็ ทีต่ ดิ ไฟได้อย่างปลอดภยั 168
5.4.2.2 เครอื่ งวัดก๊าซไฮโดรคารบ์ อนท่ีติดต้ังถาวร
ควรใช้เคร่ืองวัดก๊าซไฮโดรคาร์บอนท่ีติดต้ังถาวรในพ้ืนที่ดังกล่าวเพื่อตรวจจับการปลดปล่อย
สารทาความเย็นไฮโดรคาร์บอน ซ่ึงอาจออกมาเป็นปริมาณมาก ตัวอย่างเช่น ในกรณีที่ระบบทาความเย็นหรือ
ระบบขนาดใหญต่ ้ังอยู่ในห้องหรือพื้นท่ีอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกนั เมือ่ ตรวจพบความเขม้ ขน้ ถงึ 20% ของระดับ
LFL (0.4% ตอ่ ปรมิ าตร) ควรเปดิ ใชส้ ัญญาณแจง้ เตือนท่ีไดย้ นิ และมองเหน็ ได้ (ไฟกะพรบิ ) อปุ กรณ์ปดิ อตั โนมัติ
และการระบายอากาศด้วยกลไกแบบพิเศษ ควรตัง้ เคร่ืองวดั ก๊าซไฮโดรคาร์บอนในระดับพื้นดินและตรงด้านใด
ด้านหนง่ึ ของอุปกรณ์ขนย้ายสารทาความเย็น และในทท่ี ่ีก๊าซอาจปล่อยออกมา ควรจะวางในจุดที่มกี ารระบาย
อากาศตามธรรมชาติและระบายอากาศเชิงกล ณ ตาแหน่งท้ายลม เพ่ือให้แน่ใจว่าเกิดผล โดยปกติเซนเซอร์
หนึ่งอันในระดับดินจะครอบคลุมพื้นที่ไม่เกิน 30 ตารางกิโลเมตร แต่ข้ึนอยู่กับสถานการณ์โดยเฉพาะอย่างย่ิง
คือลักษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ี ควรตรวจสอบระบบเตือนภัยก๊าซท้ังระบบ (ระบบความปลอดภัยท่ี
เหมาะสม) อย่างสม่าเสมอ (ไม่น้อยกว่าปลี ะคร้งั ) ในการทางานส่วนน้ี ควรปรับเทียบเคร่ืองวัดก๊าซเป็นระยะ ๆ
ตามคาแนะนาของผู้ผลติ ควรป้องกนั ไม่ให้เซนเซอร์ของเครื่องวดั สมั ผัสกับวตั ถุและสารแปลกปลอม รวมถงึ สาร
ที่อาจเป็น “อันตราย” ต่อเซนเซอร์ในเชิงเร่งปฏิกิริยาและป้องกันไม่ให้เซนเซอร์ของเคร่ืองวัดได้รับความ
เสียหายทางกลและการสะสมฝ่นุ เท่าท่ีทาได้
โดยปกติแล้ว ห้องเครื่องจะต้องติดต้ังระบบความปลอดภัยท่ีเหมาะสมที่ประกอบด้วย การ
ตรวจวัดก๊าซ อปุ กรณ์ระบายอากาศ และสญั ญาณเตือน นอกจากหอ้ งเครือ่ งแลว้ อาจมสี ถานการณ์อื่นท่ีอาจมี
การตรวจวัดสารทาความเย็นแบบถาวร (เช่น หอ้ งเย็น)
5.4.2.3 เครื่องวดั ค่าสมั ประสิทธกิ์ ารนาความร้อนแบบพกพาได้ (สนฟิ เฟอร์ก๊าซ)
เคร่ืองวดั ค่าสมั ประสทิ ธก์ิ ารนาความร้อนจะวดั ความแตกต่างในค่าสัมประสิทธ์ิการนาความร้อน
ในการไหลของก๊าซพาที่ปลายเซนเซอร์และแปลงสารที่มีการตั้งโปรแกรมในอุปกรณ์ไว้เป็นสัญญาณไฟฟ้าใน
รูปแบบเสียงและภาพ ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวจะใช้เคร่ืองวัดค่าสัมประสิทธ์ิการนาความร้อนในการ
หารอยร่ัวในระบบทาความเย็น ด้วยเกณฑ์ความไวต่าสุดสาหรับไฮโดรคาร์บอนประมาณ 5 พีพีเอ็ม (มีเทน)
อุปกรณ์ต้องได้รับการรับรองด้านความปลอดภัยตามคาส่ัง ATEX ก่อนการใช้งานต้องตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีรู้
ว่าแหล่งร่ัวไหลที่ติดไฟได้อยู่ตรงไหนเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้องตามข้อกาหนดด้านคุณลักษณะ
แนะนาให้ใช้ “ก๊าซอ้างอิงท่ีได้รับการปรับเทียบ” ในการตรวจสอบการใช้งาน อุปกรณ์นี้ควรได้รับการ
ตรวจสอบอยา่ งนอ้ ยปีละหนงึ่ ครง้ั จากตวั แทนผผู้ ลติ ท่ไี ดร้ ับอนุญาตเพ่ือใหม้ ่ันใจวา่ เชอ่ื ถือได้และมีความแมน่ ยา
ไม่แนะนาให้ใช้เครื่องวัดก๊าซอิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในสภาพบรรยากาศที่มีไอหรือสารทา
ความเย็นไวไฟหรือจุดติดไฟได้ เซนเซอร์สามารถทางานเม่ืออุณหภูมิสูงมาก ๆ หากเซนเซอร์นี้สัมผัสกับก๊าซ
ไวไฟ กจ็ ะติดไฟ แนะนาใหต้ รวจสอบกบั ผ้ผู ลิตอุปกรณ์น้ี หากอนมุ ัตทิ จ่ี ะใชส้ ารทาความเย็นไฮโดรคารบ์ อน
การจดั การใช้สารทาความเยน็ ท่ตี ิดไฟได้อย่างปลอดภยั 169
5.4.3 ไนโตรเจนแหง้ ทปี่ ราศจากออกซเิ จน (OFDN)
ไนโตรเจนเป็นก๊าซธรรมชาติและไม่ก่อให้เกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อมหากระบายออกสู่บรรยากาศ
ไนโตรเจนไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส และอากาศในบรรยากาศจะประกอบด้วยไนโตรเจนประมาณ 78%
ไนโตรเจนไม่ติดไฟและไม่ช่วยการสันดาปในสภาวะปกติ ไนโตรเจนเป็นก๊าซเฉ่ือย หมายความว่า มันไม่มี
ปฏิกริ ยิ ากบั สารอน่ื ๆ ก๊าซเฉ่ือยถกู นามาใชเ้ พ่ือปอ้ งกันปฏิกริ ิยา เช่น การสันดาป
ด้วยเหตุนี้ ไนโตรเจนจงึ ถูกนามาใช้ด้วยวัตถปุ ระสงค์ตา่ ง ๆ ในอุตสาหกรรม RACHP
ไนโตรเจนอาจเป็นอันตรายหากมคี วามเข้มข้นสงู จนมีออกซิเจนไม่เพยี งพอที่จะหายใจ ซ่ึงอาจทาให้เกดิ
การหายใจไม่ออก กา๊ ซแรงดันสูงเป็นอนั ตรายเสมอ แม้ไม่ไวไฟหรือมีพิษก็ตาม
การทดสอบการร่ัวไหล/ความดนั : ไนโตรเจนไมม่ ีปฏกิ ริ ิยากับวสั ดทุ ่ีเป็นส่วนประกอบของระบบ RACHP
1. ทบสอบการรวั่ ไหลดว้ ยน้าสบอู่ อ่ น ๆ (ทดสอบฟอง)
2. ทดสอบความดนั (ทดสอบแรงดนั ) ของระบบ RACHP
3. ทดสอบโดยใช้ความเข้มข้นผสมกับไฮโดรเจน (ไนโตรเจน 95% และไฮโดรเจน 5%) ท่ีเรียกกันว่า
ขัน้ ตอนการผสมก๊าซเพอ่ื ทบสอบการรัว่ ไหล พรอ้ มกับเคร่อื งวัดการรัว่ ไหลของไฮโดรเจน
การลา้ ง การทาให้แห้ง และการทาความสะอาด – ไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจนสามารถดูด
ซมึ น้าปริมาณมากทีเ่ หลอื ในวงจรสารทาความเยน็
1. ไนโตรเจนช่วยลา้ งวงจรสารทาความเย็นเพ่ือขจัดสารปนเป้ือน และให้อุปกรณห์ ลกั และแคปทวิ้ ท่ี
อุดตันไมม่ ีอะไรมาขวาง ฯลฯ
2. เพอ่ื ถูกใช้เปน็ “ก๊าซป้องกนั ” และเตมิ ในระบบหรือสว่ นประกอบเพ่ือนามารวมกัน เพ่ือหลกี เลีย่ ง
การนาอากาศและความชืน้ เข้ามา
3. ในการทาความสะอาดพื้นผิวของเครื่องแลกเปลยี่ นความร้อน (เช่น คอนเดนเซอร์) จากฝุ่นและเศษดิน
การใสก่ า๊ ซเฉอื่ ย – ก๊าซไนโตรเจนสามารถปอ้ งกันสภาพบรรยากาศติดไฟและป้องกันปฏกิ ิริยาเคมี
ที่ไม่พงึ ประสงคใ์ นชว่ งการปฏิบัตงิ านเกีย่ วกับความร้อน
1. ไลอ่ ากาศออกจากงานท่อ ก่อนทาความร้อนและระหวา่ งการเชอ่ื มประสาน (เพื่อปอ้ งกันการกอ่ ตัว
ของออกไซด์จากทองแดงบนพ้นื ผวิ ดา้ นในของท่อ)
2. ไลส่ ารทาความเย็นออกจากงานท่อและส่วนประกอบก่อนการเชือ่ มประสาน เพือ่ นากา๊ ซติดไฟออก
และปอ้ งกันสถานการณ์อนั ตราย
3. ไล่สารทาความเยน็ จากงานท่อและส่วนประกอบในช่วงการเช่ือมประสานเพื่อหลกี เลย่ี งการสร้าง
สารทีเ่ ปน็ พษิ เป็นกรด และมีอนั ตรายในระดบั สงู
การจดั การใช้สารทาความเย็นท่ีติดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 170
5.4.3.1 ถงั บรรจุใส่ไนโตรเจนแหง้ ทป่ี ราศจากออกซิเจน
สาหรับเทคโนโลยีการทาความเย็น ไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจนมีท้ังรูปแบบของเหลว
และก๊าซ สาหรบั การใช้งานในการติดตง้ั เคร่ืองทาความเยน็ และเคร่ืองปรบั อากาศ RAC จะมกี ารให้บริการและ
การบารุงรักษาก๊าซไนโตรเจนแห้งที่ปราศจากออกซิเจน โดยมักจะจ่ายและขนสง่ ในถังบรรจุแรงดันสูงเป็นก๊าซ
อัดไว้ถังบรรจุท่ีใสไ่ นโตรเจนแหง้ ท่ปี ราศจากออกซเิ จนท่ีใชแ้ พรห่ ลายในระบบ RACHP แสดงในตาราง 5.3
ตารางท่ี 5.2 ภาพรวมของถังไนโตรเจนรปู ทรงกระบอก
ปริมาตรถงั บรรจุ แรงดนั ในการอดั ปรมิ าณก๊าซ น้าหนกั รวมของถังบรรจุ
(ลิตร) (บาร์) (ลกู บาศก์เมตร) (ca. กิโลกรมั )
5 200 1 9.8
10 200 1.911 15.7
20 200 3.822 37.0
50 200 9.556 77.7
ถงั บรรจุแบบอดั ตอ้ งอาศยั ตัวปรับแรงดนั ท่เี ช่อื ถอื ได้ และ ดูบทที่ 2 เพ่ือดูข้อมูลเพิ่มเติม
เหมาะสม เพื่อลดแรงดันของก๊าซอย่างปลอดภัยไปจนถึงระดับท่ีควบคุม เกี่ยวกับกระบอกสูบในส่วนของ
ได้ จะต้องส่งก๊าซไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจนเข้าวงจรสารทา กา๊ ซที่มแี รงดันและตวั ปรบั แรงดัน
ความเย็น โดยการใช้สายส่งที่ได้รับการออกแบบและรับรองเพื่อ
วัตถุประสงค์น้ีเท่านั้น ส่วนใหญ่สายส่งสารทาความเย็นน่ามีการจาแนกลักษณะน้ี ให้ตรวจสอบสายส่งสารทาความ
เย็นและตัวปรบั แรงดนั วา่ ใช้ได้อย่างนา่ เช่อื ถือหรือไม่ โดยใช้ก๊าซไนโตรเจนแหง้ ทปี่ ราศจากออกซเิ จนแบบอัด
ตัวปรบั แรงดนั
วาลว์ ถงั บรรจุ ท่บี ิดปรบั แรงดนั
ถงั บรรจุใสไ่ นโตรเจน สายส่งไนโตรเจนแหง้ ทป่ี ราศจาก
แหง้ ท่ปี ราศจาก ออกซิเจน
ออกซเิ จน อันนี้ โครงท่ีเป็นฐานสาหรบั ตั้งและใช้ถัง
ปริมาณ 5 ลติ ร
บรรจุอยา่ งปลอดภัย
ภาพที่ 5.6 ตัวอย่างการจัดถังบรรจุใส่ไนโตรเจนแหง้ ท่ีปราศจากออกซเิ จน
การจดั การใช้สารทาความเยน็ ท่ตี ดิ ไฟได้อย่างปลอดภัย 171
ตัวปรับแรงดันถูกออกแบบมาเพ่ือควบคุมแรงดันและมีมาตรวัดเพ่ือแสดงค่าแรงดัน ตัวปรับแรงดัน
จะไม่วัดหรือควบคุมการไหลของไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจน เว้นแต่ว่ามาพร้อมกับอุปกรณ์ดังกล่าว เช่น
วาล์วควบคุม หรอื เครอ่ื งวัดอตั ราการไหล ซง่ึ ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อวตั ถปุ ระสงค์ทรี่ ะบุในภาพ 5.7
มาตรวัดแรงดันถงั บรรจุ มาตรวดั แรงดันใชง้ าน
การเชือ่ มตอ่ ถงั บรรจุ เตา้ รับสาหรับเสียบ
ปลก๊ั ไฟ Valve
ตวั ปรบั แรงดนั การเชอ่ื มตอ่ สายส่งไนโตรเจนแห้ง
ท่ีบิดปรับแรงดัน ท่ปี ราศจากออกซเิ จน
ภาพท่ี 5.7 ตัวอย่างของตัวปรบั แรงดันของไนโตรเจนแหง้ ที่ปราศจาก
ออกซเิ จน
ปัจจุบันมีชุดทดสอบแรงดันของไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจนโดยเฉพาะสาหรับการ
ตรวจสอบระบบ RACHP ตามท่ีแสดงในภาพที่ 5.7 มาตรวัดตรงกลางท่ีติดต้ังระหว่างระบบกับตัวปรับแรงดัน
ของไนโตรเจนแห้งท่ีปราศจากออกซิเจนจะระบุค่าการทดสอบแรงดันท่ีถูกต้องตามสารทาความเย็นท่ีใช้ โดย
ปกติแรงดันใช้งานสูงสุด ที่ 40 ถึง 60 บาร์ ก็เพียงพอท่ีจะรองรับสารทาความเย็นไฮโดรคลอโรฟลูโอคาร์บอน
ไฮโดรฟลูโอคาร์บอนและไฮโดรคาร์บอน รวมทั้งข้อกาหนดในการทดสอบแรงดัน ผู้ปฏิบัติงานต้องตรวจสอบ
แรงดันสัมบูรณ์ในระบบ RAC เพื่อไม่ให้ระบบเกิดแรงดันมากเกินไปและทาให้เกิดความเสียหายหรือ
สถานการณ์ทอ่ี นั ตราย
สเกลแสดงค่า
ทดสอบแรง
วาล์วควบคุม
การเชือ่ มต่อตัวปรับ การเชื่อมตอ่ SAE
แรงดนั สาหรับสายส่ง
ไนโตรเจนแหง้ ท่ี
ภาพที่ 5.8 การประกอบมาตรวดั ตรงกลางเพื่อตรวจสอบแรงดัน ปราศจากออกซิเจน
¼”
การจดั การใชส้ ารทาความเย็นทตี่ ิดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 172
ภาคผนวกบทท่ี 5: คุณสมบัติและลักษณะเฉพาะของสารทาความเยน็ ตดิ ไฟท่ีพบบ่อยท่ีสดุ
ช่อื สารทาความเยน็ R-290 R-1270 R-600a R-32
ชอื่ ทางการค้า Difluoro-
Propane Propene Iso-Butane methane
เลข UN
เลข EC 1978 1077 1969 3252
เลข CAS 200-827-9 204-062-1 200-857-2 200-839-4
สูตรเคมี 74-98-6 115-07-1 75-28-5 75-10-5
กลมุ่ ความปลอดภัย ISO 817
การจาแนกสนิ ค้าอันตราย (GHS) C3H8 C3H6 C4H10 CH2F2
มวลตอ่ โมล (เปน็ กรัม/โมล) A3 A3 A3 A2L
สภาพที่ 1013 มิลลิบาร์ 20 องศาเซลเซียส 2F 2F 2F 2F
44.1 42.08 58.12 52.02
สี มลี ักษณะ มีลักษณะ มลี กั ษณะ มีลกั ษณะ
กลน่ิ เป็นก๊าซ เป็นก๊าซ เป็นก๊าซ เป็นก๊าซ
ก๊าซไมม่ ีสี ก๊าซไม่มีสี ก๊าซไมม่ ีสี ก๊าซไมม่ สี ี
ไม่มี ไมม่ ี ไม่มี
แจ้งเตือนผล แจง้ เตือนผล แจ้งเตือนผล อ่อน
ในระดบั ต่า ในระดับต่า ในระดับตา่ เหมือน
อเี ธอร์
อณุ หภูมิ (องศาเซลเซียส) 96.7 92.4 134.7 78.35
แรงดันวกิ ฤต (เปน็ บาร์) 42.6 46.6 36.3 58.16
อุณหภมู ิอิ่มตัวที่ 1 บาร์ (องศาเซลเซียส) -42 -48 -12 -51.7
แรงดันอ่มิ ตัวที่ 20 องศาเซลเซยี ส (บาร์) 8.3 10.2 3 14.75
จดุ หลอมเหลว (เปน็ องศาเซลเซยี ส) -188 -185 -159 -137
อัตราความหนาแนน่ กบั อากาศที่ 1013 1.55 1.47 2.06 1.89
มลิ ลบิ าร์, 20 องศาเซลเซียส (อากาศ = 1)
ความหนาแนน่ กโิ ลกรัม/ลิตร 0.449 0.458 0.517 0.839
ท่ี 50 องศาเซลเซียส
ปริมาณในการเตมิ สารทาความเย็น 0.008 0.008 0.011 0.061
(กิโลกรมั /ลกู บาศกเ์ มตร)
LFL (ระดบั คา่ ความเข้มข้นขั้นต่าของ
สารเคมีในอากาศท่ีอาจตดิ ไฟหรือระเบดิ ได้ 0.038 0.046 0.043 0.306
ตาม DIN EN 378-1 (กิโลกรัม/ลูกบาศก์
เมตร)
LFL (เป็น V%) 1.7 1.8 1.5 13.6
ระดบั ค่าความเข้มข้นข้นั สูงของสารเคมใี น 9.5 11 8.5 28.4
อากาศท่ีอาจติดไฟหรือระเบิดได้ (เปน็ V%)
การจัดการใชส้ ารทาความเยน็ ทต่ี ิดไฟได้อยา่ งปลอดภยั 173
ภาคผนวกบทที่ 5: คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะเฉพาะของสารทาความเยน็ ติดไฟท่ีพบบ่อยทสี่ ุด(ต่อ)
ชือ่ สารทาความเย็น R-290 R-1270 R-600a R-32
อณุ หภูมิท่ีทาให้เกิดการจุดติดไฟอัตโนมตั ิ 470 455 648
(เป็นองศาเซลเซียส) -104 -108 460
จุดวาบไฟ (เป็นองศาเซลเซยี ส) IIA IIA ช้นั อันตรายต่อ
การจัดแบ่งกลมุ่ ก๊าซ T1 T1 -83 นา้ (WGK) 1,
ชั้นอณุ หภูมิ 0.25 >0.18 IIA
พลังงานต่าสุดที่ใชใ้ นการจดุ ติดไฟ(มลิ ลจิ นู ) T1 พบว่ามี
ช้นั ความเป็นอันตรายต่อนา้ (WHC) ไมม่ ี WHC ไม่มี WHC >0.18 อนั ตรายต่อน้า
(ไมพ่ บ (ไม่พบ ในระดบั ต่า
ค่าขีดจากัดการสมั ผสั สารในส่ิงแวดล้อมการ อนั ตรายต่อ อันตรายตอ่ ไม่มี WHC
ทางาน (OEL) 1) (มลิ ลิกรมั /ลกู บาศกเ์ มตร) น้า) นา้ ) (ไมพ่ บ
คา่ ขีดจากัดการสัมผสั สารในส่ิงแวดล้อมการ อันตรายต่อ
ทางาน (OEL) 1) (มลิ ลิลติ ร/ลกู บาศก์เมตร 1800 10000 นา้ )
หรอื พีพีเอ็ม)
ค่าความเขม้ ข้นสงู สดุ ในทท่ี างาน (MAK) 1000 2400
2) (เปน็ พีพเี อม็ )
1000 1000
800 1000
1) ยงั ไม่มีการระบคุ า่ ขีดจากัดการสัมผสั สารในสงิ่ แวดลอ้ มการทางานตาม TRGS 900 (มกราคม 2549)
ในส่วนของมเี ทน อเี ทน และโพรเพน
2) คา่ ความเขม้ ขน้ สงู สุดในทท่ี างานระบุเพื่อให้เปรียบเทยี บ (นามาจาก: “Grenzwerte am
Arbeitsplatz”, SuvaPro: www.sapros.ch/images/supplier/220/pdf/01903_d.pdf)
การจัดการใชส้ ารทาความเยน็ ทีต่ ิดไฟได้อยา่ งปลอดภัย 174